The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

safety data Thai lotte

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthakan1962541, 2021-03-17 03:16:24

safety data

safety data Thai lotte

คู่มือ
ความปลอดภยั
ในการทางาน

บริษัท ไทยลอตเต้ จากัด
Thai Lotte CO.,LTD.

จดั ทำโดย
ณฐั กำนต์ กำไชย
Trainee Safety



บทนา

บริษัท ไทยลอตเต้ จำกัด ได้ตระหนกั ถึงควำมสำคญั ของควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนของ
พนักงำน เป็ นอย่ำงย่ิง เน่ืองจำกควำมปลอดภัยเป็ นปัจจัยสำคัญประกำรหน่ึงในกำรก้ ำวสู่
ควำมสำเร็จสูงสุดของบริษัท ดงั นนั้ บริษัทจึงสนบั สนุนให้มีกิจกรรมด้ำนควำมปลอดภัยควบคู่กับ
กิจกรรมกำรเพ่มิ ผลผลิตทงั้ นีเ้พรำะ ควำมปลอดภยั ช่วยลดควำมสญู เสีย ลดต้นทนุ กำรผลิต และ
ยงั เสริมสร้ำงสวสั ดิภำพอนั ดีแด่พนกั งำนทกุ คน เพื่อพฒั นำให้เป็ นทรัพยำกรที่มีคุณภำพและ
สำมำรถตอบสนองนโยบำยด้ำนกำรผลิตได้อยำ่ งเตม็ ประสิทธิภำพ

ด้วยเหตุนีบ้ ริษัทฯ จึงจัดทำคู่มือควำมปลอดภัยในกำรทำงำนขึน้ เพ่ือเผยแพร่ควำมรู้และ
แนะนำแนวทำง ในกำรปฏิบตั ิงำนอย่ำงปลอดภยั บริษัทฯ หวงั เป็ นอย่ำงย่ิงว่ำค่มู ือควำมปลอดภยั
ในกำรทำงำนเลม่ นีจ้ ะมีส่วน เสริมสร้ำงจติ สำนกึ ด้ำนควำมปลอดภยั ให้เกิดขนึ ้ กบั พนกั งำนบริษัท ไท
ยลอตเต้ จำกดั ทกุ คน

ด้วยควำมปรำรถนำดีจำก
เจ้ำหน้ำที่ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน

สารบญั หน้า
1
เร่ือง 2
สิทธิและหน้ำท่ีของนำยจ้ำงและลกู จ้ำง 3
นโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั ฯ 4
บญั ญตั ิ 10 ประกำรเกี่ยวกบั ควำมปลอดภยั 5
คำจำกดั ควำม 6
สำเหตกุ ำรเกิดอบุ ตั เิ หตุ 7
กำรสญู เสียเนื่องจำกกำรเกิดอบุ ตั เิ หตุ 8
กฎควำมปลอดภยั ทวั่ ไป 9
หลกั 3 E ในกำรป้ องกนั อบุ ตั เิ หตุ 9
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนสำนกั งำน 10
ควำมปลอดภยั ในกำรยกของ 10
ควำมปลอดภยั ในงำนเช่ือม 11
ควำมปลอดภยั ในงำนเจีย 11
ควำมปลอดภยั ในกำรใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้ ำ 12
ควำมปลอดภยั ในกำรใช้เครื่องจกั ร 12
ควำมปลอดภยั ในกำรใช้งำนรถยก 13
ควำมปลอดภยั ในกำรใช้งำนรถกระเช้ำ
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนที่อบั อำกำศ

สารบญั (ต่อ) หน้า
14
เร่ือง 15
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั สำรเคมี 16
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั รถลำกพำเลท 17
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนกบั รถยกสงู แบบเท้ำเหยียบ 20
กำรป้ องกนั และระงบั อคั คีภยั 21
ขนั้ ตอนปฏิบตั กิ รณีเกิดเหตเุ พลิงไหม้ 22
ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ตั ิกรณีสำรเคมีร่ัวไหล 23
ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั กิ รณีก๊ำซธรรมชำตริ ่ัวหรือระเบิด 24
ขนั้ ตอนปฏบิ ตั เิ มื่อเกิดอบุ ตั ิเหตุ 25
กำรรำยงำนกำรสอบสวนวิเครำะห์อบุ ตั ิเหต/ุ อบุ ตั ิกำรณ์ 27
อปุ กรณ์ป้ องกนั สว่ นบคุ คล 29
หลกั กำรปฐมพยำบำลเบือ้ งต้น 30
สญั ลกั ษณ์สีท่ีเก่ียวข้องกบั ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน 31
กิจกรรม 5 ส 32
กำรจดั กำรสิง่ แวดล้อม
เบอร์โทรติดตอ่ ฉกุ เฉิน

สิทธิและหน้าท่ขี องนายจ้างและลูกจ้าง
ตามประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

ประกำศกรมสวสั ดิกำรและค้มุ ครองแรงงำน
เร่ือง สทิ ธิและหน้ำท่ขี องนำยจ้ำงและลกู จ้ำง
ตำมพระรำชบญั ญตั ิควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ. 2554
1. นำยจ้ำงและลกู จ้ำงมหี น้ำทีใ่ นกำรปฏบิ ตั ิตำมพระรำชบญั ญตั ิควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ.
2554
2. นำยจ้ำงมหี น้ำที่จดั และดแู ลสถำนประกอบกิจกำรและลกู จ้ำงให้มีสภำพกำรทำงำนและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนที่ปลอดภยั
และถกู สขุ ลกั ษณะ รวมทงั้ สง่ เสริมและสนบั สนนุ กำรปฏบิ ตั งิ ำนของลกู จ้ำง มใิ ห้ลกู จ้ำงได้รับอนั ตรำยตอ่ ชีวิต ร่ำงกำย จิตใจ และ
สขุ ภำพอนำมยั
3. นำยจ้ำงมีหน้ำทจ่ี ดั และดแู ลให้ลกู จ้ำงสวมใสอ่ ปุ กรณ์ค้มุ ครองควำมปลอดภยั สว่ นบคุ คลที่ได้มำตรฐำน ถ้ำลกู จ้ำงไมส่ วมใส่
อปุ กรณ์ดงั กลำ่ ว ให้นำยจ้ำงให้สง่ั หยดุ กำรทำงำนจนกวำ่ ลกู จ้ำงจะสวมใสอ่ ปุ กรณ์นนั้
4. นำยจ้ำงมีหน้ำท่ีจดั ให้ผ้บู ริหำร หวั หน้ำงำน และลกู จ้ำงทกุ คนได้รับกำรฝึกอบรมให้สำมำรถบริหำรจดั กำรและดำเนนิ กำรด้ำนควำม
ปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนได้อยำ่ งปลอดภยั ก่อนกำรเข้ำทำงำน เปลยี่ นงำน เปลย่ี นสถำนท่ที ำงำน
หรือเปลยี่ นแปลงเครื่องจกั รหรืออปุ กรณ์
5. นำยจ้ำงมหี น้ำทแี่ จ้งให้ลกู จ้ำงทรำบถงึ อนั ตรำยที่อำจเกิดขนึ ้ จำกกำรทำงำนและแจกคมู่ ือปฏิบตั ิงำนให้ลกู จ้ำงทกุ คนกอ่ นทล่ี กู จ้ำง
จะเข้ำทำงำน เปลย่ี นงำน หรือเปลย่ี นสถำนที่ทำงำน
6. นำยจ้ำงมีหน้ำทตี่ ิดประกำศ คำเตือน คำสง่ั หรือคำวินจิ ฉยั ของอธิบดกี รมสวสั ดิกำรและค้มุ ครองแรงงำน พนกั งำนตรวจควำม
ปลอดภยั หรือคณะกรรมกำรควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน แล้วแตก่ รณี
7. นำยยจ้ำงเป็ นผ้อู อกคำ่ ใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนด้ำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
8. ลกู จ้ำงมหี น้ำท่ใี ห้ควำมร่วมมือกบั นำยจ้ำงในกำรดำเนินและสง่ เสริมด้ำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำร
ทำงำน โดยคำนงึ ถึงสภำพของงำนและหน้ำท่รี ับผดิ ชอบ
9. ลกู จ้ำงมีหน้ำท่แี จ้งข้อบกพร่องของสภำพกำรทำงำนหรือกำรชำรุดเสยี หำยของอำคำร สถำนที่ เคร่ืองมอื เครื่องจกั ร หรืออปุ กรณ์ ท่ี
ไมส่ ำมำรถแก้ไขได้ด้วยตนเองตอ่ เจ้ำหน้ำท่คี วำมปลอดภยั ในกำรทำงำน หวั หน้ำงำน หรือผ้บู ริหำร
10. ลกู จ้ำงมีหน้ำท่สี วมใสอ่ ปุ กรณ์ค้มุ ครองควำมปลอดภยั สว่ นบคุ คลท่นี ำยจ้ำงจดั ให้และดแู ลให้สำมำรถใช้งำนได้ตำมสภำพและ
ลกั ษณธของงำนตลอดระยะเวลำทำงำน
11. ในสถำนที่ทีม่ สี ถำนประกอบกิจกำรหลำยแหลง่ ลกู จ้ำงมหี น้ำท่ีปฏบิ ตั ติ ำมหลกั เกณฑ์เก่ียวกบั ควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และ
สภำพแวดล้อมในกำรทำงำนของนำยจ้ำง และสถำนประกอบกิจกำรอ่ืนที่ไมใ่ ชข่ องนำยจ้ำง
12. ลกู จ้ำงมสี ทิ ธิได้รับควำมค้มุ ครองจำกกำรเลกิ จ้ำง หรือถกู โยกย้ำยหน้ำทกี่ ำรงำน เพรำะเหตทุ ฟี่ ้ องร้อง เป็ นพยำน ให้หลกั ฐำน
หรือให้ข้อมลู เกี่ยวกบั ควำมปลอดภยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนตอ่ พนกั งำนตรวจควำมปลอดภยั คณะกรรมกำรควำม
ปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หรือศำล
13. ลกู จ้ำงมีสทิ ธิได้รับคำ่ จ้ำงหรือสทิ ธิประโยชน์อน่ื ใด ในระหวำ่ งหยดุ กำรทำงำนหรือหยดุ กระบวนกำรผลติ ตำมคำสงั่ ของพนกั งำน
ตรวจควำมปลอดภยั เว้นแตล่ กู จ้ำงที่จงใจกระทำกำรอนั เป็ นเหตใุ ห้มกี ำรหยดุ กำรทำงำนหรือหยดุ กระบวนกำรผลติ

