The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล O28

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maysukhon23, 2022-09-06 07:52:21

รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล O28

รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล O28

รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ประจาปีการศึกษา 2564

งานบุคลากร
ฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร
วิทยาลยั อาชีวศึกษาอตุ รดติ ถ์

สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แบบรายงานรายละเอียดผลการดาเนนิ งานของงาน / โครงการท่ีสาคญั ของสถานศึกษา
ตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาอตุ รดิตถ์
**********************

1. ชื่อโครงการ โครงการฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการหลักสูตรการพัฒนาทักษะการสร้างหอ้ งเรียนออนไลน์
ของสถานศกึ ษา บน Free Social Learning Platform ในการจดั การเรียนการสอน
สาหรบั กลุ่มผ้เู รยี นรว่ มกบั สถานประกอบการ รหสั หลกั สูตร 625152001
ภายใตโ้ ครงการพัฒนาความรู้และเพิ่มประสบการณใ์ ห้กับครแู ละบคุ ลากรสถานศึกษา
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุตรดิตถ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. ผ้รู บั ผดิ ชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ : นางสภุ าวกุล ภักดศี รี หวั หน้างานบคุ ลากร
ผ้รู ว่ มดาเนินงาน : ศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3. ระยะเวลาการดาเนินงาน (ตามแผนฯ) ตลุ าคม 2563 – กันยายน 2564
ระยะเวลาการดาเนนิ งานจริง (ว/ด/ป) ระหวา่ งวนั ท่ี 19 – 21 พฤศจกิ ายน 2563

4. หลกั การและเหตผุ ล
สภาพของสังคมไทยในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า มีความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศ

ด้วยเทคโนโลยี ก่อใหเ้ กดิ ความเปล่ยี นแปลงหลายด้าน ทง้ั ทางด้านเศรษฐกจิ สังคมและการเมอื ง ส่วนหนึง่ ไดร้ ับ
ความสะดวกสบายทางวัตถุมากขึ้น ในขณะเดียวกันการพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญย่ิงขึ้นไปน้ัน ย่อมต้องพัฒนา
บุคคลก่อน เพราะถ้าบุคคลอันเป็นองค์ประกอบของส่วนรวมไม่ได้รับการพัฒนาแล้วส่วนรวมจะเจริญและม่ันคง
ได้ยากย่ิง การท่บี ุคคลจะพัฒนาได้กด็ ้วยปัจจยั ประการเดียว คือ การศกึ ษา การศึกษานั้นแบ่งเปน็ สองส่วน คือ
การศึกษาด้านวิชาการ (Academic learning) ส่วนหน่ึง คือ การอบรมบ่มนิสัย (Spiritual development)
ให้เป็นผู้มีจิตใจใฝ่ดี ใฝ่เจริญ ส่วนหน่ึงการพัฒนาบุคคลจะต้องพัฒนาให้ครบถ้วนทั้งสองส่วน เพ่ือให้บุคคลได้มี
ความรู้ไว้ใช้ประกอบการและมีความดีไว้เกื้อหนุน การประพฤติปฏิบัติทุกอย่างให้เป็นไปในทางที่ถูกที่ควร และ
อานวยผลเป็นประโยชนท์ ่พี ึงประสงค์

วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ ได้พิจารณาเห็นแล้วว่า การสร้างคนให้มีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม
คือ การสร้างชาติ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จนเกิดความปลอดภัย นาความสงบร่มเย็นมาสู่ชีวิตและนาเอา
หลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและการปฏิบัติหน้าท่ีงานที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทาโครงการน้ีข้ึนมาเพื่อ
สนองนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2544

5. วัตถุประสงค์…

2

5. วตั ถุประสงคก์ ารดาเนนิ การ
5.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge : K)
1) เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจการออกแบบห้องเรียนออนไลน์ บน Free Social

Learning Platform ในการจดั การเรียนการสอน สาหรบั กลุ่มผเู้ รยี นร่วมกับสถานประกอบการ
2) เพ่ือพัฒนาครูให้มีความรู้และความเข้าใจการสร้างห้องเรียนออนไลน์ บน Free Social

