The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by odiw919, 2022-02-02 02:33:28

ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

การบำรุงรักษาและ

อุุปกรณ์พกพา

รหัสวิชา 30204-2001

(Maintenannce of computers and portable devices)

ตรงงตามมาตรฐานสมรรถนะและคำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
พุทธศักราช 2563 ของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา และหลักสูตรระดับปริญญาตรี
กระทรวงศึกษาธิการ เหมาะแก่การเรียนรู้เพื่อนำไปประกอบอาชีพ

คำนำ

เครื่องคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และไมีมีที่สิ้นสุด ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์จึงต้องติดตามการเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชิด รวมทั้งระบบปฏิบัติการและ
โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆแต่ทั้งนี้ถึงแม้เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการจะมีการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องแต่ก็มีรุ่นที่นิยมใช้และไม่พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตาม อาจจะด้วยการที่จะต้องเสีย

ค่าใช้จ่าย
หรือจะต้องเรียนรู้ใหม่มันซื้อกันบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พกพาเล่มนี้จึงได้รวบรวม
เนื้อหาที่เป็นปัจจุบันและเป็นที่นิยมใช้บางเรื่องที่มีการพัฒนาไปมากแล้วแต่ยังไม่เป็นที่นิยมก็

จะยังไม่นำมาไว้ในหนังสือเล่มนี้แต่ก็จะอธิบายหลักการและคุณสมบัติออยด้วย
หนังสือการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พกพาเล่มนี้ได้จัดทำเนื้อหาตัวตามมาตรฐาน
สมรรถนะและคำอธิบายรายวิชาหลักสูตรประกาศชะนียาบัตรวิชาชีพชั้นสูงโปโสพุทธศักราช
2563 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษาและหลักสูตรระดับปริญญาตรีกระทรวง

ศึกษาธิการซึ่งจะประกอบด้วยเนื้อหาหลักการทำ
งานของคอมพิวเตอร์และการทำงานของระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์และการทำงาน
ของระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพาการประกอบเครื่องใหม่กูคอมพิวเตอร์และการเลือกใช้
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามลักษณะงานการติดตั้งและการใช้งานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์พกพาการติดตั้งโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วงและการแก้ไขปัญหาและบำรุง

รักษาคอมพิวเตอร์

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับการประกอบ
เครื่องคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ขอขอบพระคุณท่านที่รู้ต่างๆที่ได้แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้เพื่อ

ประโยชน์ของผู้เรียนและผู้สนใจ

สารบัญ

หน่วยที่1 หลักการทำงานของ หน่วยที่4 การประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และการ

คอมพิวเตอร์ 1 เลือกใช้อุปกรร์คอมพิวเตอร์ตามลักษณะงาน 51

-ความหมายของคอมพิวเตอร์ 2 -ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการประกอบ
-ประเภทของคอมพิวเตอร์ 3
-หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 8 เครื่องคอมพิวเตอร์ 52
-องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 11
-ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 55


-การทดสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 59

-การเลือกใช้อุปกรณ์ในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 59

หน่วยที่2 หลักการทำงานของระบบ -การตรวจสอบราคาอุปกรณ์ 63

ปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์ 17


-ความหมายของระบบปฏิบัติการ 18 กหาน่รวไยมทโี่ค5รคกอารมตพิิดวตเั้ตงอแ

รล์แะลกะาอรุปใชก้งราณน์รพะกบพบาปฏิบั7ต1ิ

-ประเภทของระบบปฏิบัติ 19 -การติดตั้งและการใช้งานระบบปฏิบัติการ 72

-หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 20 -การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7 73

-หลักการทำงานของระบบปฏิบัติ 22 -การติดตั้งระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา

-การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์ 24 Android บนพีซี 82




หน่วยที่3 หลักการทำงานของระบบ

ปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา 33

-ความหมายของอุปกรณ์พกพา 34

-ระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา 34

-ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 38

-หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 40

-ข้อดีข้อเสียของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 41

-ระบบปฏิบัติการไอโอเอส 42

-หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการรุ่นต่างๆของไอโอเอส 42

-ข้อดีข้อเสียของระบบปฏิบัติการไอโอเอส 46

หน่วยที่6 การติดตั้งโปรมแกรม หน่วยที่7 การแก้ไขปัญหาและบำรุงรักษา

ควบคุมอุปกรณ์ต่อพวง 97 คอมพิวเตอร์ 113

-ความหมายของอุปกรณ์ต่อพวง 98 -การแก้ไขปัญหาและบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 114
-ชนิดของอุปกรณ์ต่อพวง 99
-ช่องทางสำหรับอุปกรณ์ต่อพวง 101 -การทำ Disk Defragmanter 116
-การติดตั้งDriver printer 103
-การติดตั้งDriver Scanner 104 -การใช้ Windows Task Manager


ในกรณีคอมพิวเตอร์ค้าง 117

-การทำDisk Cleanup 118

-การพักหน้าจอ 118

-การกำหนดเวลาปิดเครื่อง 120

-การสแกนไวรัส 121

หน่วยที่ 1

หคอลัมกพกิาวรเตทำองร์านของ

ุจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. ความหมายของคอมพิวเตอร์
1. เข้าใจหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 2. ประเภทของคอมพิวเตอร์
2. ประยุกตืใช้ความรุ้เกี่ยวกับการเลือกใช้ความพิว 3. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
4. องค์ประกอขอคอมพิวเตอร์
เตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
3. มีเจตนาคติที่ดีในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรุ้