1

นโยบายความปลอดภยั

บริษัทฯ ตระหนกั อย่เู สมอว่ำบคุ ลำกรเป็นทรัพยำกรท่ีมีคำ่ ยงิ่ ของบริษัทฯ และเพ่ือให้สอดคล้อง
กบั กฎหมำยด้ำนควำมปลอดภยั ฯ บริษัทฯจงึ มีนโยบำย “พฒั นำธุรกิจอยำ่ งยงั่ ยืนไปกบั ควำมปลอดภยั
อำชีวอนำมยั และสิง่ แวดล้อม” เพอื่ ให้พนกั งำนทกุ คนทรำบ และถือเป็นหลกั ปฏิบตั ดิ งั นี ้
1. ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนถือเป็นหน้ำท่ีรับผดิ ชอบอนั ดบั แรกของพนกั งำนทกุ คนทกุ ระดบั
2. พนกั งำนทกุ คนต้องคำนงึ ถงึ ควำมปลอดภยั ของตนเอง เพื่อร่วมงำนตลอดจนทรัพย์สนิ ของบริษัทฯ
เป็นสำคญั ตลอดเวลำที่ปฏิบตั งิ ำน
3. พนกั งำนระดบั ผ้บู งั คบั บญั ชำทกุ คนต้องมีหน้ำท่ีดแู ลและรับผิดชอบในด้ำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำ
มยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนของผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชำ ให้เป็นไปตำมกฎระเบียบควำมปลอดภยั อำ
ชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนที่กำหนดขนึ ้ โดยเคร่งครัด
4. บริษัทฯ จะสนบั สนนุ และส่งเสริมให้มีกำรปรับปรุงสภำพแวดล้อมและวิธีปฏิบตั ิงำนอยำ่ งปลอดภยั
รวมถงึ กำรมีสขุ ภำพอนำมยั ท่ีดีของพนกั งำนทกุ คน
5. บริษัทฯ จะสนบั สนนุ และสง่ เสริมกิจกรรมด้ำนควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน เพอ่ื ให้เกิดผลในทำง
ปฏบิ ตั ิกบั ทกุ ๆฝ่ ำยอยำ่ งสงู สดุ
6. บริษัทฯ จะจดั ให้มีทรัพยำกรอยำ่ งเพียงพอ เหมำะสมต่อกำรดำเนินงำนให้บรรลตุ ำมวตั ถปุ ระสงค์
เป้ ำหมำยท่ีตงั้ ไว้ ตลอดจนอบรมพนกั งำนทกุ ระดบั อยำ่ งเหมำะสม เพอ่ื ให้สำมำรถปฏบิ ตั ติ ำมหน้ำท่ี
และควำมรับผิดชอบ
7. บริษัทฯ จะจดั ให้มีกำรตดิ ตำมและประเมนิ ผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำ
มยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน เพ่ือควบคมุ ให้มีกำรปฏิบตั ิอยำ่ งจริงจงั และเกิดประสทิ ธิภำพ
สงู สดุ

2

บัญญัติ 10 ประการเก่ียวกับความปลอดภยั

1. ปฏิบตั ิตำมกฎ ข้อบงั คับ เครื่องหมำย 2. แจ้งหรือรำยงำนสภำพกำรทำงำนท่ีไม่
และคำสอนโดยเคร่งครัด อย่ำเสี่ยง ถ้ำไม่ ปลอดภยั ในโรงงำนทนั ทีท่ีพบเห็น
รู้จงถำมผ้รู ู้

3. ช่วยกันระวังรักษำทุกส่ิงทุกอย่ำงให้ 4. ใช้เครื่องมือท่ีถกู ต้องในวิธีที่ปลอดภยั
สะอำดเรียบร้ อยและปลอดภยั

5. รำยงำนควำมบำดเจ็บทงั้ หมดท่ีเกิดขนึ ้ 6. สวมเคร่ืองป้ องกนั ภยั และรักษำให้อยู่
และมีกำรรักษำพยำบำลที่เหมำะสมทนั ที ในสภำพที่ใช้ได้เสมอ

7. ดแู ลรักษำเครื่องจกั ร เครื่องมือให้อย่ใู น 8. ในกำรยกของหนัก ต้องมีคนช่วย และ
สภำพเรียบร้ อย ยกให้ถกู วิธี

9. ห้ามหยอกล้อ หรือกวนใจผู้อ่ืน ขณะ 10. เชื่อฟังกฎ ข้อบงั คบั เคร่ืองหมำย และ
ปฏบิ ตั ิงำน ค ำ แ น ะ น ำ เ กี่ ย ว กั บ ค ว ำ ม ป ล อ ด ภั ย ใ น
โรงงำน

3

คาจากัดความ

ภัย (Hazard) เป็ นสภำพกำรณ์ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดกำรบำดเจ็บต่อบคุ คลหรือควำม
เสียหำยต่อทรัพย์สินหรือวสั ดุ หรือกระทบกระเทือนต่อขีดควำมสำมำรถในกำรปฎิบตั ิงำนปกติของ
บคุ คล

อันตราย (Danger) ระดบั ควำมรุนแรงที่เป็นผลเนื่องมำจำกภยั (Hazard) ระดบั ของภยั อำจ
มีระดบั สงู มำกหรือน้อยก็ได้ ขนึ ้ อยกู่ บั มำตรกำรในกำรป้ องกนั
ความเสียหาย (Damage) ควำมรุนแรงของกำรบำดเจ็บหรือควำมสญู เสียทำงกำยภำพหรือ
ควำมเสียหำยท่ีเกิดขนึ ้ ตอ่ กำรปฏิบตั ิงำน หรือควำมเสียหำยทำงด้ำนกำรเงนิ ที่เกิดขนึ ้
อุบัติเหตุ (Accident) เหตกุ ำรณ์ท่ีเกิดขึน้ โดยมิได้วำงแผนไว้ล่วงหน้ำ ซ่ึงก่อให้เกิดควำม
บำดเจ็บ พกิ ำร หรือตำย และทำให้ทรัพย์สนิ ได้รับควำมเสียหำย
การกระทาท่ไี ม่ปลอดภยั (Unsafe Action) กำรกระทำหรือกำรปฏิบตั ิงำนของคนท่ีมีผลทำ
ให้เกิดควำมไมป่ ลอดภยั กบั ตนเองและผ้อู ื่น
สภาพงานท่ไี ม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) สภำพโรงงำน เคร่ืองจกั ร กระบวนกำรผลิต
อปุ กรณ์ในกำรผลิต ไม่มีควำมปลอดภยั เพยี งพอ
ความปลอดภัย (Safety) ในทำงทฤษฎี หมำยถึง "กำรปรำศจำกภยั " แต่สำหรับในทำง
ปฏบิ ตั อิ ำจยอมรับได้ในควำมหมำยที่ว่ำ "กำรปรำศจำกอนั ตรำยท่ีมีโอกำสจะเกิดขนึ ้ "

4

สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ

การกระทาท่ไี ม่ปลอดภัย (Unsafe Action)
มีโอกำสทำให้เกิดอบุ ตั เิ หตถุ ึง 85 % โดยเกิดจำกกำรกระทำของคน เชน่

