The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jiraprapa Malawal, 2020-10-28 09:54:26

สุโขทัย

สุโขทัย

จงั หวดั สโุ ขทยั

คาํ นาํ

รายงานน้ีจดั ทาํ ข้ึนโดยตอ้ งการใหเ้ ป็นประโยชนก์ บั ผคู้ นที่สนใจเก่ียวกบั จงั หวดั สุโขทยั เป็นการส่ือถึง
ประวตั ิความเป็นมาวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกบั บุคลสาํ คญั ที่มาของจงั หวดั สุโขทยั อาหาร
และสถานที่ทอ่ งเท่ียว ซ่ึงเป็นความรู้สาํ เร็จรูปทาํ ใหผ้ สู้ นใจสามารถคน้ ควา้ ตามเร่ืองราวท่ีสนใจ โดยผจู้ ดั ทาํ
ไดร้ วบรวมภาพท่ีเป็ นจุดเด่นของจงั หวดั มาเป็นความรู้ใหมใ่ นการศึกษาคน้ ควา้ ผจู้ ดั ทาํ หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่
รายงานน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อผทู้ ่ีสนใจในประวตั ิความเป็ นมาในจงั หวดั สุโขทยั หากเกิดขอ้ ผดิ พลาดประการ
ใด ตอ้ งขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

สารบัญ หนา้

เร่ือง ข
คาํ นาํ 1- 3
สารบญั 4
ประวตั ิ 5
ภูมิศาสตร์ 6–7
สัญลกั ษณ์ประจาํ จงั หวดั 8 – 10
การเมืองการปกครอง 11 - 12
ทาํ เนียบเจา้ เมืองและผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สุโขทยั 13 – 15
งานเทศกาลและประเพณี 16 - 35
โรงเรียน
รวมท่ีท่องเท่ียว

ประวตั

จงั หวดั สุโขทยั เป็นท่ีต้งั อาณาจกั รแรกของชนชาติไทยเม่ือ ๗๐๐ ปี ท่ีแลว้ คาํ วา่ "สุโขทยั " มาจาก
สองคาํ คือ "สุข+อุทยั " หมายความวา่ "รุ่งอรุณแห่งความสุข" รอยอดีตแห่งความรุ่งเรือง เห็นไดจ้ ากอุทยาน
ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และศรีสชั นาลยั ซ่ึงเป็นที่รู้จกั ของชาวไทยและตา่ งประเทศ

ประวตั ิสุโขทยั เริ่ม พ.ศ. ๑๘๐๐ เมื่อพระยาศรีนาวนมั ถมพระบิดาพอ่ ขุนผาเมืองไดป้ กครองเมือง
สุโขทยั เร่ือยมาจนสิ้นพระชนม์ ขอมสมาดโขลญลาํ พงขา้ หลวงจากราชอาณาจกั รขอมไดเ้ ขา้ ยดึ ครองเมือง
ขนุ บางกลางหาวและพอ่ ขนุ ผาเมืองจา้ วเมืองราดไดย้ ดึ เมืองคืน และสร้างเมืองสุโขทยั ข้ึนเป็นราชธานี มีขนุ
บางกลางหาวพระนามใหม่วา่ พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ เป็ นปฐมกษตั ริยป์ กครองเมืองสุโขทยั อาณาจกั รแห่ง
แรกของประเทศไทย

ในสมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชโอรสของพอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ ไดแ้ ผอ่ าณาจกั รออกไป
กวา้ งขวางคลุมเขตประเทศไทยเกือบหมด บา้ นเมืองเจริญทุกดา้ น ไมว่ า่ ดา้ นประวตั ิศาตร์ ยทุ ธศาสตร์
กฏหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนา และวฒั นธรรมประเพณี เฉพาะอยา่ งยง่ิ ทรงประดิษฐอ์ กั ษรไทยข้ึน
เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ อกั ษรไทยท่ีทรงประดิษฐ์น้ีไดจ้ ารึกไวใ้ นแผน่ ศิลามากมาย ศิลาจารึกเหล่าน้ีเป็นหลกั ฐาน
สาํ คญั ใหร้ ู้เรื่องเมืองสุโขทยั มากข้ึน

ในศิลาจารึกบอกถึงความรุ่งเรืองของอาณาจกั รสุโขทยั สมยั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชวา่ มีอาณาเขต
กวา้ งมาก ทิศเหนือจรดเมืองแพร่ น่านและหลวงพระบาง ทิศใตจ้ รดนครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ออกจรดเมือง
เวยี งจนั ทร์ และทิศตะวนั ตกจรดเมืองหงสวดี การปกครองบา้ นเมืองเป็นระบบ "พอ่ ปกครองลูก" ประชาชน
มีความเป็นอยดู่ ีมีสิทธิเสรีภาพดงั่ คาํ จารึกวา่ "ไพร่ฟ้าหนา้ ใสในน้าํ มีปลา ในนามีขา้ ว เพอ่ื นจูงววั ไปคา้ ข่ีมา้ ไป
ขาย ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ งคา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ "

สมยั น้นั ชาวสุโขทยั ทาํ เกษตรกรรมเป็ นหลกั อาศยั น้าํ ที่มีอยบู่ ริบูรณ์ทาํ นา ทาํ สวน ทาํ ไร่ มีการ
สร้างเขื่อนเกบ็ กกั น้าํ ไวใ้ ชห้ นา้ แลง้ เรียกวา่ "ทาํ นบพระร่วง" ซ่ึงนกั โบราณคดีไดศ้ ึกษาพบถึง ๗ แห่ง
สุโขทยั เป็นศูนยก์ ลางคา้ และการผลิตเครื่องถว้ ยชามท่ีเรียกวา่ "สังคโลก" ส่งขายยงั ต่างประเทศ เช่น มาเลเซีย
อินโดนิเซีย และบอร์เนียว นอกจากน้นั ยงั เป็ นศูนยก์ ารคา้ สินคา้ จากจีน เช่น ถว้ ยชามและผา้ ไหม เพื่อขายใน
ประเทศและส่งตอ่ ตา่ งประเทศดว้ ย หลกั ฐานที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นความเจริญมง่ั คง่ั ทางเศรษฐกิจของสุโขทยั
ไดแ้ ก่ สมบตั ิทางวฒั นธรรมท่ีไดร้ ับการบูรณะข้ึนเป็นอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และมรดกโลกใน
ปัจจุบนั

ใน พ.ศ. ๑๘๙๐ กรุงศรีอยธุ ยา มีอาํ นาจมากข้ึนและเป็นศูนยก์ ลางแห่งอาํ นาจแทนสุโขทยั แต่
สุโขทยั กย็ งั มีพระมหากษตั ริยป์ กครองกนั ติดต่อมาอีก ๒ พระองค์ จึงสิ้นพระราชวงศส์ ุโขทยั และไดร้ วมเขา้
กบั ราชอาณาจกั รกรุงศรีอยธุ ยา เมื่อกรุงศรีอยธุ ยาเสียแก่เมืองพมา่ คร้ังท่ี ๒ สมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดใหต้ ้งั เมืองสุโขทยั ข้ึนท่ีบา้ นธานี(ทา่ หนี) ริมแมน่ ้าํ ยมซ่ึงกค็ ือจงั หวดั
สุโขทยั ในปัจจุบนั

เมื่อวนั ที่ ๑ เมษายน ๒๔๗๕ ไดย้ บุ อาํ เภอธานี ต้งั ใหม่และเปล่ียนช่ือเป็ นอาํ เภอสุโขทยั ธานีข้ึนกบั
จงั หวดั สวรรคโลก จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๒ ไดย้ กอาํ เภอสุโขทยั ธานีข้ึนเป็ น จงั หวดั สุโขทยั ต้งั แต่น้นั มา

สุโขทยั ในปัจจุบนั ตวั เมืองในปัจจุบนั น้ีมิใช่กรุงสุโขทยั อนั เป็ นราชธานีเดิมแต่เป็นเมืองสุโขทยั ลน้
เกลา้ ฯ รัชกาลที่ ๑ แห่งราชวงศจ์ กั รีทรงยา้ ยผคู้ นท้งั หมดจากสุโขทยั ต้งั เมืองใหมท่ างฝั่งตะวนั ออกของลาํ น้าํ
ยมเม่ือ พ.ศ. ๒๓๓๖ โดยห่างจากตวั เมืองสุโขทยั ท่ีเคยเป็ นราชธานี ๑๒ กิโลเมตร พระราชดาํ ริในคร้ังน้นั มี
อยวู่ า่ เมืองสุโขทยั เป็นเมืองใหม่ไมม่ ีผคู้ นพอจะต่อสู้รักษาใหพ้ น้ จากการรุกรานจากพมา่ ขา้ ศึกได้ เมือง
สุโขทยั เคยถูกยบุ เป็นอาํ เภอมีช่ือวา่ "อาํ เภอธานี" ข้ึนอยกู่ บั อาํ เภอสวรรคโลก เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๕
จนกระทง่ั ปี พ.ศ.๒๔๘๒ ทางการจึงไดย้ กฐานะเป็ นจงั หวดั ดงั ปรากฏอยจู่ นกระทง่ั ปัจจุบนั น้ี

สุโขทยั เป็นราชธานีแห่งแรกของราชอาณาจกั รไทย ส่ิงสาํ คญั ท่ีจะตอ้ งระลึก กค็ ือมหาราชพระองค์
แรกของไทย ไดถ้ ือกาํ เนิดข้ึน ณ สุโขทยั แห่งน้ีพระองคท์ รงปกครองไพร่ฟ้าขา้ แผน่ ดินใหไ้ ดร้ ับความร่มเยน็
เป็นสุขกบั ไดข้ ยายดินแดนออกไปอยา่ งกวา้ งใหญไ่ พศาล และเจริญรุ่งเรืองอยา่ งสูงสุดในช่วงเวลาน้นั จาก
ร่องรอยและหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไดช้ ีให้เห็นวา่ ศิลปวฒั นธรรมของความเป็นไทยไดเ้ ริ่มตน้ ณ แห่งน้ี
วทิ ยาการความรู้ความสามารถ และเทคโนโลยแี ขนงตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การมีภาษาและหนงั สือของ

ตนเองไดบ้ ่งบอกถึงอารยธรรมอนั สูงส่งของคนไทยไดเ้ ร่ิมข้ึนและววิ ฒั นาการเป็นมรดกตกทอดถึงลูกหลาน
ไทยไดส้ ืบทอดต่อกนั มาจนตราบเทา่ ทุกวนั น้ี

สุโขทยั จึงเป็นดินแดนแห่งความทรงจาํ เป็นดินแดนแห่งความภาคภูมิใจของคนไทยท้งั ชาติที่จะลืม
เลือนเสียมิไดเ้ ป็ นอนั ขาด สุโขทยั เป็นดินแดนแห่งความทรงจาํ ถึงอดีตกาลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย
ในความสาํ คญั ท่ี

* เป็นราชธานีแห่งแรกของไทยและมีอาณาเขตกวา้ งใหญไ่ พศาลท่ีสุด

* เป็นดินแดนของมหาราชองคแ์ รกของไทย

* กษตั ริยพ์ ระองคแ์ รกทรงผนวชในบวรพทุ ธศาสนา

* เป็นจุดกาํ เนิดลายสือไทย และวรรณคดีเล่มแรกของไทย "ไตรภูมิพระร่วง" * เป็นแหล่งกาํ เนิด
อุตสาหกรรมชิ้นแรก "ชามสังคโล

