The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาย ณภัทร สุยังกุล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1234521, 2021-09-21 06:49:13

นาย ณภัทร สุยังกุล

นาย ณภัทร สุยังกุล

เรื่อง



การป้องกันการผุกร่อนของโลหะ



จัดทำโดย



นาย ณภัทร สุยังกุล
ม.5/15 เลขที่ 33



เสนอ



คุณครู เบญจพร อินทรสด



โรงเรียนนารีนุกูล อุบลราชธานี



สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ

(กกาารรปเ้กอิดงสกันนิม
ก)ารขผอุกงรโ่ลอหนะ

การเกิดสนิมเป็นปฏิกิ
ริยาที่พบเห็นได้ง่ายๆ
กับสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล
็กเป็นองค์ประกอบแต่เป็น

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นอย่างช้า
ๆ อาจจะกินเวลายาวนาน
เกิดขึ้นเมื่อมีเหล็กสัมผัสกับน
้ำและความชื้น โดยจะค่อยๆ

สึกกร่อน เมื่อเกิดการผุกร
่อน นอกจากจะทำให้วัสดุ
อุ ปกรณ์นั้นไม่สวยงามแล้ว
ถ้าอุ ปกรณ์เหล่านี้เป็นส่วน
ประกอบหลักที่ต้องการความ
แข็งแรง เช่น โครงหลังคา

บ้าน หากเกิดการกัดกร่อนก็จะยิ่งเป็นอันตราย

สาเหตุของการกัดกร่อน
ของโลหะ

หรือปัจจัยที่ทำให้เกิดการกัดกร่อนของโลหะ
ซึ่งมีหลายประการ

การทำปฏิกิริยากับ
น้ำและแก๊สออกซิเจน
การทำปฏิกิริยากับแก๊สค
าร์บอนไดออกไซด์หรือกรด
การทำปฏิกิริยากับไอเกลือ
เข้มข้น เช่น บริเวณใกล้ทะเล
สัมผัสกับโลหะที่มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์สูงกว่า

วิธีป้องกันการเกิดสนิมหรือ
การกัดกร่อนของเหล็ก

1.การเคลือบผิว (SURFACE COATING) ไม่ให้เหล็กสัมผัสกับน้ำ
และแก๊สออกซิเจนหรืออากาศ
ซึ่งอาจทำได้หลายๆ วิธีเช่น





เคลือบผิวเหล็กด้วยน้ำมัน
ทาสีที่ผิวเหล็ก
เคลือบผิวเหล็กด้วยพลาสติก





วิธีเหล่านี้เป็นแบบป้องกันโดยตรงไม่ให้ผิวเหล็กสัมผัสกับน้ำ
และออกซิเจนซึ่งค่อนข
้างสะดวกและให้ผลดี

วิธีป้องกันการเกิดสนิมหรือ
การกัดกร่อนของเหล็ก

2.วิธีแคโทดิก (CATHODIC PROTECTION)
เป็นที่ทราบแล้วว่า โลหะเกิดการผุกร่อนจากการเกิดปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี
โดยโลหะจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันซึ่งมีปฏิกิริยาเกิดขึ้นเช่นเดียวกับ
แอโนดในเซลล์กัลวานิกหรือเซลล์อิเล็กโทรไลต์

ดังนั้นถ้าไม่ต้องการให้เกิดการผุกร่อนจึงต้องให้โลหะนั้นมีสภาวะเป็น
แ(คมีโคท่าดศหักรืยอ์ไคฟล้ฟา้ยาคกัรบึ่งแเคซโลทล์ด(EโดOย)ใชน้้โอลยหกะทวี่่าเสเีหยลอ็ิกเล)็กไปตพรัอนนหไรืดอ้งต่่าอยกกับว่เาหเหล็ลก็ก
ซึ่งจะทำให้โลหะนั้นกัดกร่อนแทนเหล็ก เช่น การเชื่อมต่อแมกนีเซียมตาม

ท่อ หรือตามโครงเรือ จะทำให้เหล็กผุกร่อนช้าลง

การ(EชุบLเEคCลืTอRบOผิPวเLหAล็TกIด้NวGยโ)ลหะ

(งMานEซTกึ่งAระทLบำLวหIนนC้กาSทาี่รเAผป็่LนาTนขัS้กวร)ละบแแล(ส้วCไทฟAำฟTใ้หาH้เไOขอ้าอDไอปEนใ)นบจสึวงากทรวำิล่งใะหมล้เาากรยิัดบเเกปปล็รืนะอจชขัุ้ไนอฟผงิฟว้โาลบลหาบงะ ทขี่ชอิ้นง
โลหะมาเคลือบอยู่บนผิวด้านนอกของชิ้นงาน เช่น การชุบทองแดง
นิกเกิล โครเม(ีEยLมEใCช้TหRลักOกLาYรTขIอCงเCซEลLล์Lอิ)เล็กโทรไลติก

การเคลือบผิวเหล็กด้วย
โลหะที่หลอมเหลว

โดยนำเหล็กจุ่มลงในโลหะที่ใช้เค
ลือบซึ่งทำให้ร้อนจนหลอมเหลว
แล้วนำเหล็กจุ่มลงไปเพื่อให้เกาะที่ผิวของเหล็ก เช่น