- กำรมีทศั นคติไม่ถกู ต้อง เชน่ คดิ ว่ำอบุ ตั เิ หตเุ ป็นเร่ืองของเครำะห์กรรม แก้ไขป้ องกนั ไม่ได้
- ประมำทเลินเลอ่ พลงั้ เผลอ เหมอ่ ลอย ขำดควำมระมดั ระวงั
- ถอดเครื่องกำบงั สว่ นที่เป็นอนั ตรำยของเครื่องจกั รออกแล้วไม่ใสค่ ืน
- หยอกล้อเลน่ กนั ระหวำ่ งปฏิบตั ิงำน
- ไมส่ วมใสอ่ ปุ กรณ์ปัองกนั อนั ตรำยส่วนบคุ คล
- สภำพร่ำงกำยไมพ่ ร้อมหรือผดิ ปกติ เช่น ด่ืมสรุ ำ, มีปัญหำครอบครัว,
ใช้ส่งิ เสพตดิ เป็นต้น
- ไมท่ ำตำมขนั้ ตอนกำรทำงำน (WI)
- ใช้เคร่ืองมือท่ีชำรุด หรือกำรใช้เคร่ืองมือไม่ถกู วิธี

สภาพการทางานท่ไี ม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions)
มีโอกำสทำให้เกิดอบุ ตั ิเหตถุ งึ 15 % โดยเกิดจำกสภำพแวดล้อมบริเวณพนื ้ ทีทำงำน เช่น

- เครื่องจกั ร เครื่องมือ อปุ กรณ์ชำรุด ขำดกำรซอ่ มแซมหรือบำรุงรักษำ
- ควำมไมเ่ ป็นระเบียบเรียบร้อยและสกปรกในกำรจดั เก็บวสั ดสุ ิ่งของ
- สภำพแวดล้อมในกำรทำงำนไม่ดี เชน่ แสงสว่ำงไมเ่ พียงพอ, กำรระบำยอำกำศไม่ดี, เสียงดงั , ฝ่ นุ
ละออง, ควำมร้อนสงู เป็นต้น
- ไมม่ ีกำร์ดครอบป้ องกนั สว่ นท่ีเป็นอนั ตรำยของเคร่ืองจกั ร
- ระบบไฟฟ้ ำ หรืออปุ กรณ์ไฟฟ้ ำชำรุดบกพร่อง

5

การสูญเสียเน่ืองจากการเกิดอุบตั เิ หตุ

การสูญเสียทางตรง 1
เป็นผลกระทบที่เกิดกบั ร่ำงกำยและทรัพย์สินที่เก่ียวกบั
ผ้ไู ด้รับบำดเจ็บโดยตรง นอกจำกนีอ้ ำจทำให้ผ้อู ่ืนได้รับ
บำดเจ็บหรืออนั ตรำยด้วย
- ได้รับบำดเจบ็ พกิ ำร หรือเสียชีวิต
- อปุ กรณ์ เครื่องมือเคร่ืองจกั ร หรือทรัพย์สินเสียหำย
- ค่ำรักษำพยำบำล
- ค่ำคำขวญั
- คำ่ ทำศพ

การสูญเสียทางอ้อม 2

เป็ นผลกระทบด้ ำนอ่ืนๆ

- สญู เสียเวลำกำรทำงำนของผ้บู ำดเจ็บ

- สญู เสียขวญั กำลงั ใจในกำรทำงำน

- สญู เสียเวลำในกำรจดั หำบคุ ลำกรทำงำนแทนผ้บู ำดเจบ็

- คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรซอ่ มแซมเคร่ืองจกั ร

- สนิ ค้ำได้รับควำมเสียหำย

- ผลผลิตช้ำลง

- มีคำ่ ใช้จำ่ ยเรื่องสวสั ดกิ ำรตำ่ งๆของผ้บู ำดเจบ็

6

กฎความปลอดภยั ท่วั ไปท่ีพนักงานทกุ คนพงึ ปฏิบัติ

1. พนักงานทุกคนต้องผ่ำนกำรอบรมหลักสูตรควำมปลอดภัยในกำรทำงำนสำหรับพนักงำนใหม่
ก่อนท่ีจะเข้ำปฏบิ ตั ิงำนได้
2. พนกั งำนท่ีนำรถเข้ำมำภำยในบริษัทฯ ต้องได้รับอนญุ ำตและมีสติ๊กเกอร์เท่ำนนั้ จงึ จะสำมำรถนำรถ
เข้ำมำจอดภำยในบริษัทฯ ได้
3. ตรวจสภำพของเครื่องจกั ร อปุ กรณ์เคร่ืองมือต่ำงๆ ก่อนและหลงั ปฏิบตั งิ ำนทกุ ครัง้
4. ห้ามเคล่ือนย้ำยหรือถอดเคร่ืองกำบงั อนั ตรำย (Guard) ออกจำกเคร่ืองจกั ร
5. เก็บรักษำเคร่ืองมือเครื่องใช้ให้เป็นหมวดหมู่ และเป็นระเบียบเรียบร้อย
6. ปฏิบตั ิตำมระเบียบปฏบิ ตั ิ ป้ ำยเตือน ป้ ำยห้ำมตำ่ งๆ ท่ีติดไว้อยำ่ งเคร่งครัด
7. ต้องสวมใส่อปุ กรณ์ป้ องกนั ควำมปลอดภยั ที่กำหนด ณ จดุ งำนนนั้ ตลอดเวลำที่ปฏิบตั งิ ำน
8. ไม่คุยโทรศัพท์ หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงำนโดยเด็ดขำด ห้ำมรับประทำนอำหำรในพืน้ ท่ีกำร
ทำงำน ให้ทำนเฉพำะบริเวณที่บริษัทจดั เตรียมไว้เท่ำนนั้
9. แยกประเภทขยะก่อนทงิ ้ เป็น 3 ประเภท คือ ขยะอนั ตรำย ขยะทว่ั ไป ขยะรีไซเคิล
10. ห้ามวำงสิง่ ของกีดขวำงเครื่องดบั เพลงิ บนั ได ทำงหนีไฟ ทำงออกฉกุ เฉิน
12. ไม่อนุญาตให้ใช้ทำงออกหรือประตฉู กุ เฉินในสถำนกำรณ์ปกติ หรือเปิดประตู ทงิ ้ ไว้
13. ห้ามฉีดเคร่ืองดบั เพลงิ หรือกดสญั ญำณแจ้งเหตฉุ กุ เฉินเล่นโดยไม่มีเหตอุ นั ควร
14. พนักงำนต้องไม่เสพสุรำ ของมึนเมำ หรืออยู่ในอำกำรมึนเมำภำยในบริเวณ บริษัทฯ หรือขณะ
ปฏิบตั ิหน้ำท่ี
15. ห้ามสบู บหุ รี่ภำยในสถำนท่ีทำงำนหรือบริเวณบริษัทฯ เว้นแต่จดุ ที่บริษัทฯ ได้กำหนดไว้สำหรับสบู
บหุ รี่เทำ่ นนั้

7

3Eหลกั

ในกำรป้ องกนั อบุ ตั เิ หตุ

E ตวั แรก คือ Engineering

คือ กำรใช้ควำมรู้ด้ำนวิศวกรรมศำสตร์ในกำรคำนวณ
ต่ำงๆ กำรออกแบบเคร่ืองจกั รให้มีประสิทธิภำพและ
เหมำะสมกบั กำรใช้งำน สำมำรถทำงำนได้อยำ่ งปลอดภยั
รวมถงึ กำรวำงผงั โรงงำนระบบไฟฟ้ ำ กำรระบำยอำกำศ
เป็ นต้ น

E ตัวท่ีสอง คอื Education
คือ กำรให้ควำมรู้ กำรฝึกอบรมเกี่ยวกบั กำรป้ องกนั
อบุ ตั เิ หตุ กำรสร้ำงเสริมควำมปลอดภยั รวมถึง
กฎระเบียบต่ำงๆ ด้ำนควำมปลอดภยั ที่ผ้ปู ฏบิ ตั ิงำน
ต้องปฏิบตั ติ ำม เพื่อให้สำมำรถทำงำนได้อยำ่ ง
ปลอดภยั

E ตัวท่ีสาม คอื Enforcement
คือ กำรกำหนดขนั ้ ตอนกำรทำงำนอยำ่ งปลอดภยั
รวมถึงมำตรกำรควบคมุ พร้อมทงั ้ ประกำศให้
ผ้ปู ฏิบตั งิ ำนทกุ คนรับทรำบ หำกมีผ้ฝู ่ ำฝื นหรือไม่
ปฏิบตั ติ ำมจะต้องมีกำรลงโทษ เพ่ือให้เกิดสำนึก
และหลีกเลีย่ งกำรกระทำที่ไมถ่ กู ต้องหรือกอ่ ให้เกิด
อนั ตรำยได้