ภู ภูมิศาสตร์

ตามการแบ่งจงั หวดั เป็นภาคโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติและราชบณั ฑิตยสภา จงั หวดั
สุโขทยั ต้งั อยใู่ นภาคกลาง บริเวณตอนบนของภาค หากแบ่งเขตตามการพยากรณ์อากาศและเศรษฐกิจ สังคม
จะจดั อยใู่ นภาคเหนือตอนล่าง ห่างจากกรุงเทพมหานครตามระยะทางหลวงแผน่ ดินประมาณ 440 กิโลเมตร
มีอาณาเขตติดตอ่ กบั จงั หวดั ใกลเ้ คียง ดงั น้ี

ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั อาํ เภอวงั ชิ้น อาํ เภอเด่นชยั จงั หวดั แพร่ และอาํ เภอลบั แล จงั หวดั อุตรดิตถ์
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อาํ เภอพรหมพิราม อาํ เภอเมืองพิษณุโลก จงั หวดั พิษณุโลก และอาํ เภอพิชยั
จงั หวดั อุตรดิตถ์
ทิศใต้ ติดต่อกบั อาํ เภอพรานกระตา่ ย จงั หวดั กาํ แพงเพชร และอาํ เภอบางระกาํ จงั หวดั พษิ ณุโลก
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั อาํ เภอเมืองตาก อาํ เภอบา้ นตาก จงั หวดั ตาก และอาํ เภอเถิน จงั หวดั ลาํ ปาง
พ้นื ที่ส่วนใหญข่ องจงั หวดั สุโขทยั จะเป็นที่ราบลุ่ม ทางตอนเหนือและตอนใตข้ องจงั หวดั มีลกั ษณะ
เป็นที่ราบสูง มีเขาหลวงเป็ นภูเขาท่ีมีความสูงท่ีสุด วดั จากระดบั น้าํ ทะเลมีความสูงประมาณ 1,200 เมตร โดย
มีแนวภูเขายาวเป็นพดื ทางดา้ นทิศตะวนั ตก ส่วนพ้นื ที่ตอนกลางของจงั หวดั จะเป็นที่ราบ มีแมน่ ้าํ ยมไหลผา่ น
จากทิศเหนือจรดทิศใต้ ผา่ นอาํ เภอศรีสชั นาลยั อาํ เภอสวรรคโลก อาํ เภอศรีสาํ โรง อาํ เภอเมืองสุโขทยั และ
อาํ เภอกงไกรลาศ ช่วงท่ีไหลผา่ นจงั หวดั สุโขทยั ยาวประมาณ 170 กิโลเมตร

สญั ลกั ษณ์ประจาํ จงั หวดั

ตราประจาํ จงั หวดั : รูปพอ่ ขุนรามคาํ แหงมหาราชประทบั บนพระแท่นมนงั คศิลาอาสน์
ธงประจาํ จงั หวดั : ธงพ้นื สีแดง-เหลือง-เขียว แบง่ ตามแนวนอน แถบสีเหลืองน้นั กวา้ งเป็น 2 เท่าของแถบสี
แดงและสีเขียว ท่ีมุมธงดา้ นคนั ธงมีตราประจาํ จงั หวดั เป็นรูปพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชประทบั บนพระแท่
นมนงั คศิลาอาสน์
คาํ ขวญั ประจาํ จงั หวดั : มรดกโลกล้าํ เลิศ กาํ เนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ดาํ รงพทุ ธศาสนา งามตาผา้
ตีนจก สังคโลกทองโบราณ สกั การแม่ยา่ พอ่ ขนุ รุ่งอรุณแห่งความสุข
ตน้ ไมป้ ระจาํ จงั หวดั : ตาล (Borassus flabellifer)
ดอกไมป้ ระจาํ จงั หวดั : ดอกบวั หลวง (Nelumbo nucifera)

การเมืองการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อาํ เภอ 86 ตาํ บล 843 หมู่บา้ น
1.อาํ เภอเมืองสุโขทยั
2.อาํ เภอบา้ นด่านลานหอย
3.อาํ เภอคีรีมาศ
4.อาํ เภอกงไกรลาศ
5.อาํ เภอศรีสัชนาลยั
6.อาํ เภอศรีสาํ โรง
7.อาํ เภอสวรรคโลก
8.อาํ เภอศรีนคร
9.อาํ เภอทุง่ เสลี่ยม
จงั หวดั สุโขทยั มีองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินรวม 91 แห่ง ประกอบดว้ ย องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั 1 แห่ง
คือ องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั สุโขทยั , เทศบาลเมือง 3 แห่ง ไดแ้ ก่ เทศบาลเมืองศรีสชั นาลยั เทศบาลเมือง
สวรรคโลก และเทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี, เทศบาลตาํ บล 18 แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล 69 แห่ง

อาํ เภอเมืองสุโขทยั – เทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี – เทศบาลตาํ บลบา้ นสวน – เทศบาลตาํ บลเมืองเก่า – เทศบาล
ตาํ บลบา้ นกลว้ ย
อาํ เภอคีรีมาศ – เทศบาลตาํ บลทุง่ หลวง – เทศบาลตาํ บลบา้ นโตนด – อาํ เภอกงไกรลาศ – เทศบาลตาํ บลกง
ไกรลาศ – อาํ เภอศรีสชั นาลยั
อาํ เภอศรีสาํ โรง – เทศบาลตาํ บลศรีสาํ โรง
อาํ เภอศรีนคร – เทศบาลตาํ บลศรีนคร
อาํ เภอบา้ นด่านลานหอย – เทศบาลตาํ บลลานหอย – เทศบาลตาํ บลตลิ่งชนั
อาํ เภอกงไกรลาศ – เทศบาลตาํ บลกงไกรลาศ
อาํ เภอสวรรคโลก – เทศบาลเมืองสวรรคโลก - เทศบาลตาํ บลในเมือง - เทศบาลตาํ บลป่ ากมุ เกาะ
- เทศบาลตาํ บลคลองยาง – เทศบาลตาํ บลเมืองบางขลงั
อาํ เภอทุง่ เสล่ียม – เทศบาลตาํ บลทุ่งเสล่ียม – เทศบาลตาํ บลเขาแกว้ ศรีสมบูรณ์ – เทศบาลตาํ บลกลางดง
อาํ เภอบา้ นด่านลานหอย – เทศบาลตาํ บลลานหอย – เทศบาลตาํ บลตลิ่งชนั
อาํ เภอศรีสชั นาลยั – เทศบาลเมืองศรีสัชนาลยั – เทศบาลตาํ บลหาดเส้ียว

ทาํ เนียบเจา้ เมืองและผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สุโขทยั

1 พระยาศรีสัชนาลยั บดี พ.ศ. 2449–2450
2 พระยาพยหุ าพบิ าล พ.ศ. 2451–2456
3 น.อ.ท.พระยารามภกั ดี พ.ศ. 2456–2460
4 น.อ.อ.พระยาวเิ ชียรปราการ พ.ศ. 2461–2469
5 พระยาพิทกั ษอ์ ุทยั เขตต์ พ.ศ. 2470–2472
6 พระยาอธั ยาศยั วสิ ุทธ์ิ พ.ศ. 2473–2474
7 พระยาประสงคเ์ กษมราษฎร์ พ.ศ. 2475–2477
8 พระสนิทประชานนั ท์ พ.ศ. 2478
9 หลวงอรรถวจิ ิตรจรรยารักษ์ พ.ศ. 2479
10 พระอนุมานสารกรรม พ.ศ. 2480–2483
11 หลวงนรัตถรักษา พ.ศ. 2484–2486
12 นายพนิ ิต อกั ษรสารสิทธ์ิ พ.ศ. 2487
13 ขนุ ระดบั คดี พ.ศ. 2488
14 ขนุ พเิ ศษนครกิจ พ.ศ. 2489

15 ขนุ รัตนวรพงศ์ พ.ศ. 2489–2490
16 หลวงอนุมตั ิราชกิจ พ.ศ. 2490–2495
17 นายเชื่อม ศิริสนธิ พ.ศ. 2495–2500
18 นายเฉลิม ยปู านนท์ พ.ศ. 2501–2505
19 นายเชื่อม ศิริสนธิ พ.ศ. 2505–2508
20 นายสมาส อมาตยกุล พ.ศ. 2508–2512
21 นายรังสรรค์ รังสิกุล พ.ศ. 2512–2515
22 นายเฉลิม ถาวรเวช พ.ศ. 2515–2519
23 นายดาํ รง วชิโรดม พ.ศ. 2519–2522
24 นายเลอเดช เจษฎาฉตั ร พ.ศ. 2522–2523
25 นายไพฑูรย์ ลิมปิ ทีป พ.ศ. 2523–2525
26 นายอาษา เมฆสวรรค์ พ.ศ. 2525–2527
27 พ.ต.อรุณ สงั ฆสุบรรณ์ พ.ศ. 2528–2531
28 พ.ต.ไพศาล โอวาทตระกูล พ.ศ. 2531–2532
29 นายธวชั มกรพงศ์ พ.ศ. 2532–2534
30 นายณฎั ฐ์ ศรีวหิ ค พ.ศ. 2534–2535
31 นายเกียรติพนั ธ์ นอ้ ยมณี พ.ศ. 2535–2538
32 นายประพนั ธ์ ชลวรี ะวงศ์ พ.ศ. 2538–2541
33 นายนรินทร์ พานิชกิจ พ.ศ. 2541–2544
34 นายอมรทตั นิรัติศยกุล พ.ศ. 2544–2546

35 นายสุกิจ เจริญรัตนกุล พ.ศ. 2546–2549
36 นายวนั ชยั สุทิน พ.ศ. 2549–2551
37 นายโยธินศร์ สมุทรคีรีจ์ พ.ศ. 2551–2552
38 นายจกั ริน เปลี่ยนวงษ์ พ.ศ. 2552–2555
39 นางสุมิตรา ศรีสมบตั ิ พ.ศ. 2555–2556
40 นายจกั ริน เปลี่ยนวงษ์ พ.ศ. 2556–2557
41 นายปิ ติ แกว้ สลบั สี พ.ศ. 2557–2560
42 นายพิพฒั น์ เอกภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560–2561
43 นายไมตรี ไตรติลานนั ท์ พ.ศ. 2561–2563
44 นายวริ ุฬ พรรณเทวี พ.ศ. 2563–ปัจจุบนั

งานเทศกาลและประเพณี

งานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟ อาํ เภอเมืองสุโขทยั
งานวนั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช อาํ เภอเมืองสุโขทยั
งานสักการะพระแมย่ า่ และงานกาชาด อาํ เภอเมืองสุโขทยั
งานออกพรรษาแห่ตาชูชก อาํ เภอบา้ นด่านลานหอย
งานมหาสงกรานตก์ รุงเก่า อาํ เภอเมืองสุโขทยั
งานสงกรานตเ์ ส้ือลายดอก ถนนขา้ วตอกสุโขทยั อาํ เภอเมืองสุโขทยั
งานแข่งขนั เรือพายเทโวโรหณะ อาํ เภอเมืองสุโขทยั
ประเพณีบวชนาคแห่ชา้ งหาดเส้ียว อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานประเพณีแห่น้าํ ข้ึนโฮง อาํ เภอศรีสัชนาลยั
งานประเพณีสรงน้าํ โอยทานสงกรานตศ์ รีสชั นาลยั อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานนสมโภชพระธาตุเฉลียงและพระธาตุมุเตา(วดั พระปรางค)์ อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานยอ้ นอดีตศรีสัชนาลยั นุ่งผา้ ไทยใส่เงินทองโบราณ อาํ เภอศรีสัชนาลยั
งานของดีศรีสัชนาลยั และเทศกาลอาหาร อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานประเพณีแห่กฐินทางน้าํ (เฮือซ่วง) อาํ เภอศรีสชั นาลยั

