The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือประกอบการเรียนในรูปแบบออนไลน์วิชาวิทยาศาสตร์ชั้นม.1เรื่องเซลล์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pigaim2, 2022-11-29 12:37:03

cell-M.1

หนังสือประกอบการเรียนในรูปแบบออนไลน์วิชาวิทยาศาสตร์ชั้นม.1เรื่องเซลล์

หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book)
เรยี บเรียงโดย ครอู นรรฆพร สุทธสิ าร

คำนำ

การพัฒนาหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง เซลล์ สาหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ิ่ 1 รว่ มกับการจัดการเรียนการ
สอนแบบสืบเสาะ 5E เพื่อใช้เป็นสอ่ื ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรคู้ วบคกู่ บั แผนการจัดการเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ โดยมเี นอ้ื หาหลากหลายสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 2551 ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็น
สาคญั โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ สารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมลู และการอภิปราย
ใชเ้ ป็นคมู่ อื สาหรบั คน้ คว้าตนเองเพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ สามารถส่อื สารส่งิ ท่ีเรียนรู้ มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ
และมีจติ วทิ ยาศาสตรร์ วมไปถึงการเสรมิ สรา้ งระเบยี บวินัย ความซ่ือสตั ยข์ องนกั เรยี นหากนกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนา
เป็นการเสรมิ สร้างระเบียบวนิ ัยของตนเอง

หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง เซลล์ สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ิ 1 รว่ มกบั การจัดการเรยี นการสอนแบบ
สืบเสาะ 5E ประกอบดว้ ยเนื้อหายอ่ ยดังน้ี

เรอื่ งที่ 1 เซลลข์ องส่งิ มีชวี ิต
เรอ่ื งท่ี 2 การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ซง่ึ จะประกอบดว้ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา กจิ กรรม แบบฝึกหดั ทา้ ย
กิจกรรม และกรอบความรูต้ ่าง ๆ เชน่ กรอบคาถามชวนคดิ กรอบวทิ ยาศาสตรก์ ับชวี ิตประจาวนั เป็นต้น โดยภายในมีวดี ี
ทัศน์ประกอบการบรรยาย ภาพ และเสียงร่วมด้วย
ผู้จัดทาหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่าหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ เร่อื ง เซลล์ สาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ิ่ 1 รว่ มกบั การ
จดั การเรยี นการสอนแบบสืบเสาะ 5E เล่มนี้จะช่วยใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจเนื้อหาได้งา่ ยชดั เจน มีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรายวิชาวทิ ยาศาสตรส์ งู ขน้ึ เป็นผู้ที่มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามาตรฐานของหลักสตู รสามารถนาความรู้
ทีไ่ ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ และเปน็ ประโยชน์สาหรบั ครผู ู้สอน ผ้ทู ีส่ นใจนาไปเป็นแนวทางในการปรบั ปรุง
พัฒนาการเรยี นการสอนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ บรรลจุ ดุ มุ่งหมายที่ตง้ั ไว้

อนรรฆพร สทุ ธสิ าร

สำรบัญ ก

เร่ือง 1
คานา 1
สารบญั 2
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ัด / จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 6
เซลล์ของสงิ่ มีชวี ติ 7
ประเภทของสง่ิ มชี วี ิต 23
กล้องจุลทรรศน์ 23
โครงสรา้ งของเซลล์ 28
กำรลำเลียงสำรเข้ำและออกจำกเซลล์ 33
กำรแพร่
กำรออสโมซสิ
บรรณานุกรม

เซลล์

สำระและมำตรฐำน

สำระที่ 1 วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว 1.2

เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์
ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กันความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างและหนา้ ทีข่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ที างานสัมพันธ์กัน รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวช้วี ดั

1. เปรยี บเทยี บรปู ร่างลักษณะและโครงสร้างของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ รวมทั้งบรรยายหน้าท่ขี องผนงั เซลล์
เย่ือหุม้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นวิ เคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์

2. ใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
3. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างรปู ร่างกบั การทาหน้าทข่ี องเซลล์
4. อธบิ ายการจัดระบบของสิง่ มีชีวิตโดยเรม่ิ จากเซลล์ เนือ้ เยอื่ อวัยวะ ระบบ อวยั วะ จนเป็นสงิ่ มชี ีวติ
5. อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซสิ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ และยกตัวอย่างการแพร่และออสโมซิส

ในชีวติ ประจาวัน 2

คำถำมชวนคดิ เซลล์1. ของสง่ิ มชี วี ิต

เซลลร์ ่ำงกำย น่ามหัศจรรย์ท่ีร่างกายของคนเรามีระบบต่างๆ ที่ทางานในร่างกาย
มนษุ ย์เปน็ อยำ่ งไร ละเอียดอ่อนมากมายกว่าเครื่องยนต์หลายเท่า เป็นต้นว่า ระบบ
ความรู้สึกสัมผัส ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ ระบบสืบพันธ์ุ สามารถถ่ายทอด

กรรมพันธุ์ออกลูกออกหลานได้ และยิ่งกว่าน้ันยังมีระบบประสาทและสมอง

สามารถเรียนรู้ มีความนึกคิด และเก็บข้อมูลได้อีกด้วย ซึ่งไม่ปรากฏในระบบของ

เคร่อื งยนต์ท่มี นษุ ยส์ ร้างขน้ึ มา

ระบบตา่ งๆ แตล่ ะระบบกจ็ ะประกอบข้นึ จากเนอ้ื เยอื่ หลายๆ ชนดิ ท้ังท่ีเหมอื นกันและต่างกันมารว่ มกัน
ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีการแบ่งหน้าที่การงานกันทา ไม่มีการทะเลาะกัน มีแต่ความสามัคคีอย่าง
เดียว และมีการทางานกนั ตลอด 24 ชัว่ โมง ไม่มีการนัดชมุ นุม หรือนดั หยดุ งาน

ถ้าจะวิเคราะห์เน้ือเย่ือให้ละเอียดลงไปด้วยเครื่องมือพิเศษท่ีเรียกว่า กล้องจุลทรรศน์ จะพบว่า
เนื้อเยื่อต่างๆ แต่ละชนิดจะประกอบด้วยหน่วยท่ีเล็กที่สุดท่ีเรียกว่า “เซลล์” ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กท่ีสุดของ
สิ่งมชี ีวิต