8

ความปลอดภยั ในการทางานสานักงาน
กฏท่ีต้องปฏบิ ัติ

1. อย่าใช้เก้ำอีม้ ีล้อเล่ือนแทนบนั ได ในกำรท่ีต้องหยิบวสั ดหุ รือ
เอกสำรในท่ีสงู ๆ
2. อย่าวงิ่ ภำยในสำนกั งำน เพรำะตรงมมุ อำจมีเพ่อื นร่วมงำนเดิน
สวนออกมำหรือมีพนกั งำนกำลงั เคลื่อนย้ำยวสั ดตุ ำ่ งๆ
3. ลิน้ ชกั ของต้เู ก็บเอกสำรหรือโต๊ะทำงำนเมื่อเปิดใช้แล้วต้องปิดให้
เรียบร้ อย
4. ห้ามวำงส่ิงของกีดขวำงทำงเดนิ ทำงหนีไฟ และทำงออกฉกุ เฉิน
5. หำกพบอปุ กรณ์ชำรุดควรรีบแจ้งซอ่ ม
6. ตรวจสอบสำยไฟ และเต้ำเสียบ (ปลก๊ั ไฟ) เพอ่ื ป้ องกนั อนั ตรำย
ไม่ให้ถกู ประกำยไฟ

ความปลอดภยั ในการยกของ
กฏท่ีต้องปฏิบัติ

1. ควรวำงเท้ำข้ำงหนง่ึ อยขู่ ้ำงๆ ของท่ีจะทำกำรยกและอีกข้ำงหนง่ึ อย่ขู ้ำงหลงั
2. งอเข่ำและค้ลู งต่ำใกล้ของ
3. ให้ลำตวั เข้ำชดิ ของ
4. ต้องจบั ของให้กระชบั แนน่
5. หลงั ตรงเกือบเป็นแนวด่ิงแล้วยืดขำทงั้ สองขนึ ้
6. ควรมองเหน็ ทำงข้ำงหน้ำได้ชดั เจนขณะยกของเดนิ ไป
7. เมื่อจะวำงของลงให้ทำย้อนกลบั ตำมวิธีข้ำงลำ่ ง

9

กฏท่ีต้องปฏิบัติ ความปลอดภยั ในงานเช่อื ม

1. ก่อนท่ีจะทำกำรเช่ือมตัดด้วยไฟฟ้ ำหรือแก๊สทุกครัง้ ผู้ปฏิบัติงำนต้องทำกำรตรวจสอบบริเวณ
โดยรอบ จะต้องไมม่ ีวสั ดทุ ่ีติดไฟได้อยใู่ นรัศมีที่สะเก็ดไฟจำกกำรปฏิบตั ิงำน
2. กำรเช่ือมหรือตดั ภำชนะบรรจสุ ำรไวไฟหรือแก๊สทกุ ครัง้ ต้องถ่ำยและล้ำงทำควำมสะอำด สำรไวไฟ
หรือแก๊สที่ตกค้ำงอย่ใู นภำชนะ แล้วทำกำรระบำยอำกำศภำยในภำชนะ
3. ในบริเวณที่มีกำรเชื่อมตัดจะต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดตัง้ ไว้ใกล้บริเวณพืน้ ท่ีทำงำนให้
เพียงพอ และสำมำรถหยบิ ใช้ได้โดยสะดวกในกรณีเกิดเหตฉุ กุ เฉิน
4. ควรวำงถงั แก๊สในแนวตงั้ ให้ห่ำงจำกบริเวณเชื่อมตดั เพื่อป้ องกนั สะเก็ดไฟ จำกกำรเชื่อมกระเด็นไป
ถกู และควรตรวจสอบอปุ กรณ์ทกุ ชนิ ้ ให้อย่ใู นสภำพที่พร้อมจะใช้งำน
5. อปุ กรณ์กำรเชื่อมตดั ด้วยไฟฟ้ ำจะต้องอย่ใู นสภำพท่ีไมช่ ำรุด ฉีกขำด เสียหำย
6. กำรถอดธปู เช่ือมออกเพอื่ หยดุ พกั หรือเลกิ ใช้งำน จะต้องปิดสวิตช์ไฟฟ้ ำทกุ ครัง้
7. ฟิวส์ของเคร่ืองเชื่อมไฟฟ้ ำที่ใช้ต้องมีขนำดเหมำะสมและใสฟ่ ิวส์ให้เข้ำท่ี
8. ห้ามสลบั สำยลมกบั สำยแก๊สอยำ่ งเด็ดขำด เพรำะอำจทำให้เกิดกำรระเบิดได้
9. หลงั จำกปฏบิ ตั ิงำนแล้วเสร็จให้มีกำรตรวจสอบบริเวณพนื ้ ท่ีทำงำน

ความปลอดภยั ในงานเจยี ร

กฏท่ีต้องปฏิบัติ

1. ก่อนทำกำรเจียรทกุ ครัง้ ต้องสวมแว่นตำนริ ภยั ถงุ มือ
2. ตรวจสอบเครื่องมือเจียร ให้อย่ใู นสภำพที่ปลอดภยั ในขณะทำงำน เช่น มีกำบงั ใบ (GUARD) ไม่มี
รอยถลอกที่เปลือกสำยไฟหรือที่ขวั้ ตดิ กบั เคร่ืองมือ
3. ก่อนทำกำรเปล่ียนใบหินเจียรทกุ ครัง้ ในกรณีที่ใช้หินเจียรไฟฟ้ ำต้องดบั สวิตช์เคร่ืองและดึงปลกั๊ ไฟ
ออก ในกรณีที่เป็นเคร่ืองลมก็ให้ปิดวำล์วตวั เคร่ืองพร้อมทงั้ ปลดสำยออกจำกหวั จ่ำยลมทกุ ครัง้
4. เวลำยกเคร่ืองเจียรให้จบั ที่ตวั เครื่อง อยำ่ หวิ ้ ที่สำยลมหรือสำยไฟโดยเด็ดขำด
5. ควรหำแผงกำบงั สะเก็ดหนิ เจียร เพอ่ื ป้ องกนั ไมใ่ ห้กระเดน็ ไปถกู ผ้อู ื่นด้วย

10

ความปลอดภยั ในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ า
กฏท่ีต้องปฏิบัติ

1. ทกุ ครัง้ ท่ีตอ่ สำยไฟฟ้ ำหรือเดินสำยไฟฟ้ ำต้องตัดไฟฟ้ ำด้วยสวติ ช์ก่อน เพื่อป้ องกนั มใิ ห้มีกระแส
ไฟฟ้ ำในสำยไฟฟ้ ำเส้นนนั้
2. ห้ามใช้ตวั นำอื่นๆ แทนฟิวส์
3. ถ้ำพบอปุ กรณ์ไฟฟ้ ำชำรุดต้องเลกิ ใช้ รีบแก้ไข หรือซอ่ มแซมโดยเร็ว
4. รอยตอ่ สำยไฟฟ้ ำทกุ แห่ง ต้องใช้เทปพนั สำยไฟฟ้ ำพนั ห้มุ ลวดทองแดงให้มดิ ชดิ เพอ่ื
ไมใ่ ห้ลวดทองแดงที่มีกระแสไฟฟ้ ำโผล่ออกมำ ซง่ึ อำจจะเป็นอนั ตรำย
5. หลอดไฟฟ้ ำและเคร่ืองใช้ไฟฟ้ ำทกุ ชนดิ ที่จะทำให้เกิดควำมร้อนได้ ไม่ควรให้ติดอย่กู บั ผ้ำ
หรือเชือ้ เพลงิ อื่นๆ ท่ีอำจทำให้เกิดกำรลกุ ไหม้ได้งำ่ ย
6. เมื่อเกิดไฟฟ้ ำลดั วงจรหรือเมื่อมีผ้ปู ระสบอนั ตรำยเน่ืองจำกกระแสไฟฟ้ ำ ก่อนอ่ืน จงทำกำรตดั
กระแสด้วยสวทิ ซ์ ตดั ตอน (ยกคทั เอ้ำท์)

กฏท่ีต้องปฏิบัติ ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองจักร

1. กำรใช้เครื่องจกั รจะต้องใช้ตำมคมู่ ือหรือตำมขนั้ ตอนท่ีกำหนด
2. ห้ามพนกั งำนท่ีไมม่ ีหน้ำท่ีในกำรทำงำนกบั เครื่องจกั ร ใช้เครื่องจกั ร หรือแก้ไขเครื่องจกั ร
3. ก่อนใช้เครื่องจกั ร ผ้ปู ฏบิ ตั งิ ำนจะต้องตรวจฝำครอบ กำร์ด เคร่ืองนริ ภยั หรือส่วนตำ่ งๆ
ของเคร่ืองจกั รให้อย่ใู นสภำพเรียบร้อยก่อน
4. ห้ามใช้เคร่ืองจกั ร เครื่องมือ ที่มีสภำพชำรุดจนกวำ่ จะแก้ไขให้เรียบร้อยเสียก่อน ระหวำ่ งรอ
กำรแก้ไขจะต้องแขวนป้ ำย หรือทำเคร่ืองหมำยบอกถงึ สภำพที่ไม่ปลอดภยั
5. ห้ามเคล่ือนย้ำยฝำครอบ กำร์ด หรือเครื่องนริ ภยั ทกุ ชนดิ ออกจำกเครื่องจกั ร ในกรณีที่จำเป็น
ต้องถอดหรือเคลื่อนย้ำยเพ่ือกำรซอ่ ม เม่ือเสร็จแล้วจะต้องใสเ่ รียบร้อยก่อนใช้งำน
6. ห้ามทำควำมสะอำดหรือกำรกระทำใดๆ ท่ีใช้มือเข้ำไปในบริเวณจดุ หนีบ จดุ หมนุ จดุ เคล่ือนไหว
ของเคร่ืองจกั รขณะทำงำนอยู่
7. กำรหยดุ เครื่องจกั รเพ่อื กำรซอ่ มแซมแก้ไขหรือเพื่อทำกำรใดๆ ก็ตำมผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนจะต้องแขวน
ป้ ำย “อนั ตรำย กำลงั ทำงำนอยู่ ห้ำมเปิดสวติ ช์” ณ สวติ ช์ปิด - เปิดเคร่ืองจกั ร
8.ในกรณีที่เครื่องจกั รผดิ ปกติ ให้รีบแจ้งหวั หน้ำงำนทนั ที เพื่อทำกำรแก้ไข

