The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cherryaschariya.kongpanut2540, 2022-03-06 00:59:59

Practicum 2

สมดุ บนั ทกึ

รายวิชาการฝึกประสบการณว์ ิชาชพี (Professional Training)

EDP4302 การปฏบิ ตั ิงานวิชาชีพครู 2 (Practicum 2)

คณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา

ชื่อนกั ศึกษา นางสาวอจั ฉรยิ า นามสกุล คงพนสั
รหัสประจาตัว 61131112056 สาขาวชิ า การศึกษาปฐมวัย ปที ี่ 4
สถานศึกษาทฝี่ ึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู โรงเรียนประชานเิ วศน์



คานา

สมุดบันทึกวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 (Practicum 2) เป็นเอกสารที่เป็น
แนวทางให้นักศึกษาได้บันทึกข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการฝึกการปฏิบัติงานวิชาชีพครูในสถานศึกษา ข้อกาหนด
ต่างๆ ที่กาหนดไว้ในสมุดบันทึกเล่มน้ีเป็นข้อกาหนดข้ันต่า นักศึกษาสามารถบันทึกความรู้และประสบการณ์
ทไ่ี ด้รบั ไดม้ ากกวา่ ข้อกาหนดทก่ี าหนดไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ น้ี

การบันทึกความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2
นกั ศกึ ษาตอ้ งบันทึกตามแบบในสมุดบนั ทกึ

หวังว่าสมุดบันทึกเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 โดยเป็น
แนวทางสาหรับนักศึกษาในการฝึกปฏิบัติ และเป็นแนวทางในการให้คาแนะนาและการนิเทศสาหรับอาจารย์
พ่เี ลยี้ ง และอาจารย์นเิ ทศกต์ ่อไป

คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา

สารบัญ ข

คานา หน้า
สารบญั ก
สารบัญ (ต่อ) ข
หลักการและแนวคดิ ค
แนวปฏิบัติของนักศกึ ษา 1
แนวปฏบิ ัตขิ องหัวหนา้ นักศึกษา 1
แบบบนั ทกึ การฝกึ ปฏบิ ัติงาน 2
ข้อมูลเก่ยี วกบั สถานศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู 3

- ผู้บริหารโรงเรียนโรงเรยี นประชานิเวศน์ 4
- ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศกึ ษา 6
- ปรัชญาของสถานศึกษา 7
- วสิ ยั ทัศน์ของสถานศกึ ษา 8
- พนั ธกจิ ของสถานศึกษา 8
- เปา้ หมายของสถานศึกษา 8
- คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 8
- บคุ ลากร 9
- นกั ศึกษา 9
- อาคารสถานที่ 9
- สถานท่ีสาคญั อยู่ใกล้กับสถานศกึ ษา 10
- แผนผงั แสดงบริเวณและท่ีตั้งของสถานศึกษา 10
แบบบนั ทึกการปฏบิ ตั ิงาน 11
1. การบรหิ ารสถานศึกษา
28
1.1 โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา 29
1.2 บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในสถานศึกษาแตล่ ะฝา่ ย
2. หลักสตู รสถานศึกษา 29
2.1 หลกั สตู รทส่ี ถานศึกษาใช้ในปัจจุบนั 30
2.2 ความสอดคล้องของหลกั สูตรสถานศึกษากับสภาพ และความต้องการของชุมชน 30
2.3 หลักสูตรเพมิ่ เติมในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 30
2.4 กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและการนาไปใช้



สารบัญ (ตอ่ )

หน้า

3. แนวการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา

วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรยี นรใู้ นกลุ่มสาระ (ท่ตี รงกับแขนงวชิ าของ

นักศกึ ษา) กบั หลักสตู รสถานศกึ ษา พรอ้ มเหตุผลสนับสนุน 31

4. ความสัมพนั ธ์ระหว่างสถานศกึ ษากบั ชุมชน

4.1 ชุมชนและแหล่งเรียนรู้ที่ใกล้เคยี งกับสถานศึกษา 32

4.2 ฐานข้อมลู ของสถานศกึ ษา (มี/ไม่มี) 32

4.3 ความร่วมมือระหว่างสถานศกึ ษากับชุมชน 32

4.4 การใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศึกษากับชมุ ชน 32

4.5 กิจกรรมทที่ ารว่ มกนั ระหว่างสถานศึกษากบั ชุมชน 32

5. ภารกิจและกิจกรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา

5.1 กิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถทางวชิ าการ 33

5.2 กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมคุณลักษณะของผ้เู รียน 33

5.3 กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการ 33

5.4 กจิ กรรมท่สี ่งเสริมการแนะแนว 34

5.5 อ่ืนๆ 34

แบบบนั ทกึ การสัมภาษณ์อาจารย์ 35

แบบบันทึกการมีสว่ นรว่ ม 37

แบบบันทึกความประทับใจจากการปฏิบตั ิงานวิชาชพี ครู 2 40

ความคิดเห็น 41

การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านวิชาชีพครู 2 42

1

การฝึกปฏิบตั ิงานวิชาชีพครรู ะหวา่ งเรียน 2

หลกั การและแนวคิด

วิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 (Practicum 2) เป็นวิชาหน่ึงที่อยู่ในกลุ่ม
วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชพี (Professional Training) ของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา
หลักสูตรปรับปรุงพุทธศักราช 2560 จุดประสงค์หลักของวิชานี้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นครูดี มีจิตสานึกของ
ความเป็นครู มีจริยธรรมและคุณธรรมในวิชาชีพครู มีความสามารถในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการ
พัฒนาหลักสูตร การออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในวชิ าชีพไดเ้ ป็นอยา่ งดี

การพัฒนาวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 นี้ ได้กาหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ 3
ด้านคือมุ่งให้เกิดความรู้ ความเข้าใจการบริหารจัดการสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการ
สร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งสถานศึกษากับชุมชน โดยมีความสามารถในการวางแผน ศึกษาสังเกต เก็บรวบรวม
ข้อมูล บันทึกข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล สังเคราะห์ และนาเสนอผลการศึกษาได้ ท้ังนี้ จะต้องมีการนาหลักการ
และทฤษฎมี าบรู ณาการกับการปฏิบัตจิ ริงใช้ทักษะทางปัญญาในการคิด พฒั นางานอย่างสรา้ งสรรค์ มวี ุฒภิ าวะ
ทางอารมณแ์ ละทางสงั คม มคี วามสัมพนั ธ์ทดี่ ีกบั ผเู้ รยี น และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม

แนวปฏิบตั ขิ องนักศึกษา

1. นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เข้าร่วมการปฐมนิเทศเพ่ือแนะนาให้รู้จักกับผู้บริหาร
และบุคลากรของสถานศึกษาตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ดงั น้ี

1.1 โครงสร้างและบทบาทหน้าทีข่ องฝา่ ยต่าง ๆ
1.2 กจิ กรรมของสถานศึกษาและการมสี ว่ นรว่ มกับผู้ปกครองและชุมชน
1.3 สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา
1.4 การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
1.5 แนวปฏบิ ตั ิของสถานศึกษา
2. เขา้ รบั มอบหมายงานฝึกประสบการณก์ ารปฏิบตั งิ านวชิ าชีพครู 2 (Practicum 2) ดังนี้
2.1 วางแผนการศกึ ษาสถานศึกษา ชุมชนและหลกั สตู รในบริบทตา่ งๆ (จาก
แหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ)
2.2 ศึกษาสังเกต สัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธรรมนูญสถานศึกษา
การบริหารจัดการของสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ของบุคลากร การบริหารบุคลากร ความสัมพันธ์กับชุมชน
หลกั สตู รสถานศกึ ษา กระบวนการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและการนาไปใช้
2.3 ศกึ ษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพือ่ เปน็ แนวทางการจดั การเรยี นรู้

2
3. ระเบยี บการปฏิบัติตน

3.1 นักศึกษาเริ่มปฏิบัติงานต้ังแต่วันที่อาจารย์นิเทศก์ส่งตัวไปยังสถานศึกษา
ตามปฏทิ นิ ท่ศี นู ย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครูกาหนด

3.2 นกั ศึกษาตอ้ งปฏิบตั ิงานทกุ วัน ตง้ั แตเ่ วลา 07.30- 16.30 น.
3.3 นักศกึ ษาต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมพิเศษอนื่ ๆ ของสถานศกึ ษาตามความเหมาะสม

แนวปฏิบตั ขิ องหัวหน้านกั ศึกษา

สถานศึกษาที่นักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพต้องมีหัวหน้านักศึกษา 1 คน โดยมีหน้าท่ี
ดงั นี้

1. ติดต่อประสานงานกบั อาจารย์นเิ ทศก์ ครูพเี่ ล้ียงและคณะครุศาสตร์
2.สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาผู้ร่วมงานด้วยกัน เมื่อเห็นว่ามีการปฏิบัติตนเส่ือมเสีย
หรือปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง ให้มีการแนะนา ตักเตือนกัน และรายงานอาจารย์นิเทศก์ทราบ เพ่ือขอรับคาแนะนา
และความชว่ ยเหลือทันที
3. ดแู ลให้เพ่ือนนักศึกษาลงเวลาไป – กลับ
4. ดูแลทุกข์สขุ ของเพื่อนนักศึกษาทั้งปัญหาการสอน ปัญหาสขุ ภาพและปัญหาอ่ืนๆ
5. ร่วมมือปฏิบัติงานให้ลุล่วงไปด้วยดี ควรมีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือกันอย่างสม่าเสมอ
อยา่ งนอ้ ย 1-2 ครงั้ ตอ่ เดือน

3

แบบบนั ทกึ การฝกึ ปฏิบัตงิ าน

ช่ือ – นามสกุล นางสาวอจั ฉรยิ า คงพนสั รหสั ประจาตัว 61131112056
แขนงวชิ า การศกึ ษาปฐมวัย ช่อื สถานศกึ ษารว่ มพัฒนาวิชาชพี ครู โรงเรยี นประชานิเวศน์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา

คาช้แี จง ให้นักศกึ ษาบันทกึ รายการปฏิบตั งิ านในแตล่ ะวัน โดยให้ครอบคลุมการบริหารจดั การสถานศกึ ษา
ในหวั ข้อและประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

1. การบรหิ ารสถานศกึ ษา
1.1 โครงสร้างการบรหิ ารสถานศึกษา
1.2 บทบาทหน้าท่ขี องบคุ ลากรในสถานศกึ ษาแต่ละฝา่ ย