งานประเพณีบุญบ้งั ไฟบา้ นหาดสูง อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานประเพณีออกพรรษาศรีสัชฯ-ท่าชยั อาํ เภอศรีสชั นาลยั
งานหมากม่วงหมากปรางและงานของดีศรีสวรรคโลก อาํ เภอสวรรคโลก
งานประเพณีสงกรานตแ์ ละเทศกาลอาหารเมืองสวรรคโลก อาํ เภอสวรรคโลก
งานวนั พิชิตยอดเขาหลวง อาํ เภอคีรีมาศ
ประเพณีการทาํ ขวญั ผ้งึ อาํ เภอคีรีมาศ

โรงเรียน

โรงเรียนเอกชน

โรงเรียนสายธรรม อาํ เภอเมืองสุโขทยั
โรงเรียนกวางตง อาํ เภอเมืองสุโขทยั
โรงเรียนพระหฤทยั สวรรคโลก อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนอนุบาลเบญจมาศ อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนป้วยมิ้ง อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนกวางวา อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนศรีสาํ โรงวทิ ยา อาํ เภอศรีสาํ โรง
โรงเรียนพุย่ ฮวั อาํ เภอศรีสาํ โรง
โรงเรียนเดชาบดินทร์ อาํ เภอศรีสาํ โรง
โรงเรียนอนุบาลสมประสงค์ อาํ เภอศรีสชั นาลยั
โรงเรียนชุมพรพทิ ยา อาํ เภอศรีสัชนาลยั

โรงเรียนสงั กดั กรมการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

โรงเรียนเทศบาลเมืองสวรรคโลก อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนเทศบาลสวรรคโลกประชาสรรค์ อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนเทศบาลวดั สวสั ดิการาม อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนเทศบาลแป้นจนั ทร์กระจ่าง อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนเทศบาลวดั สวรรคาราม อาํ เภอสวรรคโลก
โรงเรียนวดั วงั สวรรค์ อบจ.สุโขทยั
โรงเรียนวดั คลองโป่ ง(ธรรมภาณบาํ รุง)อบจ.สุโขทยั
โรงเรียนเทศบาลวดั ไทยชุมพล เทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี อ.เมือง
โรงเรียนเทศบาลบา้ นสวน(ครองประชานุกลู )เทศบาลตาํ บลบา้ นสวน
โรงเรียนกระชงคป์ ระชาอุทิศ อบต.บา้ นหลุม
โรงเรียนบา้ นหรรษาเจริญประชานุเคราะห์ อบต.ยางซา้ ย
โรงเรียนเทศบาลเมืองศรีสชั นาลยั (หนองชา้ ง) อาํ เภอศรีสัชนาลยั
โครงการจดั ต้งั โรงเรียนกีฬาเทศบาลเมืองศรีสชั นาลยั อาํ เภอศรีสัชนาลยั

โรงเรียนมธั ยมสงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 38

อาํ เภอเมืองสุโขทยั – โรงเรียนบา้ นสวนวทิ ยาคม – โรงเรียนยางซา้ ยพิทยาคม – โรงเรียนลิไทพิทยาคม

- โรงเรียนสุโขทยั วทิ ยาคม - โรงเรียนอุดมดรุณี

อาํ เภอกงไกรลาศ – โรงเรียนกงไกรลาศวทิ ยา - โรงเรียนไกรในวทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก – โรงเรียนหนอง
ตูมวทิ ยา

อาํ เภอศรีสาํ โรง – โรงเรียนขนุ ไกรพิทยาคม – โรงเรียนบา้ นไร่พิทยาคม – โรงเรียนวงั ทองวทิ ยา -โรงเรียน
ศรีสาํ โรงชนูปถมั ภ์

อาํ เภอคีรีมาศ – โรงเรียนคีรีมาศพทิ ยาคม - โรงเรียนบา้ นใหมเ่ จริญผลพทิ ยาคม

อาํ เภอทุ่งเสล่ียม – โรงเรียนชยั มงคลพทิ ยา - โรงเรียนทุง่ เสล่ียมชนูปถมั ภ์

อาํ เภอบา้ นด่านลานหอย – โรงเรียนตลิ่งชนั วทิ ยานุสรณ์ - โรงเรียนบา้ นด่านลานหอยวทิ ยา

อาํ เภอศรีนคร - โรงเรียนศรีนคร

อาํ เภอศรีสัชนาลยั – โรงเรียนท่าชยั วทิ ยา – โรงเรียนบา้ นแก่งวทิ ยา –โรงเรียนเมืองเชลียง - โรงเรียนเมืองดง้
วทิ ยา

อาํ เภอสวรรคโลก - โรงเรียนสวรรคอ์ นนั ตว์ ทิ ยา - โรงเรียนสวรรคอ์ นนั ตว์ ทิ ยา - โรงเรียนหนองกลบั
วทิ ยาคม – โรงเรียนหนองปลาหมอวทิ ยาคม

ศาลหลกั เมืองสุโขทยั ตาํ บลเมืองเก่า

เป็นตาํ บลหน่ึงทางตะวนั ตกของอาํ เภอเมืองสุโขทยั จงั หวดั สุโขทยั เป็นสถานที่ต้งั ของอุทยานประวตั ิศาสตร์
สุโขทยั อนั เป็ นเขตพระราชวงั เก่าของอาณาจกั รสุโขทยั ดงั มีหลกั ฐานเป็นศาลหลกั เมือง เหตุที่ไดช้ ่ือวา่
"เมืองเก่า" เน่ืองดว้ ยเคยเป็นราชธานีมาก่อน และมีการสืบทอดประเพณีวฒั นธรรมแบบด้งั เดิมต่อ ๆ กนั มา
เช่น ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ เป็นตน้

ตาํ บลเมืองเก่ามีสภาพพ้นื ที่เป็นท่ีราบเชิงเขา และมีแนวเขาหลวงทางทิศตะวนั ตกเฉียงใตข้ องตาํ บล ลกั ษณะ
ดินเป็นดินเหนียวและดินร่วนปนเหนียว มีลาํ คลองไหลผา่ น มีอ่างเก็บน้าํ สิริพงษ์ และตระพงั เกบ็ น้าํ หลาย
แห่ง อาชีพหลกั ของประชากรในตาํ บลเมืองเก่า เช่น ทาํ นา เล้ียงสตั ว์ คา้ ขาย และหตั ถกรรม

อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ตาํ บลเมืองเก่า

ครอบคลุมพ้นื ที่โบราณสถานกรุงสุโขทยั ศูนยก์ ลางการปกครองของอาณาจกั รสุโขทยั ซ่ึงมีอาํ นาจอยบู่ ริเวณ
ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 18–19 ต้งั อยทู่ ี่ตาํ บลเมืองเก่า (เขตเทศบาลตาํ บล
เมืองเก่า) อาํ เภอเมืองสุโขทยั จงั หวดั สุโขทยั ห่างจากตวั เมืองสุโขทยั ปัจจุบนั (เขตเทศบาลเมืองสุโขทยั ธานี)
ไปทางทิศตะวนั ตกประมาณ 12 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 12 (ถนนจรดวถิ ีถ่อง)
ผงั เมืองสุโขทยั มีลกั ษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมผนื ผา้ มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร กวา้ งประมาณ 1.6
กิโลเมตร มีประตูเมืองอยตู่ รงกลางกาํ แพงเมืองแตล่ ะดา้ น ภายในยงั เหลือร่องรอยพระราชวงั และวดั อีก 26
แห่ง วดั ท่ีใหญ่ท่ีสุดคือวดั มหาธาตุ อุทยานแห่งน้ีไดร้ ับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยกรมศิลปากรดว้ ยความ
ช่วยเหลือจากยเู นสโก มีผเู้ ยย่ี มชมหลายแสนคนตอ่ ปี ซ่ึงสามารถเดินเทา้ หรือขี่จกั รยานเที่ยวชมได้
อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ไดร้ ับการประกาศคุม้ ครองคร้ังแรกตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 92
ตอนที่ 112 ลงวนั ท่ี 2 สิงหาคม พ.ศ. 2504 ต่อมาใน พ.ศ. 2519 โครงการฟ้ื นฟูอุทยานแห่งน้ีก็ไดร้ ับการ
อนุมตั ิ และเปิ ดอยา่ งเป็ นทางการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยในวนั ท่ี 12 ธนั วาคม พ.ศ. 2534[ตอ้ งการ
อา้ งอิง] ยูเนสโกไดป้ ระกาศใหอ้ ุทยานแห่งน้ีเป็นแหล่งมรดกโลกร่วมกบั อุทยานประวตั ิศาสตร์ท่ีกาํ แพงเพชร
และศรีสชั นาลยั ภายใตช้ ่ือวา่ "เมืองประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และเมืองบริวาร"

พิพิธภณั ฑป์ ลาในวรรณคดี ตาํ บลบา้ นสวน

พิพธิ ภณั ฑป์ ลาในวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติภายในอาคารพิพิธภณั ฑฯ์ จดั แสดงพนั ธุ์ปลาน้าํ จืดในวรรณคดี
มากมาย อาทิ ปลาจากกาพยห์ ่อโคลงนิราศพระบาท กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองทองแดง กาพยเ์ ห่เรือเจา้
ฟ้าธรรมาธิเบศ (เจา้ ฟ้ากงุ้ ) นิราศอิเหนา ฯลฯ

ที่ต้งั สวนหลวงเฉลิมพระเกียรติ ร 9 ถนนสิงหวฒั น์

ตาํ บลบา้ นสวน อาํ เภอเมือง จงั หวดั สุโขทยั

เวลาเปิ ด-ปิ ด : เปิ ดใหเ้ ขา้ ชมทุกวนั เวน้ วนั องั คาร

ต้งั แต่เวลา 09.00 - 17.00 น.