11

ความปลอดภยั ในการใช้งานรถยก(โฟล์คลฟิ ท์)
กฏท่ตี ้องปฏบิ ัติ

1. ผ้ทู ี่ทำหน้ำที่ในกำรปฏิบตั ิงำนขบั ข่ีรถยกจะต้องผำ่ นกำรฝึกอบรม และได้รับใบอนุญาตเท่านัน้
2. ก่อนเริ่มปฏิบตั งิ ำนทกุ ครัง้ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนควรตรวจสอบควำมพร้อม และควำมเรียบร้อยของรถยก เช่น
แตร, สญั ญำณไฟ
3. ห้ามบรรทกุ สนิ ค้ำหนกั เกินกว่ำพกิ ดั ที่กำหนดไว้
4. ห้ามขบั รถเกินควำมเร็วท่ีกำหนด (Speed 8)
5. เม่ือต้องกำรเปลี่ยนทิศทำงของรถ หรือต้องกำรเลีย้ วโค้ง ต้องชะลอควำมเร็วทุกครัง้ และต้องให้
สญั ญำณเสียงและไฟกระพริบ
6. กำรขบั รถขนึ ้ ที่ลำดชนั ให้ขบั ถอยหลงั และเวลำขบั ลงทำงลำดชดั
ให้ขบั เดนิ หน้ำเท่ำนนั้

7. ห้ามจอดหรือขบั สวนขนึ ้ ลงทำงลำดชนั เดด็ ขำด
8. ผ้ปู ฏิบตั งิ ำนควรมน่ั ตรวจสอบสภำพรถยกเป็นประจำ
9. หลงั เสร็จสนิ ้ กำรปฏบิ ตั งิ ำน ต้องลดงำติดพนื ้ ทำกำรดบั เคร่ืองยนต์
และถอดกญุ แจรถออกมำด้วยทกุ ครัง้

กฏท่ีต้องปฏบิ ตั ิ ความปลอดภยั ในการใช้งานรถกระเช้า

1. พนกั งำนทำหน้ำที่ในกำรขบั รถโฟล์คลิฟต์ควรได้รับกำรฝึ กอบรม ให้ควำมรู้ และมีใบรับรองผ่าน

หลักสูตรการขับข่ี

2. พนกั งำนท่ีทำหน้ำท่ียืนบนกระเช้ำจะต้องไม่มีโรคประจำตวั ท่ีเก่ียวกบั กำรขนึ ้ ที่สงู เช่น โรคกลวั ควำม

สงู ใจสน่ั หน้ำมืด หรือมีอำกำรมนึ เมำ

3. พนกั งำนต้องตรวจสอบควำมพร้อมใช้งำนของกระเช้ำก่อนนำรถโฟล์คลฟิ ท์ยกกระเช้ำไปใช้งำน เช่น

โซค่ ล้องกระเช้ำ, ลกู กรงล้อมรอบกระเช้ำและ ประตู เป็นต้น

4. พนกั งำนท่ีปฏบิ ตั ิงำนบนกระเช้ำจะต้องสวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรำยส่วนบคุ คล คือ เข็มขดั นิรภยั

แบบครึ่งตวั และหมวกนิรภยั

5. พนกั งำนจะต้องเสียบงำรถโฟล์คลฟิ ท์ โดยปรับควำมกว้ำงของงำให้พอดีกบั ชอ่ งเสียบงำของกระเช้ำ

และต้องคล้องโซข่ องกระเช้ำกบั แผงงำของรถโฟล์คลฟิ ท์ทนั ทีเพื่อป้ องกนั กำรเคล่ือนท่ีของกระเช้ำ

6. พนกั งำนผ้ปู ฏิบตั ิหน้ำที่บนที่สงู ขนึ ้ ไปยืนบนกระเช้ำต้องปิดประตู และคล้องเขม็ ขดั นิรภยั กบั แผงของ

งำรถโฟล์คลฟิ ท์ทนั ที

7. เม่ือปฏิบัติเสร็จทุกครัง้ ต้องลดงำโฟล์คลิฟท์ลงและถอดกระเช้ำออกจดั เก็บในพืน้ ท่ีท่ีกำหนดให้

เรียบร้ อย 12

ความปลอดภยั ในการทางานท่อี บั อากาศ
กฏท่ีต้องปฏิบัติ

1. จดั ทำป้ ำยแจ้งข้อควำม “ ท่อี ับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า ” ให้มีขนำดมองเห็นเด่นชดั บริเวณ
ทำงเข้ำออกพนื ้ ท่ีอบั อำกำศทกุ แห่ง
2. ต้องขออนุญาตก่อนเข้าไปปฏิบัติงานทุกครัง้ โดยหวั หน้ำงำนจะต้องเป็ นผ้รู ับผิดชอบในกำร
ขออนญุ ำตเข้ำไปปฏบิ ตั ิงำน (Work Permit)
3. ผ้ปู ฏิบตั ิงำนในที่อบั อำกำศจะต้องผ่านรับการฝึ กอบรมการทางานในท่ีอับอากาศ พร้อมกบั
ได้รับบตั รประจำตวั ผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนในที่อบั อำกำศเทำ่ นนั้
4. ผู้ปฏิบัติงำนในที่อับอำกำศจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้ องกันอนั ตรำยส่วนบุคคลให้ครบถ้วน เช่น
รองเท้ำนริ ภยั , หมวกนริ ภยั , แว่นตำนริ ภยั เป็นต้น
5. ห้ามผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนทำงำนในท่ีอบั อำกำศโดยเดด็ ขำด หำกไมม่ ีผ้ชู ว่ ยเหลือท่ีได้รับกำรอบรมเฝ้ ำระวงั
หรือช่วยเหลือบริเวณทำงเข้ำ – ออก
6. กำรทำงำนในที่อบั อำกำศทกุ ครัง้ จะต้องมีผ้คู วบคมุ งำน และผ้ชู ่วยเหลือ เพื่อเฝ้ ำระวงั ด้ำนควำม
ปลอดภยั สำหรับผ้ปู ฏิบตั ิงำนในที่อบั อำกำศ
7. ก่อนเข้ำทำงำนในที่อบั อำกำศ ผ้คู วบคุมงำนจะต้องทำกำรตรวจสอบอปุ กรณ์ต่ำง ๆ ท่ีต้องใช้ใน
กำรทำงำนให้ครบถ้วน
8. ต้องทำกำรตรวจสอบอำกำศก่อนเข้ำไปปฏิบตั ิงำนในที่อบั อำกำศทกุ ครัง้ และต้องทำกำรตรวจวดั
อำกำศเป็นระยะ ๆ ตำมลกั ษณะงำน
9. ต้องทำกำรระบำยอำกำศด้วยพดั ลมระบำยอำกำศ ตลอดเวลำที่ปฏบิ ตั ิงำนในท่ีอบั อำกำศ
10. ห้ามผ้ทู ่ีไม่ผ่ำนกำรฝึ กอบรมกำรทำงำนในท่ีอบั อำกำศและไม่มีบตั รประจำตวั ผ้ปู ฏิบตั ิงำนในท่ี
อบั อำกำศเข้ำทำงำนโดยเด็ดขำด
11. ห้ามจดั วำงสิ่งของกีดขวำงทำงเข้ำ – ออกในพนื ้ ท่ีกำรทำงำนในท่ีอบั อำกำศโดยเดด็ ขำด