ระบบคอมพิวเตอร์ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทและ
หลักการทำงานของพิวเตอรื
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. วางแผนจัดการเลือกใช้
1.บอกความหมายของคอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์ตามลักษณะงาน
2.อธิบายประเภทของคอมพิิวเตอร์ได้
3.อธิบายหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ได้
4. อธบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้
5.ปฏิบัตการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับได้

ประเภทของคอมพิวเตอร์

คสาอมมาพิรวถเจตัดอแร์บมี่องปยู่รหะลเาภยทปขรอะงเคภอทมด้พวิยวกเัตนอรแ์อต่อเมกื่อเปพ็ินจา6รณปราะตเาภมทขด้นวายดกัแนล้วคืจอะ
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์(Supercomputer)

คุณลักษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุดและมีขีดความสามารถสูง
ที่สุด ภายในประกอบไปด้วยหน่วยประมวลผลกลางหรือ ซีพียู (CPU)
ประเภทของงาน เหมาะกับงานประมวลผลข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาล เช่น

การวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์




ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรมเหมาะสำหรับใช้
งานในองค์กรขนาดใหญ่เช่น ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม

สายการบินบริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย
และหน่วยงานที่มีขนาดใหญ่คอมพิวเตอร์นี้จะมีพลังความ
สามารถในการประมวลผลทุรกรรมนับล้านรายการโดยใช้

ระยะเวลาอันสั้น
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computers)

คุณลักษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถรองจาก
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาด
ใหญ่รองมาจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผล

ข้อมูลได้ถึง 10ล้านคำสั่งภายใน 1 วินาที

ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรมเหมาะสำหรับใช้
งานในองค์กรขนาดใหญ่เช่น ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม

สายการบินบริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย
และหน่วยงานที่มีขนาดใหญ่คอมพิวเตอร์นี้จะมีพลังความ
สามารถในการประมวลผลทุรกรรมนับล้านรายการโดยใช้

ระยะเวลาอันสั้น

3.มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer)

คุณลักษณะ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางซึ่งมีขนาดเล็ก
รองลงมาจากเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
ปรเภทของงาน เหมาะกับธุรกิจขนาดกลางเช่น โรง
พยาบาล โรงแรม ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
4. เวิร์กสเตชั่น (Workstatatioon)
คุณลักษณะ คอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตชั่นหรือเรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า สถานีงานวิศวกรรม ถูกนำมาใช้ตั้งแตช่วงต้น
ปี ค.ศ.1980
ประเภทของงาน ปกติคอมพิวเตอร์แบบเวิร์กสเตชั่น
หรือสถานีงานวิศวกรรมถูกมันถูกใช้งานด้าน
วิทยาศาสตร์ งานด้านการแพทย์ การคำนวนทางคณิต
สาดและวิศวกรรมที่มีความซับซ้อน
5.ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)
คุณลักษณะไมโครคอมพิวเตอร์มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
เครื่องพีซีจัดเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่งที่ได้รับความ
นิยมสูงที่สุดในกลุ่มถ้าจากมีราคาไม่แพงและมี
ประสิทธิภาพสูงประเภทของงาน เหมาะกับงานธุรกิจ
ขนาดเล็กและนิยมนำมาใช้งานที่บ้านหรือสำนักงาน
เนื่องจากราคาถูกและสามารถใช้ได้เพียงหนึ่งคนต่อหนึ่ง
เครื่องเท่านั้นประเภทของงานเหมาะกับงานธุรกิจขนาด
เล็กและนิยมนำมาใช้งานที่บ้านหรือสำนักงานเนื่องจาก
ราคาถูกและสามารถใช้ได้เพียงหนึ่งคนต่อหนึ่งเครื่อง
เท่านั้น

5.1คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ หรือเดสก์ท็อปพีซี(Desktop PC)
เป็นเครื่องพีซีที่ไดรับการออกแยยมาเพื่อใช้บนโต๊ะ

5.2 คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กหรือ
แล็ปท็อป(Notebook/Laptop) เป็นซีพีเคลื่อนที่ได้มีน้ำ
หนักเบาและมีหน้าจอบาง

5.2.1 อัลตร้าบุ๊กผ(Ultrabook) เป็นโน้ตบุ๊กที่เน้นความ
บางและน้ำหนักเบา
5.2.2 เน็ตบุ๊ก(Netbook)มีหน้าจอขนาดเล็กกว่า
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

5.3 แทบเลทคอมพิวเตอร์(Tablet Computer) คือ
คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ที่รวมคุณลักษณะของแล็ปท็อปและ
คอมพิวเตอร์มือถือเข้าด้วยกัน

แท็บเลทคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้3รูปแบบคือ
5.3.1 Convertible Tablet มีโครงสร้างเดียวกับ
คอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุ๊ก แต่ตัวจอภาพสามารถหมุนแล้ว
พับซ้อนบนคีย์บอร์ด หรือสามารถที่จะแยกส่วนได้
5.3.2. State Tablet เป็นแท็บเล็ตที่มีเพียงแค่หน้าจอ
คล้ายกับกระดาษชนวน จะมีคีย์บอร์ดในตัวแต่ละยี่ห้อ
สามารถใช้ปากกาเป็นอุปกรณ์อินพุตแทนคีย์บอร์ด

