๑
๑ คำชี้แจงสำหรับครู แบบฝึกทักษะหลักการอ่านจับใจความสำคัญ เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ ๕ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง หลักการอ่านจับใจความสำคัญ สามารถอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ได้มากยิ่งขึ้น ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ๑. ศึกษาคู่มือการใช้แบบฝึกทักษะให้เข้าใจ ๒. ชี้แจงขั้นตอนการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะนี้ให้นักเรียนเข้าใจ ๓. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๔. นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทำแบบฝึกทักษะและตรวจคำตอบตามเฉลย ๕. ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอน และให้คำแนะนำเมื่อนักเรียนพบปัญหา ๖. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง และให้แรงเสริมในการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ๗. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ เมื่อศึกษาใบความรู้ และทำแบบฝึกทักษะ เสร็จสิ้น ๘. บันทึกผลคะแนนการทำแบบทดสอบ และแบบฝึกทักษะทุกครั้ง ใช้เวลาเรียนจำนวน ๓ ชั่วโมง
๒ คำชี้แจงสำหรับนักเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ ๕ เล่มที่ ๑ หลักการอ่านจับใจความสำคัญ เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ เล่มนี้ประกอบด้วย แบบฝึกทักษะย่อยจำนวน ๖ แบบฝึก เพื่อให้เกิดผลดี นักเรียนควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ๑. ศึกษาคำชี้แจงและคำแนะนำการใช้แบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนให้เข้าใจ ๒. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียน ตรวจคำตอบจากเฉลย แล้วบันทึกผล คะแนนลงในแบบบันทึกการให้คะแนน ๓. ศึกษาใบความรู้ และทำแบบฝึกทักษะโดยเริ่มจากแบบฝึกทักษะที่ ๑ ไปถึงแบบฝึกทักษะที่ ๖ ตามลำดับ เมื่อพบปัญหาให้ปรึกษาครูผู้สอน ๔. ทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความก้าวหน้าของนักเรียน ตรวจคำตอบจากเฉลย แล้วบันทึกผล คะแนนลงในแบบบันทึกการให้คะแนน ๕. ทำแบบฝึกทักษะด้วยความตั้งใจ และมีความซื่อสัตย์ ห้ามดูเฉลยคำตอบล่วงหน้า พร้อมทั้งทำแบบ ฝึกทักษะจนครบทุกเล่ม ๖. เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเพื่อประเมินพัฒนาการการเรียนรู้
๓ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมี นิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ม.๔/๓ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายการอ่านจับใจความสำคัญแปลความ ตีความและขยายความได้ ๒. นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญและใจความรองจากข้อความที่กำหนดให้ได้ ๓. นักเรียนสามารถบอกความหมายข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นได้ ๔. นักเรียนสามารถแยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากข้อความที่กำหนดให้ได้
๔ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ คำชี้แจง เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การตีความ มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. การอ่านข้อความ ข. การทำความเข้าใจ ค. การบอกความหมายที่แฝงอยู่ ง. การแสดงความคิดเห็นของบุคคล ๒. "การอ่านเพื่อนำมาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดเพิ่มมากขึ้นจากเนื้อความเดิม" หมายถึงการอ่านในข้อใด ก. การอ่านตีความ ข. การอ่านขยายความ ค. การอ่านแปลความ ง. การอ่านสรุปความ ๓. ประโยคใจความสำคัญ หมายถึงอะไร ก. ประโยคที่สรุปเรื่องนั้นไว้ทั้งหมด ข. ประโยคตอนท้ายของเรื่อง ค. ประโยคบอกที่มาของเรื่อง ง. ประโยคตอนต้นของเรื่อง ๔. ข้อใดไม่ใช่หลักในการอ่านตีความ ก. จับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านให้ได้ ข. ทำความเข้าใจกับถ้อยคำบางคำที่เห็นว่าคำนั้นมีความสำคัญ ค. ดหาเหตุผลอย่างรอบคอบก่อนนำมาประมวลเข้ากับความคิดของตน ง. วิพากษ์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่านตามความรู้สึกและความคิดของตน