2. หลักสูตรสถานศึกษา
2.1 หลกั สตู รท่สี ถานศึกษาใช้ในปัจจบุ นั
2.2 ความสอดคลอ้ งของหลกั สตู รสถานศึกษากับสภาพ และความต้องการของชมุ ชน
2.3 หลักสูตรเพ่มิ เตมิ ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2.4 กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาและการนาไปใช้

3. แนวการจดั การเรียนรขู้ องสถานศึกษา
วเิ คราะหค์ วามสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระ (ทีต่ รงกับแขนงวิชาของนักศึกษา)

กับหลกั สตู รสถานศึกษา พรอ้ มเหตุผลสนับสนนุ
4. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานศึกษากบั ชมุ ชน

4.1 ชุมชนและแหลง่ เรยี นรู้ทใ่ี กล้เคียงกับสถานศกึ ษา
4.2 ฐานขอ้ มลู ของสถานศึกษา (มี/ไม่ม)ี
4.3 ความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากับชุมชน
4.4 การใชท้ รพั ยากรรว่ มกันระหวา่ งสถานศึกษากับชมุ ชน
4.5 กิจกรรมท่ที าร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
5. ภารกิจและกจิ กรรมต่างๆ ของสถานศกึ ษา
5.1 กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมความสามารถทางวชิ าการ
5.2 กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ คุณลักษณะของผเู้ รียน
5.3 กิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาการ
5.4 กิจกรรมที่สง่ เสรมิ การแนะแนว
5.5 อนื่ ๆ

4

ข้อมลู เกีย่ วกบั สถานศึกษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู

ชอื่ สถานศึกษา โรงเรียนประชานิเวศน์
สงั กัด สานกั งานเขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร
ท่ตี ง้ั ซอย 10 ถนน เทศบาลรงั รักษ์เหนือ ตาบล/แขวง ลาดยาว

อาเภอ/เขต จตุจกั ร จงั หวัด กรุงเทพมหานคร ไปรษณีย์ 10900
โทรศพั ท์ 02-588-4028
โทรสาร 02-588-4231
เวบ็ ไซต์ http://www.prachaniwet.ac.th/
อีเมล [email protected]
ช่อื ผู้อานวยการ

นางดวงสุมาลย์ ชืน่ ชูจิตร์
ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา

นางวิชญาภรณ์ แสงบตุ รดี นางสาวสพุ นิ ยา สรอ้ ยทอง
รองผู้อานวยการ กล่มุ บริหารวชิ าการ รองผู้อานวยการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล

5

นางศิริพร ใยดา นางวชั รี โล่ห์จินดา
รองผู้อานวยการ ฝา่ ยบริหารงานงบประมาณ รองผู้อานวยการ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป

รายชือ่ คณะกรรมการสถานศึกษา (ชื่อ-สกุล)

1. นายสมใจ สตั บุศย์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ผ้แู ทนพระภิกษุสงฆ์
2. พระครู ดร.สาธร ปริยัตคิ ณุ ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
3. นาวาอากาศตรสี รุ เดช นภินธากร ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
4. นายยงยทุ ธ รังฉมิ านนท์ ผทู้ รงคณุ วุฒิ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
5. พลตรีนคร พนู ไชยศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
6. ศ.ดร.เอกชาติ จันอุไรรตั น์ ผู้แทนกรงุ เทพมหานคร
ผู้แทนผู้ปกครอง
7. นายภูเบศ ภักดีบดนิ ทร์ ผแู้ ทนครู
ผแู้ ทนนกั เรียน
8. นางอรณุ ศรี ลกั ขณาตระกูล ผู้บริหารสถานศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร

9. นายอมรชัย ชยั รัตน์

10. นายกมล ขุนภาษี ท่ปี รึกษา

11. นางอาภรณ์ สุมาลยั

12. นายอ๊อต แซเ่ หลยี ง

13. นางสมศรี พุทธคณุ

14. นายนภปดล โชติพานชิ

15. นางจุฑาภคั มีฉลาด

6
ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา

โรงเรียนประชานิเวศน์ มีเน้ือท่ี 5 ไร่ 1 งาน 7 ตารางวา เริ่มเปิดการเรียนการสอน
ในวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2520 สงั กดั กรงุ เทพมหานคร ในบรเิ วณหมบู่ า้ นประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร
กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 ต่อมาในปีการศึกษา 2536 เปิดขยาย
โอกาสทางการศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ในขณะเดียวกันโรงเรียนได้ขยายพื้นท่ีเพิ่มจากพื้นที่เดิม
แต่อยู่คนละส่วนของถนนห่างกันออกไปประมาณ 500 เมตร ได้มีการก่อสร้างอาคารเรียน 5 ช้ัน
ของมัธยมศึกษาในพ้ืนท่ี 7 ไร่เศษ แล้วเสร็จเมื่อต้นปี 2538 และได้นานักเรียนระดับมัธยมมาเรียนในพื้นท่ี
แห่งใหม่ ปีการศึกษา 2540 ได้เปิดขยายการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6
และในปีการศึกษา 2542 ได้งบประมาณสร้างอาคารเรียน 7 ชั้น 1 หลัง ปีการศึกษา 2547 ได้มีประกาศ
กรุงเทพมหานคร ลงวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2547 แยกออกเป็น 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนประชานิเวศน์สังกัด
สานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร และ โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ สังกัดสานักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร ซ่ึงต่อมาได้โอนมาสังกัดสานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันโรงเรียน
ประชานเิ วศน์ จดั การเรียนการสอนต้งั แต่ชน้ั อนบุ าล – ประถมศึกษาปที ี่ 6 มนี กั เรยี น 1,798 คน

สญั ลักษณป์ ระจาโรงเรยี น

รปู บ้านไทย

อกั ษรย่อของโรงเรยี น ก

จ.จ. ป.น.

พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรยี น

หลวงพ่อบ้านแหลม

7

พระบรมราชานุสาวรีย์

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั

ดอกไมป้ ระจาโรงเรยี น

ดอกอนิ ทนลิ

สปี ระจาโรงเรยี น

เลอื ดหมู – ดา

อัตลกั ษณ์ประจาโรงเรยี น
ใฝ่เรยี นรู้ เชดิ ชูคณุ ธรรม

ปณธิ าน
เสยี สละ จรงิ ใจ มีวินัย ค้นควา้ รอบรู้ สู้งาน

ปรชั ญาของสถานศึกษา
สงั คม ชุมชน นักเรยี น คณุ ครู ผู้ปกครอง คือญาติพี่นอ้ งรว่ มบ้านเดยี วกนั

8

วิสัยทศั น์ของสถานศึกษา
วชิ าการเดน่ ดี มีคุณธรรมนาตน ทุกคนรว่ มพฒั นา สูค่ วามเป็นพลเมืองโลก

พันธกจิ ของสถานศึกษา
1. ส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของผเู้ รียนสคู่ วามเป็นเลิศ
2. สง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รียนให้มอี ัตลักษณ์แห่งมหานคร
3. เสรมิ สร้างประสิทธภิ าพการศกึ ษา ตอบสนองความต้องการของผเู้ รยี นทุกกลุ่มอยา่ งเท่าเทยี ม
4. สง่ เสริมและพัฒนาประสทิ ธิภาพการจัดการดจิ ิทัลเพ่ือการศึกษา
5. เสริมสร้างและพฒั นาทุนมนษุ ยแ์ ละบริหารจดั การสู่องค์การสมรรถนะสงู

ยทุ ธศาสตรข์ องสถานศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาผูเ้ รยี นตามอัตลักษณ์แหง่ มหานคร
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับประสิทธิภาพจัดการศกึ ษาตอบสนองความต้องการของผู้เรียน

ทุกกลมุ่ อยา่ งเทา่ เทยี มและทวั่ ถงึ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาประสิทธิภาพการจดั การดิจทิ ัลเพอ่ื การศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาทนุ มนุษย์และบรหิ ารจดั การสู่องค์การสมรรถนะสูง

เปา้ หมายของสถานศกึ ษา
ต้องการให้ทุกคนเป็นพลเมอื งดีและมีคณุ ภาพ

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซื่อสตั ยส์ จุ รติ
3. มวี นิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ
9. ความกตญั ญู
10. มีความเอื้ออาทร

9

1. บุคลากร

1.1 ครูอาจารย์ มที ้ังหมด 89 คน ชาย 12 คน และหญงิ 77 คน

จาแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา ดงั น้ี

ปริญญาเอก จานวน - คน

ปรญิ ญาโท จานวน 25 คน

ปริญญาตรี จานวน 64 คน

อื่นๆ จานวน - คน

1.2 คนงานภารโรง 7 คน ชาย 5 คน และหญิง 2 คน

1.3 นกั เรียนมที ้งั หมด 1,798 คน ชาย 909 คน และหญิง 889 คน

ชั้นอนบุ าล จานวน 196 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 270 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 จานวน 262 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 273 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 278 คน

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 260 คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 259 คน

2. นักศึกษา
2.1 นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์การปฏบิ ัตงิ านวิชาชีพครู 2 (Practicum 2)
นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู 2 ของมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทาแหง่ น้ี
มีทงั้ หมด 3 คน ชาย 1 คน และหญงิ 2 คน
จาแนกตามสาขาวิชา ดงั น้ี
1) สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย จานวน 3 คน
1. นายจักรกฤษณ์ ชาวมอญ
2. นางสาวไหมไทย ลิ่มพนั ธ์
3. นางสาวอัจฉริยา คงพนัส
2.2 ตัวแทนนักศึกษาผ้ปู ระสานงาน
2.2.1 นักศกึ ษาผปู้ ระสานงานประจาสถานศึกษาคือ นางสาวอจั ฉริยา คงพนัส

3. อาคารสถานท่ี มีท้ังหมด 48 ห้อง
3.1 ห้องเรียน มที ัง้ หมด 20 หอ้ ง
3.2 ห้องพักครอู าจารย์ มีทงั้ หมด 20 ห้อง
3.3 ห้องสง่ เสริมวิชาการ