เซลล์ คือ หน่วยที่เล็กท่ีสุดที่แสดงลักษณะของส่ิงมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วย เซลล์
สิ่งมชี ีวิตบางชนิดประกอบด้วยเซลล์เพียง 1 เซลล์ และบางชนิดประกอบด้วยเซลลห์ ลายเซลล์ เซลลบ์ างชนิด
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น เซลล์ไข่ไก่แต่เซลล์ส่วนใหญ่มองด้วยตาเปล่า ไม่เห็นจึงต้องใช้ กล้อง
จุลทรรศน์ชว่ ยในการศกึ ษา โดยต้องใช้และเก็บรกั ษาอย่างถกู วีธิ ิ

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์(Cell) สิ่งมีชีวิตบางชนิดประกอบด้วยเซลล์เพียง 1 เซลล์
(unicellular organism) และบางชนิดประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ (multicellular organism) เซลล์ของ
ส่งิ มชี วี ิตมขี นาดและ รปู ร่างแตกตา่ งกัน

ภำพ 1 เซลล์ของสิง่ มชี วี ติ

(ท่ีมำ :สถำบนั ส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี(2562).หนงั สอื เรียนรำยวิชำพืน้ ฐำนวิทยำศำสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 เลม่ 1.สำนกั พิมพ์จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั ;กรุงเทพมหำนคร.)

1.1 ประเภทของส่ิงมชี ีวิต 3

1.สิ่งมีชวี ิตเซลล์เดยี ว (unicellular organism) หมายถงึ ส่งิ มีชวี ติ ที่มีเซลล์เพียงเซลล์เดียว มี

ลักษณะทส่ี าคัญ คอื เป็นเซลลเ์ ดย่ี วทม่ี ีนวิ เคลียส โดยสารในนวิ เคลียสจะกระจายอยู่ทัว่ เซลล์ โครงสรา้ ง
ภายในเป็นแบบงา่ ยๆ พบได้ทัง้ ในนา้ และบนบก ดารงชวี ติ อยา่ งอิสระส่ิงมชี วี ติ เซลล์เดียวมลี ักษณะในการ
ดารงชวี ิตเหมือนสง่ิ มชี วี ติ หลายเซลล์ โดยสิง่ มชี วี ติ เซลล์เดยี วสามารถทากิจกรรมต่างๆ เชน่ กนิ อาหาร ย่อย
อาหาร หายใจ เคลื่อนท่ี สบื พันธ์ุ เปน็ ต้น

https://www.youtube.com/wat
ch?v=x1ErCyZCFw8

2.ส่ิงมีชวี ิตหลำยเซลล์(multicellular organism) หมายถึง ส่ิงมีชวี ิตทปี่ ระกอบด้วยเซลลม์ ากกว่า 1
เซลล์ อาจเป็นหลายลา้ นเซลล์ โดยเซลลช์ นิดเดยี วกันหรอื เซลล์ทม่ี ีลกั ษณะเหมอื นกนั จะมาอยู่รวมกนั เพอ่ื ทา
หน้าที่อย่างเดียวกันเรียกกลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า เนื้อเยื่อ(Tissue) และเนื้อเยื่อหลายชนิดประกอบเป็น
อวัยวะ (organ) ซึ่งอวยั วะต่างๆ ทาหน้าที่ประสานสมั พันธ์กันเปน็ ระบบอวัยวะ (organ system) และ
ทกุ ระบบอวัยวะจะประกอบกนั เป็นร่างกายไดแ้ ก่ สาหรา่ ย เห็ด รา สตั ว์ และพืชโดยทว่ั ไป

https://www.youtube.com/
watch?v=w77zPAtVTuI

4

สงิ่ มีชวี ติ ทุกชนดิ มเี ซลลเ์ ปน็ หน่วยพ้นื ฐำน นักเรียนคิดวำ่ เซลลพ์ ืช
และเซลล์สัตว์ มีรูปร่ำงลักษณะเหมอื นหรอื ตำ่ งกันอยำ่ งไร
โครงสรำ้ งภำยในเปน็ อยำ่ งไรบำ้ ง

เซลล์แตล่ ะชนิดของสิ่งมีชวี ิตหลายเซลลจ์ ะมีรูปร่างและลักษณะแตกตา่ งกันออกไป เนื่องจากลกั ษณะเฉพาะ
ของเซลล์ถูกควบคุมด้วยสารพันธุกรรมหรือยีน (gene) ทาให้เซลล์แต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่างแตกต่างกัน
ตามกจิ กรรมทที่ า หรือตาแหน่งหนา้ ทีข่ องเซลลน์ ้ันๆ

ตัวอยำ่ งโครงสรำ้ งของพชื เซลลค์ ุม(guard cell)

มรี ูปร่างคล้ายเมล็ดถ่วั 2 อัน
ประกบกนั ทาหน้าท่ี ควบคุมปิด-
เปิดปากใบ

ท่อลำเลยี งของพชื
(vascular tissue)

ไดแ้ ก่ ไซเล็มและโฟลเอ็ม ทาหนา้ ท่ี

ขนสง่ นา้ สารละลายและสารอาหาร

ภายในต้นพชื

เซลลข์ นรำก(root hair cell)

มลี กั ษณะยาวและย่ืนเข้าไปในดนิ เพ่ือเพม่ิ
พนื้ ทีผ่ วิ สัมผสั ให้รากดูดน้าและ
สารอาหารเพ่มิ มากขนึ้

ตวั อย่ำงโครงสร้ำงของสัตว์ 5

เซลล์ประสำท (Nerver cell)

มีลักษณะเป็นเสน้ ใยยาว และแตกแขนง
ไปทว่ั ร่างกาย ทาหน้าที่รับสง่ กระแส
ประสาทเพอ่ื ควบคุมการทางานของ
ร่างกาย

เซลล์เมด็ เลือดแดง

(Red blood cell)

มลี กั ษณะกลม ตรงกลาง

เวา้ ไมม่ ีนิวเคลียส ซ่งึ
ชว่ ยเพมิ่ พื้นท่ผี ิวในการ
แลกเปล่ยี นแก็สและ
สามารถลอดผา่ นหลอด
เลอื ดฝอยได้

เซลล์กลำ้ มเน้อื ลำย เซลล์อสุจิ
(skeletal striated (Sperm cell)
muscle)
ประกอบดว้ ยส่วนหัว ส่วน
มลี ักษณะรูปรา่ งทรงกระบอก ลาตัว และส่วนหางท่ียาว
ยาวในเซลล์มหี ลายนวิ เคลยี ส ซึ่งช่วยให้สามารถเคลื่อนท่ี
การทางานจะอยู่ในอานาจ ไปผสมกบั เซลลไ์ ขไ่ ด้
จิตใจ ทาหน้าทเ่ี คล่ือนไหว
โดยตรง เช่น กลา้ มเนื้อแขน
กลา้ มเน้ือขา