๕ ๕. การเขียนรูปภาพแทนภาษาพูด ข้อใดสื่อความหมายได้ถูกต้องและชัดเจนน้อยที่สุด ก. ผู้หญิง - ความอ่อนแอ ข. เมฆหมอก - อุปสรรค ค. กุหลาบแดง - ความรัก ง. สีดำ - ความชั่วร้ายประโยคที่สรุปเรื่องนั้นไว้ทั้งหมด ๖. สัญลักษณ์นี้มีความหมายว่าอย่าไร ก. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถบางชนิดบริเวณนั้น ข. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดตรงแนวนั้นเป็นอันขาด ค. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดตรงแนวนั้นชั่วคราว ง. ห้ามหยุดรถหรือจอดรถบางชนิดบริเวณนั้นชั่วคราว ๗. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง ก. วันนี้อากาศครึ้มฝนคงจะตก ข. การว่ายน้ำเป็นการออกกำลังกายที่ดีที่สุด ค. การตื่นนอนแต่เช้าถือว่าเป็นกำไรของชีวิต ง. จังหวัดหนองคายมีพรมแดนติดกับประเทศลาว อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๘ – ๙ ฝนเทียม คือ การบังคับเมฆฝนให้ตกลงมาเป็นฝน โดยใช้สารเคมีพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ชาวบ้านมักเรียก ฝนเทียมว่า ฝนหลวง เพราะฝนเทียมเกิดจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อทรงเห็นความเดือดร้อนของเกษตรกรที่ต้องพบกับสภาวะฝนแล้ง ทำให้ประกอบอาชีพไม่ได้ ( ที่มา : ปราณี บุญชุ่ม. ( ๒๕๔๙). ภาษาไทย.) ๘. การทำฝนเทียมทำอย่างไร ก. ใช้น้ำพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ข. ใช้สารเคมีพ่นไปในท้องอากาศ ค. ใช้สารเคมีพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ง. ใช้สารเคมีพ่นเป็นละอองไอน้ำในชั้นบรรยากาศ
๖ ๙. ทำไมจึงต้องมีการทำฝนเทียม ก. เพราะเกษตรกรพบกับสภาวะแห้งแล้ง ข. เพราะเจ้าหน้าที่ต้องการให้มีน้ำฝนมาก ค. เพราะเกษตรกรเก็บกักน้ำฝนไว้ไม่ได้ ง. เพราะเจ้าหน้าที่ต้องการให้ฝนตกเหนือเขื่อน อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๑๐ คนตาบอดสีจะไม่ได้รับอนุญาตให้มีใบขับขี่ยานพาหนะในครอบครอง เนื่องจากอาการบอดสีของตา เป็นอุปสรรคสำหรับการบอกสัญญาณไฟจราจรบนท้องถนน ( ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. ( ๙ ธันวาคม ๒๕๕๔). ตาบอดสี. ) ๑๐. ข้อความใดเป็นใจความสำคัญ ก. คนตาบอดสีขับรถ ข. คนตาบอดสีกับใบขับขี่ ค. คนตาบอดสีจะไม่ได้รับอนุญาตให้มีใบขับขี่ ง. อาการบอดสีของตาเป็นอุปสรรคสำหรับการบอกสัญญาณไฟจราจรบนท้องถนน
๗ ใบความรู้ที่ ๑ การอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ การอ่านจับใจความสำคัญ คือ การอ่านที่มุ่งเน้นค้นหาสาระสำคัญของข้อความหรือของหนังสือ เล่มนั้น ว่าส่วนใดเป็นใจความสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอและส่วนใดเป็นส่วนขยายใจความสำคัญให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น ส่วนที่เป็นใจความสำคัญอาจอยู่ช่วงต้น ช่วงกลาง หรือช่วงท้ายของเรื่องหรือย่อหน้านั้น ๆ ก็ได้ การแปลความ คือ การถ่ายความหมายของอักษร หรือเครื่องหมายเพื่อให้เข้าใจความหมายตาม การตีความ คือ การหาความหมายที่แฝงอยู่ในข้อความ หรือการอธิบายความหมายที่ซับซ้อนให้เข้าใจ ง่ายขึ้น รวมถึงการชี้ให้เห็นแก่นหรือแนวความคิดหลักของข้อความหรือบทความนั้น ๆ การขยายความ คือ การนำข้อมูลมาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดมากขึ้น หรือการทำให้เนื้อความ ขยายกว้างขวางออกไป สามารถเชื่อมโยงกับประสบการณ์ส่วนตัว จนเป็นที่เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น ความสำคัญของการอ่านแบบตีความ ๑. ทำให้เข้าใจเนื้อหาสาระของเรื่องที่อ่านได้หลายด้านหลายมุม ๒. ทำให้เห็นคุณค่าและได้รับประโยชน์จากสิ่งที่อ่าน ๓. เป็นการฝึกคิด ฝึกไตร่ตรองด้วยเหตุผล ๔. ช่วยให้มีวิจารณญาณในการอ่านมากยิ่งขึ้น ๕. เป็นเครื่องมือสำคัญในการเข้าถึงงานประพันธ์นั้นๆ ๖. ช่วยให้ผู้อ่านมีโลกทัศน์ที่กว้างไกล