5.3.3 อุปกรณ์พกพา(Personal Digital Assistant;
PDA) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กที่
สามารถเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ตได้

6. ไมดครคอนโทรลเลอร์ (Microcontrollers) เป็น
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว คือ เป็นไมโครโปรเซสเซอร์ที่
ออกแบบมาพิเศษมีขนาดเล็ก หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปใน
ปัจจุบันมักจะมีชิ้นส่วนหรือโปรแกรมนี้แทบทั้งสิ้น เช่น
โทรทัศน์สมาทร์ททีวี เครื่องไมโครเวฟ

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น5ส่วนดังนี้

1.หน่วยรับเข้า(input Unit)
หน่วยรับเข้าหรือหน่วยรับข้อมูล ทำหน้าที่ในการรับ
ข้อมูลหรือคำสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วย
ความจำเพื่อข้อมูลที่ต้องการ ซึ้งอุปกรณ์ที่ใช้กันตั้ง
อยู่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกัน
สำหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ปัจจุบันมีดังต่อไปนี้
1.1 แป้นพิมพ์(Keyboard)
1.2 เม้าส์(Mouse)
1.3 ไมโครโฟน(Microphone )
1.4 สแกนเนอร์(Scanner)
1.5 กล้องดิจิทัล (Digital Camera)

2. หน่วยประมวลผล(Central Processing Unit )หน่วย
ประมวลผลหรือหน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ในการคำนวณ
และประมวลผล แบ่งออก 2 หน่วยย่อย คือ
2.1 หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลำดับขั้นตอน
ของการประมวลผล
2.2 หน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่ในการคำนวณและ
เปรียบเทียบข้อมูลต่าง ๆ

3.หน่วยความจำ(Memory) หน่วยความจำทำหน้าที่ใน
การเก็บข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บ
ไว้เพื่อประมวลผลและอยากเก็บผลที่ได้จากการประมวล
ผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วยซึ่งแบ่งออกเป็น2ประเภทหลัก
คือ
3.1 หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read
Only Memory-Rom) เป็นหน่วยความจำแบบสารกึ่ง
ตัวนำชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียวใช้เป็นสื่อบันทึกใน
คอมพิวเตอร์เพราะไม่สามารถบันทึกทราบได้(อย่างง่ายๆ)
ปิดความจำที่ซอฟท์แวร์หรือข้อมูลมีอยู่แล้ว

3.2 หน่วยความจำหลักแบบแก้ไข
ได้(RandomAccessMemory-RAM)เป็น
หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุค
ปัจจุบันหน่วยความจำชนิดนี้อนุญาตให้เขียนและ
อ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆอย่างอิสระและ
รวดเร็วพอสมควรซึ่งต่างจากซื้อกันกับชนิดของ
ข้อมูลอื่นๆ

4.หน่วยส่งออก(Output Unit) หน่วยส่งออกหรือหน่วยแสดงผล ทำหน้าที่ในการแสดง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวนและประมวลผลสำหรับอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้
นั้นมีดังต่อไปนี้

4.1 Monitors จอภาพ
4.2 Printer เครื่องพิมพ์
4.3 Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ

5.หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง(Secondary Storage Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรองทำหน้าที่เป็น
หน่วยเก็บข้อมูลและโปรแกรมชั่วคราว(Temporary Stor-age)เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ
โปรแกรมทุกอย่างที่เก็บในแรมจะหายไปถ้าเบิ่งจะให้มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงหน่วยเก็บข้อมูล
ประเภทนี้จึงเรียกว่า Volatile ดังนั้น

ฮาร์ดดิสก์ แฟลชไดรฟ์ เอสดีการ์ด

เอสเอสดีการ์ด อุปกรณ์ card readerที่ใส่ดีการ์ด

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบ ซึ่งองค์
ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
1.ฮาร์ดแวร์(Hardware) 2.ซอฟต์แวร์(Softwara)
3.บุคลากร(Peoplewara)
4.ข้อมูล/สารสนเทศ(Data/Information) 5.กระบวนการ
ทำงาน(Procedure)

1.ฮาร์ดแวร์ (Hardwara)
ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์ ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอด
เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

2.ซอฟแวร์ (Software)
ซอฟแวร์ หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็น
โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำงาน

22.1 ซอฟแวร์สำหรับระบบ (System
Software)

คือชุดคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้
ชิดกับคอมพิวเตอร์

2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Applicatio
Software) คือ ซอฟแวร์หรือโปรแกรมที่สั่ง
คอมพิวเตอร์ทำงานต่าง ๆ ซอฟแวร์ประยุกต์
สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1
ซอฟแวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่ง
เขียนขึ้นเพื่อการทำงาน

2.2.2 ซอฟแวร์สำหรับงานทั่วไป

3.บุคลากร(People ware) หมายถึง บุคลากรใน
งานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน แบ่งออกได้ 4.ระดับ
ดังนี้
3.1 ผู้จัดการระบบ คือผู้นโยบายการใช้คอม
3.2 นักวิเคราะห์ระบบ คือ ผู้ที่ศึกษาระบบเดิม
หรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
3.3 โปรแกรมเนอร์ คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงาน
เครื่องคอมพิวเตอร์
3.4 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใชฺ้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีใช้เครื่อง และวิธีการใช้งาน
โปรแกรม
4.ข้อมูล/สารสนเทศ(Data/Information)