ค่าธรรมเนียมการเขา้ ชม : ไม่เสียค่าเขา้ ชม

การเดินทาง : ต้งั อยภู่ ายในสวนหลวงเฉลิมพระเกียรติ ร.9 เส้นทางหลวงหมายเลข 12 สายสุโขทยั -
พษิ ณุโลก พิพิธภณั ฑฯ์ อยทู่ างขวามือ

พิพิธภณั ฑส์ ถานแห่งชาติรามคาํ แหง ตาํ บลเมืองเก่า

ต้งั อยทู่ ่ีตาํ บลเมืองเก่า อาํ เภอเมือง จงั หวดั สุโขทยั กรมศิลปากรไดด้ าํ เนินการจดั สร้างเม่ือปี พ.ศ. 2503
ลกั ษณะเป็นอาคารทรงไทยประยกุ ต์ 2 ช้นั มีพ้นื ที่ 812 ตารางเมตร ก่อสร้างแลว้ เสร็จในปี พ.ศ. 2506 จากน้นั
กรมศิลปากรไดม้ อบหมายใหห้ มอ่ มเจา้ สุภทั รดิศ ดิศกลุ ภณั ฑารักษเ์ อก กองโบราณคดี และนายทิพา สังขะ
วฒั นะ นายช่างศิลป์ โท กองสถาปัตยกรรม ดาํ เนินการจดั แสดงนิทรรศการถาวรใหเ้ หมาะสม ถูกตอ้ งตาม
หลกั วชิ าการ ดา้ นศิลปะโบราณคดีและตามหลกั วชิ าโบราณสถาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็
พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาํ เนินทรงเปิ ดพพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ รามคาํ แหง จงั หวดั
สุโขทยั เม่ือวนั ท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2507

ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 รัฐบาลไดจ้ ดั สรรงบประมาณจาํ นวน 3 ลา้ นบาทเพอ่ื สร้างอาคารเป็นการร่วม
ฉลอง 700 ปี ของการประดิษฐต์ วั อกั ษรไทย และต้งั ช่ืออาคารหลงั น้ีวา่ อาคารอนุสรณ์ 700ปี ลายสือไท
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฏุ ราชกุมาร ไดเ้ สดจ็ ทรงเปิ ดอาคารน้ีเมื่อวนั ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
2526 ปัจจุบนั อาคารหลงั น้ีใชเ้ ป็นหอ้ งประชุมและหอ้ งจดั นิทรรศการชวั่ คราว

การจดั แสดง
ศิลปโบราณวตั ถุท่ีจดั แสดงในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ รามคาํ แหง ส่วนใหญเ่ ป็ นศิลปะ

สุโขทยั ซ่ึงเก็บรวบรวมจากการขดุ คน้ ขดุ แตง่ และบูรณะโบราณสถานบริเวณเมืองเก่าสุโขทยั ต้งั แต่ปี พ.ศ.
2496 เป็นตน้ มา บางส่วนไดจ้ ากบริเวณเมืองใกลเ้ คียง เช่น เมืองศรีสัชนาลยั กาํ แพงเพชร เพชรบูรณ์ และ
พิจิตร อีกส่วนหน่ึงเป็นของพระราชประสิทธิคุณ อดีตเจา้ อาวาสวดั ราชธานี เจา้ คณะจงั หวดั สุโขทยั และ
ประชาชนมอบให้ ศิลปโบราณวตั ถุที่จดั แสดงไดแ้ ก่ ศิลาจารึกสมยั สุโขทยั เครื่องถว้ ยสังคโลก พระพุทธรูป
แบบต่างๆ พระพิมพท์ ่ีไดจ้ ากการขดุ แตง่ โบราณสถาน เทวรูป และอาวธุ โบราณ ในปัจจุบนั พพิ ิธภณั ฑสถาน
แห่งชาติ รามคาํ แหง มีอาคารจดั แสดงนิทรรศการถาวร 2 หลงั ประกอบดว้ ย 1.อาคารลายสือไท เป็นอาคาร

ช้นั เดียว จดั แสดงเร่ืองราวเกี่ยวกบั เมืองสุโขทยั ในดา้ นตา่ งๆ ต้งั แตส่ มยั ก่อนการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั
เรื่อยมาจนถึงการพฒั นาเมืองสุโขทยั ใหเ้ ป็นอุทยานประวตั ิศาสตร์ นอกจากน้ี ภายในอาคารยงั มีหอ้ งประชุม
สาํ หรับการสัมมนา บรรยายพิเศษ ส่วนบริการนกั ทอ่ งเท่ียว ที่จาํ หน่ายหนงั สือและของท่ีระลึก
2. อาคารพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ รามคาํ แหง เป็ นอาคารทรงไทย 2 ช้นั จดั แสดงศิลปโบราณวตั ถุท่ีไดจ้ าก
การสาํ รวจ ขุดคน้ ขดุ แตง่ และบูรณะแหล่งโบราณคดีสุโขทยั ศรีสชั นาลยั และจงั หวดั ใกลเ้ คียง โดยแบ่งการ
จดั แสดงเป็ นกลุ่มสาํ คญั ๆ ดงั น้ี

1. ประติมากรรมปูนป้ันท่ีไดจ้ ากวดั พระพายหลวงและวดั มหาธาตุ มีท้งั รูปบุคคล เทวดา และพระพทุ ธรูป
ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของพระพุทธรูปปูนป้ันจากวดั พระพายหลวง จะมีพระพกั ตร์ค่อนขา้ งกลม พระขนงโก่ง
พระโอษฐเ์ ลก็ บาง พระหนุเป็ นปม ขมวดพระเกศาเป็นรูปกน้ หอยเล็ก ชายผา้ สังฆาฏิจะพบั ทบกนั หลายช้นั
กาํ หนดอายปุ ระมาณตน้ พทุ ธศตวรรษที่ 19 ประติมากรรมจากวดั มหาธาตุ พระพกั ตร์จะเป็นรูปไข่ ขมวด
พระเกศาเป็นรูปกน้ หอย กาํ หนดอายปุ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี 20 สาํ หรับรูปเทวดาหรือรูปบุคคลน้นั วดั พระ
พายหลวงจะมีพระพกั ตร์หรือใบหนา้ ค่อนขา้ งกลม แต่ของวดั มหาธาตุจะเป็ นรูปไข่
2. กลุ่มประติมากรรมก่อนศิลปะสุโขทยั ไดจ้ ากศาลตาผาแดง วดั พระพายหลวง วดั ศรีสวาย จดั เป็นศิลปะ
ลพบุรี กาํ หนดอายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 18
3. ศิลปะสุโขทยั พทุ ธศตวรรษท่ี 19 - 20 ศิลปะสุโขทยั เริ่มต้งั แต่พ่อขนุ ศรีอินทราทิตยป์ ระกาศต้งั กรุงสุโขทยั
เป็นอิสระ เม่ือราว พ.ศ. 1780 ศิลปะสุโขทยั จดั ไดว้ า่ เป็นศิลปะไทยที่งดงามที่สุด มีลกั ษณะเป็นของตนเอง
มากท่ีสุด โดยเฉพาะพระพุทธรูปท่ีมีลกั ษณะท่ีเด่นชดั คือ พระรัศมีเป็ นเปลวเพลิง ขมวดพระเกศาเป็นกน้
หอย พระพกั ตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง พระนาสิกงุม้ (ตามแบบบุรุษ) พระโอษฐอ์ มยมิ้ เล็กนอ้ ย พระองั สาใหญ่
บ้นั พระองคเ์ ล็ก ครองจีวรยาวลงมาจรดพระนาภี ปลายจีวรเป็นลายเข้ียวตะขาบ ในสมยั สุโขทยั ยงั นิยมทาํ
พระพุทธรูปส่ีอิริยาบทคือ ยนื เดิม นงั่ และนอน

4. ศิลปะอูท่ อง ประติมากรรมรูปเคารพเน่ืองในพุทธศาสนา มีท้งั ปูนป้ันและสาํ ริด ไดพ้ บพระพทุ ธรูปใน
ศิลปะอูท่ องตามวดั ตา่ งๆ ในเมืองสุโขทยั สร้างข้ึนเมื่อประมาณราวพุทธศตวรรษท่ี 20 อนั เป็นช่วงเวลาที่
ปรากฏหลกั ฐานเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรถึงความเกี่ยวดองเป็ นเครือญาติ ระหวา่ งราชวงศส์ ุโขทยั บางส่วนกบั
ราชวงศส์ ุพรรณภูมิ ลกั ษณะโดยทว่ั ไปของพระพุทธรูปศิลปะอู่ทอง พระพกั ตร์เป็นรูปส่ีเหล่ียม มีเส้นไรพระ
ศกหนา ขมวดพระเกศากลมเล็กคลา้ ยหนามขนุน

พระอุษณียเ์ ป็นรูปมะนาวตดั พระรัศมีเป็ นรูปเปลวเพลิง

5. ศิลปะอยธุ ยา พระพุทธรูปที่จดั แสดงลกั ษณะโดยทวั่ ไปยงั คงมีอิทธิพลของศิลปะสุโขทยั พระพกั ตร์รูปไข่
มีเส้นไรพระศกเล็ก ขมวดพระเกศาเป็นรูปกน้ หอยเล็ก พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต่าํ พระนาสิกโด่ง
พระโอษฐเ์ ลก็ บาง นอกจากน้ี ในระยะหลงั นิยมสร้างทรงเคร่ือง กาํ หนดอายปุ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 20 - 23
6. เครื่องถว้ ยจีน ไดจ้ ากการขุดแต่งโบราณสถานในเมืองสุโขทยั พบท้งั สมยั ราชวงศห์ ยวน ราชวงศห์ มิง และ
ชิง

7. เครื่องถว้ ยสงั คโลกจากแหล่งเตาทุเรียง เมืองสุโขทยั เตาป่ ายาง และเตาเกาะนอ้ ย เมืองศรีสชั นาลยั
รูปแบบภาชนะเป็นแบบถว้ ย กระปุก โถ แจกนั ชาม จาน คนโฑ กาน้าํ ตลบั รวมไปถึงตุก๊ ตา และ
เคร่ืองประดบั สถาปัตยกรรมที่มีลกั ษณะต่างๆ น้าํ ยาเคลือบมีท้งั ประเภทเคลือบสีเขียวหรือเซลาดอน เคลือบ
สีน้าํ ตาล เคลือบขาวหม่นหรือขาวน้าํ นม เคลือบใสเขียนลายใตเ้ คลือบ และประเภทเคลือบสองสีคือขาวและ
น้าํ ตาล เป็นตน้

8. พระพมิ พ์ มีท้งั พระพิมพด์ ินเผาและเน้ือชินไดจ้ ากวดั พระพายหลวงวดั มหาธาตุและวดั ป่ ามะมว่ ง เป็นตน้

9. ส่วนจดั แสดงกลางแจง้ พิพิธภณั ฑฯ์ ไดน้ าํ โบราณวตั ถุบางส่วนจดั แสดงกลางแจง้ เช่น ใบเสมาหินชนวน
ทบั หลงั หินทราย ฐานประติมากรรมหินทราย ระฆงั หิน ลูกกรงที่ทาํ เป็นเคร่ืองเคลือบ สังคโลกจากวดั มงั กร
เตาเผาเคร่ืองถว้ ยสังคโลก (จาํ ลอง) และชา้ งปูนป้ันซ่ึงจาํ ลองมาจากวดั ชา้ งลอ้ มเมืองสุโขทยั วดั ชา้ งลอ้ มเมือง
ศรีสชั นาลยั และวดั ชา้ งรอบเมืองกาํ แพงเพชร อีกส่วนหน่ึงไดจ้ ดั แสดงเคร่ืองมือเคร่ืองใชท้ ี่เป็นลกั ษณะ
ศิลปะพ้ืนบา้ นสุโขทยั

เวลาเปิ ดทาํ การ เปิ ดบริการทุกวนั ระหวา่ งเวลา 9.00 - 16.00 น.