10

1) หอ้ งสมุด 2) ห้องคณติ ศาสตร์

3) หอ้ งศิลปะ 4) หอ้ งผลติ รายการวดี ีทัศนฯ์

5) หอ้ งประชมุ 6) หอ้ งดนตรสี ากล

7) หอ้ งดนตรีไทย 8) หอ้ งสหกรณ์

9) หอ้ งลกู เสือ-ยวุ กาชาด 10) ห้องธนาคารโรงเรียน

11) หอ้ งพลศึกษา 12) หอ้ งจริยศึกษา

13) หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 14) หอ้ งวทิ ยาศาสตร์

15) หอ้ ง กอท. 16) หอ้ งเรยี น IDP

17) ห้องสมดุ สองภาษา 18) หอ้ งนาฏศิลป์

19) ห้องเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 20) หอ้ งพยาบาล

21) หอ้ งกรรมการนกั เรียน 22) หอ้ งเกยี รติยศ

23) ห้องวัดผล 24) หอ้ งธนาคารขยะ

25) หอ้ งเรยี นสเี ขยี ว

3.4 สถานที่สาคัญอยใู่ กล้กบั สถานศกึ ษา มดี ังน้ี

1) สถานตี ารวจประชาชน่ื 2) โรงเรยี นมธั ยมประชานิเวศน์

3) ตลาดประชานเิ วศน์ 4) ศนู ยเ์ ยาวชนประชานเิ วศน์

5) มติชน 6) วดั เสมียนนารี

7) การประปานครหลวง 8) เรือนจาคลองเปรม

3.5 แผนผังแสดงบริเวณและทีต่ ้งั ของสถานศึกษา ดงั น้ี

11
แบบบนั ทกึ การปฏบิ ัติงาน
ชอื่ – สกลุ นางสาวอจั ฉรยิ า คงพนสั สาขาวชิ า การศึกษาปฐมวยั
สถานศึกษา โรงเรียนประชานเิ วศน์
คาชแี้ จง ให้นกั ศกึ ษาบันทึกรายการปฏบิ ตั งิ านผลการปฏบิ ัตงิ านในแตล่ ะวัน ตลอดระยะเวลา
การปฏบิ ัตงิ านในชุดวิชาการปฏบิ ัตงิ านวิชาชีพครู 2 (Practicum 2) พรอ้ มใหค้ รพู เ่ี ลยี้ ง/ครูผ้สู อน
ลงนามรบั รองทุกวนั

วนั เดือนปี รายการปฏบิ ตั งิ าน ผลการปฏบิ ตั ิงาน ครูพีเ่ ล้ยี ง/ครผู ู้สอน
วันจนั ทร์ท่ี 15
พฤศจิกายน Work from home - เด็กนักเรียนมีความ

2564 * เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น

จึงทาให้ไมส่ ามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ท่ีโรงเรียนได้ตามปกติ
ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
10.00 - 10.30
Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ
และจงั หวะ
ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
10.30 – 12.00 น.
- การเรียนการสอน หนว่ ย วนั ลอย อย่างดี

กระทง - การสังเกตพฤติกรรม
- กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
เพลง ลอยกระทง
- กิจกรรมสร้างสรรค์ วาดภาพ ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ระบายสี ผ้ปู กครอง
12.00 - 13.00 น.

พักรบั ประทานอาหารกลางวัน

13.00 - 14.00 น.

เรียนการอ่านและการเขียน

14.00 - 15.00 น. ทางานและการบ้าน (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
ท่ีได้รบั มอบหมายและสง่ งานออนไลน์ ครพู ีเ่ ลย้ี ง

12

วนั เดอื นปี รายการปฏบิ ตั งิ าน ผลการปฏบิ ัติงาน ครพู เี่ ลยี้ ง/ครผู ู้สอน
วันอังคารที่ 16
พฤศจิกายน Work from home - เด็กนักเรียนมีความ

2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น

จึงทาให้ไม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ท่โี รงเรยี นได้ตามปกติ
10.00 - 10.30 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ
และจงั หวะ
ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
10.30 – 12.00 น.
- การเรียนการสอน หนว่ ย วันลอย อย่างดี

กระทง - การสังเกตพฤติกรรม
- กิจกรรมสร้างสรรค์วาดภาพ ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
ระบายสีวันลอยกระทง
- เด็กนักเรียนนาเสนอผลงานของ ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ตนเอง ผู้ปกครอง
12.00 - 13.00 น.

พักรบั ประทานอาหารกลางวนั

13.00 - 14.00 น.

เรยี นการอ่านและการเขยี น (นางสาวนวพรรษ จนั ทะบุตร)
14.00 - 15.00 น. ทางานและการบ้าน ครพู ่เี ลย้ี ง
ทไี่ ดร้ ับมอบหมายและส่งงานออนไลน์

วนั เดือนปี รายการปฏิบัตงิ าน ผลการปฏบิ ัตงิ าน 13
- เด็กนักเรียนมีความ ครพู ่ีเลีย้ ง/ครผู ู้สอน
วันพธุ ที่ 17 Work from home
พฤศจิกายน ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น (นางสาวนวพรรษ จนั ทะบุตร)
* เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ครูพีเ่ ลย้ี ง
2564 จงึ ทาให้ไม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ทโี่ รงเรียนไดต้ ามปกติ
10.00 - 10.30 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
และจังหวะ
10.30 – 12.00 น. ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ

- การเรียนการสอน หน่วย วนั ลอย ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
กระทง
อยา่ งดี
- กิจกรรมเกมการศึกษา จ๊ิกซอว์
ประกอบภาพ - การสังเกตพฤติกรรม
12.00 - 13.00 น. ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
ระหว่างเรียนและการ
พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
13.00 - 14.00 น. ผปู้ กครอง

เรียนการอา่ นและการเขียน
14.00 - 15.00 น. ทางานและการบ้าน
ทีไ่ ด้รับมอบหมายและส่งงานออนไลน์

วันเดอื นปี รายการปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏิบตั งิ าน 14
- เด็กนักเรียนมีความ ครพู เี่ ลย้ี ง/ครผู ู้สอน
วนั พฤหสั บดีท่ี 18 Work from home
พฤศจิกายน ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น (นางสาวนวพรรษ จนั ทะบุตร)
2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ครพู ่ีเลย้ี ง
จงึ ทาให้ไม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ทีโ่ รงเรียนได้ตามปกติ
10.00 - 10.30 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
และจังหวะ
10.30 – 12.00 น. ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ

- การเรียนการสอน หน่วย วนั ลอย ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
กระทง
อยา่ งดี
- กิจกรรมสรา้ งสรรค์ การประดษิ ฐ์
กระทง - การสังเกตพฤติกรรม
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
- เด็กนักเรียนนาเสนอผลงานของ ระหว่างเรียนและการ
ตนเอง ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
12.00 - 13.00 น. ผปู้ กครอง

พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
13.00 - 14.00 น.

เรยี นการอ่านและการเขยี น
14.00 - 15.00 น. ทางานและการบ้าน
ท่ีไดร้ บั มอบหมายและส่งงานออนไลน์

วนั เดอื นปี รายการปฏบิ ตั งิ าน ผลการปฏบิ ัตงิ าน 15
- เด็กนักเรียนมีความ ครูพเี่ ลี้ยง/ครผู ู้สอน
วันศุกร์ที่ 19 Work from home
พฤศจิกายน ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น (นางสาวนวพรรษ จนั ทะบุตร)
* เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 ครูพ่เี ลยี้ ง
2564 จึงทาให้ไมส่ ามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ทโ่ี รงเรยี นไดต้ ามปกติ
10.00 - 10.30 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า

Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
และจังหวะ
10.30 – 12.00 น. ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ

- การเรียนการสอน หน่วย วนั ลอย ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
กระทง
อยา่ งดี
- กิจกรรมสร้างสรรค์วาดภาพ
ระบายสี - การสังเกตพฤติกรรม
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
- เด็กนักเรียนนาเสนอผลงานของ ระหว่างเรียนและการ
ตนเอง ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
12.00 - 13.00 น. ผปู้ กครอง

พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
13.00 - 14.00 น.

เรยี นการอ่านและการเขยี น
14.00 - 15.00 น. ทางานและการบ้าน
ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายและส่งงานออนไลน์

วันเดือนปี รายการปฏิบตั ิงาน ผลการปฏบิ ัติงาน 16
- เด็กนักเรียนมีความ ครูพีเ่ ลยี้ ง/ครผู ู้สอน
วันจนั ทรท์ ่ี 22 Work from home
พฤศจิกายน ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น (นางสาวนวพรรษ จนั ทะบุตร)
* เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ครพู เี่ ลย้ี ง
2564 จงึ ทาให้ไม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ทโี่ รงเรียนไดต้ ามปกติ
10.00 - 10.30 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
และจงั หวะ
10.30 – 12.00 น. ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ

- การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
12.00 น. เป็นต้นไป
อยา่ งดี
ท า ง า น แ ล ะ ก า ร บ้ า น ท่ี ไ ด้ รั บ
มอบหมายและส่งงานออนไลน์ - การสังเกตพฤติกรรม
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ผปู้ กครอง

วนั เดือนปี รายการปฏบิ ตั ิงาน ผลการปฏิบตั ิงาน 17
วนั องั คารท่ี 23 ครพู ี่เลี้ยง/ครผู ู้สอน
พฤศจิกายน Work from home - เด็กนักเรียนมีความ
(นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น ครพู เ่ี ลยี้ ง

จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ทโี่ รงเรยี นไดต้ ามปกติ
(การเรียนการสอนแบ่งเด็กนักเรียน ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่วงเช้าและ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ชว่ งบ่าย) ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ

10.00 - 10.30 (เด็กนักเรียนกลุ่ม ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
อยา่ งดี
ช่วงเช้า)

Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว - การสังเกตพฤติกรรม
และจงั หวะ
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
10.30 – 12.00 น.
- ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห น่ ว ย ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ปลอดภัยไว้ก่อน ผปู้ กครอง
- กิจกรรมเกมการศึกษา ประกอบ

ภาพจิ๊กซอว์ หน่วย ปลอดภยั ไวก้ อ่ น
12.00 น. เปน็ ต้นไป (เด็กนกั เรียนกลุ่ม
ชว่ งเชา้ )

- พักรบั ประทานอาหารกลางวนั
- ทางานทีต่ นเองได้รบั มอบหมาย
และส่งงานออนไลน์
14.00 – 14.30 น. (เด็กนักเรียนกลุ่ม
ช่วงบ่าย)

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว
และจงั หวะ
14.30 – 16.00 น.

- ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห น่ ว ย
ปลอดภยั ไวก้ อ่ น

- กิจกรรมเกมการศึกษา ประกอบ

ภาพจิ๊กซอว์ หน่วย ปลอดภัยไวก้ ่อน
16.00 น. เป็นตน้ ไป (เดก็ นักเรยี นกลมุ่
ช่วงบ่าย)

- ทางานที่ตนเองไดร้ ับมอบหมาย
และส่งงานออนไลน์

วนั เดือนปี รายการปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏิบตั ิงาน 18
วนั พธุ ท่ี 24 - เด็กนักเรียนมีความ ครพู ี่เลี้ยง/ครผู ู้สอน
พฤศจิกายน Work from home ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น
อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า ครพู เ่ี ลยี้ ง
จึงทาให้ไมส่ ามารถไปสังเกตการณ์สอน กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ทโ่ี รงเรียนได้ตามปกติ ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ
(การเรียนการสอนแบ่งเด็กนักเรียน ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่วงเช้าและ อยา่ งดี
ช่วงบ่าย) - การสังเกตพฤติกรรม
10.00 - 10.30 (เด็กนักเรียนกลุ่ม ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
ชว่ งเช้า) ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว ผปู้ กครอง
และจังหวะ
10.30 – 12.00 น.

- ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห น่ ว ย
ปลอดภยั ไว้กอ่ น (เพิม่ เตมิ )

- กิจกรรมเกมการศึกษา ประกอบ
ภาพจิ๊กซอว์ หน่วย ปลอดภยั ไว้ก่อน
12.00 น. เป็นตน้ ไป (เด็กนกั เรยี นกล่มุ
ช่วงเช้า)

- พกั รับประทานอาหารกลางวนั
- ทางานท่ีตนเองไดร้ บั มอบหมาย
และส่งงานออนไลน์
14.00 – 14.30 น. (เด็กนักเรียนกลุ่ม
ช่วงบ่าย)
Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว
และจังหวะ
14.30 – 16.00 น.
- ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห น่ ว ย
ปลอดภยั ไว้ก่อน (เพิ่มเตมิ )
- กิจกรรมเกมการศึกษา ประกอบ
ภาพจิ๊กซอว์ หน่วย ปลอดภัยไว้กอ่ น
16.00 น. เปน็ ต้นไป (เด็กนกั เรียนกลุม่
ช่วงบา่ ย)
- ทางานทต่ี นเองได้รบั มอบหมาย
และส่งงานออนไลน์

วนั เดือนปี รายการปฏิบตั งิ าน ผลการปฏบิ ตั ิงาน 19
วนั พฤหัสบดที ี่ 25 - เด็กนักเรียนมีคลิป ครพู ่เี ลี้ยง/ครผู ู้สอน
Work from home วีดิโอการเรยี นการสอน
พฤศจิกายน เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 เพมิ่ เตมิ ครูพ่ีเลยี้ ง
จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน - เดก็ นกั เรียนไดค้ วามรู้
ท่ีโรงเรยี นได้ตามปกติ จ า ก ค ลิ ป วี ดิ โ อ ม า ก
10.00 - 12.00 น. ยิ่งข้ึน

ว า ง แ ผ น ท า ค ลิ ป วี ดิ โ อ ก า ร ส อ น
เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ชั้ น อ นุ บ า ล ปี ที่ 2
หน่วย ปลอดภยั ไวก้ อ่ น
12.00 - 13.00 น.

พกั รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 17.00 น.

ท า ค ลิ ป ตั ด ต่ อ วี ดิ โ อ ก า ร เ รี ย น
การสอน หน่วย ปลอดภัยไว้ก่อน
ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2

วนั เดือนปี รายการปฏบิ ตั งิ าน ผลการปฏิบัติงาน 20
วันศุกรท์ ี่ 26 - เด็กนักเรียนมีคลิป ครพู ี่เลยี้ ง/ครผู ู้สอน
พฤศจิกายน Work from home วีดิโอการเรยี นการสอน
เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 เพม่ิ เตมิ ครูพีเ่ ลย้ี ง
จงึ ทาใหไ้ มส่ ามารถไปสังเกตการณ์สอน - เด็กนกั เรียนไดค้ วามรู้
ท่ีโรงเรียนไดต้ ามปกติ จ า ก ค ลิ ป วี ดิ โ อ ม า ก
10.00 - 12.00 น. ย่งิ ข้ึน

ว า ง แ ผ น ท า ค ลิ ป วี ดิ โ อ ก า ร ส อ น
เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ชั้ น อ นุ บ า ล ปี ที่ 2
หน่วย ปลอดภยั ไว้กอ่ น
12.00 - 13.00 น.

พกั รับประทานอาหารกลางวนั
13.00 – 17.00 น.

ท า ค ลิ ป ตั ด ต่ อ วี ดิ โ อ ก า ร เ รี ย น
การสอน หน่วย ปลอดภัยไว้ก่อน
ช้นั อนุบาลปีที่ 2

วันเดือนปี รายการปฏิบัตงิ าน ผลการปฏิบัตงิ าน 21
วนั จันทร์ที่ 29 - เด็กนักเรียนมีความ ครพู ่เี ลยี้ ง/ครผู ู้สอน
พฤศจิกายน Work from home ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น
อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า ครพู ่เี ลยี้ ง
จึงทาใหไ้ มส่ ามารถไปสังเกตการณ์สอน กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ทโ่ี รงเรยี นได้ตามปกติ ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ
10.00 - 10.30 ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
อยา่ งดี
Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว - การสังเกตพฤติกรรม
และจังหวะ ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
10.30 – 12.00 น. ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
- การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผปู้ กครอง
เรื่อง ยานพาหนะ
12.00 น. เป็นต้นไป

ท า ง า น แ ล ะ ก า ร บ้ า น ท่ี ไ ด้ รั บ
มอบหมายและส่งงานออนไลน์

วนั เดอื นปี รายการปฏิบัตงิ าน ผลการปฏบิ ัติงาน 22
วันองั คารที่ 30 ครพู เี่ ล้ียง/ครผู ู้สอน
พฤศจิกายน Work from home - เด็กนักเรียนมีความ
(นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
2564 * เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น ครพู เี่ ลยี้ ง

จึงทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ที่โรงเรยี นไดต้ ามปกติ
(การเรียนการสอนแบ่งเด็กนักเรียน ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่วงเช้าและ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ชว่ งบา่ ย) ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ

10.00 - 10.30 (เด็กนักเรียนกลุ่ม ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
อย่างดี
ช่วงเช้า)

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว - การสังเกตพฤติกรรม
และจงั หวะ
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
10.30 – 12.00 น.
- การเรียนการสอน หน่วย นม ระหว่างเรียนและการ
- การแสดงความคิดเห็นของเด็ก ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ผู้ปกครอง
นักเรยี นเกยี่ วกับรสชาตขิ องนม

12.00 น. เปน็ ตน้ ไป (เด็กนักเรียนกลมุ่
ช่วงเชา้ )

- พักรับประทานอาหารกลางวัน

- ทางานท่ตี นเองได้รับมอบหมาย
และส่งงานออนไลน์
14.00 – 14.30 น. (เด็กนักเรียนกลุ่ม
ชว่ งบา่ ย)

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว

และจงั หวะ
14.30 – 16.00 น.

- การเรยี นการสอน หน่วย นม

- การแสดงความคิดเห็นของเด็ก
นักเรยี นเกยี่ วกบั รสชาตขิ องนม
16.00 น. เป็นต้นไป (เด็กนกั เรยี นกลุม่

ชว่ งบ่าย)
- ทางานทต่ี นเองไดร้ ับมอบหมาย

และส่งงานออนไลน์

วันเดือนปี รายการปฏิบัตงิ าน ผลการปฏิบตั ิงาน 23
วนั พธุ ที่ 1 ครูพี่เลยี้ ง/ครผู ู้สอน
ธันวาคม 2564 Work from home - เด็กนักเรียนมีความ
(นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
* เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น ครูพเ่ี ลย้ี ง

จงึ ทาให้ไม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ท่ีโรงเรยี นไดต้ ามปกติ
(การเรียนการสอนแบ่งเด็กนักเรียน ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่วงเช้าและ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ช่วงบ่าย) ท า ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ

10.00 - 10.30 (เด็กนักเรียนกลุ่ม ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
อยา่ งดี
ช่วงเชา้ )

Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว - การสังเกตพฤติกรรม
และจังหวะ
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
10.30 – 12.00 น.
- การเรียนการสอน หน่วย นม ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
(เพิม่ เตมิ ) ผู้ปกครอง
- การเขียนคาลงทา้ ยด้วยสระอา

- กิจกรรมสร้างสรรค์ วาดภาพ
ระบายสีกล่องนมตามจินตนาการ
12.00 น. เป็นตน้ ไป (เด็กนักเรียนกลุม่

ช่วงเชา้ )
- พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน
- ทางานท่ตี นเองไดร้ ับมอบหมาย

และสง่ งานออนไลน์
14.00 – 14.30 น. (เด็กนักเรียนกลุ่ม

ช่วงบา่ ย)
Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว

และจงั หวะ

14.30 – 16.00 น.
- การเรียนการสอน หน่วย นม

(เพ่ิมเตมิ )

- การเขยี นคาลงทา้ ยด้วยสระอา
- กิจกรรมสร้างสรรค์ วาดภาพ
ระบายสกี ลอ่ งนมตามจินตนาการ

16.00 น. เป็นตน้ ไป (เด็กนักเรียนกลุ่ม
ช่วงบา่ ย)

- ทางานท่ตี นเองไดร้ ับมอบหมาย

และสง่ งานออนไลน์

วันเดือนปี รายการปฏิบตั ิงาน ผลการปฏบิ ัตงิ าน 24
วันพฤหัสบดที ่ี 2 - เด็กนักเรียนมีคลิป ครพู เ่ี ลี้ยง/ครผู ู้สอน
ธนั วาคม 2564 Work from home วีดิโอการเรยี นการสอน
เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้ (นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
* เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 เพิ่มเตมิ ครูพี่เลยี้ ง
จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน - เด็กนักเรียนไดค้ วามรู้
ที่โรงเรียนได้ตามปกติ จ า ก ค ลิ ป วี ดิ โ อ ม า ก
10.00 - 12.00 น. ยิง่ ขึ้น

ว า ง แ ผ น ท า ค ลิ ป วี ดิ โ อ ก า ร ส อ น
เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ช้ั น อ นุ บ า ล ปี ที่ 2
หนว่ ย สัตวน์ ่ารัก
12.00 - 13.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 17.00 น.