ลึกซึ้ง มีใจกว้างยอมรับความแตกต่างของมนุษย์ด้วยกันได้ หลักสำคัญของการแปลความ ๑. จับใจความสำคัญหรือสาระของเรื่องให้ได้ ๒. เรียบเรียงเป็นข้อความใหม่ที่มีความหมายชัดเจน และคงความหมายเดิมไว้ได้ วิธีการขยายความ ๑. กล่าวถึงสาเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน ๒. ยกตัวอย่างหรือข้อเท็จจริงมาประกอบ ๓. อธิบายสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นเพิ่มเติม ๔. คาดคะเน (การอนุมาน) สิ่งที่น่าจะเป็น หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไป โดยอาศัยข้อมูลจากเรื่องเดิม เป็นพื้นฐานในการคาดคะเน
๘ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๙ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๑๐ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๑๑ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๑๒ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๑๓ เนื้อหาการอ่านแปลความตีความและขยายความ
๑๔ แบบฝึกทักษะที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องได้ใจความ ๑. การอ่านแปลความ คืออะไร ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๒. การอ่านตีความ คืออะไร ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
๑๕ ๓. การอ่านขยายความ คืออะไร ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๔. ใจความสำคัญ คืออะไร ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
๑๖ เกณฑ์การให้คะแนน ข้อ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๒ ๑ คะแนน - ตอบถูกประเด็น ประเด็นละ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกประเด็นได้ ๐ คะแนน ๓ ๑ คะแนน - ตอบถูกประเด็น ประเด็นละ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกประเด็นได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน
๑๗ แบบฝึกทักษะที่ ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนแปลความข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามให้ถูกต้อง ( ๑๐ คะแนน ) 1. ๒. ๓. ๔. ๕.
๑๘ เกณฑ์การให้คะแนน ข้อ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องทุกข้อได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้อง๑-๓ ข้อได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๒ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องทุกข้อได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้อง๑-๓ ข้อได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๓ คะแนน - อธิบายถูกต้องทุกข้อได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้อง๑-๓ ข้อได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๔ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องทุกข้อได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้อง๑-๓ ข้อได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๕ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องทุกข้อได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้อง๑-๓ ข้อได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน
๑๙ แบบฝึกทักษะที่ ๓ คำชี้แจง ให้นักเรียนตีความข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามให้ถูกต้อง ( ๑๐ คะแนน )
๒๐ แบบฝึกทักษะที่ ๔ คำชี้แจง ให้นักเรียนแปลความ ตีความ และขยายความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามให้ถูกต้อง ลิงเปิดแผล มีลิงอยู่ฝูงหนึ่งอาศัยอยู่ในป่าข้างเขาใหญ่พวกมันกระโดดโลดเต้นสนุกสนานไปตามประสาลิงมีลิง น้อยตัวหนึ่ง กระโดดไปตามกิ่งไม้แต่วิทยายุทธคงจะอ่อนไปหน่อย จึงคว้ากิ่งไม้พลาดพลัดตกลงมา กระทบตอไม้ข้างล่างมีแผลแตกที่ท้องประมาณนิ้วแศษและมีเลือดไหลออกมาเหล่าเพื่อนลิงเห็นเข้า จึงลงมาจากต้นไม้มายืนมุงดูรอบข้างมีตัวหนึ่งคล้ายกับเป็นหัวหน้าฝูงเข้าไปใกล้ร้องเจี๊ยกๆ ซึ่งอาจ แปลได้ว่า "เป็นไงพวก"ร้องไม่ร้องเปล่าใช้มือทั้งสองแหวกแผลดูเหมือนเป็นหมอตรวจไข้แต่เป็น หมอที่ใช้ไม่ได้เพราะไม่ได้ล้างมือให้สะอาดก่อนแผลที่แตกอยู่แล้วก็เลยฉีกกว้างขึ้น เจ้าจ๋อน้อย ร้องจ๊ากด้วยความเจ็บเหล่าวงศ์วานของหนุมานทั้งฝูงก็แตกฮือด้วยความตกใจสักพักก็กลับมามุง ใหม่ อีกตัวหนึ่งก็เข้ามาดูแผลแต่ไม่ดูเปล่ากลับแหวกแผลดีอีก ตัวแล้วตัวเล่าก็ทำแบบเดียวกันแผล ก็ยิ่งเหวอะหวะมากขึ้น เจ้าลิงน้อยสุดจะทนถึงกับหมดแรงร้องไม่ออกนอนแน่นิ่งไปเมื่อเห็นเพื่อน นอนนิ่งฝูงลิงต่างแยกย้ายกันไปวันรุ่งขึ้น แผลเริ่มระบม ลิงน้อยได้แต่นอนหายใจระทวยเพื่องฝูงเห็น ว่ายังไม่ตายก็ทะยอยเข้ามาใหม่ มาถึงก็แหวกแผลดูอีกหลายตัวเข้าแผลจึงฉีกกว้างจนเห็นไส้ เลือด ไหลนองแต่วิบากกรรมของเจ้าจ๋อน้อยยังไม่หมด มีตัวหนึ่งเข้าไปดึงไส้ออกมาดูอีกตัวหนึ่งดึงจนไส้ ออกทั้งหมดไม่ถึงเย็นเจ้าลิงน้อยผู้โชคร้ายก็ถึงกาลอวสานจบชีวิตลงอย่างทรมานและน่าเวทนา ด้วยความหวังดีและความอยากรู้อยากเห็นของเพื่อนพ้องน้องพี่มันเอง. แปลความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ตีความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ขยายความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ชื่อ.................................................สกุล.....................................ชั้น.....................เลขที่…………
๒๑ แบบฝึกทักษะที่ ๕ คำชี้แจง ให้นักเรียนแปลความ ตีความ และขยายความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามให้ถูกต้อง “เมียท่านพิศพ่างเพี้ยง มารดา ทรัพย์ท่านคืออิฐผา กระเบื้อง รักสัตว์อื่นอาตมา เทียมเท่า กันแฮ ตรองดั่งนี้จักเปลื้อง ปลดพ้นสงสาร” (จาก “โคลงโลกนิติ”) แปลความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ตีความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ขยายความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ชื่อ.................................................สกุล.....................................ชั้น.....................เลขที่…………
๒๒ แบบฝึกทักษะที่ ๖ คำชี้แจง ให้นักเรียนแปลความ ตีความ และขยายความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามให้ถูกต้อง ““ใครจะไว้ใจอะไรตามใจเถิด แต่อย่าเกิดไว้ใจในสิ่งห้า หนึ่งอย่าไว้ใจทะเลทุกเวลา สองสัตว์เขี้ยวเล็บงาอย่าวางใจ สามผู้ถืออาวุธสุดจักร้าย สี่ผู้หญิงทั้งหลายอย่ากรายใกล้ ห้าพระมหากษัตริย์ทรงฉัตรชัย ถ้าแม้ใครประมาทอาจตายเอย” น.ม.ส., "นิทานเวตาล" แปลความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ตีความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ขยายความ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ชื่อ.................................................สกุล.....................................ชั้น.....................เลขที่…………
๒๓ เกณฑ์การให้คะแนน แบบประเมินการเขียนแปลความ ตีความ และขยายความ จากบทความที่สนใจ ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ การแปลความ ๒ การตีความ ๓ การขยายความ ๔ การใช้ภาษา รวม ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = ๔ คะแนน ดี = ๓ คะแนน พอใช้ = ๒ คะแนน ปรับปรุง = ๑ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๔ - ๑๖ ดีมาก ๑๑ - ๑๓ ดี ๘ - ๑๐ พอใช้ ต่ำกว่า ๘ ปรับปรุง