พิพิธภณั ฑส์ งั คโลก ตาํ บลบา้ นหลุม

พพิ ธิ ภณั ฑส์ งั คโลก เกิดจากความคิดและความต้งั ใจของคุณดาํ รงค์ และ คุณกุศล สุวฒั นเมฆินทร์ ซ่ึงเป็น
ชาวสุโขทยั โดยกาํ เนิด มุง่ หวงั จะนาํ ความภาคภูมิใจในประวตั ิศาสตร์ของเมืองสุโขทยั ราชธานีแห่งแรกของ
ไทย และผลงานศิลปะช้นั เอกสมยั สุโขทยั มานาํ เสนอให้คนไทยและชาวต่างชาติ ไดร้ ่วมกนั ประจกั ษใ์ น
ความสาํ คญั และความยง่ิ ใหญ่ของเมืองสุโขทยั

โดยไดน้ าํ ของสะสมท่ีเกบ็ รวบรวมมาเป็ นเวลากวา่ 50 ปี อนั ได้ แก่พระพทุ ธรูป เคร่ืองมือเครื่องใชใ้ น
ชีวติ ประจาํ วนั และเคร่ืองสังคโลกสมยั สุโขทยั มาจดั แสดงในรูปแบบพพิ ธิ ภณั ฑท์ ี่ทนั สมยั และได้
มาตรฐานเช่นเดียวกบั พิพธิ ภณั ฑใ์ นต่างประเทศ เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ ชมไดเ้ ห็นภาพชีวติ ความเป็นอยทู่ ี่แทจ้ ริงของ
คนสุโขทยั ในสมยั โบราณนอกจากนิทรรศการอนั เกิดจากความภาคภูมิใจในความเป็นคนสุโขทยั แลว้ ความ
รักในเครื่องสังคโลกท่ีสูงดว้ ยคุณค่าอมตะและกลายเป็นสินคา้ สาํ คญั เมื่อ 700 ปี ก่อน ทาํ ใหเ้ กิดการสะสม
ผลงานเครื่องสงั คโลกจากลา้ นนา ซ่ึงงดงามเป็นเอกดว้ ยฝี มือช่างศิลปะท่ีเยย่ี มยอด ดงั น้นั ในพพิ ิธภณั ฑส์ ังค
โลกน้ีจึงมีเคร่ืองสังคโลกจากลา้ นนาต้งั แสดงอยดู่ ว้ ย
คา่ เขา้ ชม ชาวไทย ผใู้ หญ่ 50 บาท เด็ก 20 บาท นกั เรียนในเครื่องแบบ 20 บาท ชาวต่างชาติ ผใู้ หญ่ 100
บาท เด็ก 20 บาท
การเดินทาง
พพิ ิธภณั ฑส์ งั คโลกสุโขทยั ต้งั อยใู่ นบริเวณโรงแรมอนนั ดา เขตตวั เมืองสุโขทยั ใกลส้ ่ีแยกกระชงค์ สามารถ
นง่ั รถโดยสารประจาํ ทาง หรือรถสามลอ้ จากตลาดในตวั เมืองไปพิพิธภณั ฑไ์ ดท้ ุกวนั วนั และเวลาทาํ การ
เปิ ดทุกวนั 08.00-17.00 น.

พระราชานุสาวรียพ์ อ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ตาํ บลเมืองเก่า

เม่ือวนั ท่ี 25 มกราคม พุทธศกั ราช 2507 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ
พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชดาํ เนิน ทรงประกอบพิธีเปิ ดพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ณ จงั หวดั สุโขทยั
ในโอกาสน้ีไดท้ รงประกอบพิธีบวงสรวงสังเวย สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ณ วดั ศรีชุมดว้ ย ในคร้ังน้นั
ปรากฏวา่ ประชาชนไดเ้ รียกร้องใหท้ างราชการดาํ เนินการสร้างพระบรมราชานุสาวรียพ์ อ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราช โดยใหเ้ หตุผลวา่ พระบรมราชานุสาวรียข์ องมหาราชพระองคอ์ ่ืนไดส้ ร้างครบถว้ นทุกพระองคแ์ ลว้
ยกเวน้ แตพ่ ระบรมราชานุสาวรียพ์ อ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ดงั น้นั จงั หวดั สุโขทยั จึงไดร้ ิเร่ิมดาํ เนินการ
นาํ เสนอความเห็นมายงั กระทรวงมหาดไทย ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดพ้ ิจารณาลงมติรับหลกั การ เมื่อวนั ท่ี 7
กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2507และไดต้ ้งั คณะกรรมการดาํ เนินการก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรียข์ ้ึนโดยกรม
ศิลปากรรับผดิ ชอบการออกแบบและการหล่อพระบรมรูปพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

นบั ต้งั แต่ปี พุทธศกั ราช 2507 สืบเน่ืองต่อมาหลายปี ผา่ นสมยั ของรัฐบาลหลายชุด คณะกรรมการ
ดาํ เนินการก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรียไ์ ดด้ าํ เนินการมาเป็นระยะ คือ พจิ ารณาคดั เลือกสถานท่ีโดยอาศยั
หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์เป็นสาํ คญั และเห็นวา่ บริเวณพ้นื ที่ริมทางหลวง
ภายในกาํ แพงเมืองเก่า ตาํ บลบา้ นเก่า อาํ เภอเมือง จงั หวดั สุโขทยั เป็นพ้นื ที่ท่ีเหมาะสม กวา้ งประมาณ 26 ไร่
อาณาเขตขณะที่กาํ หนดเม่ือพ.ศ. 2508 ทิศเหนือติดตอ่ กบั วดั ตะกวนซ่ึงเป็นวดั ร้าง ทิศตะวนั ตกติดต่อกบั
ตระพงั ตะกวน ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2520 กรมศิลปากรไดด้ าํ เนินการโครงอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ได้

ปรับปรุงพ้ืนท่ีใหม้ ีความกลมกลืนกบั สภาพของโครงการ บริเวณท่ีประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรียพ์ ่อขนุ
รามคาํ แหงมหาราชจึงเป็นภูมิทศั น์ท่ีงดงามยง่ิ

พธิ ีวางศิลาฤกษแ์ ท่นฐาน พระบรมราชานุสาวรียพ์ อ่ ขุนรามคาํ แหงมหาราช คือวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ.
2512 และเมื่องานออกแบบพระบรมรูปและป้ันหุ่นดินเสร็จพร้อมที่จะหล่อไดแ้ ลว้ คณะกรรมการดาํ เนินการ
ก่อสร้างฯ ไดก้ ราบบงั คมทูลพระกรุณาพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ
พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชดาํ เนินทรงประกอบพิธีเททองหล่อพระบรมรูป ณ มณฑลพิธี กองหตั ถ
ศิลป กรมศิลปากร เม่ือวนั ท่ี 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2513 เมื่อกรมศิลปากรป้ันหล่อพระบรมรูปพอ่ ขนุ รามคาํ แหง
มหาราชและภาพจาํ หลกั นูนแสดงเหตุการณ์ในรัชสมยั เรียบร้อยแลว้ จงั หวดั สุโขทยั มีความประสงคจ์ ะ
อญั เชิญพระบรมรูปไปประดิษฐาน ณ ปะรําพธิ ีบริเวณเนินปราสาท อาํ เภอเมืองเก่า จงั หวดั สุโขทยั เพอื่ ให้
ประชาชนไดส้ ักการะบูชาในระหวา่ งท่ียงั มิไดป้ ระกอบพธิ ีเปิ ด ซ่ึงขณะน้นั เป็ นระยะท่ีกาํ ลงั ดาํ เนินการ
ก่อสร้างแทน่ ฐานและจดั ผงั บริเวณ โดยไดก้ ่อสร้างปะราํ เพอื่ ประดิษฐานพระบรมรูปชว่ั คราว จงั หวดั สุโขทยั
ไดป้ ระกอบพิธีอญั เชิญพระบรมรูปจากกองหตั ถศิลป กรมศิลปากร เท่ือวนั ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2518 พระ
บรมรูปพ่อขนุ รามคาํ แหงมหาราช ไดป้ ระดิษฐานอยทู่ ี่ปะราํ พิธี ณ เนินปราสาทเป็นเวลา 1 ปี งานก่อสร้าง
แท่นฐานจึงเสร็จเรียบร้อย จากน้นั จงั หวดั สุโขทยั จึงไดป้ ระกอบพธิ ีอญั เชิญพระบรมรูปจากเนินปราสาท ไป
ประดิษฐานยงั แทน่ ฐานปัจจุบนั เมื่อวนั ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2519และจดั ใหม้ ีมหรสพฉลองสมโภชดว้ ย

ศาลพระแม่ยา่

พระแมย่ า่ เดิมน้นั ประดิษฐานอยทู่ ี่ถ้าํ พระแม่ยา่ ซ่ึงเป็นเพงิ ชะโงกเง้ือมออกมาทางใต้ ประมาณ 3 เมตรเศษ
พระแมย่ า่ หนั พระพกั ตร์ไปทางทิศใตต้ ามเง้ือมเขาท่ียน่ื ล้าํ ออกมาทางดา้ นหลงั เง้ือมผามีถ้าํ ต้ืน ๆ

องคเ์ ทวรูป (พระแม่ยา่ ) เป็นเทวรูปหิน สลกั ดว้ ยหินชนวน เป็นรูปสตรีวยั สาว มีเครื่องประดบั
อยา่ งสตรีโบราณผสู้ ูงศกั ด์ิ ประทบั ยนื ตรง แขนท้งั สองขา้ งแนบพระวรกาย นุ่งผา้ ปล่อยชายไหว เป็นเชิงช้นั
ท้งั สองขา้ งแบบศิลปการนุ่งผา้ สตรีสมยั สุโขทยั ไมส่ วมเส้ือหรือสไบเปลือยส่วนบนท้งั หมด เห็นพระถนั ท้งั
สองเตา้ ใส่กาํ ไลแขน กาํ ไลขอ้ มือและกาํ ไลขอ้ เทา้ ท้งั สองขา้ ง เป็นกาํ ไลวงกลม มีพระพกั ตร์เป็นรูปไข่ คาง
มน พระโอษฐแ์ ยม้ ยมิ้ นอ้ ย ๆ สวมมงกุฎเป็นแบบชฎาทรงสูง ท่ีพระบาทสวมรองพระบาทปลายงอน ยอด
ศิลาส่วนท่ีเหนือพระมงกุฎแตกบ่ินหายไปบา้ ง เมื่อวดั ขนาดของเทวรูปศิลารวมแท่นหินแผน่ เดียวกนั ที่คงอยู่
สูงท้งั หมด 51 นิ้ว วดั จากพระบาทถึงยอดพระมงกุฎ สูง 49 นิ้ว ศิลาจาํ หลกั เป็นศิลาแท่งเดียวกนั ตลอดไม่มี
รอยต่อ

ประวตั ิท่ีมาอนั แน่นอนของพระแมย่ า่ น้นั ไม่มีหลกั ฐานยนื ยนั แน่นอนวา่ เป็ นใคร เม่ือประชาชนพา
กนั เรียกวา่ “พระแม่ยา่ ” อาจารยท์ องเจือ สืบชมภู สนั นิษฐานวา่ คงเป็นนางกษตั ริยอ์ งคใ์ ดองคห์ น่ึง และนาง
กษตั ริยอ์ งคน์ ้ีน่าจะเป็นพระนางเสือง ซ่ึงเป็นพระราชชนนีของพอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช และเป็นพระเจา้ ยา่
ของพระยาลิไท