6

เซลลช์ นิดตา่ ง ๆ มขี นาดแตกต่างกนั เชน่ เซลลเ์ ส้นผมมีขนาด

100 ไมโครเมตร สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า และสมั ผสั ได้

ขณะที่เซลล์แบคทีเรียมขี นาดเพียง 1 ไมโครเมตร ไม่สามารถ

มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า เปน็ ต้น ซ่งึ ในชวี ติ ประจาวันของมนุษย์

ส่วนใหญจ่ ะเกีย่ วขอ้ งกบั เซลล์ทมี่ ขี นาดเล็กอยา่ งหลีกเลีย่ งไม่ได้

เช่น แบคทีเรยี กอ่ โรคต่าง ๆ ซงึ่ เปน็ สาเหตุหนง่ึ ที่อาจทาให้

เสยี ชวี ิตได้ หากไม่ได้รบั การรกั ษาอยา่ งถูกวิธี ดังนั้น ในการ ภาพ 2 เชอ้ื แบคทเี รยี E.coli ปนเปื้อนในอาหาร

วนิ จิ ฉยั โรคจงึ ตอ้ งอาศัยอปุ กรณ์ที่จะช่วยในการมองเห็นเซลล์

ขนาดเล็กได้ โดยอปุ กรณ์ท่ัวไปทใ่ี ชต้ รวจสอบเซลล์ขนาดเล็ก คือ กล้องจุลทรรศน์

1.2 กล้องจลุ ทรรศน์

กลอ้ งจุลทรรศน์(microscope) เป็นอุปกรณท์ ี่ชว่ ยในการขยายขนาดสิ่งตา่ งๆ ท่ีเราสามารถมองไม่
เห็นด้วยตาเปล่า เช่น เซลล์ เป็นต้น โดย รอเบิร์ต ฮุก (Robret Hooke) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นผู้
ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ เขาใช้กล้องจุลทรรศน์สังเกตเปลือกไม้คอร์กท่ีถูกเฉือนเป็นแผ่นบางๆ และพบ
ชอ่ งว่างมีลักษณะ คล้ายห้องเล็กๆ จงึ เรยี กว่า เซลล์ ในเวลาต่อมาได้มีการศกึ ษาเรื่องเซลล์เพิ่มขนึ้ จึงทราบ
วา่ สิ่งที่ โรเบิร์ต ฮุค สังเกตก็คอื ผนังเซลล์ของพชื ทีย่ ังคงเหลืออยู่หลังจากเซลล์ตายแล้วนั่นเอง ต่อมาใน
ปคี .ศ. 1674 อนั โตนี วาน เลเวนฮุค นักวทิ ยาศาสตรช์ าวดัตช์ได้สงั เกตหยดน้า ภายใต้กล้องจลุ ทรรศนแ์ ละ
พบเซลล์ทีม่ ชี ีวติ ของจลุ ินทรียห์ ลายชนดิ

ภาพ 3 รอเบริ ์ต ฮกุ (Robret Hooke) นกั วิทยาศาสตร์ชาวองั กฤษ ภาพ 4 เซลล์ไมค้ อรก์

และกล้องจุลทรรศน์ถูกพัฒนาให้มีหลายแบบ แต่แบบท่ีใช้ศึกษาในบทเรียนนี้ คือ กล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสง (light microscope) โดยมสี ว่ นประกอบ ดังนี้

สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง 7

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงมสี ว่ นประกอบที่สาคญั ได้แก่ เลนสใ์ กล้ตา เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ ปุ่มปรบั ภาพ
คอนเดนเซอร์ แหล่งกาเนดิ แสง ไอรสิ ไดอะแฟรม และแทน่ วางวัตถุ ดังภาพ

เลนส์ใกลต้ ำ (ocular lens) ลำกล้อง (body)

เปน็ เลนส์นูนทาหนา้ ทข่ี ยายภาพ เป็นสว่ นทม่ี ีเลนสใ์ กลต้ า
โดยทว่ั ไปมีกาลังขยาย 10X และเลนส์ใกล้วัตถุ

จำนหมนุ แขน (body)

(revolving เปน็ ส่วนทีจ่ ับใช้
nosepiece) เคลอ่ื นย้ายกลอ้ ง

ใชห้ มนุ เปลยี่ น เลนสใ์ กลว้ ัตถุ
กาลงั ขยายของ (objective lens)
เลนสใ์ กล้วตั ถุ
เป็นเลนส์นนู ทท่ี าหน้าท่ี
ท่ีหนีบสไลด์ ขยายภาพโดยทั่วไป
กาลงั ขยายภาพ 4X 10X
(stage clip) และ 40X

ใช้ยดึ สไลดใ์ ห้ตดิ ปุ่มปรับภำพหยำบ
กับแทน่ วางวตั ถุ
(coarse objective lens)
แทน่ วำงวัตถุ
ใชห้ มุนเล่อื นตาแหน่ง
(stage) แทน่ ของวัตถุ เพ่ือปรับ
ระยะภาพ
ใช้วางสไลดท์ ่ี
ต้องการศึกษา ฐำน (base) ไอรสิ ไดอะแฟรม ป่มุ ปรบั ภำพละเอยี ด

เลนสร์ วมแสง เป็นส่วนรองรับ (Iris diaphragm) (fine objective lens)
ส่วนตา่ งๆของ
(condenser) กลอ้ ง ใช้ในการปรบั ขนาด ใชใ้ นการปรบั ระยะห่าง
ของช่องรบั แสงตาม ระหว่างเลนส์และวตั ถุ
ทาหน้าท่ีรวมแสงให้เข้ม ตอ้ งการ เพอ่ื ให้เหน็ ภาพชัดเจน
ข้ึนเพื่อส่งไปยงั วัตถุท่ี ยิง่ ขนึ้
ศกึ ษา

แหลง่ กำเนิดแสง

(light source)

ทาหน้าทใี่ ห้แสงอาจเป็น
กระจกเงาหรือหลอดไฟ

https://www.youtube.co
m/watch?time_continue=
72&v=v4qNghzjvMw&feat
ure=emb_logo

8

กล้องจลุ ทรรศน์สามารถขยายภาพของวตั ถไุ ดห้ ลายระดบั ขน้ึ อยู่กบั การเลอื กใช้กาลงั ขยายของเลนส์
กาลงั ขยายของกลอ้ งจลุ ทรรศนเ์ ปน็ คา่ ที่ระบวุ า่ กลอ้ งจลุ ทรรศน์สามารถขยายภาพของวัตถุได้ก่ีเท่า