ท า ค ลิ ป ตั ด ต่ อ วี ดิ โ อ ก า ร เ รี ย น
ก า ร ส อ น ห น่ ว ย สั ต ว์ น่ า รั ก
ช้นั อนบุ าลปีท่ี 2

วันเดือนปี รายการปฏบิ ัติงาน ผลการปฏบิ ัตงิ าน 25
วนั ศกุ ร์ที่ 3 ครพู เ่ี ลี้ยง/ครผู ู้สอน
ธันวาคม 2564 Work from home - เด็กนักเรียนมีคลิป
(นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
* เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 วีดิโอการเรยี นการสอน ครูพี่เลยี้ ง

จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม รู้
ทโี่ รงเรยี นได้ตามปกติ
10.00 - 12.00 น. เพิ่มเตมิ
- เด็กนักเรียนไดค้ วามรู้
ว า ง แ ผ น ท า ค ลิ ป วี ดิ โ อ ก า ร ส อ น จ า ก ค ลิ ป วี ดิ โ อ ม า ก
เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ช้ั น อ นุ บ า ล ปี ที่ 2
ยิง่ ขึ้น
หน่วย สัตวน์ ่ารัก

12.00 - 13.00 น.

พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 17.00 น.

ท า ค ลิ ป ตั ด ต่ อ วี ดิ โ อ ก า ร เ รี ย น

ก า ร ส อ น ห น่ ว ย สั ต ว์ น่ า รั ก

ชัน้ อนุบาลปที ่ี 2

วันเดือนปี รายการปฏบิ ัตงิ าน ผลการปฏบิ ตั งิ าน 26
วันองั คารท่ี 7 ครูพเ่ี ลยี้ ง/ครผู ู้สอน
ธันวาคม 2564 Work from home - เด็กนักเรียนมีความ
(นางสาวนวพรรษ จันทะบตุ ร)
* เน่ืองจากสถานการณ์โควิด - 19 ต้ั ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น ครูพี่เลยี้ ง

จงึ ทาใหไ้ ม่สามารถไปสังเกตการณ์สอน อ อ น ไ ล น์ ใ ห้ ค ว า ม
ที่โรงเรียนไดต้ ามปกติ
(การเรียนการสอนแบ่งเด็กนักเรียน ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ท า
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ช่วงเช้าและ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ แ ล ะ
ช่วงบ่าย) ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ

10.00 - 10.30 (เด็กนักเรียนกลุ่ม ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ เ ป็ น
อยา่ งดี
ชว่ งเชา้ )

Homeroom กิจกรรมเคลื่อนไหว - การสังเกตพฤติกรรม
และจังหวะ
ข อ ง เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
10.30 – 12.00 น.
- การเรียนการสอน หน่วย วันพ่อ ระหว่างเรียนและการ
ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
แห่งชาติ ผปู้ กครอง
12.00 น. เปน็ ตน้ ไป (เดก็ นักเรียนกลุ่ม

ช่วงเชา้ )
- พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
- ทางานทต่ี นเองได้รับมอบหมาย

และสง่ งานออนไลน์
14.00 – 14.30 น. (เด็กนักเรียนกลุ่ม
ชว่ งบ่าย)

Homeroom กิจกรรมเคล่ือนไหว
และจังหวะ

14.30 – 16.00 น.
- การเรียนการสอน หน่วย วันพ่อ

แห่งชาติ

16.00 น. เป็นต้นไป (เดก็ นกั เรียนกลุ่ม
ช่วงบ่าย)

- ทางานท่ีตนเองได้รับมอบหมาย

และส่งงานออนไลน์

27

รายงานผลการศึกษาการปฏิบัตงิ านวิชาชพี ครูระหว่างเรยี น 2

คาชี้แจง
ตอนที่ 1 ให้นักศึกษาสรุปรายงานผลการศึกษาและสังเกตการปฏิบัติงานวิชาชีพครู ระหว่างเรียน 2
(Practicum 2) ในประเด็นท่ีกาหนดให้ทุกข้อ (แต่ละรายการไม่น้อยกว่า 1 หน้ากระดาษ A4) (ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควิด สามารถสอบถาม สัมภาษณ์คุณครู หรือข้อมูลจากเว็บไซต์ , เอกสารต่าง ๆ จากทาง
โรงเรียนได้)
1. การบริหารสถานศกึ ษา : ด้านบคุ ลากร

1.1 โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศกึ ษา
1.2 บทบาทหนา้ ทขี่ องบุคลากรในสถานศึกษาแต่ละฝ่าย
2. การบริหารงานวชิ าการ : ด้านหลักสตู รสถานศกึ ษา
2.1 หลกั สตู รทีส่ ถานศกึ ษาใชใ้ นปัจจบุ นั
2.2 ความสอดคลอ้ งของหลักสูตรสถานศึกษากบั สภาพและความต้องการของชมุ ชน
2.3 สาระเพ่ิมเตมิ ในแต่ละกล่มุ สาระการเรยี นรู้
2.4 กระบวนการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาและการนาไปใช้
3. แนวการจดั การเรียนรขู้ องสถานศกึ ษา
วเิ คราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระ (ท่ีตรงกับแขนงวิชาของนักศึกษา)
กับหลกั สูตรสถานศกึ ษา พร้อมเหตผุ ลสนับสนุน
4. ด้านความสัมพันธร์ ะหว่างโรงเรียนกบั ชุมชน
4.1 ชมุ ชนและแหล่งเรยี นรูท้ ี่ใกล้เคียงกับสถานศึกษา
4.2 ฐานขอ้ มูลของสถานศึกษา (ม/ี ไม่ม)ี
4.3 ความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษากบั ชมุ ชน
4.4 การใชท้ รพั ยากรร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
4.5 กจิ กรรมท่ที ารว่ มกนั ระหว่างสถานศกึ ษากบั ชมุ ชน
5. ภารกจิ และกิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน
5.1 กจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมความสามารถทางวชิ าการ
5.2 กจิ กรรมที่ส่งเสรมิ คุณลักษณ์ของผู้เรียน
5.3 กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการ
5.4 กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ การแนะแนว
5.5 อ่ืนๆ

28

1. การบริหารสถานศึกษา : ดา้ นบุคลากร
1.1 โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศึกษา

ผู้อานวยการ

คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง
พ้ืนฐาน

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร

รองผู้อานวยการคนท1่ี รองผ้อู านวยการคนท2่ี รองผ้อู านวยการคนท่3ี รองผู้อานวยการคนท่4ี

รองผู้อานวยการคนท่1ี เป็น
กรรมการและเลขานุการ

ผ้ชู ่วยรองผ้อู านวยการ ผ้ชู ่วยรองผ้อู านวยการ ผ้ชู ่วยรองผ้อู านวยการ ผ้ชู ่วยรองผ้อู านวยการ

บรหิ ารงานวชิ าการ บริหารงานบุคคล บรหิ ารงานงบประมาณ บริหารงานทว่ั ไป การบริหารงานแบบมสี ่วน
ร่วม
1. งานหลกั สตู ร 1. บรหิ ารงานบคุ ลากร 1. งานสารบรรณ 1.งานโภชนาการ 1.การให้ทกุ คนมสี ่วนร่วม
2. งานการเรียนการ 2.งานอาคารสถานท่ี 2. งานบุคลากร 2.งานแนะแนว ในการวเิ คราะห์ปัญหา ร่าง
สอน และสง่ิ แวดล้อม ความ 3.งานการเงิน/การ 3. งานกจิ กรรมนักเรียน เป็ นนโยบายและแผนการ
3. งานสง่ เสริมวชิ าการ ปลอดภยั บญั ชี 4.งานอนามยั บริหารวชิ าการ
4.งานวัดผลและ 3. งานสารสนเทศฝ่ าย 4.งานพัสดุ-ครภุ ัณฑ์ 5.งานประชาสมั พนั ธ์ 2. ให้ทมี ครชู ่วงช้นั กาหนด
ประเมนิ ผล ปกครอง 5. งานสร้างสมั พันธ์ 6.งานโสตทศั นูปกรณ์ เป็นงานวชิ าการของช่วงน้นั
5.งานห้องสมุด 4.งานวนิ ัยนกั เรียน 6.งานงบประมาณ 7.งานสวัสดกิ าร 3.กล่มุ สาระการเรยี นร้ชู ่วง
5.ส่งเสรมิ 7. งานบริหารระบบ ช้นั กาหนดแผนงาน/
ประชาธปิ ไตย ข้อมลู โครงการ
ประชาธิปไตย 4.จัดสรรงบประมาณให้
ช่วงช้นั
ทมี บรหิ ารช่วงช้ันท1่ี ทมี บริหารช่วงช้นั ท2่ี 5.รองผ้บู ริหารช่วงช้นั คดิ
ตามและรายงานให้
ผ้บู รหิ ารรบั ทราบ
6. จดั ให้มกี ารเกบ็ ข้อมูล
สารสนเทศ ทาสถติ ิ
7.งานประชาสมั พันธ์
เผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
8.มมี าตรการการ
ปฏบิ ตั งิ านราชการเป็น
ระยะอย่างน้อยภาคเรียน
ละ 1-2 คร้งั

ประกนั คุณภาพภายใน

29
1.2 บทบาทหน้าทข่ี องบคุ ลากรในสถานศึกษาแตล่ ะฝ่าย

บทบาทหน้าท่ีของบุคลากรในโรงเรียนประชานิเวศน์ แบ่งออกเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารบุคคลากร
ฝ่ายบริหารวิชาการ ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป ฝ่ายบรหิ ารงบประมาณ ซงึ่ แตล่ ะฝา่ ยมบี ทบาทหน้าท่ี ดงั น้ี

1. ฝา่ ยบริหารบุคคลากร มีหน้าที่
- การจดั ทาทะเบียนประวัติ
- การสรรหา บรรจุ แต่งตงั้ การพ้นจากราชการ
- การพฒั นาบคุ ลากร
- การสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการปฏิบตั ิงาน
- การจัดทาและพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
- การใชห้ ลักสูตรฯ
- การนิเทศ กากบั ติดตามและประเมนิ ผลการใช้หลักสูตร ศึกษา
- ศกึ ษา ทดลอง วิจยั และพฒั นาดา้ นวชิ าการ
- งานอน่ื ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย

2. ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ มหี นา้ ท่ี
- การประเมิน พัฒนาการ

3. ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป มหี น้าที่
- การบรหิ ารอาคารสถานท่ี สภาพแวดลอ้ มและสาธารณูปโภค
- การประชาสมั พนั ธแ์ ละสัมพนั ธช์ มุ ชน
- เครอื ขา่ ยผ้ปู กครอง
- ข้อมูลสารสนเทศ
- วางแผนงบประมาณ และการระดมทรัพยากร
- การเงนิ บญั ชี และพสั ดุ