ตามหลกั ฐานท่ีปรากฏในศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาํ แหงไดก้ ล่าววา่ “...เบ้ืองหวั นอนเมืองสุโขทยั น้ีมี
กุฎี พิหาร ป่ ูครู มีสรีดภงส์ มีป่ าพร้าว มีป่ าลาง มีป่ าขาม มีน้าํ โคก มีพระขพงุ ผี เทพดาในเขาอนนน้นั เป็น
ใหญ่กวา่ ผที ุกผใี นเมืองน้ี ขนุ ผใู้ ดถือเมืองสุโขไทน้ีแล้ ไหวด้ ีพลีถูก เมืองน้ีเท่ียง เมืองน้ีดี ผไิ หวบ้ ่ดี พลีบถ่ ูก ผี
ในเขาอนนบค่ ุม้ เกรงเมืองน้ีหาย...” จากขอ้ ความดงั กล่าว ไดม้ ีการนาํ คาํ วา่ “พระขพงุ ผี” มาตีความเก่ียวพนั
กบั พระแมย่ า่ โดยที่นกั ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีไดส้ ันนิษฐาน ในคร้ังท่ีมีการสมั มนาถึงการเมืองและ
สภาพสังคมสุโขทยั เมื่อวนั ที่ 1-4 สิงหาคม 2520 ที่มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ พษิ ณุโลก ไดล้ งความเห็น
วา่ พระขพงุ ผี หมายถึง พระท่ีโตหรือใหญ่ ซ่ึงน่าจะเขา้ กบั ศิลาจารึกวา่ พระขพงุ ผนี ้ีเป็ นใหญ่กวา่ ผที ้งั หลาย
ได.้ ..พอ่ ขนุ รามคาํ แหงก็ทรงเคารพเล่ือมใสพระพทุ ธรูปองคน์ ้ีมากอยู่ โดยทรงยกใหเ้ ป็นยอดของผที ้งั หลาย
ถา้ แม่ยา่ น้ีสร้างอุทิศเพื่อผจี ริงแลว้ กจ็ ะตอ้ งเป็นผนี างเสืองแน่ พระเจา้ รามคาํ แหงคงจะไม่เคารพผีอ่ืน เมื่อ
เป็นเช่นน้ีพระปฏิมาพระองคน์ ้ีจะตอ้ งเป็นปูชนียวตั ถุท่ีสาํ คญั ของชาติและของชาวสุโขทยั ชิ้นหน่ึง

ศาลพระแม่ยา่ เป็นปูชนียสถานท่ีสาํ คญั ของสุโขทยั เป็นที่เคารพสกั การะของประชาชน ท้งั ใน
จงั หวดั สุโขทยั ประประชาชนโดยทว่ั ไป ใครมีเร่ืองทุกขร์ ้อนกจ็ ะไปกราบไหวต้ ้งั จิตอธิษฐานขอความ
ช่วยเหลือจากพระแมย่ า่ เล่ากนั วา่ มกั จะไดด้ งั ท่ีขอ เก่ียวกบั ความศกั ด์ิสิทธ์ิของพระแม่ยา่ น้นั อาจารยท์ องเจือ
สืบชมภู ไดเ้ ขียนกลอนเพ่ือสกั การะบูชาพระแมย่ า่ ไว้

ทุ่งทะเลหลวง ตาํ บลบา้ นกลว้ ย

เกาะกลางรูปหวั ใจ บริเวณทุง่ ทะเลหลวง ต.บา้ นกลว้ ย อ.เมือง จ.สุโขทยั เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยว ชม
ธรรมชาติ และเป็นท่ี ประดิษฐสถาน "พระพทุ ธรัตนสิริสุโขทยั " สาํ หรับพระพทุ ธรัตนสิริสุโขทยั เป็น
พระพุทธรูปสัมริด ปางมารวิชยั มีลกั ษณะงดงาม คาดวา่ สร้างในสมยั พระมหาธรรมราชาลิไท แห่งกรุง
สุโขทยั พระพทุ ธรูปเก่าแก่กวา่ 700 ปี ราวปี พ.ศ.1845 มีขนาดหนา้ ตกั กวา้ ง 130 ซ.ม. จากฐานถึงพระเกตุสูง
208 ซม. ปัจจุบนั ประดิษฐานชว่ั คราว อยทู่ ี่สวนหลวง ร.9 อ.เมืองสุโขทยั
สถานที่ทอ่ งเท่ียวบางแห่งน้นั แมว้ า่ จะถูกสร้างข้ึนดว้ ยมือของมนุษย์ ไมไ่ ดถ้ ือกาํ เนิดข้ึนเองจากธรรมชาติ แต่
ก็ไดก้ ลายมาเป็นสถานที่สาํ คญั และมีความหมายท่ีน่าจดจาํ เหมือนกบั ที่ แผน่ ดินศกั ด์ิสิทธ์ิรูปหวั ใจ แห่งทุ่ง
ทะเลหลวง จงั หวดั สุโขทยั
“แผน่ ดินศกั ด์ิสิทธ์ิรูปหวั ใจ” หรือเรียกโดยทวั่ ไปวา่ “เกาะรูปหวั ใจ” พ้ืนที่แห่งน้ี ต้งั อยบู่ ริเวณใจกลางทุง่
ทะเลหลวง ในเขตตาํ บลปากแคว อาํ เภอเมือง จงั หวดั สุโขทยั แผน่ ดินศกั ด์ิสิทธ์ิรูปหวั ใจแห่งน้ี ไดเ้ กิดจาก
แนวคิดโครงการแกม้ ลิง ซ่ึงเป็นโครงการตามแนวพระราชดาํ ริเพื่อแกป้ ัญหาน้าํ ท่วมและน้าํ แลง้ ซ้าํ ซากใน
พ้นื ท่ีจงั หวดั สุโขทยั โดยไดเ้ ริ่มทาํ โครงการสร้างแหล่งเก็บน้าํ ข้ึน ในปี พ.ศ. 2545 โดยใชบ้ ริเวณทะเลหลวง
ซ่ึงเป็นแหล่งเกบ็ น้าํ ในอดีต โดยไดม้ ีการขดุ ลอกพ้นื ท่ีและขดุ คลองเผ่อื ผนั น้าํ เขา้ กกั เกบ็ ไวใ้ นพ้ืนที่เพ่ือให้
ประชาชนใชป้ ระโยชน์ เเละไดม้ ีการออกแบบใหเ้ ป็ นรูปหวั ใจ

คาํ วา่ “รูปหวั ใจ” น้นั ไดเ้ กิดจากแนวความคิดของ นายสมศกั ด์ิ เทพสุทิน เมื่อคร้ังดาํ รงตาํ แหน่ง
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ตอ้ งการให้พ้นื ท่ีแห่งน้ีส่ือให้เห็นถึงความรักใคร่สามคั คีของ
พน่ี อ้ งชาวจงั หวดั สุโขทยั อีกท้งั ยงั ไดส้ ร้างเกาะกลางน้าํ รูปหวั ใจข้ึนมาอีก เเละไดต้ ้งั ช่ือวา่ “แผน่ ดินศกั ด์ิสิทธ์ิ
รูปหวั ใจ” ซ่ึงหากใครไดม้ ีโอกาสเดินทางโดยใชเ้ คร่ืองบินเเละผา่ นบริเวณพ้นื ที่เเห่งน้ี ก็สามารถท่ีจะ
มองเห็นเกาะรูปหวั ใจ ท่ีถูกรายลอ้ มดว้ ยผนื น้าํ รูปหวั ใจ เป็ นอีกหน่ึงทศั นียภาพบนทอ้ งฟ้าที่สวยงามและน่า
ตื่นตาต่ืนใจ

เร่ืองราวความศกั ด์ิสิทธ์ิของแผน่ รูปหวั ใจน้นั ไดเ้ กิดข้ึนจาก “บุญพธิ ีกลนั่ แผน่ ดิน” ซ่ึงกค็ ือพธิ ีท่ีไดน้ าํ ดินจาก
ทุกหมู่บา้ นในจงั หวดั สุโขทยั จาํ นวน 843 หมูบ่ า้ น มาทาํ พิธีบุญกลน่ั แผน่ ดิน ดว้ ยการปลุกเสกความ
ศกั ด์ิสิทธ์ิลงไปในดิน และใชด้ ินท่ีไดม้ าจากพิธีมาไวใ้ ตฐ้ านของมณฑปที่ต้งั อยบู่ ริเวณใจกลางเกาะ ซ่ึงเป็นท่ี
ประดิษฐาน “พระพุทธรัตนสิริสุโขทยั ” อนั เป็นพธิ ีท่ีนาํ พาความศกั ด์ิสิทธ์ิมาสู่เกาะรูปหวั ใจแห่งน้ี และยงั ถือ
ไดว้ า่ เป็นงานท่ีแสดงถึงความสามคั คีปรองดองของพ่ีนอ้ งชาวจงั หวดั สุโขทยั

ในส่วนของ “พระพุทธรัตนสิริสุโขทยั ” พระพุทธรูปศกั ด์ิสิทธ์ิแห่งเกาะศกั ด์ิสิทธ์ิรูปหวั ใจเเห่งน้ี ก่อนท่ีจะได้
นาํ มาประดิษฐานน้นั ไดม้ ีประวตั ิเล่าไวว้ า่ “เป็นพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั สมยั สุโขทยั ซ่ึงไดจ้ มอยใู่ นแม่น้าํ
ยมและไดถ้ ูกคน้ พบ เม่ือปี พ.ศ. 2546 จากน้นั จึงไดม้ ีการทาํ พิธีเส่ียงทายเเละไดท้ ราบวา่ มีความประสงคท์ ่ีคืน
สู่จงั หวดั สุโขทยั ทาง นายสมศกั ด์ิ เทพสุทิน ผดู้ าํ เนินนโยบายสร้างโครงการเเกม้ ลิงในขณะน้นั จึงได้
อธิษฐานขอพระบารมีใหส้ ามารถผลกั ดนั งบประมาณในการสร้างโครงการแกม้ ลิงทุ่งทะเลหลวงใหส้ ร้าง
สาํ เร็จ เเละกไ็ ดส้ ร้างสาํ เร็จดง่ั คาํ อธิษฐาน จึงไดท้ าํ การบูรณะองคพ์ ระะและไดอ้ ญั เชิญมาประดิษฐาน ณ ที่
มณฑปบนเกาะรูปหวั ใจ กลางทุ่งทะเลหลวงแห่งน้ี

ในปัจจุบนั โครงการแกม้ ลิงทุ่งทะเลหลวงและแผน่ ดินศกั ด์ิสิทธ์ิรูปหวั ใจ ไดก้ ลายมาเป็นอีกหน่ึงสถานท่ี
สาํ คญั อีกแห่งหน่ึงของจงั หวดั สุโขทยั โดยบริเวณพ้ืนท่ีบนเกาะน้นั ไดม้ ีการปลูกตน้ ไมเ้ พ่ือความร่มร่ืน เเละ
ยงั ไดถ้ ูกใชเ้ ป็นพ้นื ที่ในการจดั งานในวนั สาํ คญั ตา่ งๆ อาทิ วนั วสิ าขบูชา วนั มาฆบูชา อีกท้งั ทางจงั หวดั ยงั ได้
มีการวางแผนที่ยา้ ยศูนยร์ าชการ และสร้างอาคารสาํ คญั เช่น สนามกีฬา สวนสาธารณะ ไวใ้ นพ้นื ที่โดยรอบ
ซ่ึงพ้ืนที่แห่งน้ี กค็ งจะเป็นอีกหน่ึงสถานที่สาํ คญั แห่งใหม่ของจงั หวดั สุโขทยั ในอนาคตขา้ งหนา้