Learning Platform ในการจดั การเรยี นการสอน สาหรับกลุ่มผเู้ รยี นรว่ มกับสถานประกอบการ
5.2 ด้านทกั ษะ (Skill : S)
1) เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะในการใช้เครื่องมือสาหรับการสร้างห้องเรียนออนไลน์ บน Free

Social Learning Platform ในการจัดการเรยี นการสอน สาหรับกลมุ่ ผู้เรยี นรว่ มกับสถานประกอบการ
2) เพื่อพัฒนาครูให้มีทักษะในการออกแบบและพัฒนาการสร้างห้องเรียนออนไลน์ บน Free

Social Learning Platform ในการจัดการเรียนการสอน สาหรับกลมุ่ ผเู้ รยี นรว่ มกบั สถานประกอบการ
5.3 ด้านความเป็นครู (Attribute : A)
1) เพ่อื ให้ครูสามารถพฒั นาการสรา้ งหอ้ งเรียนออนไลน์ บน Free Social Learning Platform

ในการจัดการเรียนการสอน สาหรับกลุ่มผู้เรียนร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้
ในตนเอง มกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางทด่ี ี

2) เพอื่ ให้ครูได้พัฒนาตนเองในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสรมิ การพัฒนา
คณุ ภาพผ้เู รยี นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6. วิธดี าเนินการ

ท่ี กิจกรรม ระยะเวลา

1 ประสานงานกบั ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีวศึกษา ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 15 ตลุ าคม 2563

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เพื่อขออนุญาตใช้หลักสตู รสาหรับ

ฝึกอบรมให้ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

สายงานการสอน

2 ติดต่อวิทยากรและประสานงานผเู้ กยี่ วข้อง ระหวา่ งวันท่ี 1 – 30 ตุลาคม 2563

เพื่อเตรยี มความพร้อมการดาเนินงานโครงการฯ

3 เสนอโครงการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการหลกั สตู ร ระหว่างวนั ที่ 1 – 18 พฤศจกิ ายน

การพัฒนาทกั ษะการสรา้ งหอ้ งเรยี นออนไลนข์ องสถานศกึ ษา 2563

บน Free Social Learning Platform ในการจัดการเรยี น

การสอน สาหรบั กลุ่มผ้เู รียนร่วมกับสถานประกอบการ

รหสั หลักสูตร 625152001 เพอื่ ขออนมุ ัติและแต่งตงั้

คณะกรรมการดาเนินงานโครงการฯ

4. ดาเนนิ งาน...

3

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา

4 ดาเนินงานโครงการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร ระหว่างวันท่ี 19 – 21 พฤศจกิ ายน

การพัฒนาทักษะการสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์ของสถานศกึ ษา 2563

บน Free Social Learning Platform ในการจัดการเรียน

การสอน สาหรับกลุ่มผูเ้ รียนร่วมกับสถานประกอบการ

รหสั หลกั สตู ร 625152001 ภายใต้โครงการพัฒนาความรู้

และเพิ่มประสบการณ์ให้กับครแู ละบคุ ลากรสถานศึกษา

วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอตุ รดติ ถ์ ประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564

5 ประเมนิ และสรปุ รายงานผลการดาเนนิ โครงการฝกึ อบรม ระหว่างวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน – 30

เชงิ ปฏิบตั กิ าร หลกั สูตรการพัฒนาทกั ษะการสรา้ งห้องเรียน ธันวาคม 2563

ออนไลนข์ องสถานศึกษา บน Free Social Learning

Platform ในการจัดการเรียนการสอน สาหรบั กลุม่ ผเู้ รยี น

ร่วมกับสถานประกอบการ รหัสหลักสตู ร 625152001

7. งบประมาณ/ทรพั ยากร และแหลง่ ท่ีมาในการดาเนินโครงการ
งบประมาณภายใต้โครงการพัฒนาความรู้และเพ่ิมประสบการณ์ให้กับครูและบุคลากรสถานศึกษา

วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 200,000.-บาท
(สองแสนบาทถ้วน) งบประมาณที่ใช้ไปเป็นเงินท้ังส้ิน 110,088.-บาท (หนึ่งแสนหน่ึงหม่ืนแปดสิบแปดบาทถ้วน)
รายละเอยี ดดงั นี้