ข้อมูล(Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง

5.กระบวนการทำงาน(Procedure) หมายถึง
กระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 2

หรคะอลับมกบพกิปาวรฎเิตทบัำอตงิร์กาานรขไอมงโคร

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ
1. เข้าใจหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการไมโคร 2. ประเภทของระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ 3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
4. หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการ
2. ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้ 5. การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการไมโคร
เหมาะสมกับงาน
คอมพิวเตอร์
3. มีเจตคติที่ดในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ไมโครคอมพิวเตอร์ สมมรรถนะประจำหหหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทและหลัก
การทำงานของระบบปฏิบัติการไมโคร
1.บอกความหมายของระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์
2.อธิบายประเภทและหน้าที่ของระบบปฏิบัติการไมโคร
คอมพิวเตอร์ได้ 2. วางแผนจัดการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการ
3. อธิบายหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการไมโคร ไมโครคอมพิวเตอร์ตามลักษณะงาน
คอมพิวเตอร์
4.ปฏิบัติการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์ให้
เหมาะสมกับงานได้

ความหมายของระบบปฏิอบัตืการ(Operating System)
ระบบปฏิบัติการ จัดเป็นโ)รแแกรมระบบที่ใช้สำหหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
รวมทั้งการจัดสรรทัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการ
หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า โอเอส (OS) นั้นจึงหมายชุดโ)รแกรมที่ทำหน้าในการควบคุมดูแล
การทำงาน

ความหมายของระบบปฏิอบัตืการ(Operating System)
ระบบปฏิบัติการ จัดเป็นโ)รแแกรมระบบที่ใช้สำหหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
รวมทั้งการจัดสรรทัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการ
หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า โอเอส (OS) นั้นจึงหมายชุดโ)รแกรมที่ทำหน้าในการควบคุมดูแลการ
ทำงาน

ความหมายของระบบปฏิบัติการ(Operating
System)

ระบบปฏิบัติการ จัดเป็นโปรแกรมระบบที่ใช้สำหรับควบคุม
การทำงานของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรใน
ระบบ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการหรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า โอเอส
(OS) นั้นจึงหมายถึงชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการควบคุม

ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ประเภทของระบบปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์จะแบ่งออกเป็น 2
แบบ คือ
1.แบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งาน(Divided by Objective)
1.1 การใช้งานแบบเดี่ยว(Stand-Alone) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูก
พัฒนาขึ้นโดยวัตถุประสงค์
1.2 การใช้งานโดยมีการเชื่อมโยงหรือเครือข่าย (Network
Connection)เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยวัตถุประสงค์เพื่อ
ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
1.3 การใช้งานแบบฝังตัว(Embedded) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกติด
ตั้งมาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์

2.การแบ่งตามลักษณะ(Divided by Used)
ระบบปฏิบัติการที่แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน จะสามารถ
แบ่งได้ 4 ประเภทคือ
2.1 การใช้งานโดยเดียว(Single User)เป็นระบบปฎิบัติการ
ใช้งานในช่วงเวลาช่วงเวลาหนึ่ง
2.2 การใช้งานได้หลายคน(Multi User) เป็นระบบปฎิบัติการ
ที่การใช้งานในช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง
2.3การใช้งานเดียว(Single Tasking)เป็นระบบปฎิบัติการที่
กำหนดให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลการทำงาน
2.4การใช้งานพร้อมกันได้หลายงาน(Multi-Tasking)เป็น
ระบบปฎิบัติการที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลการ
)ทำงานของโปรมแกรม

หน้าที่ของระบบปฎิบัติการ

1 การกระทำการโปรมแกรม(Program Execution)
ระบบปฎิบัติการจะมีฟังก์ชันไว้ให้บริการ ในการกระทำการของโปรมแกรม
2 การดำเนินของอินพุต/เอาต์พุต (i/o Operation)ในระหว่างที่โปรมแก
รมทำงาน การจัดไฟล์ข้อมูล หรือการทำงานI/Oของอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ
3 ระบบแฟ้มข้อมูล(File Systems)ระบบการจัดไฟล์เป็นสิ่งสำคัญ โดย
เฉพาะในขณะที่โปรมแกรมจำเป็นที่จะต้องอ่านและเขียนไฟล์และไดเร็กทอรี่
4 การติดต่อสื่อสาร(Communication)กระบวนการติดต่อสื่อสารอาจจะมี
การเเลกเปลี่ยนข้อมูลในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกัน
5 การจัดสรรทรัพยากร(Resource Allocation)ระบบปฎิบัติการจะทำ
หน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม
6 การจัดการบัญชีผู้ใช้(Accounting)การใช้งานหลายๆประเภทของแหล่ง
ข้อมูลบางอย่าง
7 การตรวจสอบข้อผิดพลาด(Error Detection)ระบบปฎิบัติการที่ดีจะต้อง
สามารถตรวจสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดที่เกิดระหว่างการดำเนินการต่างๆ
8 การป้องกันและการรักษาความปลอดภัย(Protection and
Security)การป้องกันและการรักษาความปลอดภัยเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง

หลักการทำงานของระบบปฎิบัติการ

1.เมื่อเริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
2. ตรวจสอบความเรียบร้อย ทดสอบทำงานของส่วนประกอบต่างๆ
3.เมื่ออุปกรณ์ต่างๆ
4. โปรมแกรมควบคุมการทำงานเบื้องต้น
5.โปรมแกรมบูทสแตรปโหลดเดอร์จะทำการบูท

การเลือกใช้ระบบปฎิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์

1.ระบบปฎิบัติการแบบเดี่ยว(Stand-Alone OS)
1.1ระบบปฎิบัติการดอส(Disk operating System:D
1.2ระบบปฎิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์(Microsoft Windows)

-ข้อดีของ Windows7

1. บูทเครื่ องเข้าสู่ระบบความเร็วสูง
2. มีความปลอดภัยด้านการใช้อินเทอร์ค่อนข้างสูง
3.สามารถถ่ายโอนข้อมูลต่าง ๆ

ข้อดีของ windows8

1.เน้นการใช้งานร่วมกับอินเทอร์เน็ต
2.ใช้งานง่ายโดยเฉพาะการแชท ดูภาพ ดูวิดิโอ ฟังเพลง
3.รูปลักษณ์ของโปรแกรมวยงาม

1.3 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์( UNIX)
1.4 ระบบปฏิบัติการ Mac Os X (Maemcintosh Operating System)
1.5 ระบบปฏิบัติการลินุกซ์(LINUX)

2.ระบบปฏิบัติการบบเชื่อมโยงหรือเครือข่าย (Network OS)
2.1 Windows Server
2.2 OS/2 Warp Server
2.3 Solaris

3.ระบบปฏิบัติการแบบฝัง
3.1 Palm Os
3.2 Pocket Pc OS (Windows CE เดิม)
3.3 Symbian OS

หน่วยที่ 3

อรหุะปลับกกบกรณปา์รฏพิทบกัำตพงิกาาานรของ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. ความหมายของอุปกรณ์พกพา
1. เข้าใจหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา 2. ระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา
2. ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการ 3. ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
4. หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการแอนดร
อุปกรณ์พกพาให้เหมาะสมกับงาน
3. มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบปฏิบัติการ อยด์
5. ข้อดีและข้อเสียของระบบปฏิบัติการแอนดร
อุปกรณ์พกพา
อยด์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 6. ระบบปฏิบัติการไอโอเอส
7. หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการรุ่นต่าง ๆ
1. บอกความหมายของระบบปฏิบัตการอุปกรณ์พกพาได้
2. อธิบายประเภทและหน้าที่ของระบบปฏิบัติการอุปกรณ์ ของไอโอเอส
8. ข้อดีและข้อเสียของระบบปฏิบัตการ
พกกพาได้
3. อธิบายหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการพกพาได้

4. ปฏิบัติการเลือกใช้รบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพาให้เหมาะ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
สมกับงานได้
1.แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทและหลักการทำงาน

ของระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา

2.วางแผนจัดการเลือกใช้ระบบปฏิบัติการอุปก

รณ์พหพาตามลักษณะงาน

ความหมายของอุปกรณ์พกพา

อุปกรณ์ หมายถึง โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือที่เรียกว่า สมาร์ทโฟน
(Smarphone) และรวมถึงแท็บเล็ต(Tablet)




ระบบปฏิบัติการอุปกรณ์พกพา

ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา(Operating System for Mobile) ที่
นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่

1.ios (ไอโอเอส) หรือชื่อเดิมคือ ipone OS (ไอโฟนโอเอส)
ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นมาโดย Apple Inc. หรือในชื่อเดิมคือ Apple

Computer Inc.
2.Android(แอนดรอยด์)
ระเภทของระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาโดย Android Inc. จากนั้นบริษัท

Google


3. Windows Phone(วินโดวส์โฟน)
ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft

5.SBlackBerry OS (แบล็คเบอร์รีโอเอส)



ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท RIM (Resea In Motion) ซึ่งเป็นผู้ผลิตอุปกรณ์
สื่อสารภายใต้ยี่ห้อ BlackBerry



5.symbian OS (ซิมเบียน)

เป็นระบบปฏิบัติการที่พึ่งพาโดยบริษัท Symbian Ltd. และเป็นที่หนึ่งใน OS ที่
บริษัท Nokia พัฒนาเพื่อนำมาใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ของ Nokia

5. Web OS (เว็บโอเอส)



7.MeeGo (มีโก)

ทีมพัฒนาระบบปฏิบัติการ MeeGo ของ Nokia ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการให้
กับ Nokia

ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android Operating Sytem) หรือกูเกิลแอนดรอนด์
(Google Android) เป็นชื่อเรียกชุดซอฟแวร์ หรือแพลตฟอร์ม (Platform)
สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีหน่วยประมวลผลเป้นส่วนประกอบ เช่น
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
ประเภทของระบบแอนดรอยด์ ออกได้เป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
1.Android Open Source Project (AOSP)
2.Open Handset Mobile (OHM)
3.Cooking หรือ Customize