โครงการสวนสตั วส์ ุโขทยั ตาํ บลบา้ นกลว้ ย

โครงการท่ีเปิ ดพ้ืนท่ีใหท้ ุกคนไดเ้ ขา้ มาเรียนรู้วถิ ีชีวติ แบบเรียบง่าย ผา่ นการทาํ เกษตรอินทรีย์ โดย
ภายในโครงการจะมีการแบง่ จุดเรียนรู้ต่างๆเอาไว้ ผทู้ ่ีเขา้ ชมโครงการจะไดเ้ รียนรู้การเก็บไข่เป็ดมาทาํ อาหาร
การทาํ กลว้ ยตาก การโม่ขา้ ว ดาํ นา เป็นตน้ ท่ีน่ีเหมาะกบั คนท่ีสนใจอยากมาเรียนรู้วถิ ีชีวติ แบบบา้ นๆแตม่ ี
ความสุข หรืออยากลองทาํ กิจกรรมใหมๆ่ ท่ีไมเ่ คยลอง ท่ีนี่ถือเป็นการเปิ ดประสบการณ์ท่ีดีมาก ไม่วา่ จะเดก็
หรือผใู้ หญก่ ็สามารถเขา้ ร่วมได้

เวลาเปิ ดทาํ การ : 08.00 - 18.00 น.
คา่ เขา้ ชม : 900 บาทตอ่ คน
ส่ิงอาํ นวยความสะดวก : มีที่จอดรถ
วธิ ีการการเดินทาง : โครงการต้งั อยใู่ นบริเวณสนามบินสุโขทยั สามารถเดินทางดว้ ยรถยนต์ หรือรถรับส่ง
ของโรงแรมท่ีมายงั สนามบินได้

วดั ศรีชุม(พระอจนะ) ตาํ บลเมืองเก่า

วดั ศรีชุม เป็นศาสนโบราณสถานแห่งหน่ึงในเขตอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ต้งั อยทู่ างทิศ
ตะวนั ตกเฉียงเหนือนอกกาํ แพงเมืองเดิม ใน ตาํ บลเมืองเก่า อาํ เภอเมืองสุโขทยั จงั หวดั สุโขทยั วดั แห่งน้ีเป็น
ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวชิ ยั องคใ์ หญซ่ ่ึงมีนามวา่ "พระอจนะ" องคพ์ ระพทุ ธรูปประดิษฐานอยใู่ น
มณฑป ซ่ึงปัจจุบนั ยอดพระมณฑปไดพ้ งั ทลายหมดแลว้ เหลือแต่เพียงผนงั กาํ แพงโดยรอบ ไมม่ ีหลงั คาปก
คลุม เป็นพระพทุ ธรูปกลางแจง้ จนถึงทุกวนั น้ี

พระพทุ ธอจนะ เป็นที่เลื่องลือถึงความศกั ด์ิสิทธ์ิและมีมนตเ์ สน่ห์และเอกลกั ษณ์ชวนใหน้ กั ท่องเที่ยวมาเท่ียว
ชมและสักการะอยา่ งไม่ขาดสาย และถือเป็นหน่ึงในสถานที่เท่ียวท่ีสาํ คญั ที่สุดแห่งหน่ึงของจงั หวดั สุโขทยั
ในปัจจุบนั ทางดา้ นตะวนั ตกเฉียงใตไ้ มห่ ่างจากตวั โบราณสถานนกั มีวดั สร้างใหมม่ ีพระภิกษุสงฆจ์ าํ พรรษา
ใชช้ ่ือวา่ วดั ศรีชุมเช่นเดียวกนั

หลวงพอ่ ศิลา วดั ทงุ่ เสล่ียม

หลวงพอ่ ศิลา เป็นนามท่ีชาวบา้ นวดั ทุง่ เสลี่ยมเรียกขานพระพทุ ธรูปนาคปรก ปางสมาธิ สกดั จากหินทรายสี
เทาทรงกรองศอพาหุรัดกณุ ฑล สวมศิราภรณ์ สวมมงกฎุ เทริด พระพกั ตร์ทรงส่ีเหล่ียม ประทบั นง่ั ขดั สมาธิ
ราบบนฐานขนาดนาค 3 ช้นั นาคท่ีปรกอยเู่ หนือพระเศียรน้นั มี 7 เศียร ดา้ นหลงั หางนาคพาดข้ึนมาถึงลาํ ตวั มี
ลวดลายแบบศิลปะลพบุรี องคพ์ ระวดั จากฐานถึงปลายยอดเศียรนาคสูง85.50 เซนติเมตร หนา้ ตกั กวา้ ง 44
เซนติเมตร น้าํ หนกั ประมาณ 126.5 กิโลกรัม แต่เดิมน้นั หลวงพอ่ ศิลาประดิษฐานอยทู่ ่ีถ้าํ เจา้ รามซ่ึงเป็ นถ้าํ
ขนาดใหญ่ ภายในมีคา้ งคาวอาศยั อยเู่ ป็นจาํ นวนมาก มีเรื่องเล่าสืบกนั มาวา่ ชาวบา้ นไดไ้ ปหามูลคา้ งคาวใน
แถบถ้าํ เจา้ รามไดพ้ บพระธุดงคร์ ูปหน่ึงซ่ึงเล่าใหฟ้ ังวา่ ภายในถ้าํ เจา้ รามมีพระพทุ ธรูปเก่าแก่อยหู่ ลายองคแ์ ละ
องคห์ น่ึงมีความงามโดดเด่นกวา่ องคอ์ ื่นใดเป็นพระพุทธรูปศิลานาคปรก เม่ือกลบั ถึงหมูบ่ า้ นชาวบา้ นกน็ าํ
ความมาเล่าใหพ้ ระอภยั เจา้ อาวาสวดั ทุ่งเสล่ียมซ่ึงไดห้ ารือกบั ผใู้ หญบ่ า้ นวา่ จะนาํ พระพุทธรูปมาไวท้ ่ีวดั ทุ่งเส
ลี่ยม แตเ่ นื่องจากพระอภยั น้นั สูงอายเุ ดินทางไม่ไหวจึงไดเ้ ลิกลม้ ความต้งั ใจ ความไดล้ ่วงรู้ไปถึงครูบาก๋วน
เจา้ อาวาสวดั แมป่ ะหลวง ตาํ บลแมป่ ะ อาํ เภอเถิน จงั หวดั ลาํ ปางซ่ึงทา่ นกม็ ีความศรัทธาจึงไดร้ วบรวมคน
เดินทางไปอญั เชิญพระพทุ ธรูปปางนาคปรก ณ ถ้าํ เจา้ ราม เม่ือคณะเขา้ สู่ภายในถ้าํ เจา้ รามไดพ้ บพระพทุ ธรูป
นาคปรกซ่ึงมีฦูงคา้ งคาวบินวนเวยี นอยอู่ ยา่ งมากมาย ครูบาก๋วนจึงไดท้ าํ พธิ ีอญั เชิญพระพทุ ธรูปออกจากถ้าํ
และเดินทางรอนแรมมาดว้ ยความยากลาํ บากผา่ นหนองปลาซิว (บา้ นหว้ ยทราย) หนองส้มป่ อย (บา้ นน้าํ ดิบ)
จนกระทง่ั ถึงอาํ เภอทุ่งเสลี่ยม เมื่อชาวบา้ นทุ่งเสล่ียมรู้ขา่ วจึงพากนั จดั ขบวนดนตรีพ้นื เมืองและขบวนฟ้อนรํา
มาตอ้ นรับดว้ ยความปี ติยนิ ดีถว้ นหนา้ จวบจนขบวนอญั เชิญพระพทุ ธรูปนาคปรกเดินทางมาถึงวดั ทุง่ เสลี่ยมก็
เกิดปาฏิหาริยข์ ้ึน ทอ้ งฟ้าท่ีแจ่มใสแสงแดดท่ีร้อนแรงของเดือนเมษายนก็ถูกบดบงั ดว้ ยเมฆฝนเกิดฝนตก
หนกั เป็นเวลานาน เม่ือฝนหยุดตกกม็ ีฝงู คา้ งคาวบินมาวนเวยี นเหนือบริเวณวดั ทุง่ เสลี่ยมแลว้ จึงบินกลบั ถ้าํ เจา้
ราม ชาวบา้ นไดเ้ ห็นความศกั ด์ิสิทธ์ิของพระพทุ ธรูปศิลาจึงไมย่ อมใหค้ รูบาก๋วนอญั เชิญกลบั ไปยงั อาํ เภอเถิน
เจา้ อาวาสวดั ทุง่ เสล่ียมจึงไดห้ ารือไปยงั เจา้ คณะอาํ เภอสวรรคโลกซ่ึงเจา้ คณะอาํ เภอไดต้ ดั สินใหป้ ระดิษฐาน