ในการดูวัตถุ ถา้ ใช้เลนสใ์ กลต้ าที่มีกาลังขยายเปน็ 10 เท่า(10X)พร้อมกบั ใช้เลนสใ์ กล้วตั ถุที่มี
กาลงั ขยายเป็น 4 เทา่ (4X) กจ็ ะทาให้กาลังขยายของกล้องเป็น 40 เทา่ คอื ภาพที่สังเกตเห็นจะมขี นาด
ใหญเ่ ปน็ 40 เท่าของวัตถุ

ข้นั ตอนกำรใชง้ ำนกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง

วางกล้องบนพน้ื ทีเ่ รยี บ หมุนเลนสใ์ กลว้ ตั ถทุ ่ีมกี าลังขยาย
ตา่ สุดมาอย่ตู รงกลางลากล้อง

วางสไลดท์ ่ีตอ้ งการส่องบนแท่นวางสไลด์ เปิดไฟ
กล้องจลุ ทรรศน์ ควรให้จุดวงกลมของแสงอยู่ตรง
กลางใกลเ้ คียงกบั บริเวณท่ีต้องการส่องมากทส่ี ุด

ปรับโฟกัส หาระยะโฟกสั ทีช่ ดั ท่สี ุด โดยเริ่มจาก
เลนสว์ ัตถทุ ข่ี นาดกาลงั ขยายต่าสุดกอ่ น จากนั้นค่อย
เพิ่มกาลังขยายใหส้ งู ข้ึน โดยปรบั ปมุ่ ปรับภาพหยาบ

ปรบั ละเอยี ด เม่ือปรับภาพหยาบจนพอมองเห็น
ภาพใหท้ าการปรบั ด้วยปุ่มปรับภาพแบบละเอียด
ควบคกู่ ับการเล่อื นสไลด์

9

ปรับโฟกัส หาระยะโฟกัสทีช่ ดั ทส่ี ุด โดยเริม่ จาก
เลนส์วตั ถทุ ข่ี นาดกาลังขยายต่าสดุ ก่อน จากนน้ั คอ่ ย
เพิม่ กาลงั ขยายใหส้ ูงขนึ้ โดยปรบั ปมุ่ ปรับภาพหยาบ

ปรับกาลงั ขยายใหส้ งู ข้ึน เม่ือไมข่ นาดของวตั ถุที่สอ่ งมี
ขนาดเล็กจนไมส่ ามารถมองเห็นได้ใหป้ รับกาลงั ขยาย
ใหส้ ูงขนึ้ โดยเลนส์ 100X ควรใช้ Immersion Oil
หยดลงบนกระจกปดิ สไลดเ์ พื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในการ
มองเหน็ ดว้ ย โดยใหเ้ ลนสส์ มั ผัสกับ Immersion Oil
และกระจกปดิ สไลด์

เก็บทาความสะอาด เม่ือใชง้ านเสร็จให้เกบ็ โดยใช้ถุง
คลุมหรือเก็บไว้ในทท่ี ่ไี ม่มฝี นุ่ และความช้นื ตา่ โดย
เช็ดทาความสะอาดด้วยกระดาษเช็ดเลนส์หรอื นา้ ยา
สาหรบั เชด็ เลนส์

กรอบเกรด็ ควำมรคู้ คู่ ดิ
กาลงั ขยายของกลอ้ งจุลทรรศนเ์ ป็นคา่ คงท่ีบง่ บอกวา่ กลอ้ งจลุ ทรรศน์สามารถขยายภาพของวัตถไุ ด้ก่ี
เท่า โดยคานวณจากสูตร ดงั นี้
กำลังขยำยของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ = กำลังขยำยของเลนสใ์ กล้วัตถุ X กำลงั ขยำยของเลนส์ใกลต้ ำ

10

1.3 โครงสร้ำงของเซลล์ เซลล์ทุกชนิดจะมีโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ 3

สว่ น เหมอื นกันไดแ้ ก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซมึ และนิวเคลียส

โครงสรำ้ งของเซลล์

เซลลส์ ัตว์

ไซโทพลำสซมึ ไรโบโซม

มีลกั ษณะก่ึงแข็งก่งึ เหลว ประกอบดว้ ยน้าเปน็ มีขนาดเล็กกระจายอยู่ใน
ส่วนใหญ่ และมสี ารต่างๆ ละลายและ ไซโทพลาสซึม ทาหน้าที่
แขวนลอยอยู่ ท้ังสารทีจ่ าเป็นตอ่ การดารงชีวิต สังเคราะห์โปรตนี
ของเซลล์ เช่น น้าตาล โปรตนี เปน็ ต้น รวมทง้ั
ของเสยี ตา่ งๆ จากกิจกรรมของเซลล์
นอกจากนัน้ ในไซโทพลาสซึม
ยงั พบออรแ์ กเนลล์
หลายชนดิ กระจายอยู่

ร่ำงแหเอนโพลำสซึม

ลกั ษณะทอ่ แบนบางส่วนพอง
ออกเป็นถงุ เรียงซ้อนกันเป็น
ช้ัน ๆ ทาหน้าทีส่ งั เคราะห์
โปรตนี และเอนไซม์

เซนทรโิ อล แวคิวโอล

ลกั ษณะคล้ายทรงกระบอก 2 มีขนาดเลก็ กวา่ เซลลพ์ ืช ทา
อันวางตั้งฉากกัน มหี น้าที่ทา
ให้โครมาทิดแยกออกจากกนั หนา้ ท่ีรกั ษาสมดุลของนา้ ใน
ระหวา่ งการแบ่งเซลล์ สงิ่ มีชวี ิตเซลล์เดียวบางชนดิ
หรอื ใช้บรรจุอาหารในเซลล์
เยอื่ หุ้มเซลล์ เมด็ เลือดขาวของสตั ว์เลี้ยง
ลูกดว้ ยนม

อยู่ดา้ นนอกสดุ ทาหน้าท่ีห่อหมุ้ สว่ นต่าง ๆ ท่อี ยูภ่ ายในเซลลค์ วบคุมการผา่ นเขา้ ออกของสารระหวา่ งเซลล์
และมีคณุ สมบัตยิ อมให้สารบางชนิดผา่ นได้ เรยี กวา่ เยื่อเลือกผำ่ น (semipermeable membrane)

11

10

เซลล์พชื

นวิ เคลยี ส

ลกั ษณะทรงกลม ภายในประกอบดว้ ยสารทีค่ วบคุมลักษณะทางพนั ธกุ รรมและกจิ กรรมตา่ งๆของเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์