13

ความปลอดภยั ในการทางานเก่ียวกับสารเคมี
กฏท่ีต้องปฏิบตั ิ

1. อ่ำนฉลำกภำชนะท่ีบรรจุ และข้อมลู หรือสำรเคมี
อนั ตรำยก่อนกำรใช้งำนทกุ ครัง้
2. ปฏิบตั ติ ำมคำเตือนและข้อแนะนำอย่ำงเคร่งครัด
3. ใช้อุปกรณ์ป้ องกันอนั ตรำยส่วนบคุ คลทกุ ครัง้ ท่ีมี
กำรใช้สำรเคมี
4. ทำควำมสะอำดบริเวณท่ีปฏิบตั ิงำนทุกครัง้ ท่ีใช้
สำรเคมีเสร็จแล้ว
5. ปิดฝำบรรจสุ ำรเคมีให้แน่นทกุ ครัง้ ท่ีเลกิ ใช้
6 .ร ะ มัด ร ะ วัง ก ำ ร สูด ด ม ไ อ ร ะ เ ห ย จ ำ ก ก ำ ร
เกิดปฏกิ ิริยำเคมีเข้ำร่ำงกำย
7. ไม่ควรสมั ผสั กบั สำรเคมีอนั ตรำยด้วยมือเปล่ำ
8. ไม่ควรนำอำหำรเข้ำไปรับประทำนหรือสบู บหุ ร่ีใน
บริเวณทำงำนกับสำรเคมี เพรำะจะทำให้ได้รับ
สำรเคมีเพม่ิ ขนึ ้
9. กำรจัดเก็บสำรเคมี ต้ องจัดเก็บในพืน้ ที่ท่ี
กำหนดให้เทำ่ นนั้
10. หำกสำรเคมีเกิดกำรหกรั่วไหล ต้ องรีบแจ้ ง
หวั หน้ำงำน และปฏบิ ตั ิตำมแผนฉกุ เฉิน

14

ความปลอดภยั ในการทางานกับรถลากพาเลท
(Hand lift / Hand pallet)

1. ก่อนยกให้ตรวจสอบความม่ันคงของส่งิ ของบนพาเลท

2. ก่อนเคล่ือนย้ำย ให้ยกงาเหนือพืน้

3. ระหวำ่ งที่มีกำรเคลื่อนย้ำยให้เดนิ นา Hand Pallet เสมอ

4. หำกลำก Hand lift เปล่ำ ให้ปรับอย่ใู นระดบั ต่าสุด

5. หลงั จำกใช้งำนเสร็จ ให้เกบ็ ในจดุ ท่กี าหนดเท่านัน้

1. ห้ามใช้เป็นยำนพำหนะ
2. ห้ามใช้ในกำรบรรทกุ คน

15

ความปลอดภยั ในการทางานกับรถยกสูง
แบบเท้าเหยยี บ (Walking Stacker)

1. ตรวจสภำพก่อนใช้งำนเสมอ 2. เสียบงำนของ Walking Stacker ให้ลึกสุด

3. ยกงำเหนือพนื ้ ไมเ่ กิน 30 cm. ระหว่ำง 4. ล็อคล้อ ก่อนเหยียบคันยก เพ่อื ยกพำเลทใน

เคลื่อนย้ำย ระดบั ที่กำหนด

5. หำกมีกำรเคลื่อนย้ำยต้องดนั Stacker ไป 6. ระหวำ่ งที่มีเหยียบคนั ยก ต้องจบั ที่รำวจบั ด้วย
ด้ำนหน้ำเสมอ

การปฏบิ ตั ทิ ่ไี ม่ปลอดภัย

ห้ามยืนบนงำ ห้ามยืนใต้งำ ห้ามวง่ิ ขณะเคลื่อนย้ำย

16

การป้ องกันและระงบั อคั คภี ยั

องค์ประกอบของไฟ

ไฟจะติดเม่ือองค์ประกอบครบ 3 อย่าง ทำ

ปฏิกิริยำทำงเคมีต่อเนื่องเป็นลกู โซ่ ( Chain Reaction )

1. ออกซเิ จน ( Oxygen )ไม่ต่ำกวำ่ 16 % (ในบรรยำกำศ

ปกตจิ ะมีออกซเิ จนอย่ปู ระมำณ 21 %)

2. เชือ้ เพลงิ ( Fuel ) สว่ นท่ีเป็นไอ (เชือ้ เพลงิ ไม่มีไอ ไฟ

ไม่ตดิ )

ประเภทของไฟ 3. ความร้อน ( Heat ) เพียงพอทำให้เกิดกำรลกุ ไหม้

กำรแบง่ ประเภทของไฟตำมมำตรฐำน NFPA-1 มี 4 ประเภท คือ

Class A ไฟท่ีไหม้ประเภท กระดำษ หญ้ำ เศษไม้ พลำสตกิ เป็นต้น

Class B ไฟที่ไหม้ประเภทสำรไวไฟ เช่น นำ้ มนั ยำงมะตอย สำรไวไฟ เป็นต้น

Class C ไฟไหม้อปุ กรณ์ไฟฟ้ ำที่มีกระแสไฟไหลอยู่ ถ้ำอปุ กรณ์ตวั นนั้ ไม่มีกระแสไฟฟ้ ำจะกลำยเป็น
Class A

Class D ไฟไหม้ประเภทวตั ถขุ องแข็ง หรือโลหะไวไฟ เช่น แมกนีเซยี ม ไตตำเนียม สำหรับแมกนีเซยี ม
ห้ำมใช้นำ้ ดบั เด็ดขำด ต้องใช้เกลือหรือมรำย เป็นต้น

Class K Cooking Oil หรือ นำ้ มนั ทำครัวท่ีติดไฟ เชน่ นำ้ มนั ปำล์ม เพรำะนำ้ มนั ชนิดนีถ้ ือวำ่ เป็ นสำรเคมี
ชนิดนงึ ที่ตดิ ไฟได้และดบั ได้ยำกหำกเกิดกำรตดิ ไฟ

17

ประเภทของถังดับเพลงิ

1. ชนิดผงเคมีแห้ง (Dry Chemical)

2. ชนิดนำ้ ยำเหลวระเหย (BF2000 NON-CFC)

3. ชนดิ ก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

4. ชนดิ โฟม สำรเคมีภำยในบรรจโุ ฟม

5. ชนดิ นำ้ บรรจนุ ำ้ ภำยในถงั

18

วธิ ีการใช้ถังดบั เพลงิ

12

ดงึ สลักนิรภยั ดงึ ปลด

3 ปลดสายฉีด
4

กด ส่าย

กดท่คี ันบีบของสาย ส่ายปลายสายไปท่วั
ดบั เพลงิ บริเวณ

19

ขนั้ ตอนปฏิบตั กิ รณีเกิดเหตุเพลงิ ไหม้

เมื่อได้ยินเสียงสญั ญำณเพลิงไหม้ 1

ครัง้ ท่ี 1

หยดุ ปฏิบตั งิ ำนและอยใู่ นพืน้ ที่ที่ 2 ปฏบิ ตั ิงำนตำมปกติ

ปฏิบตั งิ ำนรอฟังประกำศเสียงตำมสำย

ประกำศเสียงตำมสำยรำยงำน 3 ควบคมุ สถำนกำร์ได้

สถำนกำรณ์

ควบคมุ สถำนกำร์ไม่ได้ 4

จดุ รวมพล มี 2 จดุ ปิดเคร่ืองจกั รและต้คู วบคมุ ในพนื ้ ท่ีปฏิบตั งิ ำน
1. จุดรวมพลหลัก : ข้ำง รอฟังเสียงสญั ญำณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ครัง้ ที่ 2
ศำลพระพรหม หน้ำโรงงำน
2. จุดรวมพลสารอง : 5
ด้ำนหลงั WH/FG2
ผ้ถู ือธงนำอพยพพนกั งำนไปยงั จดุ
รวมพล ตำมเส้นทำงที่กำหนด

6 ผ้นู บั จำนวน นบั จำนวนพนกั งำนแตล่ ะ

หน่วยงำน รำยงำนตอ่ หวั หน้ำงำน

7 รอฟังสถำนกำร์และดำเนินกำรจำก

หวั หน้ำงำน

20

ขนั้ ตอนการปฏิบัตกิ รณีก๊าซธรรมชาติ (NG) ร่ัวหรือระเบดิ

1. หยุดงำนต่ำง ๆ ที่กำลงั ทำอย่ใู นบริเวณท่ีมกี ำรร่ัวไหล
2. พนกั งำนตรวจสอบหำจดุ ท่ีมกี ำรรั่ว และทำกำรปิดวำล์วนิรภยั
3. พนกั งำนทำกำรกันพืน้ ท่ี ห้ำมผ้ไู ม่มีส่วนเก่ียวข้องเข้ำ และห้ำมกระทำกิจกรรมที่
ก่อให้เกิดประกำยไฟในพืน้ ที่
4. พนกั งำนแจ้งหวั หน้ำงำน เพื่อทำกำรประเมนิ สถำนกำรณ์
5. ถ้ำควบคมุ ได้ให้รำยงำนต่อผ้บู ริหำร
6.ถ้ำควบคมุ ไมไ่ ด้ให้แจ้งทีมฉุกเฉินประจำบริษัทฯ ทำกำรปิ ดวำล์ว เพ่ือหยุดกำรจ่ำย
NG
7. ทีมฉกุ เฉินประเมนิ สถำนกำรณ์และแจ้งตอ่ ผ้บู ริหำร
8. ผ้บู ริหำรทำกำรตดั สินใจในกำรใช้แผนอพยพ กรณีที่เหตุกำรณ์รุนแรงไม่สำมำรถ
ระงบั เหตไุ ด้