รายการ จานวนเงิน
1. คา่ เบี้ยเลยี้ งเดนิ ทาง 990.-
2. ค่าพาหนะเดินทาง
3. ค่าตอบแทนวิทยากร 6,744.-
4. คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม 57,600.-
5. คา่ อาหารกลางวนั 14,070.-
6. ค่าถ่ายเอกสารพร้อมเขา้ เลม่ รายงาน 20,100.-
7. ค่าวัสดุ
600.-
รวมทั้งส้ิน 9,984.-
110,088.-

4

8. ผลการดาเนินการ/สถานทดี่ าเนินการ
8.1 ผ้เู ขา้ รับการอบรม เข้ารบั การอบรมและทากิจกรรมตามหลักสตู ร ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลา

ตามหลักสูตร
8.2 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการออกแบบห้องเรียนออนไลน์ของสถานศึกษา

บน Free Social Learning Platform ในการจัดการเรยี นการสอน สาหรับกลุ่มผเู้ รียนรว่ มกบั สถานประกอบการ
8.3 ผู้เขา้ รับการอบรมมที กั ษะในการใชเ้ ครอ่ื งมือสาหรับการสร้างห้องเรียนออนไลน์ของสถานศึกษา

บน Free Social Learning Platform ในการจดั การเรยี นการสอน สาหรับกลุ่มผเู้ รียนรว่ มกบั สถานประกอบการ
8.4 ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติที่ดีในการใช้เทคโนโลยี สาหรับพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์

ของสถานศกึ ษา บน Free Social Learning Platform ในการจดั การเรียนการสอน สาหรับกลุม่ ผู้เรยี นรว่ มกับ
สถานประกอบการ

9. ผลลพั ธ์ท่ีเกิดข้นึ
ผลลัพธ์ต่อครผู ูส้ อน / ผปู้ ฏิบัตงิ าน
1. ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการออกแบบห้องเรียนออนไลน์ของสถานศึกษา บน Free

Social Learning Platform ในการจัดการเรยี นการสอน สาหรับกล่มุ ผู้เรยี นร่วมกบั สถานประกอบการ
2. ครูผู้สอนมีทักษะในการใช้เครื่องมือสาหรับการสร้างห้องเรียนออนไลน์ของสถานศึกษา บน Free

Social Learning Platform ในการจัดการเรียนการสอน สาหรับกลุ่มผเู้ รียนรว่ มกับสถานประกอบการ
3. ครูผู้สอนมีเจตคติที่ดใี นการใช้เทคโนโลยี สาหรับพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์ของสถานศึกษา

บน Free Social Learning Platform ในการจดั การเรียนการสอน สาหรบั กลุม่ ผ้เู รียนรว่ มกับสถานประกอบการ

10. ปัญหาและอุปสรรค วธิ ีการแก้ปญั หาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอปุ สรรค
- ไม่มี -
วธิ กี ารแกป้ ญั หาและอปุ สรรค
- ไม่มี -
ขอ้ เสนอแนะ
1. ในการอบรมครงั้ นไี้ ด้รับความรู้เพิม่ เติมมาก และโดยภาพรวมไดร้ บั ประโยชน์มาก

11. การประเมินผล
1. ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ

5

ผลการประเมินสรุปวา่
ตามคาสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ ท่ี 313/2563 เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการ

อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร : การพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ของครูอาชีวศึกษาบน Free Social
Learning platform ในการจัดการเรียนการสอนสาหรับกลุ่มผู้เรยี น รหสั หลักสูตร 625152001 ได้มอบหมายให้
งานวิจัย พัฒนา นวัตกรรม และส่ิงประดิษฐ์ เป็นคณะกรรมการฝ่ายประเมินผลการดาเนินงานโครงการอบรม
เชิงปฏิบัติการหลักสูตร : การพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ของครูอาชีวศึกษาบน Free Social
Learning platform ในการจดั การเรียนการสอนสาหรับกลมุ่ ผู้เรียน รหสั หลกั สูตร 625152001 งานวจิ ยั พัฒนา
นวตั กรรม และสง่ิ ประดิษฐ์ ได้สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอ่ การดาเนินงานโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ
หลักสูตร : การพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ของครูอาชีวศึกษาบน Free Social Learning
platform ในการจดั การเรยี นการสอนสาหรบั กลมุ่ ผ้เู รยี น รหัสหลกั สูตร 625152001 จานวน 1 ฉบับ ใชส้ อบถาม
ผูเ้ ข้ารับการอบรมทเ่ี ปน็ กลุม่ ตวั อยา่ ง ประชากร จานวน 52 คน จากจานวนผ้เู ข้ารว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
หลักสตู ร : การพฒั นาทกั ษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ของครูอาชวี ศึกษาบน Free Social Learning platform
ในการจัดการเรียนการสอนสาหรับกลุ่มผู้เรียน รหัสหลักสูตร 625152001 ทั้งหมด 52 คน ได้แบบสอบถาม
ท่ีสมบูรณ์กลับคืนมา จานวน 52 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของจานวนกลุ่มตัวอย่างประชากรที่แจก
แบบสอบถาม ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์การกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่างประชากรของ Robert V. Krejcie และ Earyle
W. Morgan. (µ 53 /  52) (รวีวรรณ ชินะตระกูล, 2535 : หน้า 80) แล้วนาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม
จานวน 52 ฉบบั มาวเิ คราะห์ สรุป และนาเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรยี งได้ ดังน้ี

ตารางแสดง คา่ เฉล่ยี ( X ) และคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนความคดิ เหน็
ของผ้ตู อบแบบสอบถามทีม่ ตี ่อการดาเนนิ งานโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการหลักสตู ร :
การพฒั นาทักษะการสร้างห้องเรยี นออนไลน์ ของครูอาชวี ศึกษาบน Free Social Learning
platform ในการจดั การเรียนการสอนสาหรับกลุม่ ผ้เู รียน รหัสหลักสูตร 625152001

ลาดับ รายการ X S.D. ความหมาย
ที่

1 ความเหมาะสมของวนั เวลา ระยะเวลา ทดี่ าเนนิ การจัดอบรมฯ 4.31 0.96 มาก

2 ความสะดวกและความพร้อมของสถานท่ี การจัดสถานที่ 4.65 0.62 มากท่ีสุด

3 ความพร้อมของเครอ่ื งเสียง สือ่ โสตทัศนูปกรณ์ ท่ใี ชใ้ นการอบรมฯ 4.42 0.61 มาก

4 ความพร้อมของอปุ กรณต์ ่อพ่วงคอมพวิ เตอร์ ระบบเครือขา่ ย

และเอกสารทใี่ ชใ้ นการอบรมฯ 4.63 0.49 มากทส่ี ุด

5 ความรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพ ของวทิ ยากร

5.1 บคุ ลกิ ภาพ การแสดงออก ของวทิ ยากร 4.87 0.35 มากทส่ี ดุ

5.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรูข้ องวิทยากร 4.85 0.36 มากที่สดุ

5.3 ความเอาใจใส่ ให้คาแนะนา แกผ่ ูเ้ ข้ารบั การอบรมในระหว่าง

ดาเนนิ การอบรมของวิทยากร 4.79 0.46 มากท่สี ดุ

6

ตารางแสดง (ต่อ)