ห่อหมุ้ เซลลแ์ ละควบคมุ การผา่ นเขา้ -ออกของสาร

นิวเคลียส

ควบคมุ กระบวนการตา่ งๆภายในเซลล์

แวควิ โอล

ลักษณะเปน็ ถุง ภายในมี
สารละลายอยู่ ในเซลลพ์ ชื
ทาหน้าทเ่ี ก็บน้าและสารอ่ืนๆ
แตใ่ นส่ิงมีชีวติ เซลลเ์ ดยี วทา
หนา้ ที่ควบคมุ ปริมาณนา้
และของเสยี

คลอโรพลำสต์ กอลจบิ อดี

มีเยือ่ หมุ้ 2 ชั้น ภายในมี ลักษณะเปน็ ถงุ เย่อื บางๆ
รงควตั ถทุ ี่เกย่ี วขอ้ งกบั
กระบวนการสังเคราะห์ เรยี งซอ้ นกนั เป็นช้นั ๆ และ
ด้วยแสง เรียกว่า
คลอโรฟลิ ล์ พบเฉพาะใน สว่ นปลายของถุงมักโป่งออก
เซลล์พืช
ทาหน้าทเ่ี กบ็ สารทรี่ า่ งแห
ชวนคดิ
เอนโดพลาสซมึ สร้างข้ึน ไมโทคอนเดรยี

มเี ยอ่ื หุม้ 2 ชน้ั ทาหน้าท่ีสร้าง ผนังเซลล์

พลงั งานให้แก่เซลล์ เปน็ โครงสรา้ งท่ีห่อหุม้ ด้าน
นอกของเซลล์พืช ทาให้เซลลม์ ี
ความแขง็ แรง และช่วยให้
เซลล์สามารถคงรูปอยไู่ ด้ พบ
เฉพาะในเซลล์พชื

12

10

กิจกรรม

รปู รำ่ งและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์

วสั ดุอุปกรณ์ 7.ปากคบี ปลายแหลม
8.สารละลายไอโอดีน
1. นา้ 9.นา้ เกลอื เขม็ ข้น 0.85%
2.เข็มเข่ีย 10.สไลด์และกระจกปดิ สไลด์
3.ก้านสาลี 11.หัวหอมแดง
4.หลอดหยด 12.สาหรา่ ยหางกระรอก
5.กระดาษทชิ ชู
6.กลอ้ งจลุ ทรรศน์

ข้ันตอน

ตอนที่ 1

ศกึ ษำเซลล์พืช

ศึกษำเซลล์เย่ือหัวหอมแดง
1. หยดนา้ กลน่ั ลงบนสไลด์ 1-2 หยด ลอกเย่ือด้านในของกลบี หัวหอม วางลงบนหยดนา้ นนั้
2. ย้อมสหี อมโดยหยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด แลว้ ปิดดว้ ยกระจกปดิ สไลด์
3. โดยวางกระจกปดิ สไลด์เอียงทามุม 45 องศากบั กระจกสไลด์ แล้วค่อยๆ ปดิ ไปบนแผน่ สไลด์
ใชก้ ระดาษทิชชูแตะข้างๆ กระจกปดิ สไลด์เพื่อซับน้าสว่ นเกนิ ออก แลว้ นาสไลดไ์ ปศกึ ษาภายใต้
กลอ้ งจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกลว้ ตั ถุกาลังขยายตา่ และกาลังขยายสูง ตามลาดับ สังเกตและ
บนั ทึกภาพทเ่ี ห็นภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์

ศึกษำเซลลส์ ำหร่ำยหำงกระรอก
1. ใช้ปากคบี เดด็ ใบของสาหรา่ ยหางกระรอกบรเิ วณใกล้สว่ นยอด 1 ใบ วางบนหยดนา้ บน
กระจกสไลดอ์ กี แผ่นหน่งึ ปดิ ดว้ ยกระจกปิดสไลด์
2. วางบนหยดน้าบนกระจกสไลด์ แลว้ ปิดดว้ ยกระจกปดิ สไลด์
3. นาสไลด์ไปศึกษาภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ โดยใชเ้ ลนส์ใกล้วตั ถกุ าลงั ขยายตา่ และกาลงั ขยายสงู
ตามลาดับ สงั เกตและบนั ทึกภาพทเี่ หน็ ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์
4. เปรียบเทียบเซลลพ์ ืชทงั้ 2 ชนดิ ที่นักเรยี นสังเกตเหน็ ภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศนก์ ับภาพตอ่ ไปนี้ แลว้
ระบุสว่ นประกอบภายในภาพทนี่ ักเรยี นวาด

13

10

สำสหำรห่ำยรำ่หยำงหกำรงะรอก

เซลล์เยอื่ หอมแดง เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์สำหรำ่ ยหำงกระรอก
นิวเคลยี ส
ภาพ 5 เซลล์เย่ือหัวหอมแดง ผนงั เซลล์ ภาพ 6 เซลล์ใบสาหรา่ ยหางกระรอก
ภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสง ไซโทพลาสซึม ภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสง

คลอโรพลาสต์

ตอนที่ 2

ศกึ ษำเซลล์สตั ว์

ศึกษำเซลล์เย่อื บุขำ้ งแก้ม มีขั้นตอน ดังน้ี
1. หยด NaCl เขม้ ขน้ 0.85% ลงบนสไลด์ จากนั้นใชไ้ ม้จ้มิ ฟนั จุม่ C2H5OH 70% ท้งิ ใหแ้ หง้ แล้ว
นาไปขดู ทีเ่ ย่ือบุขา้ งแก้มและนามาเกลย่ี บนสไลด์
2. ย้อมสเี บ่อื บขุ ้างแก้มโดยหยดสารละลายไอโอดนี และปดิ ดว้ ยกระจกปดิ สไลด์
3. นาสไลด์ไปศกึ ษาภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ โดยใช้เลนสใ์ กลว้ ัตถกุ าลงั ขยายตา่ และกาลงั ขยายสงู
ตามลาดับ สงั เกตและบันทึกภาพที่เห็นภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์

เซลล์เยอื่ บุข้ำงแกม้ เยอ่ื หมุ้ เซลล์
นวิ เคลียส
ภาพ 7 เซลล์เยือ่ บขุ า้ งแก้ม ไซโทพลาสซึม
ภายใต้กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใช้แสง

14

10

ตำรำงบนั ทกึ ผลกำรทดลอง

จงบันทกึ ลกั ษณะทีน่ กั เรยี นสังเกตได้ใตก้ ลอ้ ง
จุลทรรศนแ์ ละบันทกึ ผลกำรทดลอง

เซลล์ ภำพทส่ี ังเกตได้ จงอธิบำยลกั ษณะทไี่ ด้
ใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ จำกกำรสังเกต
1.เซลล์เย่อื บุข้ำงแกม้