19

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตกิ รณีสารเคมีร่ัวไหล

1. พนกั งำนท่ีพบเหตสุ ำรเคมีหกรั่วไหลบนพนื ้ ท่ี ให้รีบแจ้งหวั หน้างาน
2. หัวหน้ำงำนกับพนักงำนในพืน้ ท่ี เข้ำตรวจสอบสถำนท่ีพบเหตุ ศึกษำ SDS หน้ำงำนและ
ประเมนิ สถำนกำรณ์ว่ำจะสำมำรถระงบั เหตไุ ด้หรือไม่
3. ถ้ำระงับเหตุได้ให้พนกั งำนในพืน้ ที่ทำกำรปิ ดกัน้ พืน้ ที่ ทีมงำนเตรียมอุปกรณ์จัดเก็บสำรเคมี
ร่ัวไหล และอปุ กรณ์ค้มุ ครองควำมปลอดภยั สว่ นบคุ คล พร้อมทำตำมขนั้ ตอนกำรดำเนนิ กำรจดั กำร
สำรเคมีรั่วไหล
4. ถ้ำระงบั เหตไุ มไ่ ด้ให้แจ้ง จป/ผ้จู ดั กำรโรงงำนเพอื่ ขอควำมช่วยเหลือจำกหน่วยงำนภำยนอก
5. รำยงำนผลตอ่ ผ้จู ดั กำรโรงงำนหรือผ้มู ีอำนำจสงู สดุ ณ ขณะนนั้

ขนั ้ ตอนกำรจดั เก็บสำรเคมหี กรั่วไหล

6. พนกั งำนที่อย่ใู นเหตกุ ำรณ์ใช้กรวยกนั้ เขตอนั ตรำย ห้ำมบคุ คลที่ไม่เก่ียวข้องเข้ำพนื ้ ที่
7. พนกั งำนสวมใสอ่ ปุ กรณ์ค้มุ ครองควำมปลอดภยั สว่ นบคุ คลให้ครบตำมท่ีกำหนด
8. พนกั งำนใช้วสั ดดุ ดู ซบั สำรเคมีท่ีหกร่ัวไหลใส่ในภำชนะปิดมดิ สนทิ
9. พนกั งำนทำควำมสะอำดพนื ้ ท่ีด้วยผ้ำสะอำดชบุ นำ้ และเช็ดให้แห้ง
10. พนกั งำนนำเศษวสั ดุ และสำรเคมีที่ได้จำกกำรดดู ซบั ทงิ ้ แยกตำมประเภทขยะท่ีบริษัทกำหนด
11. ตรวจสอบควำมเรียบร้อยของพนื ้ ที่

22

ขัน้ ตอนปฏบิ ตั เิ ม่อื เกดิ อุบตั เิ หตุ

Accident

แจ้งหวั หน้างานประจากะ แจ้งจนท.ความปลอดภยั

ปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น ดขี นึ้

ประเมนิ อาการ

ไม่ ดีขนึ ้

ตดิ ต่อรปภ.เพ่อื ใช้รถ
นาส่งรพ.

ตดิ ต่อรปภ.เพ่อื ใช้รถ กลับมาทางาน
นาส่งรพ.

กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ตดิ ตอ่ เจ้ำหน้ำที่ควำมปลอดภยั ท่ีเบอร์ 101 หรือหมำยเลขฉกุ เฉิน

ที่ตดิ ข้ำงโทรศพั ท์ในแตล่ ะพืน้ ท่ี 23

การรายงานการสอบสวนวเิ คราะห์อุบตั เิ หตุ/อุบตั กิ ารณ์

เม่ือเกิดหรือพบ แจ้งหวั หน้างาน/จป.
อุบัตเิ หตุ หัวหน้างาน หรือ จป.ทันที

ผู้เก่ยี วข้องทกุ ท่าน เช่น
หวั หน้างาน ผู้ประสบ
เหตุ พยาน จป. เป็ นต้น

เขยี นรายงานผลการ ทาการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
สอบสวน

ทาการสอบสวนอุบตั เิ หตุ รายงานต่อผู้บังคบั บญั ชา

24

อุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคล

อุปกรณ์ป้ องกันศีรษะ อุปกรณ์ป้ องกนั เท้า อุปกรณ์ป้ องกนั ดวงตา

หมวกนริภัย สวมใส่เพื่อ สำมำรถป้ องกันอนั ตรำย เป็นกำรป้ องกนั อนั ตรำย
ป้ อ ง กั น วั ส ดุ ต ก ห รื อ ในรูปแบบต่ำงๆที่อำจเกิด จำกเศษผงหรือวสั ดตุ ่ำง ๆ
กระเด็นใส่ศีรษะ ซ่ึงเป็ น ขึน้ กับเท้ำของปฏิบตั ิงำน กระเดน็ เข้ำส่ดู วงตำ และ
ส่วนท่ีบอบบำงมำก เม่ือ เ ช่ น วัต ถุท่ิ ม ห รื อ แ ท ง ใบหน้ำ หรือป้ องกนั รังสีท่ี
เกิดกำรกระทบกระเทือน กระแสไฟฟ้ ำ ควำมร้ อน เป็นอนั ตรำยตอ่ สำยตำ
แม้ เพียงเล็กำน้ อยอำจจะ เคร่ืองจกั ร รวมถงึ สำมำรถ

มีผลถึงขนั้ เสียชีวติ ได้ ป้ องกนั กำรล่ืนไถลได้

อุปกรณ์ป้ องกนั การได้ยนิ อุปกรณ์ป้ องกันทางเดนิ หายใจ อุปกรณ์ป้ องกนั มือ

เป็ นอุปกรณ์ท่ีสวมใส่เพื่อ เป็ นอุปกรณ์ช่วยป้ องกัน ตัวช่วยป้ องกันส่วนมือ
ลดควำมดงั ของเสียงท่ีจะ อัน ต ร ำ ย จ ำ ก ม ล พิ ษ / และข้อมือ ลดควำมเส่ียง
ม ำ ก ร ะ ท บ ต่ อ แ ก้ ว หู สำรพิษก่อนเข้ำส่รู ่ำงกำย อัน ต ร ำ ย จ ำ ก ข อ ง มี ค ม ,
กระดูกหู ซึ่งเป็ นกำร ผ่ำนกำรหำยใจเข้ำส่ปู อด ควำมร้ อน-เย็น, สำรเคมี
ป้ องกนั หรือลดอนั ตรำย ที่ ได้ แก่ อนุภำค ฝ่ ุน ก๊ ำซ
และไฟฟ้ ำ
มีตอ่ ระบบกำรได้ยิน ฟมู เส้นใย ไอระเหย

25

อุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคล (ต่อ)
ชุดป้ องกันไฟฟ้ าสถติ (ESD)

- ชว่ ยป้ องกนั กำรสะสมตวั ของเส้นใย / อนภุ ำค มีคณุ ภำพและ
คณุ สมบตั กิ ำรป้ องกนั สงู สดุ เชน่ การควบคุมอนุภาค ความ
ต้านทานของเหลว กรองเชือ้ แบคทเี รีย และ ป้ องกนั
ไฟฟ้ าสถติ (ESD) สำหรับหนว่ ยงำนและธรุ กิจตำ่ งๆ รวมไป
ถึง ธรุ กิจเกี่ยวกบั อปุ กรณ์กงึ่ ตวั นำ ไมโครอเิ ล็กทรอนิกส์ เภสชั
กรรม ชีววิทยำศำสตร์ อปุ กรณ์กำรแพทย์ กำรบินและอวกำศ
อำหำร และธรุ กิจอ่ืนๆ ท่ีสอดคล้องกนั

หมวกแก๊ปคลุมผม

เป็นหมวกสำหรับอตุ สำหกรรมอำหำร
ป้ องกนั เส้นผมหลดุ ล่วงลงผลิตภณั ฑ์สินค้ำ

หมวกคลุมผมใยสังเคราะห์

ใช้ป้ องกนั กำรหลดุ ร่วงของเส้นผม, ฝ่ นุ ละออง และสิง่
แปลกปลอมได้ดี เหมำะสำหรับเหมำะสำหรับใช้ใน
โรงพยำบำล โรงงำนอตุ สำหกรรมเกี่ยวกบั งำนอิเลค็ ทรอนิคส์
เครื่องสำอำง รถยนต์ อำหำรฯ

26

หลักการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น

กำรปฐมพยำบำล (First Aid) คือ กำรชว่ ยเหลือผ้บู ำดเจ็บ ณ ท่ีเกิดเหตโุ ดยใช้อปุ กรณ์ที่หำ
ได้ก่อนนำสง่ โรงพยำบำล

การประเมนิ ผู้ป่ วย ขอควำมช่วยเหลือ : ถ้ำไม่มีกำรตอบสนอง

 สำรวจกำรบำดเจบ็ ขนั้ ท่ี 1

ประเมนิ ควำมรู้สกึ : เรียก ปลกุ เขย่ำตวั

ตรวจกำรหำยใจ : เปิดทำงเดนิ หำยใจ ใช้สนั มือกดหน้ำผำก และ 2 นิว้ เชยคำงยกขนึ ้ ให้แหงน
หน้ำ เพ่ือดูว่ำกำรหำยใจปกติหรือไม่โดยใช้ ตำดู หฟู ัง แก้มสมั ผสั หรือใช้มือวำงท่ีท้องเพื่อดู
กำรหำยใจ