1.สิทธิ์ Root สิทธิ์การใช้งานระดับราก
2.สิทธิ์ ADB (Android Devlop Bridge)
3. Application & System
4. End-U

หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
โครงสร้างการทำงานของแอนดรอยด์พอที่จะอธิบายเป็นส่วน ๆ ได้ดังนี้

1. Applications
2.Application Frmework
2.1 Activites Manager
2.2 Content Providers
2.3 View System
2.4 Telephony Manager
2.5 Resource Manager
2.6 Location Manager
2.7 Notification Manager

3. Libraries
4. Android Runtime
5. Linux Kernel

ข้อดี
1.ความเข้ากันได้ระหว่างมือถือกับระบบ
2. มีราคาถุก และยังสามารถเข้ากันได้กับตัวเครื่อง

ข้อเสีย
1.ไม่สามารถปิดกระบวนการทำงานเองได้
2. ใช้งานยากเพราะมีเมนูที่ซับซ้อน ต้องทำความเข้าใจก่อน

ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios)
เป้นระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios)มีชื่อเดิมว่า iphone OS เริ่มต้นด้วยการเปิดตัวของ
iphone

หลักการทำงานของปฏิบัติการรุ่นต่าง ๆ ของไอโอเอส (ios)

ระบบปฏิบัติการ ios มีหลายรุ่น แต่ละรุ่นได้มีหลักการทำงานและได้มีการพัฒนาขึ้น ดังนี้
1.ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios) 1.x
2.ระบบปฏิบัติการ (ios) 2.x
3.ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios) 3.x
4. ระบบปฏิบัติการไอโอเอส(ios)4.x
5.ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios)5.x
6. ระบบปฏิบัติการไอโอเอส(ios)6.x
7. ระบบปฏิบัติการไอโอเอส(ios)7.x

ระบบปฏิบัติการไอโอเอส 7 จะมีความสามารถพิเศษขึ้นจากเดิมคงนี้

7.1 Control Celter ควบคุมทุกอย่างได้เร็วขึ้น
7.2 Notication Center แต่ละวันมีเหตุการณ์อะไรบ้าง
7.3 Multitasking ทำงานได้หลากหลายกว่า
7.4 Camera สามารถถ่ายภาพสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเติมฟิลเตอร์ได้
7.5 Photos จัดอัลบั้มภาพตามช่วงเหตุการณ์และสถานที่
7.6 AiarDropแชร์ไฟล์ข้ามเครื่องได้โดยง่าย
7.7 Safari การเข้าระบบอินเทอร์เน็ต มีการออกแบบใหม่ ให้ทำอะไรได้มามากกว่าเดิม
7.8 App Store สามารถอัพเดพแอพพลิเคชั่นให้เองได้โดยอัตโนมัติ

ข้อดีและข้อเสียของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

8.ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios)8
คอมยอดเยี่ยมของ ipone iPad และ iPod Touch มีพื้นที่ฐานมาจาก ios 8 ที่ประกอบ
ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย โดยระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios) 8 มีลักษณะการทำงาน
ที่พิเศษต่าง ๆ ดังนี้
8.1 คุณสมบัติและแอพพลิเคชั่นมาพร้อมเครื่อง
8.2 รูปภาพทุกรูปที่ถ่ายสามารถที่จะปรับแต่ง
8.3 ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่สร้างมาเพื่อกันและกัน
8.4 App Store
8.5 iCloud
8.6 สามารถอัพเดพ ios
9.ระบบปฏิบัติการไอโอเอส(ios)
9.1 การปรับปรุง Mail Drop
9.3 iBooks รองรับฟีเจอร์ 3D Touch
9.4 ipone
9.5 การปรับเสถียรภาพ
9.7 แก้ไขปัญหาของไฟล์แนบ
9.8 แก้ไขปัญหาของ Live Photo
9.9 แก้ไขปัญหาของการค้นหารายชื่อ
9.10 แก้ไขปัญหาที่ปฏิทิน
9.11 แก้ปัญหาของ ipod
9.12 แก้ไขปัญหาของแอพพลิเคชั่นกิจกรรมไม่เสถียร
9.13 แก้ไขปัญหาที่บางครั้งข้อมูลในแอพพลิเคชั่นสุขภาพ
9.14 จัดการปัญหาที่เมื่อทำการอัพเดพ ios
9.15 แก้ไขปัญหาที่ผุ้ใช้บางคนไม่สามารถเข้าสู่ระบบ (Login)
9.16 แก้ไขปัญหาของการสำรอข้อมูลบน iCloud
9.17 แก้ไขปัญหาแป้นพิมพ์ iPad
9.18 ปรับปรุงการตอบสนองของแป้นพิมพ์ให้ดีขึ้น
9.19 แก้ไขปัญหาของแป้นพิมพ์ cyrillic

ข้อดีและข้อเสียของระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ios)

ข้อดี

1.มีแอพลิเคชั่นที่หลากหลาย
2. มีบริการ App Store ที่ดาวน์โหลดโปรแกมและแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ
3. มีโปรแกรม iTunes ที่สนับสนุนการจัดอุปกรณ์
4. มีเมนูการใช้งานรวดเร็วและเข้าใจง่าย
5. มีโปรแกรม Web Brower คือ Safari ที่ตอบสนองได้รวดเร็ว