2.เซลลห์ วั หอมแดง

3.เซลลใ์ บสำหร่ำย
หำงกระรอก

15

10

คำถำมทำ้ ยกจิ กรรม

1. จงอธบิ ำยส่วนประกอบของเซลล์แตล่ ะชนดิ ท่นี ักเรยี นไดศ้ ึกษำ

2. จงเปรยี บเทียบรปู รำ่ งของเซลลเ์ ย่ือหัวหอมแดง เซลล์ใบสำหรำ่ ยหำงกระรอก และเซลล์เยือ่ บขุ ้ำงแกม้

3. จำกกำรศึกษำภำยใต้กล้องจลุ ทรรศน์ ส่วนประกอบใดท่ีพบในเซลลใ์ บสำหร่ำยหำงกระรอก แต่ไม่พบในหวั
หอมแดง

4. เพรำะเหตใุ ดจึงต้องหยดสำรละลำยไอโอดีนในกำรศึกษำเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์
5. จำกกำรทำกิจกรรมสรปุ ผลกำรทดลองไดว้ ่ำอย่ำงไร

จากการทากิจกรรมตอนท่ี 1 พบวา่ เซลลเ์ ยอ่ื หวั หอมแดงและเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอก
ซงึ่ เปน็ เซลล์พชื จะมลี ักษณะเปน็ เหลยี่ ม ประกอบด้วยส่วนประกอบสาคญั คอื ผนังเซลล์ เยอ่ื ห้มุ
เซลล์ ไซโทพลาสซึม และนิวเคลียสเหมือนกัน แต่ในเซลลใ์ บสาหรา่ ยหางกระรอกจะพบ คลอโร
พลาสต์ซึง่ เปน็ ออร์แกเนลที่ใชใ้ นกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง แตไ่ มพ่ บในเซลลเ์ ย่ือหัวหอมแดง

และจากกจิ กรรมตอนท่ี 2 พบว่า เซลล์เยื่อบขุ ้างแก้ม ซ่งึ เป็นเซลล์สตั ว์ จะมีลกั ษณะคอ่ นขา้ ง
กลม ประกอบด้วยสว่ นประกอบสาคญั คือ เยื่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาสซึม และนวิ เคลียส จากผล
กจิ กรรมทงั้ สองพบว่า ทงั้ เซลล์พิ้นและเซลลส์ ตั ว์ตา่ งมีโครงสรา้ งพ้ืนฐานทเ่ี หมือนกัน ไดแ้ ก่ เย่ือหุ้ม
เซลล์ ไซโทพลาสซึม และนวิ เคลียส ส่วนในเซลลพ์ ืชจะพบโครงสรา้ งบางอยา่ ง่แี ตกตา่ งจากเซลล์
สัตว์ คือ ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ ในเซลลพ์ ืชต่างชนดิ กนั อาจพบโครงสรา้ งของเซลลต์ า่ งกนั
เชน่ เซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอกทาหนา้ ที่สงั เคราะห์แสง จึงพบคลอโรพลาสตเ์ ซลลเ์ ย่อื หัว
หอมแดงทาหน้าท่ีบผุ ิว ไม่ไดท้ าหนา้ ท่สี งั เคราะหแ์ สง จงึ ไม่พบคลอโรพลาสต์ดังภาพ 5

นอกจากนี้ ทงั้ เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วย์ ังมอี อรแ์ กเนลล์ ซ่งึ เปน็ โครงสรา้ งท่ีทาหนา้ ทเี่ ฉพาะอยู่
ในไซโทพลาสซึม และมีความสาคัญต่อการทาหน้าทใ่ี นกิจกรรมตา่ งๆ ของเซลล์ ทาให้เซลลส์ ามารถ
ดารงชีวิตอยู่ได้ เชน่ การหายใจ การลาเลียงสารเขา้ ออกจากเซลล์ การสังเคราะห์สาร ออรแ์ กเนล
ทเ่ี ราสามารถสังเกตเหน็ ได้จากกิจกรรม คือ คลอโรพลาสต์ นอกจากนีย้ งั มีออรแ์ กเนลลช์ นิดอืน่ ทีไ่ ม่
สามารถสงั เกตเห็นจากกจิ กรรม เช่น ไมโทคอนเดรีย แวคิวโอล อย่างไรกต็ าม เราไมส่ ามารถสงั เกต
รายละเอยี ดของโครงสรา้ งบางสว่ นภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้

นกั เรียนสามารถศึกษาเปรียบเทยี บส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์เพ่มิ เติมได้
จากข้อมลู และแบบจาลองเซลล์ ดงั ภาพในหนา้ 10 และหนา้ 11

16

10

เซลลต์ บั เป็นเซลล์ทมี่ กี ำรใช้พลังงำนในกำรทำกจิ กรรมต่ำงๆ
ดงั นน้ั ภำยในเซลลต์ บั จึงควรพบออร์แกเนลใดบ้ำง

พืชและสตั ว์แต่ละชนิดประกอบดว้ ยเซลลห์ ลายชนดิ เซลลแ์ ตล่ ะชนดิ จะมีรูปร่างลักษณะทเ่ี หมาะสม
กับหนา้ ท่ีของเซลล์น้นั

ภาพ เซลล์ประสาท ภาพ เซลล์เม็ดเลอื ดแดง ภาพ เซลล์อสุจิ

ภำพ 8 เซลล์สัตวช์ นดิ ตำ่ งๆ
ของสตั ว์

เซลล์จำกส่วนต่ำง ๆ ของสตั ว์ ดังภำพท่ี 8 มีรูปร่ำง

สัมพนั ธก์ ับหน้ำทขี องเซลล์อยำ่ งไร

รปู ร่างลักษณะของเซลล์ตา่ ง ๆในสัตว์ มีความสมั พันธก์ บั หนา้ ท่ีของเซลลน์ ั้น ๆ เชน่ เซลล์
ประสาทส่วนใหญม่ ีเส้นใยประสาทเปน็ เส้นแขนงยาว เพอื่ นากระแสประสาทไปยังเซลลอ์ น่ื ๆ ท่อี ยู่
ไกลออกไป เซลล์เมด็ เลอื ดแดงมีรปู ร่างกลมแบนตรงกลางเซลลท์ งั้ สองด้านเว้าเข้าหากันเพราะไมม่ ี
นวิ เคลียส จงึ ชว่ ยเพิม่ พื้นที่ในการลาเลียงออกซิเจนและทาให้เคล่ือนท่ีในหลอดเลือดได้ง่าย ส่วนเซลล์
อสจุ ิมหี างช่วยในการเคล่ือนทีไ่ ปหาเซลล์ไข่