นำแผ่นเหล็กจุ่มลงในสังกะสีที่หล
อมเหลวสังกะสีจะเกาะที่ผิวเหล็ก
ป้องกันไม่ให้เกิดสนิมได้

การป้องกันการเกิดสนิม
เ(หAล็NกOโดDยIวZิธีAอTะโIนOไNดซ)์

กระบวนการป้องกันการผุกร่อนของโลหะ โดยอาศัยหลักการอิเล็กโทรลิ
ซิส เป็นการเคลือบผิวโลหะด้วยโลหะออกไซด์ที่สลายตัวยากทำให้เกิด

ออเหกลไ่ซาดนี์้ขมอีงค่โาลหEะ๐บตา่งำชสูนญิดเเสีชย่นอิเอละ็กลูมติเรนอียนมง่าโยครเมเืม่อียทมำปดีฏบิุกกิริสยังากกับะสแี กโ๊ลสหะ
ออกซิเจนในอากาศจะเกิดออกไซด์ของโลหะซึ่งมีความสเถียรและไม่
ละลายน้ำเคลือบบนผิวของโลหะนั้นและจับผิวแน่น ทำให้ผิวด้านในไม่
สัมผัสกับน้ำและแก๊สออกซิเจน จึงช่วยป้องกันการผุกร่อนได้ การเกิด

ออกไซด์สามารถเกิดได้เองตามธรรมชาติแต่เป็นไปอย่างไม่สม่ำเสมอ ดัง
นั้นในทางอุ ตสาหกรรมจึงใช้วิธีอะโนไดซ์

(MEกTาAรLรมBดLำAโลCหKะเEหNล็IกNG)

เป็นการทำให้เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ เป็นกระบวนการการป้องกันการผุ
กร่อนของโลหะทางเคมีชนิดหนึ่ง โดยใช้สารเคมีและให้ความร้อนจาก
ภายนอกเข้าไปเท่านั้นทำให้เกิดออกไซด์สีดำติดแน่นอยู่บนผิวชิ้นงานโลหะ
โดยสีดำที่เกิดขึ้นจะมีความเข้มของสีที่แตกต่างกันไป คือสีดำ สีดำแกม
น้ำเงิน หรือสีน้ำเงินเข้ม ซึ่งขึ้นอยู่กับกรรมวิธีและสารเคมีที่ใช้ เมื่อโลหะ
ผ่านการรมดำ โลหะจะไม่เกิดสนิมหรือผุกร่อน จึงช่วยป้องกันการผุกร่อน
ของเหล็กได้ โลหะที่นิยมนำมารมดำได้แก่ เหล็ก ทองแดง ทองเหลือง

อะลูมิเนียม เงินและสแตนเลส

การป้องกันการกัดกร่อนของ
โลหะในระบบหล่อเย็นแบบปิด

เคเยร็ื่นอแงยบนบตป์ิดที่เใพชื้่่ใอนรัรกถษยานอุตณ์หหรืภอูมเิคขรือ่องงเมคือรื่อผงลิยตนกตร์ไะมแ่ใสห้ไสฟูงฟ้มาาจกะใเชก้ิรนะไบปบสหาลร่อ
หล่อเย็นที่ใช้คือน้ำซึ่งมีออกซิเจนละลายอยู่ ถ้าเครื่องยนต์มีโลหะผสมของ

อะลูมิเนียม ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำจะถูกใช้ในการสร้างฟิล์ม
อะลูมิเนียมออกไซด์ และฟิล์มนี้จะป้องกันการผุกร่อนเครื่องยนต์ได้ แต่ถ้า

เครื่องยนต์มีส่วนประกอบที่เป็นโลหะผสมของเหล็ก ส่วนประกอบของ
เครื่องยนต์ที่สัมผัสกับน้ำจะเกิดการผุกร่อนได้ เนื่องจากออกไซด์ของ
เหล็กไม่มีสมบัติในการเป็นสารเคลือบผิว จึงต้องเติมสารยับยั้งการ

กัดกร่อนซึ่งประกอบด้วยสารประกอบของไนไตรต์โบแรกซ์

ทำเหล็กให้เป็นขั้วลบ

โดยต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี่หรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

ที่มาข้อ
มูล :
ปเM้ทอEพงDจกัำIนนA.งส/ืคบ2์ ค5แ้น5สเง5มื่ส/อุนM1ท4AรN.ธั(นUมวA.าปLค./ปม%.,)2.Aไ5ฟ45ฟ%้9าDเ,ค9จมาี%กตEอP8นH%กUาCKร1ผHุ%กIรED่อO7น.%ขAอCCงD.Tโ%ลHหE/ะOแ0ลB%ะEกACา4ร-
%C1%D5/52_%A1%D2%C3%BC%D8%A1%C3%E8%CD%B9%
A2%CD%A7%E2%C5%CB%D0%E1%C5%D0%A1%D2%C3%BB

%E9%CD%A7%A1%D1%B9.PDF


Click to View FlipBook Version