ข้อเสีย

1. ผู้ใช้งานไม่สามารถออกแบบปรับเปลี่ยนหน้าจอได้ตามความต้องการ
2.ไม่สามารถทำงานได้พร้อม ๆ กันหลายอย่าง เช่น ไม่สามารถฟังเพลง พร้อมเปิด Web

Brower เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตได้

หน่วยที่ 4

จุดประสงค์การเรียนรู็ อไแตกุมาปลาโรมะกคปกลรรัรากณคะ์รษอคกเลณมออือพมบะิกงพวเิใคาเวชตนร้ืเ่ออตงรอ์ ร์
จุดประสงค์ทั่วไป
สาระการเรียนรู้
1. เข้าใจถึงหลักการประกอบ
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 1. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการ
ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
2. เข้าใจหลักการเลือกใช้อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ตามลักษณะงาน 2. ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
3. การทดสอบเครื่องคอมพิวเตอร์
3. ประยุกต์ใช้ควาทรู้เกี่ยวกับการ 4. การเลือกใช้อุปกรณ์ในการประกอบเครื่อง
เลือกใช้อุปกรณ์และการ
ประกอบเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสม 5. การตรวจสอบราคาของอุปกรณ์

4. มีเจตคติที่ดีในการประกอบ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการประกอบเครื่อง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ไมโครคอมพิวเตอร์และการใช้อุปกรณ์ได้

1. อธิบายขั้นตอนการเตรียมความ 2. วางแผนจัดการเลือกใช้อุปกรณ์ในการ
พร้อมก่อนการประกอบเครื่อง ประกอบเครื่องตามลักษณะงาน
คอมพิวเตอร์ได้

2. อธฺิบายขั้นตอนการประกอบ
เครื่องคอมพิวเตอร์ได้

3. อธิบายการทดสอบ
คอมพิวเตอร์ได้

ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการ
ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

โดยมีขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการ
ประกอบเครื่องคอมพิวเตอรร์ ดังนี้
1.รู้ประสิทธิภาพที่ต้องการและเหมาะกับการใช้
งานของตัวเอง
2.เลือกซีพียูให้เหมาะ
3. เลือกใช้กราฟิกการ์ด
4. เลือกเคสที่เหมาะสม
เคสคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะแบ่งตามขนาด
และลักษณะ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2
ประเภทใหญ่ ๆ

1. ประเภทวางยืน หือ Tower (ทาวเวอร์)
แบ่งเป็นประเภทย่อย ๆ

-Mini Tower คือเคสขนาดเล็ก รูปร่าง
กะทัดรัด

-Mid Tower คือ เคสขนาดกลาง
-Full Tower คือ เคสประเภทรุ่นใหญ่

2. ประเภทวางนอน หรือ Desktop (เดสก์ท็อป)





5. รู้จักการจัดองค์ประกอบภายในเครื่อง เช่นเดียวกับการเลือก
เคส หากผู้ประกอบคอมพิวเตอร์รู้จักการจัดอุปกรณ์ภายในเคสให้
เป็นระเบียบเรียบร้อย

สิ่งที่สำคัญอีกประการหนึ่งสำหรับการองค์ประกอบภายในเครื่องก็คือ
ควีหลีกเลี่ยงการจัดวางอุปกรณ์ที่มีความร้อนสูงให้อยู่ใกล้กัน
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

1. ขั้นตอนแรกให้เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการประกอบ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ไขควงสี่แฉก ไขควงปากแบน คีม
ปากจิ้งจก กล่องใส่นอต คู่มือเมนบอร์ดที่ใช้ในการติดตั้ง

2. เริ่มจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อกของซ็อกเก็ตขึ้น
3. นำซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ต

4. เมื่อวางซีพียูตรงล็อกกับซ็อกเก็ตแล้วจากนั้นให้กดขาล็อกลง
ไปเหมือนเดิมแล้วนำซิลิโคนมาทา

5. ทำการเกลี่ยซิลิโคนให้ทั่วซีพียู พร้อมกับทำการล็อกซีพียูเข้า
กับล็อกเก็ต

6. ติดตั้งฮีทซิงก์และพัดลมลงไปบนซีพียูติดล็อกให้เรียบร้อย และ
ที่สำคัญฮีทซิงก์ของพัดลมจะต้องแนบสนิทกับซีพียู

7. ทำการยึดฮีทซิงก์กับซีพียูให้แน่นเพื่อการระบายความร้อน

8. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN

9.นำแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อก
เก็ต จากนั้นกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง2ดีดขึ้นมา

10. นำเมนบอร์ดที่ได้ติดตั้งซีพียูและแรมวางลงไปบนเคสจากนั้น
ขันนอตยึดเมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว

11. ทำการติดตั้ง Power Supply

12.ติดตั้งสายสัญญาณต่าง ๆ โดยดูจากคู่มือเมนบอร์ด
13. ติดตั้ง DVD เข้ากับตัวเคส

14. เสียบสายสัญญาณและไฟฟ้าเข้ากับตัว DVD
!5. ติดตั้งฮาร์ดดิสก์เข้ากับตัวเคส

16. เสียบสายสัญญาณและสายไฟเข้ากับอาร์ดดิสก์

17. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสำรวจดูว่ามีนอตหรืออุปกรณ์
อื่นๆ ตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่