ภาพ เซลล์ขนราก ภาพ เซลล์ในเน้อื เย่อื ลาเลยี งน้า ภาพ เซลล์คมุ
ภำพ 9 เซลล์ส่วนต่ำงๆของพชื

รปู ร่างลกั ษณะของเซลลพ์ ชื มคี วามหลากหลายเชน่ เดยี วกบั เซลล์สัตว์ เชน่ เซลลข์ นรากซึง่ เปน็
เซลลผ์ ิวของรากพืชทีม่ ีผนังเซลล์และเย่ือหุ้มเซลลย์ ื่นยาวออกมาเปน็ หลอดคล้ายขนเส้นเลก็ ๆ เพ่ือ
เพม่ิ พื้นท่ผี วิ ในการดดู นา้ และธาตุอาหาร เซลลใ์ นเนอื้ เย่ือลาเลียงนา้ มีลักษณะเป็นท่อกลวงยาว เพอ่ื
ใช้ในการลาเลียงรากไปส่วนต่างๆ ของพืช สว่ นเซลลค์ ุม(guard cell)มีรูปร่างคลา้ ยเมล็ดถ่วั หรอื รูปไต มี

17

10

ผนังเซลล์หนาบางไมเ่ ท่ากนั มคี ลอโรพลาสต์ เซลล์คุมทาหน้าทใ่ี นการเปดิ ปดิ ปากใบเพอื่ ควบคุมการ
คายน้า

เกร็ดน่ำรู้ มะเรง็ คืออะไร

การศกึ ษาเซลล์ทาให้เข้าใจโครงสรา้ งและการทางานของร่างกายมากขึ้น
สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากมายท้งั ดา้ นวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น
การศึกษาโรคมะเร็ง

โรคมะเร็งนับเปน็ สาเหตุของการเสยี ชีวติ อันดบั ตน้ ๆ ของคนทัว่ โลก เช่น
มะเรง็ ลาไส้ใหญแ่ ละทวารหนกั มะเร็งปอด มะเรง็ ตับ มะเร็งเต้านม มะเรง็ เกิดจาก
เซลล์ท่ีมคี วามผิดปกติโดยมกี ารแบ่งตวั เพื่อเพ่ิมจานวนอย่างรวดเรว็ และมากกวา่ ปกติ
ส่งผลให้เกิดกอ้ นเน้ือและมีการตายของเซลล์ในก้อนเน้ือนั้น โรคมะเร็งเกดิ จากหลาย
สาเหตทุ ง้ั สภาวะแวดล้อมและพนั ธกุ รรม ทั้งนี้ปจั จยั เสย่ี งบางอย่างสามารถหลีกเลี่ยง
ได้ เช่น การสบู บหุ ร่ี การดื่มสุรา และการรับประทานอาหารท่ีเสี่ยงตอ่ การเกดิ
โรคมะเรง็

18

10

ข่ำว สถำนกำรณ์โรคมะเร็งทำคนไทยเสียชีวติ อันดับ 1

กลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน (electron micriscope)

นอกจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ใช้ในการทดลองแล้ว ยังมีกล้องจุลทรรศน์อีกหลายประเภท
ซ่ึงแต่ละประเภทถูกใช้เพ่ือวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน เช่น กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เป็นกล้อง
จุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง สามารถแสดงโครงสร้างของวัตถุท่ีมี
ขนาดเล็กมากจนถึงระดับนาโนเมตรได้ เนื่องจากใช้ลาอนุภาคอิเล็กตรอนซึ่งมีพลังงานสูงใน การ
ตรวจสอบวัตถุแทนแสงธรรมดา มีท้ังแบบท่ีแสดงตัวอย่างภาพ 2 มิติ เรียกว่า กล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนแบบส่องผ่ำน (tranamission electron micriscope) และตัวอย่างภาพ 3 มิติ
เรยี กว่า กล้องจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนแบบสอ่ งกรำด (scanning electron micriscope)

ตวั อยำ่ งเซลล์เมด็ เลอื ดขำวของมนษุ ยเ์ มอ่ื ศกึ ษำดว้ ยกล้องจลุ ทรรศนช์ นดิ ตำ่ งๆ

ภาพ 10 ลักษณะภาพที่เกดิ จาก ภาพ 11 ลกั ษณะภาพทเี่ กดิ จากกลอ้ ง ภาพ 12 ลักษณะภาพทเ่ี กดิ จากกลอ้ ง
กล้องจลุ ทรรศน์ชนดิ ใชแ้ สง จุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนส่องผา่ น จุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนสอ่ งกราด

สรปุ ทำ้ ยบท

เซลล์

กลอ้ งจุลทรรศน์

กล้องจลุ ทรรศนเ์ ปน็ อปุ กรณ์ท่ีใช้ศกึ ษำวตั ถุขนำดเล็ก หรือเซลล์
ทไ่ี มส่ ำมำรถมองเหน็ ได้ด้วยตำเปลำ่ ช่วยใหส้ ังเกตรำยละเอียด
ต่ำง ๆ ภำยในเซลล์

ประเภทของสง่ิ มีชีวติ

ส่ิงมีชวี ิตเซลล์เดียว

รา่ งกายประกอบด้วยเซลลเ์ พยี งเซลล์เดยี ว ซึ่งกจิ กรรมตา่ งๆเกดิ ขนึ้
ภายในเซลล์เดียว เชน่ แบคทเี รีย พารามีเซยี ม เป็นต้น

ส่ิงมีชีวิตหลำยเซลล์

รา่ งกายประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก โดยเซลลช์ นดิ เดยี วกันหรือมี
ลักษณะคลา้ ยกันจะมาอยรู่ วมกันเพ่อื ทาหนา้ ที่อย่างเดียวกัน เชน่ พชื
สตั ว์ เป็นตน้

โครงสรำ้ งของเซลล์

เซลลส์ ตั ว์ เซลล์พืช

เซลล์ เป็นหน่วยพ้นื ฐานที่เล็กมากที่สดุ ของสง่ิ มชี วี ิต มรี ูปรา่ งลกั ษณะทห่ี ลากหลาย มโี ครงสร้างตา่ ง ๆ ที่ทาหน้าท่ี