4. ฝา่ ยบริหารงบประมาณ มีหนา้ ท่ี
- การติดตามประเมินผลและรายงานผลดาเนนิ งานของบุคคล

2. การบรหิ ารงานวชิ าการ : ด้านหลักสตู รสถานศึกษา
2.1 หลกั สูตรท่สี ถานศกึ ษาใช้ในปจั จบุ ัน
ในปัจจุบันโรงเรียนประชานิเวศน์ ใช้หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย พุทธศักราช 2546

(ฉบับปรับปรุง 2551 ซ่ึงมีการจัดการศึกษาในรูปแบบการจัดกิจกรรม 6 กิจกรรมหลักและนาแนวคิด ทฤษฎี
นวัตกรรมหรือกิจกรรมใหม่ ๆ มาผสมผสานในบริบทที่เหมาะสมกับโรงเรียน เพ่ือเสริมสร้างให้เด็กเติบโต
เป็นบุคคลท่ีมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซ่ึงสอดคล้องกับหลักปรัชญา
วิสยั ทศั น์และคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์

30
2.2 ความสอดคล้องของหลักสูตรสถานศกึ ษากับสภาพและความต้องการของชมุ ชน

โรงเรียนประชานิเวศน์ มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีองค์ประกอบครบถ้วน จัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั พุทธศักราช 2546 (ฉบับปรับปรุง 2551) ซึ่งได้กาหนดสาระการเรียนรู้
ของเด็กไว้เปน็ รายปี โดยคานงึ ถงึ วยั พฒั นาการ และบริบทของสงั คมท่แี วดล้อมตวั เด็ก

จากท่ีกล่าวมาข้างต้นชี้ให้เห็นว่า หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนประชานิเวศน์ มีความสอดคล้อง
กับสภาพและความต้องการของชุมชน คือ เนื่องจากชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนเป็นชุมชนที่ถือได้ว่า
มีความเก่ียวข้องกันของ สถานที่ราชการท่ีสาคัญ บ้าน วัด และโรงเรียน โดยฐานะทางชุมชนอยู่ในระดับดี
ดังนั้นการท่ีสถานศึกษาได้จัดการเรียนการสอนโดยสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ท่ีจะช่วยเพิ่ม
ศักยภาพและพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธผิ ลทางการเรียนที่ดี ส่วนในการจัดกิจกรรมซึ่งในหลกั สูตรกาหนดไว้ให้
มีควบคู่กับการเรียนการสอนน้ัน ทางโรงเรียนก็มีกิจกรรมซึ่งให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนเข้ามาร่วมด้วย
เช่น แห่เทียนจาพรรษา วันแม่แห่งชาติ รณรงค์การต่อต้านยาเสพติด เป็นต้น จึงทาให้ชุมชนเข้ามามีบทบาท
ในการจัดการศึกษาของทางโรงเรียนอย่างเห็นได้ชดั การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนประชานเิ วศน์
จึงมีความสอดคล้องกับชุมชนท่ีสะท้อนได้จากความร่วมมือกันอย่างเข้มแข็งระหว่างครู ผู้ปกครอง หน่วยงาน
ราชการ ทาใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ทดี่ ี และพฒั นาได้ตรงตามเป้าหมายของหลกั สตู รอย่างมปี ระสิทธิภาพ

2.3 สาระเพ่มิ เตมิ ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
1. กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ คุณลกั ษณ์ของผเู้ รยี น กิจกรรมที่ส่งเสรมิ คุณลักษณ์สาหรบั เด็กปฐมวัย มดี งั น้ี

- โครงการมารยาทดี มีความเป็นไทย โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีมารยาทดี ปฏิบัติตามวัฒนธรรมและวิถี
ความเป็นไทยเหมาะสมกับวัย และสถานการณ์

- กิจกรรมโรงเรียนปลอดภัย โดยมีจุดมุ่งหมายให้โรงเรียน ครู นักการภารโรง และเด็กนักเรียนมีส่วนร่วม
ในการดแู ลความปลอดภยั ของโรงเรียน เพ่อื ปลูกผงั ระเบยี บวินยั และการดแู ลปอ้ งกันตนเอง
2. กิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการ กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น ได้แก่ ด้านรา่ งกาย
อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปญั ญา โดยมีโครงการดงั นี้

- โครงการเล่นแบบสร้างสรรค์และแก้ปัญหาแบบร่วมมือร่วมใจ โดยมุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น
อยา่ งมคี ุณภาพ เพ่ือสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา

- โครงการเปิดหอ้ งเรยี นรสู้ โู่ ลกกว้าง โดยจดั ให้มที ศั นศึกษาในทกุ หอ้ งเรยี น
3. กิจกรรมท่ีส่งเสริมการแนะแนว

ทางโรงเรียนจัดให้มีโครงการพัฒนางานแนะแนวระบบช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาระบบและกิจการดูแล
ช่วยเหลือนักเรยี นให้เป็นระบบและมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้นึ

2.4 กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและการนาไปใช้
การเตรียมความพร้อม ทางโรงเรียนได้แต่งตั้งกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ จากนั้น

อบรมและพัฒนาบุคลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546
และแนวทางในการจดั ทาหลกั สตู รแลว้ จึงจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของโรงเรยี นประชาสมั พันธก์ ารใช้หลกั สตู ร

31
และศึกษาข้อมูลเก่ียวกับเด็ก ผู้ปกครอง ชุมชน แหล่งเรียนรู้ ส่ืออุปกรณ์ และบริบทอื่นที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้หลักสูตรสถานศึกษามคี วามสอดคล้องกับบรบิ ททค่ี รอบ ชมุ ชน และสังคมตอ้ งการ

3. แนวการจัดการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา
วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรยี นรูใ้ นกลมุ่ สาระ (ที่ตรงกับแขนงวิชาของนกั ศึกษา)

กบั หลักสูตรสถานศึกษา พรอ้ มเหตุผลสนับสนุน
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย พัฒนาเด็กได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลและเด็กทุกคนได้รับ

การพัฒนาอย่างสูงสุดเต็มศักยภาพ แนวทางการจัดการศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียน
ประชานิเวศน์ เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง บุคคลทั่วไป องค์กรและหน่วยงานที่มาศึกษาดูงาน ตลอดจน
สถาบนั ทางการศกึ ษาตา่ ง ๆ ที่ผลติ ครูผสู้ อนในระดับปฐมวยั

1. ศึกษาและจัดทานวตั กรรมเพอื่ ให้ส่ือ / กระบวนการสอนมกี ระบวนการทีส่ มบรู ณ์
2. พัฒนารูปแบบการจัดเกบ็ ข้อมลู เดก็ ในระบบสารสนเทศของช้นั เรยี นดว้ ยระบบเทคโนโลยี
3. ขยายแนวคิดการพฒั นาเด็กตามรูปแบบ การจดั การศึกษา ระดบั ปฐมวยั ปฏิบตั ิสู่
สาธารณชนโดยวิธีการต่าง ๆ เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติงาน ครูนาความรู้เผยแพร่ด้วยการเป็น
วทิ ยากร การเขยี นหนงั สอื บทความระดบั ประถมศึกษา
4. ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง และงานของส่วนรวม รู้จักประหยัด มีทักษะความคิด
สร้างสรรค์ กลา้ แสดงออก มวี ินยั สุขภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ี
5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูใ่ นระดบั ดี
6. ศกึ ษาและจัดทานวัตกรรมเพือ่ ให้สือ่ / กระบวนการสอนมกี ระบวนการท่ีสมบูรณ์
7. ผู้บรหิ ารมคี วามก้าวหน้าทางวชิ าการ มคี วามมุ่งมั่นในการพฒั นาโรงเรียนในทกุ ด้าน
9. ครูมีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานต่าง ๆ และจัดการเรียนรู้ได้เต็ม
ศักยภาพ
10. มีการจัดโครงการ กิจกรรมหลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษเป็น
บคุ คล และดแู ลนักเรียนทป่ี ระสบปัญหาทัง้ ดา้ นการเรยี นและพฤตกิ รรม
11. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วม ในการจัด
การศกึ ษา เพือ่ พัฒนาผู้เรยี นสง่ เสรมิ กิจกรรมต่าง ๆ ท่เี ป็นประโยชน์ต่อผู้เรยี น และสถานศกึ ษา

12. พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม แต่ละปี เพ่ือเติมเต็มให้มีความสมบูรณ์
เพอื่ นาไปพฒั นาเดก็

32
4. ดา้ นความสัมพันธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกับชุมชน

4.1 ชุมชนและแหล่งเรยี นรทู้ ่ีใกลเ้ คยี งกบั สถานศกึ ษา
โรงเรียนประชานิเวศน์ต้ังอยู่ในอาณาเขตหมู่บ้านประชานิเวศน์1 เป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่ โรงเรียน

ประชานิเวศน์มีพ้ืนท่ีอยู่ติดกับเขตบางซื่อ และจังหวัดนนทบุรี ลักษณะโดยรอบของโรงเรียนเป็นชุมชน
มีร้านอาหารตา่ งๆมากมาย

4.2 ฐานข้อมูลของสถานศกึ ษา (มี/ไมม่ )ี
-

4.3 ความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษากับชมุ ชน
ชุมชนและแหล่งเรียนรู้ท่ีสาคัญซ่ึงใกล้เคียงกับโรงเรียนประชานิเวศน์ คือ วัดเสมียนนารีซ่ึงนับได้ว่า

เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของนักเรียน เพราะจะมีการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาพระพุทธศาสนา ซ่ึงนักเรียน
จะเรยี นรถู้ ึงธรรมะ และเป็นการฝึกอบรม รวมทงั้ การปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรมโดยตรงจากพระภิกษุ
สงฆ์ และนอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ออกไปเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ใกล้เคียง จากการทากิจกรรม
ต่าง ๆ เช่น การบาเพ็ญประโยชน์ให้แก่ชุมชน วัด สถานที่ราชการ เพ่ือเป็นการบูรณาการความรู้การเรียนรู้
นอกห้องเรียน ซ่ึงนับเป็นแหล่งการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างหน่ึงท่ีไม่ใช่แค่ห้องเรียน แต่ยังสามารถออกไป
เรียนรู้กับชุมชนและสถานท่ีใกล้เคียง เพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เมื่อนักเรียน
เกิดกระบวนการเรียนรู้แล้ว ยังก่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีได้พบเจอเมื่อออกไปสู่ชุมชนภายนอก
และสามารถนาความรู้และทักษะต่าง ๆ ที่ได้รับมาปรับใช้ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ต่อไป จึงถือได้ว่า ชุมชน
วัด โรงเรียน มีความเกี่ยวโยงกันในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นแหล่งที่ใกล้เคียงและมีความสัมพันธ์กัน
อยทู่ วี่ า่ สถานศึกษาจะใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้อย่างไร