ลาดับ รายการ X S.D. ความหมาย
ที่

6 ความเหมาะสมของอาหารและนา้ ดม่ื

6.1 ความเหมาะสมดา้ นปริมาณของอาหาร และนา้ ดื่ม 4.69 0.54 มากทีส่ ดุ

6.2 ความเหมาะสมดา้ นรสชาติ ความอร่อย ของอาหารและนา้ ดื่ม 4.65 0.52 มากท่ีสดุ

7 ความรู้ ความเข้าใจ และการปฏบิ ัติ ทที่ า่ นไดร้ ับจากการฟัง

บรรยายและการปฏิบัติ ดงั ต่อไปน้ี

7.1 การจดั การเรยี นการสอนสาหรบั ผ้เู รียนร่วมกบั

สถานประกอบการ 4.58 0.61 มากที่สดุ

7.2 การออกแบบห้องเรยี นออนไลน์ 4.79 0.46 มากทส่ี ุด

7.3 การใช้งาน Free Social Learning Platform เบ้อื งต้น 4.83 0.43 มากทีส่ ุด

7.4 การออกแบบกิจกรรมการสอน บน Free Social Learning

Platform 4.75 0.52 มากที่สดุ

7.5 การออกแบบเครอื่ งมือวดั และการประเมินผล 4.71 0.54 มากทีส่ ุด

7.6 การใชง้ านในฐานะผ้เู รียนบน Free Social Learning

Platform 4.79 0.46 มากท่สี ดุ

8 ประโยชน์ทที่ า่ นไดร้ ับจากการเข้ารบั การอบรมฯ ในครั้งน้ี

8.1 สามารถออกแบบเครื่องมือวดั และการประเมนิ ผล

บน Free Social Learning Platform 4.73 0.49 มากที่สุด

8.2 สามารถใชง้ านในฐานะผู้เรยี นบน Free Social Learning

Platform 4.71 0.50 มากทส่ี ุด

8.3 สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใชแ้ ก้ปัญหาและพฒั นาการเรยี น

การสอนให้เกิดผลงานที่มีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพได้ 4.77 0.47 มากทีส่ ุด

เฉลี่ยโดยรวม 4.70 0.62 มากท่ีสุด

จากตารางสรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีความพึงพอใจต่อการเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตร : การพัฒนาทักษะการสร้างส่ือออนไลน์ของครูอาชีวศึกษา บน Free Social Learning platform ใน
การจัดการเรียนการสอนสาหรับกลุ่มผู้เรียนรว่ มกับสถานประกอบการ รหัสหลักสูตร 625152001 ในภาพรวมอยู่

ในระดับมากที่สุด ( X = 4.70, S.D. = 0.62) แต่เม่ือพิจารณารายละเอียดแล้วพบว่า รายการที่ผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ ความสะดวกและความพร้อมของสถานท่ี การจัดสถานที่ มี

คะแนนเฉล่ียสูงสุด ( X = 4.65) และความพร้อมของอุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย และเอกสารท่ี

ใช้ในการอบรมฯ ( X = 4.63) ส่วนรายการที่มีความพึงพอใจ ในระดับมาก ได้แก่ ความพร้อมของเครื่องเสียง สื่อ

7

โสตทัศนปู กรณ์ ท่ใี ชใ้ นการอบรมฯ มคี ะแนนเฉล่ียสงู สดุ ( X = 4.42) และความเหมาะสมของวนั เวลา ระยะเวลา
ที่ดาเนินการจดั อบรมฯ ( X = 4.31) ตามลาดับ

ด้านความรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพของวทิ ยากร น้ัน รายการท่ีผู้ตอบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจ
ในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ บุคลิกภาพ การแสดงออก ของวิทยากร มีคะแนนเฉลี่ยสงู สุด ( X = 4.87) รองลงมาเป็น
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ( X = 4.85) และความเอาใจใส่ ให้คาแนะนา แก่ผู้เข้ารับการ
อบรม ในระหว่างดาเนินการอบรมของวทิ ยากร ( X = 4.79) ตามลาดับ

ด้านความเหมาะสมของอาหารและน้าด่ืม รายการทผี่ ู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจในระดับมากที่สุด
คือ ความเหมาะสมด้านปริมาณของอาหาร และน้าดื่ม มีคะแนนเฉลย่ี สูงสดุ ( X = 4.69) และความเหมาะสมด้าน
รสชาติ ความอร่อย ของอาหารและน้าดม่ื ( X = 4.65)

ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติที่ได้รับจากการฟังบรรยาย น้ัน รายการท่ีผู้ตอบแบบสอบถาม มี
ความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ การใช้งาน Free Social Learning Platform เบ้ืองต้น มีคะแนนเฉล่ีย
สูงสุด ( X = 4.83) รองลงมาเป็น การออกแบบห้องเรียนออนไลน์, การใช้งานในฐานะผู้เรียนบน Free Social
Learning Platform ( X = 4.79) การออกแบบกิจกรรมการสอน บน Free Social Learning Platform ( X =
4.75) การออกแบบเคร่ืองมือวัดและการประเมินผล บน Free Social Learning Platform ( X = 4.71) และการ
จัดการเรียนการสอนสาหรับผเู้ รียนร่วมกบั สถานประกอบการ ( X = 4.58) ตามลาดับ

ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ
ผูต้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ดงั น้ี
ในการอบรมคร้ังนี้ได้รับความรู้เพิ่มเติมมาก และโดยภาพรวมได้รับประโยชน์มาก (จานวนผู้ตอบ 2 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.85)

12. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใต้ ยุทธศาสตร์ นโยบาย จดุ เนน้ และมาตรการ
การดาเนินการในโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์

ของสถานศึกษา บน Free Social Learning Platform ในการจัดการเรียนการสอนสาหรับกลุ่มผู้เรียนร่วมกับ
สถานประกอบการ รหสั หลักสูตร 625152001 ภายใตโ้ ครงการพฒั นาความรู้และเพ่มิ ประสบการณ์ใหก้ ับครแู ละ
บุคลากรสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีความสอดคล้องกับ
นโยบาย พันธกจิ ยุทธศาสตร์ ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาและกระทรวงศึกษาธกิ าร ดังนี้

1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580
 ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์

8

3. ยุทธศาสตรก์ ารผลติ และพฒั นากาลงั คนอาชีวศกึ ษา ในระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555 – 2569)

 นโยบายท่ี 2 : พัฒนาปรมิ าณและคณุ ภาพของครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา

ด้านอาชวี ศึกษา

4. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ

 2 ผลติ พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศึกษา

 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ

5. นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

นโยบาย

 4 ปรับรือ้ และเปลย่ี นแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้

จุดเน้น

 1 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา

6. ยุทธศาสตร์ ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

 3. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

 4. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม

7. นโยบาย จดุ เน้นและทศิ ทางการขบั เคลือ่ นการจดั อาชวี ศึกษา ของสานกั งานคณะกรรมการ

การอาชีวศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การศกึ ษาสรา้ งคน อาชวี ะสรา้ งชาติ “เตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21”

 4. ปฏริ ูประบบบรหิ ารและงานบุคคล

 5. ขบั เคลอื่ นอาชีวศกึ ษา เพื่อเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21

8. มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561

มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชวี ศึกษา

ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.2 ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศึกษา

ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.3 ด้านการบริหารจดั การ

ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 ดา้ นการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ

9. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง :

 3 หว่ ง

 พอประมาณ  มเี หตผุ ล  มภี ูมคิ มุ้ กันในตวั ทดี่ ี

 เงื่อนไข

 ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั )

 คุณธรรม (ซือ่ สตั ยส์ ุจริต อดทน เพยี ร มีสตปิ ัญญา)

 สมดุล/พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลง

 วตั ถุ/สังคม/ส่งิ แวดลอ้ ม/วฒั นธรรม

9

10. ค่านิยมหลกั 12 ประการ
 2. ซอ่ื สตั ย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพ่ือส่วนรวม
 4. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศึกษาเลา่ เรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
 8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรูจ้ ักการเคารพผ้ใู หญ่
 10. รู้จกั ดารงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดารัสของ

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ร้จู ักอดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจาเป็น มีไว้พอกนิ พอใช้ ถา้ เหลือก็แจกจา่ ยจาหน่าย
และพร้อมที่จะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมภี มู ิคุ้มกันท่ดี ี

10

ภาพกจิ กรรมประกอบการรายงาน

11

โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหลักสตู รการพฒั นาทกั ษะการสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์
ของสถานศกึ ษา บน Free Social Learning Platform ในการจดั การเรียนการสอน

สาหรบั กลุ่มผเู้ รียนร่วมกับสถานประกอบการ รหสั หลักสูตร 625152001

ภายใตโ้ ครงการพฒั นาความรู้และเพ่ิมประสบการณ์ให้กับครแู ละบุคลากรสถานศึกษา
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาอตุ รดติ ถ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
****************************

12

13


Click to View FlipBook Version