เฉพาะ เชน่ เยอื่ หมุ้ เซลล์ (ทาหนา้ ท่หี ่อหุ้มส่วนที่อยู่ภายในเซลล์ และควบคมุ การผา่ นเข้าออกของสารระหว่างเซลล)์
ไซโทพลำสซึม (สารลักษณะกง่ึ แขง็ กึ่งเหลวทภี่ ายในประกอบดว้ ยออรแ์ กเนลตา่ ง ๆ)
นวิ เคลยี ส (มลี กั ษณะคอ่ นข้างกลม มีสารควบคุมลักษณะทางพนั ธกุ รรมและกจิ กรรมของเซลล)์ เป็นต้น นอกจากน้ี

เซลลพ์ ืชยงั มีสิง่ ที่ตา่ งจากเซลล์สตั ว์ คอื คลอโรพลำสต์ (ภายในมีรงควัตถุ คลอโรฟิลลท์ าหน้าทใ่ี นการสังเคราะหด์ ้วยแสง)
และ ผนังเซลล์ (ทาให้เซลล์มีความแข็งแรงและคงรปู อย่ไู ด)้

20

แบบฝึกหดั ท้ำยบท
เซลล์

คำชี้แจง จงเรยี งลาดบั ขัน้ ตอนการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงอยา่ งถูกวิธี

....................1 นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวตั ถุ เลื่อนให้วตั ถุอยู่ก่ึงกลางบริเวณทแ่ี สงสอ่ งผา่ น
มองดา้ นข้างตามแนวระดบั แท่นวางวัตถุ ค่อย ๆ หมนุ ปมุ่ ปรบั ภาพหยาบ เลื่อนให้
แทน่ วางวตั ถอุ ยูใ่ นระดบั สูงสุด

...................2 หากต้องการศึกษาภาพโดยใช้กาลงั ขยายสูงขน้ึ ใหห้ มนุ จานหมุนเพอื่ เลอ่ื นเลนสใ์ กล้
วตั ถุทมี่ ีกาลงั ขยายสูงขน้ึ (10X มาแทนทกี่ าลงั ขยาย 4X ) จากนั้นปรบั ภาพให้ชัดเจน
ขน้ึ โดยการหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด

...................3 เม่ือต้องการเกบ็ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง หมนุ จานหมุนใหเ้ ลนส์ใกล้วตั ถทุ ่ีมีกาลงั ขยาย
ต่าสุดตรงกับลากลอ้ งเลอื่ นแทน่ วางวตั ถุใหอ้ ยตู่ าแหนง่ ตา่ สดุ ปดิ สวติ ช์ไฟ ทาความ
สะอาดเลนส์ดว้ ยกระดาษเช็ดเลนส์ เกบ็ สายไฟและวางกล้องจลุ ทรรศนใ์ นชัน้ วางให้
เรยี บรอ้ ย

...................4 มองผ่านเลนส์ใกล้ตาพร้อมกบั หมนุ ป่มุ ปรับภาพหยาบชา้ ๆ ให้เลนส์ใกล้วตั ถุขยบั ห่าง
ออกทีละนอ้ ยจนมองเห็นวตั ถุ แลว้ ปรับภาพให้ชัดเจนข้ึนโดยการหมนุ ปมุ่ ปรับภาพ
ละเอยี ด ปรับไดอะแฟรมเม่ือต้องการปรบั ความเข้มของแสงท่ีเข้าสู่ลากลอ้ ง

...................5 ตรวจสอบใหเ้ ลนส์ใกลว้ ัตถุกาลังขยายต่าสุด (4X) อยู่ตรงลากลอ้ ง และแท่นวางวัตถุ
อยูท่ ีต่ าแหนง่ ต่าสดุ เปิดสวิตซไ์ ฟ ปรับความเข้มของแสง ปรับระยะห่างของเลนส์ใกล้
ตา

2. จงยกตัวอย่ำงส่งิ มีชวี ิตแตล่ ะประเภททก่ี ำหนดให้

สงิ่ มีชีวติ เซลล์เดียว 1)..............................................................................
2).............................................................................
3).............................................................................

สง่ิ มชี ีวติ หลำยเซลล์ 1).............................................................................
2).............................................................................
3).............................................................................

21

3.ระบุสว่ นประกอบของเซลลจ์ ำกภำพ

เซลล์.........................................

เซลล์.........................................

4.เซลลใ์ นภำพเป็นเซลล์พืชหรือเซลลส์ ัตว์ เพรำะเหตใุ ด 22
2

เซลล์ ชนดิ ของเซลล์ เหตผุ ล

............................. .........................................................

............................. .........................................................

............................. ........................................................

............................. ........................................................

............................. ........................................................

............................. ........................................................

............................. .......................................................

............................. .........................................................
............................. .........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................

............................. .........................................................
............................. .........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................ ........................................................

............................. .........................................................
............................. .........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................
............................. ........................................................

บรรณำนุกรม

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ,หนงั สือเรยี นรำยวชิ ำ พนื้ ฐำน
วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยชี ้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ 1.กรงุ เทพมหานคร.สานักพมิ พ์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย,2562

มลทิรา พิจติ รพนาวรรณ,วทิ ยำศำสตร์นำ่ รู้:ไพลนิ บุ๊คสโตร์,กรุงเทพ,2555.
ศรลี ักษณ์ ผลวัฒนะ และคณะ,ส่อื กำรเรียนรู้และเสรมิ สรำ้ งทักษะตำมำตรฐำนกำรเรยี นรู้.

กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พ์นิยมวิทยา, 2554.

ประดบั นาคแกว้ และ ดาวลั ย์ เสริมบุญสุข. หนังสอื เรยี นเสริมมำตรฐำนแม็ค วทิ ยำศำสตร์ ม. 1.
กรงุ เทพฯ : แมค็ , 2553.

ดร.บญั ชา แสนทวี และคณะ. หนงั สือเรยี น รำยวิชำพ้ืนฐำน วิทยำศำสตร์ ม. 1 เลม่ 1.
กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด, ม.ป.พ.

ถนัด ศรบี ญุ เรอื ง และคณะ. ชุด สมั ฤทธิม์ ำตรฐำน หลกั สูตรแกนกลำงฯ วิทยำศำสตร์ ม. 1 เล่ม 1.
กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั , ม.ป.พ.

ประสงค์ หลาสะอาด. ชีววิทยำ ม.4 เลม่ 1. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พเ์ พม่ิ ทรพั ย์การพมิ พ์.2550
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ค่มู ือครู รำยวชิ ำเพ่ิมเติม ชวี วิทยำ เล่ม 1. กรงุ เทพฯ:
โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว,2554

สมาน แก้วไวยุทธ.ชีววทิ ยำ ม 4 เลม่ 1. กรงุ เทพฯ: บริษทั ไฮเอ็ดพบั ลชิ ชิง่ จากดั ,2554


Click to View FlipBook Version