4.4 การใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างสถานศกึ ษากบั ชุมชน
โดยส่วนมากในเร่ืองของการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน คงจะมองไปถึงที่

โรงเรียนและวัดเป็นสาคัญ เพระเป็นสถานท่ีท่ีนับได้ว่าเป็นทรัพยากรท่ีโรงเรียนและชุมชนใช้ร่วมกัน อาทิ
วันสาคัญทางศาสนาก็จะมีการไปทาบุญร่วมกัน จัดกิจกรรมกันที่วัด เป็นต้น และหากชุมชนมีกิจกรรม
ที่จาเป็นต้องใช้สถานที่ก็สามารถขอใช้สถานศึกษาได้ รวมท้ังการใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกันในการจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ อาทิ การจัดกิจกรรมชุมชนซึ่งต้องมีครูเป็นพิธีกร เป็นต้น รวมทั้งการที่พระสงฆ์จากวัดหรือภูมิปัญญา
ท้องถิ่นจากชุมชนก็เข้ามามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนในบางรายวิชา
ด้วย ส่ิงเหล่านี้จึงถือได้ว่าเป็นการใช้ทรัพยากรด้านต่าง ๆ ร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน นับได้ว่าเป็น
การรว่ มมือกัน ที่ก่อใหเ้ กิดประโยชนท์ ั้งต่อสถานศึกษา ชมุ ชน และบุคลากรในสงั คมด้วย
4.5 กจิ กรรมท่ีทารว่ มกันระหว่างสถานศึกษากบั ชุมชน

กิจกรรมท่ีสถานศึกษากับชุมชนทาร่วมกัน ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาสภาพสังคมและพัฒนา
ศกั ยภาพของนักเรียนเป็นสาคัญ ซึง่ โรงเรียนประชานเิ วศน์ ไดม้ ีกจิ กรรมที่ทารว่ มกันมากมาย อาทิ

- งานวันสาคัญทางพุทธศาสนา เช่น เข้าพรรษา วันวิสาขบูชา ท่ีทาร่วมกันทั้งสถานศึกษา
และชุมชน

- กจิ กรรมวนั แมแ่ หง่ ชาติ ท่ที ารว่ มกันทงั้ สถานศึกษาและชมุ ชน 33
- กจิ กรรมตักบาตรทาบญุ ในวันพระ ทีท่ ารว่ มกันทัง้ สถานศึกษาและชมุ ชน อย่าง
จงึ ถอื ได้วา่ สถานศึกษาชมุ ชนและหนว่ ยงานอ่ืนๆ น้ันมกี ารทากิจกรรมรว่ มกัน
หลากหลายและสมา่ เสมอ ซึ่งสง่ ผลต่อการพัฒนานกั เรยี นใหม้ ศี ักยภาพตามไปด้วย

5. ภารกิจและกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน
5.1 กจิ กรรมที่สง่ เสริมความสามารถทางวิชาการ
กจิ กรรมทีท่ างโรงเรียนประชานเิ วศน์ จดั ทาขนึ้ เพ่ือส่งเสรมิ ความสามารถทางวชิ าการมีทั้งกจิ กรรมที่ทา

ภายในสถานศึกษา อาทิ กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางภาษาไทยในวันสุนทรภู่และวันภาษาไทย กิจกรรมการ
แข่งขันอ่ืน ๆ ที่กลุ่มสาระต่าง ๆ จัดขึ้น จึงทาให้มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมความสามารถทางวิชาการภายใน
สถานศึกษาท่ีหลากหลาย ส่วนกิจกรรมท่ีส่งเสริมความสามารถทางวิชาการที่จัดขึ้นภายนอกสถานศึกษา
ส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมการแข่งขันทักษะต่าง ๆ กับสถานศึกษาอ่ืน กิจกรรมการแข่งขันเพชรยอดมงกุฎ
ในระดบั ประเทศ กิจกรรมการทศั นศึกษาดูงานแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ซ่ึงนบั วา่ ทุกกจิ กรรมมปี ระโยชน์อยา่ งมากกับ
นักเรียน เพราะทางโรงเรียนมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ กิจกรรมที่ส่งเสริม
ความสามารถทางวิชาการของโรงเรียนประชานิเวศน์ จึงมีความหลากหลายและพร้อมที่จะส่งต่อแก่นักเรียน
อย่างเต็มที่ และมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการอย่างเต็มความสามารถโดยไม่ย่ิงหย่อน
กว่าสถานศกึ ษาอน่ื ๆ

5.2 กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ คุณลกั ษณ์ของผูเ้ รยี น
กิจกรรมที่โรงเรียนประชานิเวศน์ จัดข้ึนส่งเสริมและพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียนมีหลายด้าน และ

จัดข้ึนอย่างสม่าเสมอ อาทิ กิจกรรมการนั่งสมาธทิ ุกวันศุกร์ เพ่ือสร้างสมาธิและสตใิ ห้กับนักเรียนก่อนการเรียน
หนังสือ อีกท้ังทุก ๆ วันพระยังมีกิจกรรมทาบุญตักบาตร เพื่อสร้างบุญทาให้จิตใจผ่องใส การจัดกิจกรรม
ของทางโรงเรียนประชานเิ วศน์ เปน็ การสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นได้อยา่ งเปน็ รูปธรรม

5.3 กจิ กรรมส่งเสริมพัฒนาการ
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางโรงเรียนประชานิเวศน์ จัดข้ึน ล้วนแล้วแต่เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนา

ศักยภาพรวมทั้งพัฒนาการของผู้เรียนท้ังสิ้น กิจกรรมรักการอ่านก็เป็นอีกหน่ึงกิจกรรมที่ถือได้ว่าเป็นการ
ส่งเสริมพัฒนาการของนกั เรยี นในด้านการเรียนรู้ ใฝ่รู้ การเปดิ โลกทศั น์ จินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ของ
นักเรียนได้เป็นอย่างดี และยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนเกิดสติปัญญาในการคิด วิเคราะห์ และไตร่ตรอง
เรื่องราวต่าง ๆ ได้ หรือแม้กระท่ังกิจกรรมการแข่งขันความสามารถทางวิชาการ ความสามารถทางด้านกีฬา
ก็เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนได้ในทางหน่ึงด้วย เพราะนักเรียนได้ใช้ทั้งแรงกาย แรงใจ
และสตปิ ัญญาในการเข้าร่วมกิจกรรมน้นั ๆ และโรงเรยี นประชานเิ วศน์ ค่อนขา้ งจะสนบั สนนุ การทากจิ กรรม จงึ
ไม่ผิดเลยหากจะกล่าวว่า นักเรียนโรงเรียนประชานิเวศน์ เป็นนักเรียนที่มีศักยภาพสูง เพราะได้รับการส่งเสริม
และพัฒนาอยา่ งเต็มท่ีจากสถานศกึ ษา

34
5.4 กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ การแนะแนว
การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การแนะแนวของนกั เรียนโรงเรยี นประชานิเวศน์ จะเปน็ ในรปู แบบของการสง่ เสริม
การเรียนรูแ้ ละรอบรใู้ นดา้ นต่าง ๆ ของนักเรยี น ไมว่ ่าจะเป็นการศึกษาต่อในระดับมธั ยมศกึ ษา การใชช้ วี ติ การ
พดู จา หรือการดาเนนิ ชีวิตทง้ั ที่บ้านและโรงเรยี น การแนะแนวจึงเปน็ สง่ิ ทส่ี าคัญยงิ่ ในการสรา้ งพ้นื ฐานการ
ดาเนินชีวติ ใหก้ บั ผู้เรยี น นบั ไดว้ ่ากิจกรรมการแนะแนวของโรงเรียนประชานเิ วศน์ ถกู จัดขน้ึ ในทุก ๆวัน
สม่าเสมออย่างเป็นรูปธรรม
5.5 อื่นๆ

-

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ..............................................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ..............................................................
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................. .................................
................................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................. ..............................................

35
ตอนที่ 2 (สาหรับสัมภาษณ์อาจารย์) ใช้สาหรับให้นักศึกษาบันทึกการสัมภาษณ์อาจารย์อย่างน้อย 2 คน
ที่ นักศึกษาเห็นว่าจะเป็นผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเพ่ิมพูนประสบการณ์วิชาชพี ครู โดยอาจตั้งประเดน็
คาถามเพ่ิมเตมิ เพ่อื ให้ไดข้ ้อมลู ทสี่ มบรู ณ์ และบนั ทึกคาตอบ

แบบบันทกึ ผลการสมั ภาษณ์

ช่ือสถานศึกษารว่ มพัฒนาวิชาชพี ครู โรงเรยี นประชานเิ วศน์
ช่อื - นามสกลุ นางสาวนวพรรษ จันทะบุตร
สอนวชิ า/กิจกรรม การศึกษาปฐมวัย ระดับชน้ั อนบุ าลปีท่ี 2/1 จากกิจกรรมหลัก 6 กจิ กรรม
สถานศึกษามีช่ือเสียงในด้าน วิชาการเดน่ ดี
ความภาคภูมิใจในสถานศึกษา มีส่ิงแวดล้อมท่ีปลอดภัยและเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีวัฒนธรรมและองค์กรที่ดีงาม
การมีสมั มาคารวะ รจู้ ักไหว้ผู้ใหญ่ การอ่อนนอ้ มถอ่ มตน
แนวทางในการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา การเรียน
แบบบูรณาการผ่านกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม โดยสอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของเด็กแต่ละคน
คานึงถงึ พฒั นาการเด็กทงั้ 4 ด้าน เรยี นรู้ผา่ นการคดิ และการลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ
ข้อเสนอแนะต่อการบริหารงานวิชาการ/หลกั สตู รสถานศึกษา การจดั การเรียนการสอนโดยการนาเทคโนโลยี
มาใชใ้ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
ข้อเสนอแนะต่อการสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถานศึกษากับชุมชน -
อ่นื ๆ -