การทดสอบเครื่องคอมพิวเตอร์

การตรวจสอบความถูกต้องของการประกอบเครื่องด้วยตามขั้นตอน
1. การเปิดเครื่ องเพื่ อตรวจสอบ
2. เมื่ อตรวจสอบระบบเบื้ องต้นผ่านแล้ว
3.ต่อไปก็เป็นการดำเนินการกับฮาร์ดดิสก์ถ้าหากยังไม่ได้จัดพาร์ติชั่น ฟอร์แมต

การเลือกใช้อุปกรณ์ในการประกอบเครื่อง
คอมพิวเตอร์

การเลือกใช้คอมพิวเตอร์แบรนด์เนม (Brand Name)
ข้อดี

1.บริการรับซ่อมในกรณีที่มีปัญหา หรืออาจจะมีบริการซ่อมถึงบ้าน
2.ซื้อง่าย รวดเร็ว บางร้านอาจผ่อนได้ 0%
3.ได้ของแถมต่าง ๆ
4. มีศูนย์บริการที่ให้บริการซ๋อมอยู่มากมาย
ข้อเสีย
1.IOS ไม่สามารถปรับ Oc ใด ๆ ได้
2.ราคาแพงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบเองอยู่พอสมควร
3. CPU จะมีความแรง แต่การ์ดจอจะเบา
4. เคสมีขนาดเล็ก ทำให้อากาศภายในร้อนมาก

การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง

ข้อดี
1. สามารถเลือกสเปกที่ตรงกับความต้องการได้
2. ราคาถูกกว่าคอมพิวเตอร์แบรนด์เนม
3.BIOS สามารถ Oc ได้ตามใจชอบ
4. สามารถเลือกเคสให้ถูกใจได้
5. มีการรับประกันเป็นรายชิ้น
6. ถ้าประกอบเครื่ องคอมพิวเตอร์เองจะช่วยพัฒนาทักษะได้ด้วย

ข้อเสีย
1. ไม่มีบริการซ่อมถึงบ้าน
2.ถ้าต้องเคลมเครื่องที่เสีย จะต้องเคลมเป็นชิ้น ๆ ซึ่งจะทำให้เสียเวลา

การเลือกใช้คอมพิวเตอร์แบรนด์เนม (Brand Name)
ข้อดี

1.บริการรับซ่อมในกรณีที่มีปัญหา หรืออาจจะมีบริการซ่อมถึงบ้าน
2.ซื้อง่าย รวดเร็ว บางร้านอาจผ่อนได้ 0%
3.ได้ของแถมต่าง ๆ
4. มีศูนย์บริการที่ให้บริการซ๋อมอยู่มากมาย
ข้อเสีย
1.IOS ไม่สามารถปรับ Oc ใด ๆ ได้
2.ราคาแพงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบเองอยู่พอสมควร
3. CPU จะมีความแรง แต่การ์ดจอจะเบา
4. เคสมีขนาดเล็ก ทำให้อากาศภายในร้อนมาก

อปุ กรณ

ณภ์ ายในคอมพวิ เตอร ์

อปุ กรณภ์ ายในคอมพวิ เตอร ์

• เคส
• เมนบอรด์
• เพาเวอรซ์ พั พลาย
• ชดุ พดั ลมและฮตี ซงิ กร์ ะบายความรอ้ น
• หน่วยประมวลผลกลาง
• หน่วยความจา RAM ฮารด์ ดสิ ก ์ และ ดสิ ก
• เมาส ์ และแป้ นพมิ พ ์
• Sockets ตา่ งๆ

กไ์ ดรฟ์

อ.จุติเทพ ผายการ สาขางานเท๕โนโลยธี ุรกิจดิจิทลั



เคส

Case หรอื "เคส" คอื ตวั ถงั หรอื ตวั กล่อง
คอมพิวเตอร ์ หลายคนจะเรียกว่าซีพียู
เนื่องจากเขา้ ใจผดิ สาหรบั เคสน้ันใชส้ าหรบั
บ ร ร จุอุป ก ร ณ์อิเ ล ค ท ร อ นิ ค ส ห์ ลัก ข อ ง
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร เ์ อ า ไ ว ้ข ้า งใ น เ ช่น CPU
เมนบอรด์ การด์ จอ ฮารด์ ดสิ ก ์ พดั ลมระบาย
ความรอ้ น และที่ขาดไม่ไดก้ ็คือ Power
Supply ซงึ่ จะมตี ดิ อยู่ในเคสเรยี บรอ้ ย เคส
คอมพวิ เตอรค์ วรเลอื กทรี่ ปู ทรงสงู ๆ เพอื่ จะได ้
ติดตงั้ อุปกรณไ์ ดง้ ่าย และควรเลือกเคสที่มี
ชอ่ งสาหรบั ติดตงั้ ฮารด์ ดิสก ์ ซดี ีรอมไดรฟ์
เผื่อเอาไวห้ ลายๆ ช่อง ในกรณีที่ตอ้ งการ
ตดิ ตง้ั อุปกรณเ์ พิ่มเติมในภายหลงั จะไดง้ ่าย
ขนึ ้

อ.จุติเทพ ผายการ สาขางานเท๕โนโลยธี ุรกิจดิจิทลั



อ.จุติเทพ ผายการ สาขางานเท๕โนโลยธี ุรกิจดิจิทลั


Click to View FlipBook Version