ไว้ ณ วดั ทุ่งเสลี่ยม ชาวบา้ นไดต้ ้งั ช่ือพระพทุ ธรูปนาคปรกน้ีวา่ พระศิลาเพราะเห็นวา่ แกะสลกั มาจากหิน
ทราย ครูบาก๋วนจึงไดจ้ าํ ลองพระศิลากลบั ไปประดิษฐานไวท้ ี่วดั ปะหลวง อาํ เภอเถิน จงั หวดั ลาํ ปางดว้ ยใจ
ศรัทธา คร้ันเมื่อวนั ท่ี 29 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ไดเ้ กิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันข้ึนมีคนร้ายไม่ทราบจาํ นวนเขา้ มา
โจรกรรมพระศิลาไปจากพระอุโบสถใหญ่ วดั ทุง่ เสลี่ยม พระศิลาจึงไดห้ ายสาบสูญไปอยา่ งไร้ร่องรอย อีก
17 ปี ต่อมาเมื่อวนั ท่ี 19 ตุลาคม พ.ศ. 2537 กลุ่มอนุรักษช์ าวไทยในต่างแดนไดพ้ บขา่ วพระศิลาในประเทศ
องั กฤษจึงไดเ้ ขียนจดหมายถึงบรรณาธิการของหนงั สือพิมพม์ ติชนวา่ ไดพ้ บภาพพระพทุ ธรูปปางนาคปรกใน
หนงั สือประมวลศิลปวตั ถุเพื่อประมูลขายของสถาบนั โซธบี (Sotheby Institute) ในกรุงลอนดอน ความ
ทราบถึงชาวอาํ เภอทุ่งเสล่ียมชาวบา้ นจึงไดท้ าํ หนงั สือร้องเรียนไปยงั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สุโขทยั และกรม
ศิลปากรเพือ่ ใหท้ างราชการติดตามทวงถามพระพุทธรูปที่หายไปในเดือนพฤศจิกายนปี เดียวกนั กรมศิลปากร
ไดต้ ้งั คณะกรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงและพจิ ารณาหาแนวทางติดตามทวงคืนพระพทุ ธรูปศิลา ตอ่ มา
หน่วยสืบราชการลบั ขององั กฤษไดแ้ จง้ ใหไ้ ทยทราบวา่ มีผปู้ ระมูลพระพทุ ธรูปศิลาไปและถูกเคล่ือนยา้ ยไปที่
สหรัฐอเมริกาแลว้ ทนายความของผคู้ รอบครองไดต้ ิดต่อเขา้ มาวา่ ผคู้ รอบครองไมท่ ราบวา่ เป็นพระพุทธรูปท่ี
ไดม้ าจากการโจรกรรม แตจ่ ะคืนใหป้ ระเทศไทยโดยเรียกร้องคา่ ชดเชยเป็นเงินสองแสนเหรียญสหรัฐ คิด
เป็นเงินไทยประมาณ 5,200,000 บาท ในคร้ังแรกทางรัฐบาลไทยพยายามจะติดตามทวงคืนพระพทุ ธรูปศิลา
โดยอาศยั กรณีท่ีคลา้ ยคลึงกนั กบั การหายของรูปป้ันเทพใี นประเทศอิตาลีที่สามารถติดตามทวงคืนไดโ้ ดย
ดาํ เนินการผา่ นทางกระทรวงยตุ ิธรรมของประเทศสหรัฐอเมริกาตามสนธิสัญญาความร่วมมือระหวา่ ง
ประเทศแต่เม่ือคณะผแู้ ทนไทยนาํ โดยศาสตราจารยอ์ ดุล วเิ ชียรเจริญซ่ึงทาํ หนา้ ท่ีหวั หนา้ คณะทาํ งานเฉพาะ
กิจเดินทางไปถึงประเทศสหรัฐอเมริกา ทางหน่วยสืบราชการลบั ของสหรัฐอเมริกา(เอฟ บี ไอ) ไดแ้ จง้ ให้
ทราบวา่ การติดตามเรื่องน้ีมิใช่คดีอาญาจึงอยนู่ อกเหนืออาํ นาจของเอฟบีไอ รวมถึงการยน่ื ฟ้องตาม
สนธิสัญญาความร่วมมือระหวา่ งสองประเทศกไ็ ม่สามารถกระทาํ ได้ ในท่ีสุดเม่ือวนั ที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ.
2539 คณะกรรมการติดตามพระพทุ ธรูปศิลานาํ โดยร้อยตาํ รวจโท เชาวริน ลทั ธศกั ด์ิศิริ รัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงศึกษาธิการขณะน้นั ไดเ้ ดินทางไปตรวจสอบพระพุทธรูปตามรอยตาํ หนิและมอบค่าชดเชยรวมท้งั
คา่ ใชจ้ า่ ยในการเคล่ือนยา้ ยเป็ นจาํ นวนเงินสองแสนหน่ึงพนั เหรียญสหรัฐ ซ่ึงนายธนินท์ เจียรวนนท์
ประธานกรรมการในเครือเจริญโภคภณั ฑแ์ ละนายวลั ลภ เจียรวนนท์ กรรมการบริหารฯ เป็นผพู้ จิ ารณา
เห็นชอบใหก้ ารสนบั สนุนคา่ ชดเชยนาํ พระพทุ ธรูปล้าํ ค่าของไทยกลบั คืนมา วนั ที่ 19 ธนั วาคม พ.ศ. 2539
ขบวนอญั เชิญหลวงพอ่ ศิลากลบั ถึงประเทศไทย ณ สนามบินดอนเมือง มีชาวทุ่งเสลี่ยม จงั หวดั สุโขทยั ได้
เหมารถบสั จาํ นวนกวา่ 10 คนั มารอรับองคห์ ลวงพอ่ ศิลาภาพมหศั จรรยท์ ่ีปรากฏ คือ มีคา้ งคาวบินวนเวยี น
ในสนามบินดอนเมืองท้งั ท้งั ท่ีความสวา่ งไสวของไฟสปอตไ์ ลทใ์ นสนามบินดอนเมืองน้นั ไมแ่ พแ้ สงแดด

เวลากลางวนั ซ่ึงเจา้ หนา้ ที่การท่าอากาศยานหลายคนไดย้ นื ยนั วา่ เท่าที่ทาํ งานมาหลายสิบปี ไมเ่ คยเห็นเช่นน้ี
มาก่อน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหค้ ณะดาํ เนินการอญั เชิญหลวงพอ่ ศิลา
นาํ โดยร้อยตาํ รวจโท เชาวริน ลทั ธศกั ด์ิศิริและผบู้ ริหารเครือเจริญโภคภณั ฑน์ าํ โดยนายธนินทร์ เจียรวนนท์
ประธานกรรมการเครือเจริญโภคภณั ฑ์ นายวลั ลภ เจียรวนนท์ กรรมการบริหารเครือเจริญโภคภณั ฑเ์ ขา้ เฝ้า
เพือ่ นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายหลวงพอ่ ศิลา เน่ืองในปี กาญจนาภิเษก ณ พระตาํ หนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดุสิต
เม่ือวนั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2540 และรับพระราชทานคืนพร้อมท้งั อญั เชิญกลบั ไปประดิษฐาน ณ วดั ทุ่งเสล่ี
ยมดงั เดิมเมื่อวนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2540 ชาวทุง่ เสลี่ยมจึงไดจ้ ดั งานสมโภชเฉลิมฉลองหลวงพอ่ ศิลาเป็น
ประจาํ ทุกปี ในวนั ที่24 กมุ ภาพนั ธ์ ปัจจุบนั หลวงพอ่ ศิลาประดิษฐานอยใู่ นมณฑปวหิ ารวดั ทุ่งเสลี่ยม อาํ เภอ
ทุง่ เสล่ียม จงั หวดั สุโขทยั โดยมีประชาชนจากทว่ั ประเทศเดินทางมากราบไหวด้ ว้ ยความศรัทธาเป็นประจาํ
ตลอด

ถ้าํ ลม-ถาํ วงั

รายละเอียดวนอุทยานถ้าํ ลม-ถ้าํ วงั อยใู่ นทอ้ งที่หมู่ที่ 7 ตาํ บลนาขนุ ไกร อาํ เภอศรีสาํ โรง จงั หวดั สุโขทยั อยู่
ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติป่ าแมม่ อก-แม่พนั ลาํ มีเน้ือท่ีประมาณ 8,000 ไร่ กรมป่ าไมไ้ ดป้ ระกาศจดั ต้งั เป็นวน
อุทยานเมื่อวนั ที่ 23 มกราคม 2526 ลกั ษณะเด่นบริเวณปากถ้าํ จะมีกระแสลมเยน็ พดั ผา่ นตลอดเวลา คลา้ ย
เคร่ืองปรับอากาศเวลาใดที่อากาศภายนอกร้อน แสงแดดจา้ กจ็ ะทาํ ใหบ้ ริเวณปากถ้าํ มีกระแสลมพดั แรงทาํ ให้
อากาศบริเวณหนา้ ถ้าํ เยน็ สบาย ภายในถ้าํ จะมีหินงอกหินยอ้ ย สลบั สบั เปล่ียนกนั อยา่ งสวยงามบริเวณป่ าถ้าํ
ลม-ถ้าํ วงั มีสภาพพ้นื ท่ีเป็นภูเขาหินปูน เรียงรายจากเหนือลงใต้ คือ เขาหนองหลวง เขาลูกแตก และเป็น
พ้นื ท่ีราบรอบๆบริเวณกลุ่มเขาหิน ประวตั ิวนอุทยาน ถ้าํ ลม-ถ้าํ วงั จดั ต้งั ข้ึนเม่ือวนั ท่ี 10 มีนาคม 2532 โดยที่
บริเวณปากถ้าํ จะมีกระแสลมเยน็ พดั ผา่ นตลอดเวลา คลา้ ยเครื่องปรับอากาศ ภายในถ้าํ จะมีหินงอกหินยอ้ ย
สลบั สับเปลี่ยนกนั อยา่ งสวยงาม ขอ้ มูลเพม่ิ เติม
วนอุทยาน ถ้าํ ลม – ถ้าํ วงั
ที่ต้งั และแผนท่ี
วนอุทยานถ้าํ ลม-ถ้าํ วงั อยใู่ นทอ้ งที่หมูท่ ่ี 7 ตาํ บลนาขนุ ไกร อาํ เภอศรีสาํ โรง จงั หวดั สุโขทยั อยใู่ นเขตป่ า
สงวนแห่งชาติป่ าแม่มอก-แมพ่ นั ลาํ มีเน้ือท่ีประมาณ 8,000 ไร่ กรมป่ าไมไ้ ดป้ ระกาศจดั ต้งั เป็ นวนอุทยานเมื่อ
วนั ท่ี 23 มกราคม 2526 มีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี
ทิศเหนือ จดบา้ นน้าํ ดิบ
ทิศใต้ จดหว้ ยลานพมุ่

ทิศตะวนั ออก จดคลองตาแดง

ทิศตะวนั ตก จดหว้ ยไคร้

ขนาดพ้นื ที่

8000.00 ไร่

ลกั ษณะภูมิประเทศ

บริเวณป่ าถ้าํ ลม-ถ้าํ วงั มีสภาพพ้นื ท่ีเป็นภูเขาหินปูน เรียงรายจากเหนือลงใต้ คือ เขาหนองหลวง เขาลูกแตก
และเป็นพ้นื ท่ีราบรอบๆบริเวณกลุ่มเขาหิน

ลกั ษณะภูมิอากาศ

พืชพรรณและสตั วป์ ่ า

สภาพป่ าธรรมชาติเป็ นป่ าเบญจพรรณ 60% ป่ าเตง็ รัง 35% ป่ าเส่ือมโทรม 5 % มีเน้ือที่บางส่วนของป่ าเบญจ
พรรณมีพนั ธุ์ไมข้ ้ึนอยเู่ ป็นกลุ่มชดั เจน เป็นป่ าไมส้ ัก ไมไ้ ผร่ วก ป่ าเตง็ รัง และพชื สมุนไพร พนั ธุ์ไมท้ ่ีพบ
ไดแ้ ก่ ปอลาย มะพอก มะมว่ งหวั แมลงวนั ยอป่ า แดง พลวง เลี่ยน มะเล่ือม มะคา่ แต้ ตีนนก ไขเ่ น่า เป็นตน้

สัตวป์ ่ าที่พบไดแ้ ก่ หมี เลียงผา ลิง งู ไก่ป่ า กระรอก กระแต กระตา่ ย คา้ งคาว และนกชนิดต่างๆ

การเดินทาง

รถยนต์

เส้นทางการคมนาคมที่สามารถเขา้ ไปยงั วนอุทยานถ้าํ ลม-ถ้าํ วงั มี 2 เส้นทางดงั น้ี
1. จากตลาดสุขาภิบาลอาํ เภอศรีสาํ โรง เดินทางตามเส้นทาง 1056 ผา่ นตาํ บลบา้ นไร่-บา้ นสันติสุข-บา้ นเขา
ดิน-บา้ นโชกเปื อย เขา้ สู่วนอุทยาน ระยะทาง 45 กิโลเมตร

2. จากสี่แยกป้อมตาํ รวจสวรรคโลก ไปตามทางหลวงหมายเลข 1046 ผา่ นบา้ นดงไทย-บา้ นถนนพร อาํ เภอ
ทุ่งเสล่ียม-โรงเรียนหวั ฝาย แลว้ เล้ียวซา้ ยผา่ นวดั เทพพนม-บา้ นน้าํ ดิบ-บา้ นโชกเปื อย เขา้ สู่วนอุทยาน


Click to View FlipBook Version