36

แบบบันทกึ ผลการสมั ภาษณ์

ชือ่ สถานศกึ ษาร่วมพัฒนาวิชาชพี ครู โรงเรยี นประชานิเวศน์
ช่ือ - นามสกุล ครนู ิพัฒนันต์ มบี ญุ
สอนวิชา/กิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก
สถานศกึ ษามชี ื่อเสยี งในดา้ น วชิ าการ
ความภาคภูมิใจในสถานศึกษา เป็นสถานที่ให้ความรู้ ประสบการณ์ชีวิต เมื่อเด็กเรียนจบไปแล้วสามารถ
นาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการดารงชีวิต แก้ปัญหา เป็นคนดีของสังคม เอาตัวรอด และนาความรู้
ไปศกึ ษาต่อในระดับที่สงู ข้ึนตอ่ ไปได้
แนวทางในการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน ปรับรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เข้ากับสถานการณ์
ช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 โดยการเรียนรู้ผ่านระบบ on line, on hand ,
no school line ตามบริบทและความพร้อมของโรงเรียน นักเรียน ชุมชนสังคมที่เด็กอาศัยอยู่ รวมท้ังความ
พร้อมของผู้ปกครอง โดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ ให้เด็กได้พัฒนาโดยองค์รวม เพื่อให้เด็กเกิดทักษะการเรียนรู้
และพัฒนาในทกุ ด้านไปพรอ้ มๆกัน
ข้อเสนอแนะต่อการบริหารงานวิชาการ/หลักสูตรสถานศกึ ษา ควรมีการวางแผนเตรียมความพร้อมรูปแบบ
การจัดประสบการณ์ และเคร่อื งมืออปุ กรณท์ เี่ อ้ือต่อการจดั ประสบการณ์ให้กับครผู ู้สอน
ข้อเสนอแนะต่อการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน สถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน
ควรมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
อื่นๆ -

37

แบบบันทึกการมีสว่ นร่วม

คาช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทึกการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามความเหมาะสมและตามที่ได้รับ
มอบหมายของสถานศึกษา

1. ช่ือกจิ กรรม การเรียนออนไลน์ผา่ นระบบ Zoom หน่วย ปลอดภยั ไวก้ ่อน
วัน เดือน ปี 24 พฤศจิกายน 2564
กล่มุ เปา้ หมายที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม เดก็ นักเรียนช้ันอนบุ าลปที ่ี 2/1
หน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย สังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรม และดูแลความเรียบร้อยของ
เด็กนักเรยี นตลอดการเรียนออนไลน์
กิจกรรมทปี่ ฏบิ ตั ิ เด็กนักเรียนร่วมกนั ทากิจกรรมเกมการศึกษา หน่วย ปลอดภัยไวก้ ่อน (เกมประกอบ
ภาพจ๊กิ ซอว์)
ผลการปฏิบัติ เด็กนักเรียนรู้จักวิธีการท่ีปลอดภัย การระมัดระวังตนและการเอาตัวรอดมากยิ่งขึ้น
ตลอดจนเดก็ ใหค้ วามร่วมมอื ในการเรียนการสอนและทากจิ กรรมเป็นอย่างดี
ปัญหาและอปุ สรรค อาจมสี ัญญาณอินเตอร์เน็ตหลดุ หายและติดขดั เปน็ บางช่วง
ขอ้ เสนอแนะ -

38

2. ชอื่ กจิ กรรม การเรยี นออนไลนผ์ ่านระบบ Zoom หน่วย นม
วนั เดอื น ปี 30 พฤศจิกายน 2564
กลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม เดก็ นักเรยี นชัน้ อนบุ าลปีที่ 2/1
หน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย สังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรม และดูแลความเรียบร้อย
ของเดก็ นักเรียนตลอดการเรียนออนไลน์
กิจกรรมที่ปฏิบัติ เด็กนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรสชาติของนม และนมที่เด็ก
แต่ละคนชอบดืม่ เด็กนกั เรียนร่วมกันบอกประโยชนข์ องนมแต่ละชนดิ
ผลการปฏิบัติ เด็กนักเรียนรู้จักนมแต่ละชนิดมากข้ึน อาทิเช่น นมวัว นมถ่ัวเหลือง นมข้าวโพด
เป็นต้น เด็กนักเรียนสามารถบอกประโยชน์ของนมได้ ตลอดจนเด็กให้ความร่วมมือในการเรียน
การสอนและทากิจกรรมเป็นอย่างดี
ปัญหาและอปุ สรรค -
ข้อเสนอแนะ -

39

3. ชื่อกิจกรรม การเรยี นออนไลน์ผ่านระบบ Zoom หน่วย วนั พ่อแห่งชาติ
วนั เดือน ปี 7 ธันวาคม 2564
กล่มุ เป้าหมายท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม เดก็ นักเรียนชนั้ อนุบาลปีท่ี 2/1
หน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย สังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรม และดูแลความเรียบร้อยของ
เด็กนักเรยี นตลอดการเรียนออนไลน์
กิจกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิ ครูและเดก็ นกั เรียนรว่ มกันเขียนคาว่า วนั พ่อ พรอ้ มทงั้ สะกดทีละคา
ผลการปฏิบตั ิ เดก็ นกั เรยี นรู้จักวนั พ่อแห่งชาติและโครงการของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ดยี ง่ิ ข้นึ ตลอดจน
เดก็ ใหค้ วามร่วมมือในการเรียนการสอนและทากิจกรรมเป็นอยา่ งดี
ปญั หาและอุปสรรค -
ขอ้ เสนอแนะ -

ลงชื่อ.....................................................ผู้บนั ทกึ
(นางสาวอัจฉริยา คงพนสั )
............../.............../.............

40

แบบบันทกึ ความประทบั ใจจากการปฏิบตั ิงานวิชาชพี ครู 1

คาชีแ้ จง ประมวลความรู้และประสบการณท์ ่ีไดร้ ับจากการปฏิบัตงิ านวชิ าชพี ครู 1

1. ชือ่ สถานศึกษา โรงเรียนประชานเิ วศน์
2. ส่ิงที่ประทับใจ บุคลากรภายในโรงเรียน คุณครูพ่ีเลี้ยง และพ่ีท่ีฝึกสอนในสถาบันเดียวกัน
มีการให้คาปรกึ ษาทีด่ แี ละช่วยเหลอื นักศึกษาตลอด อกี ทง้ั มีการเรียนการสอนท่ีดีมีระบบ
3. เหตุผลทป่ี ระทบั ใจ บรรยากาศของโรงเรียนมคี วามรม่ รืน่ สะอาด สบายตามาก มแี หล่งเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย
และกว้างพอท่ีจะเป็นสถานท่ีสาหรับพัฒนาศักยภาพของเด็กนักเรียน ผู้บริหารและคุณครูพี่เล้ียงทุกคน
ในสายชั้น รวมถึงพี่นักศึกษาประสบการณ์อนุบาลใจดีมาก มีความเป็นกันเอง ไม่ถือตัว ทุกคนให้การต้อนรับ
เป็นอย่างดี ย้ิมแย้มแจ่มใสและมีท่าทีที่พร้อมให้ความรู้และช่วยเหลือแก่พวกเราตลอดๆ ในเทอมนี้ได้มีโอกาส
เข้าไปสังเกตการณ์สอนและศึกษาหาความรู้ในโรงเรียน หลักจากเทอมที่ผ่านมาไ ม่มีโอกาสได้เข้าไป
เพราะเน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิค -19 เทอมน้ีฉันได้เรียนรู้อะไรหลายๆอย่าง
ไดเ้ หน็ ถึงวธิ กี ารสอนของคณุ ครูพเี่ ลี้ยงและจากพนี่ ักศึกษาฝึกประสบการณ์ และไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั จิ ริง
4. สาระการเรยี นรู้ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษา การปฏิบัตงิ านวิชาชพี ครู 2

1. การจดั ประสบการณใ์ หก้ ับเดก็ ปฐมวัยโดยใชก้ ิจกรรมหลกั 6 กจิ กรรม
2. การผลิตสื่อ การสร้างสรรค์คลิปวิดีโอให้น่าสนใจในรูปแบบออนไลน์ และการเลือกใช้สื่อ
ทีเ่ หมาะสมกับพฒั นาการของเด็ก
3. การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิควิธีการสอน วิธีการเก็บเด็ก การควบคุมชั้นเรียนในรูปแบบ
การสอนออนไลน์
4. การเรียนรูเ้ ก่ยี วกบั การจดั บรรยากาศภายในหอ้ งเรยี นให้เอื้อต่อการเรียนรขู้ องเด็ก

ลงช่อื .....................................................ผู้บนั ทึก
(นางสาวอัจฉริยา คงพนัส)
............../.............../.............

41

ความคดิ เห็น

ความคดิ เหน็ ของครูพเ่ี ล้ียง
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................ ...................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................ครพู ี่เลี้ยง
(............................................................)
............../......................./.................

ลงช่ือ........................................................รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ
(...........................................................)
............../......................./...............

ลงชอ่ื ........................................................ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(...........................................................)
............../......................./...............

ความคิดเห็นของอาจารย์นเิ ทศกป์ ระจาโรงเรยี น
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................... ................................................

ลงช่อื ........................................................อาจารยน์ ิเทศกป์ ระจาโรงเรียน
(...........................................................)
............../......................./.................

การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านวชิ าชพี ครู 1 42

ในการประเมินผลการฝึกปฏบิ ัตงิ านวชิ าชีพครู 1 มกี ารประเมิน 3 ส่วน ดงั นี้ คะแนนเตม็
50
สว่ นที่ ผ้ปู ระเมนิ แบบประเมนิ
50
1 ครูพ่ีเลี้ยง - คณุ ลกั ษณะการปฏิบตั ติ น 50
20
(หรือผทู้ ผี่ ู้บริหารสถานศกึ ษามอบหมาย)

2 อาจารย์นิเทศกป์ ระจาโรงเรียน - สมุดบันทกึ การปฏบิ ตั งิ านวิชาชีพครู

- การนาเสนอผลการปฏิบตั งิ าน

3 ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู - เชค็ ชือ่ เข้าร่วมกิจกรรม

* นกั ศกึ ษาต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมของศนู ย์ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครทู กุ ครง้ั
จงึ จะไดร้ บั การประเมินจากศูนย์ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู

** นักศึกษาจะมสี ทิ ธิตัดสนิ ผลการเรียนเมือ่ มีคะแนนประเมนิ ครบทัง้ 3 สว่ น
ถา้ ขาดสว่ นใดสว่ นหน่ึงจะไดร้ ับผลการเรยี นเป็น I


Click to View FlipBook Version