 สำรวจกำรบำดเจ็บขนั้ ที่ 2
รู้สกึ ตวั : สมั ภำษณ์ผ้บู ำดเจ็บ

23

หลักการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น (ต่อ)

รู้สกึ ตวั : ตรวจกำรหำยใจ ชีพจร อณุ หภมู ิ

รู้สกึ ตวั : ตรวจสภำพร่ำงกำยทว่ั ไป ศีรษะจรดเท้ำ

บาดแผลและการห้ามเลือด

 กำรเสียเลือด
มี 2 ชนดิ คือ
1. กำรเสียเลือดภำยใน (Internal Hemorrhage)เช่น แผลท่ีช่องอก ชอ่ งท้อง เป็นต้น
2. กำรเสียเลือดภำยนอก (External Hemorrhage) เช่น แผลที่แขน ขำ ลำตวั ศีรษะ เป็ นต้น
อวยั วะภำยในอำจได้รับบำดเจบ็ ด้วย
 วธิ ีกำรห้ำมเลือด
วธิ ีกำรห้ำมเลือดกดบนบำดแผลโดยตรง
1. ใช้ผ้ำสะอำดกดบนแผล 5-10 นำที ถ้ำผ้ำชมุ่ เลือดให้เอำผืนใหม่ปิดทบั
2. ใช้นวิ ้ มือหรือมือที่สวมถงุ มือกดบนแผลโดยตรง

28

สัญลักษณ์สีท่ีเก่ียวข้องกับความปลอดภยั ในการทางาน

สี/สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่าง

เตือน / ระวงั มีอนั ตรำย - ระวงั สำรเคมีอนั ตรำย
- ระวงั ไฟฟ้ ำแรงสงู
- ทรงสำมเหลี่ยม พนื ้ สีเหลือง - ระวงั อนั ตรำยจำกเคร่ืองจกั ร
เส้นขอบและตวั หนงั สือสีดำ - ระวงั ของมีคม

บงั คบั ให้ต้องปฏบิ ตั ิ - บังคับให้ ต้ องสวมอุปกรณ์
ป้ องกนั ส่วนบคุ คล
- เครื่องหมำยบงั คบั / แนะนำ

- ทรงกลม พนื ้ สีนำ้ เงนิ
เส้นขอบและตวั หนงั สือสีขำว

แสดงสภำวะปลอดภยั - ทำงหนีไฟ
- ทำงออกฉกุ เฉิน
- ทรงสี่เหล่ียม พนื ้ สีเขียว - โทรศพั ท์ฉกุ เฉิน
- ห้องพยำบำล
- อ่ำงล้ ำ งต ำ /ฝั ก บัวชำร ะ
ฉกุ เฉิน

หยดุ / ห้ำม - ห้ำมถ่ำยรูป
- ห้ำมทำนอำหำร
- ทรงกลม มีแถบคำดทบั สี - ห้ำมสบู บหุ ร่ี,
แดง ตวั หนงั สือสีขำว - ห้ำมตรงไป
- หยดุ ตรวจ
- จำกดั ควำมเร็ว

29

กจิ กรรม 5 ส

กิจกรรม 5ส เป็นกระบวนกำรหนง่ึ ที่เป็นระบบมีแนวปฏบิ ตั ิ ที่เหมำะสมสำมำรถนำมำใช้เพ่ือ
ปรับปรุงแก้ไขงำนและรักษำสิ่งแวดล้อมในสถำนท่ีทำงำนให้ดีขึน้ ทงั้ ในส่วนงำนด้ำนกำรผลิต
และด้ำนกำรบริกำร ซง่ึ นำมำใช้ในกำรเพมิ่ ประสทิ ธิภำพกำรทำงำนขององค์กรได้อีกทำงหนงึ่

สะสาง Seiri (เซริ) คือ กำรแยกระหว่ำง
ของที่จำเป็ นต้องใช้กบั ของท่ีไม่จำเป็ นต้อง
ใช้ขจดั ของท่ีไม่จำเป็นต้องใช้ทงิ ้ ไป

สะดวก Seiton (เซตง) คือ กำรจดั วำง
ของท่ีจำเป็ นต้ องใช้ ให้ เป็ นระเบียบสำมำรถ
หยิบใช้งำนได้ทนั ที

สะอาด Seiso (เซโซ) คือกำรปัดกวำด
เช็ดถูสถำนที่ สิ่งของ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ
เคร่ืองจกั ร ให้สะอำดอย่เู สมอ

สุขลักษณะ Seiketsu (เซเคทซ)ึ คือ กำร
รักษำและปฏิบตั ิ 3 ส ได้แก่ สะสำง สะดวก
และสะอำดให้ดีตลอดไป

สร้างนิสัย Shitsuke (ซทึ ซเึ คะ) คือ กำร
รักษำและปฏิบตั ิ 4 ส หรือส่ิงท่ี กำหนดไว้
แล้วอย่ำงถกู ต้องจนตดิ เป็นนิสยั

30

การจัดการส่ิงแวดล้อม

ขยะ คือ สิ่งของหรือเศษวสั ดเุ หลือใช้ หรือส่ิงที่เรำไม่ต้องกำรและต้องมีกำรกำจดั ทิง้ แบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภทคือ
1. ขยะท่ัวไป คือ ขยะจำกอำคำรสำนกั งำน เศษอำหำรจำกโรงอำหำร และขยะที่ปลอดเชือ้
จำกห้องแลป
2. ขยะรีไซเคิล หมำยถึง ของเสียที่เกิดจำกกระบวนกำรผลิตและของเสียจำกวัตถุดิบ เช่น
ผลติ ภณั ฑ์ที่ไม่ได้คณุ ภำพ บรรจภุ ณั ฑ์ต่ำงๆ ท่ีไม่ปนเปื อ้ นสำรอนั ตรำย หรือส่ิงต่ำงๆท่ีสำมำรถ
นำไปรีไซเคิลได้
3. ขยะอันตราย หมำยถึง บรรจุภัณฑ์ที่ปนเปื ้อนสำรอันตรำย หรือขยะต่ำงๆ ท่ีมีสำร
อนั ตรำยปนเปื อ้ น

31

เบอร์โทรตดิ ต่อฉุกเฉิน

หนว่ ยงำนภำยใน
เบอร์โทรตดิ ตอ่ สำมำรถดไู ด้ที่ป้ อมรปภ.และตำมจดุ ตำ่ งๆข้ำงโทรศพั ท์ในบริษทั

หนว่ ยงำนสนบั สนนุ (ภำยนอก)

1 สอ.วีระศกั ด์ิ ศริ ิโวหำร 086-8311986

2 คณุ กมั พล กองนอก 084-1036256

3 คณุ ปรีญำกรณ์ ชยั ชมู นิ ทร์ 087-4961134, 098-1150007

- สถำนีตำรวจ 038-451111-2, 038-451978
1 สภ.พำนทอง

2 พต.ณพล นำมนำรถ ผกก.สภ.อ.พำนทอง 081-3401244

- อมตะวอเตอร์ (กำรประปำ) ภำยในอมตะนคร

1. สว่ นกลำง 081-8540734

- สถำนีดบั เพลงิ

1. เทศบำลหนองตำลงึ 038-206199, 038-206592

- กำรไฟฟ้ ำ

1. สำยดว่ นแจ้งไฟฟ้ ำขดั ข้อง 1129

2. กำรไฟฟ้ ำสว่ นภมู ภิ ำค อ.พำนทอง 038-451146, 038-447467

- เบอร์โทรศพั ท์ฉกุ เฉินของอมตะนคร

1. ศนู ย์วิทยอุ มตะนคร 038-213191

2. ศนู ย์บรรเทำสำธำรณะภยั อมตะนคร 038-213009

- สถำนพยำบำล

1. โรงพยำบำลชลบรุ ี 038-934489 , 038-931534

2. โรงพยำบำลเอกชล 1 038-939999 , 038-278407

3. โรงพยำบำลเอกชล 2 038-939888

4. โรงพยำบำลพำนทอง 038-451118

5. โรงพยำบำลพนสั นิคม 038-461134-7

6. โรงพยำบำลวิภำรำมอมตะนคร 038-316999

- เจ เจ ฟอร์ซ (รักษำควำมปลอดภยั )

1. คณุ สริ สิงห์ สมบรู ณ์ธนรักข์ 086-3306751

2. สำยตรวจ พงศธร 085-9142202

3. สำยตรวจ วินยั 086-3236856

32

33

โรงงานทขี่ าดความปลอดภยั ย่อมให้ผลผลติ
2 อย่าง คือ

“ผลิตสินค้าด้อยคุณภาพและผลิตคนพิการแก่
สังคม”

34

THANK YOU


Click to View FlipBook Version