๒๔ แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ คำชี้แจง เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ทำเครื่องหมาย ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การตีความ มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. การอ่านข้อความ ค. การทำความเข้าใจ ค. การบอกความหมายที่แฝงอยู่ ง. การแสดงความคิดเห็นของบุคคล ๒. "การอ่านเพื่อนำมาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดเพิ่มมากขึ้นจากเนื้อความเดิม" หมายถึงการอ่านในข้อใด ก. การอ่านตีความ ข. การอ่านขยายความ ค. การอ่านแปลความ ง. การอ่านสรุปความ ๓. ประโยคใจความสำคัญ หมายถึงอะไร ก. ประโยคที่สรุปเรื่องนั้นไว้ทั้งหมด ข. ประโยคตอนท้ายของเรื่อง ค. ประโยคบอกที่มาของเรื่อง ง. ประโยคตอนต้นของเรื่อง ๔. ข้อใดไม่ใช่หลักในการอ่านตีความ ก. จับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านให้ได้ ข. ทำความเข้าใจกับถ้อยคำบางคำที่เห็นว่าคำนั้นมีความสำคัญ ค. ดหาเหตุผลอย่างรอบคอบก่อนนำมาประมวลเข้ากับความคิดของตน ง. วิพากษ์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่านตามความรู้สึกและความคิดของตน
๒๕ ๕. การเขียนรูปภาพแทนภาษาพูด ข้อใดสื่อความหมายได้ถูกต้องและชัดเจนน้อยที่สุด ก. ผู้หญิง - ความอ่อนแอ ข. เมฆหมอก - อุปสรรค ค. กุหลาบแดง - ความรัก ง. สีดำ - ความชั่วร้ายประโยคที่สรุปเรื่องนั้นไว้ทั้งหมด ๖. สัญลักษณ์นี้มีความหมายว่าอย่าไร ก. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถบางชนิดบริเวณนั้น ข. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดตรงแนวนั้นเป็นอันขาด ค. ห้ามมิให้หยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดตรงแนวนั้นชั่วคราว ง. ห้ามหยุดรถหรือจอดรถบางชนิดบริเวณนั้นชั่วคราว ๗. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง ก. วันนี้อากาศครึ้มฝนคงจะตก ข. การว่ายน้ำเป็นการออกกำลังกายที่ดีที่สุด ค. การตื่นนอนแต่เช้าถือว่าเป็นกำไรของชีวิต ง. จังหวัดหนองคายมีพรมแดนติดกับประเทศลาว อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๘ – ๙ ฝนเทียม คือ การบังคับเมฆฝนให้ตกลงมาเป็นฝน โดยใช้สารเคมีพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ชาวบ้านมักเรียก ฝนเทียมว่า ฝนหลวง เพราะฝนเทียมเกิดจากพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อทรงเห็นความเดือดร้อนของเกษตรกรที่ต้องพบกับสภาวะฝนแล้ง ทำให้ประกอบอาชีพไม่ได้ ( ที่มา : ปราณี บุญชุ่ม. ( ๒๕๔๙). ภาษาไทย.) ๘. การทำฝนเทียมทำอย่างไร ก. ใช้น้ำพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ข. ใช้สารเคมีพ่นไปในท้องอากาศ ค. ใช้สารเคมีพ่นเข้าไปในกลุ่มเมฆ ง. ใช้สารเคมีพ่นเป็นละอองไอน้ำในชั้นบรรยากาศ
๒๖ ๙. ทำไมจึงต้องมีการทำฝนเทียม ก. เพราะเกษตรกรพบกับสภาวะแห้งแล้ง ข. เพราะเจ้าหน้าที่ต้องการให้มีน้ำฝนมาก ค. เพราะเกษตรกรเก็บกักน้ำฝนไว้ไม่ได้ ง. เพราะเจ้าหน้าที่ต้องการให้ฝนตกเหนือเขื่อน อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๑๐ คนตาบอดสีจะไม่ได้รับอนุญาตให้มีใบขับขี่ยานพาหนะในครอบครอง เนื่องจากอาการบอดสีของตา เป็นอุปสรรคสำหรับการบอกสัญญาณไฟจราจรบนท้องถนน ( ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. ( ๙ ธันวาคม ๒๕๕๔). ตาบอดสี. ) ๑๐. ข้อความใดเป็นใจความสำคัญ ก. คนตาบอดสีขับรถ ข. คนตาบอดสีกับใบขับขี่ ค. คนตาบอดสีจะไม่ได้รับอนุญาตให้มีใบขับขี่ ง. อาการบอดสีของตาเป็นอุปสรรคสำหรับการบอกสัญญาณไฟจราจรบนท้องถนน
๒๗ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ค ๒. ข ๓. ก ๔. ง ๕. ก ๖. ข ๗. ง ๘. ค ๙. ก ๑๐. ค
๒๘ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ค ๒. ข ๓. ก ๔. ง ๕. ก ๖. ข ๗. ง ๘. ค ๙. ก ๑๐. ค
๒๙ แบบบันทึกคะแนน การทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน และแบบฝึกทักษะ ชื่อ............................................................................................เลขที่................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนนาคำราษฎร์รังสรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครพนม แบบทดสอบ/แบบฝึก คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ แบบทดสอบก่อนเรียน ๑๐ แบบทดสอบหลังเรียน ๑๐ แบบฝึกเสริมทักษะที่ ๑ - ๖ ๖๐ รวมคะแนนทั้งหมด ๘๐ ลงชื่อ......................................................ครูผู้สอน ( นางสาวอังค์วรา ไชยมาตย์) ครู