The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มืองานเชื่อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthakan1962541, 2021-03-21 20:50:11

คู่มืองานเชื่อม

คู่มืองานเชื่อม

คู่มือความปลอดภยั ในงานเช่ือม

บริษัท ไทยลอตเต้ จากดั

จดั ทำโดย
ณฐั กำนต์ กำไชย
Trainee Safety

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมไฟฟ้ า

อนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขนึ้
ขณะปฏิบัตงิ าน

อันตรายท่เี กดิ จากธรรมชาติ อันตรายท่เี กดิ จากภายในงาน
(Inherent Hazard) เช่ือม (Latent Hazards)

อนั ตรายท่เี กดิ จากธรรมชาติ (Inherent Hazards)

อนั ตรำยที่เกิดจำกธรรมชำติของกำรเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้ ำ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนเช่ือมจะต้องศกึ ษำให้
เข้ำใจ เพ่ือป้ องกนั ไม่ให้เกิดอนั ตรำยตอ่ ตนเองและผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องดงั นี ้

1. อันตรายท่เี กิดอาการช๊อกจากกระแสไฟฟ้ า
(ELECTRIC SHOCK)

อำกำรช๊ อกท่ีเกิ ดจำกสำยดินหรื อกำรสัมผัสกับ
กระแสไฟฟ้ ำ อันเนื่องมำจำกควำมชืน้ ของถุงมือ,เสือ้ ,พืน้ หรือ
ควำมเปี ยกชืน้ ทว่ั ๆ ไปจะต้องคอยระมดั ระวงั ถ้ำเกิดอำกำรช๊อก
จะช่วยตัวเองไม่ได้ จะมีกำรกระตุกถึงขัน้ บำดเจ็บและ
เสียชีวติ เพรำะฉะนนั ้ ไม่ควรจะเข้ำไปจบั สมั ผสั หรือเข้ำไปต่อใน
วงจรของกระแสซง่ึ จะมผี ลเชน่ เดียวกนั กบั ผ้ถู กู กระแสไฟช๊อก คือ
มีอนั ตรำยถงึ ชีวิตได้เช่นกนั

2. อันตรายท่ีเกิดจากการถูกเผาไหม้(BURNS)
อนั ตรำยจำกกำรเผำไหม้จะมีสำเหตุจำกควำมผิดพลำด

ของผู้ปฏิบัติงำนโดยตรง อำจจะมำจำกเสือ้ ผ้ำที่สวมใส่ หรือ
อุปกรณ์ป้ องกันตัวอื่น เช่น หน้ำกำก, ถุงมือ เสือ้ เอีย้ มหนัง ส่วน
ใหญ่แล้วกำรถูกเผำไหม้จะมำจำกควำมร้ อนของรังสีที่เกิดจำก
เปลวอำร์ก ขณะทำกำรเชื่อมหรือสมั ผสั กบั ชิน้ งำนเชื่อมซึ่งมีควำม
ร้อนสงู ทำให้เกิดกำรบำดเจ็บขนึ ้ ได้

3. อันตรายท่ีเกดิ จากพลังงานรังสี (RADIANT ENERGY)
กำรปฏิบตั ิงำนเช่ือมจะเกิดพลงั งำนรังสีขึน้ 4 ระดบั รังสีที่

มองเห็น (Visible Light Rays) สำมำรถมองเห็นได้ด้วยตำเปลำ่ มี
ควำมถี่อยใู่ นช่วง 400-750 u เมือ่ ถกู รังสีชว่ งนีจ้ ะทำให้ตำมวั และมืด
ไปพักหน่ึง อนั เนื่องจำกช่ำงเชื่อมปิ ดหน้ำกำกไม่ทัน หรือไม่มีเลนซ์
ป้ องกันที่เหมำะสมหรือไปอยู่ใกล้เคียงกับบริเวณที่ทำกำรเช่ือม
อำร์ก ทำให้ประสำทตำระคำยเคืองและอำจทำให้ตำบอดได้ ในกำร
เชื่อมด้วยรังสีเลเซอร์ ก็จะทำให้เกิดตำบอดได้ ถ้ำลำแสงเลเซอร์ไป
กระทบตำเข้ำไมว่ ำ่ จะกินเวลำเลก็ น้อยก็ตำม ดงั นนั ้ ในกำรปฏิบตั ิกำร
เชื่อมด้วยรังสีเลเซอร์จะต้องวำงมำตรกำรกำรป้ องกันอย่ำงดีและมี
อปุ กรณ์ป้ องกนั ท่ีถกู ต้องเหมำะสม

อนั ตรายท่แี ฝงอยู่ในระบบการเช่อื ม (LATENT HAZARD)

1. ควันและฝ่ ุนเช่อื ม (WELDING FUMES&WELDING DUSTS )
ควนั และฝ่ นุ เช่ือมเป็ นสว่ นที่มีขนำดเลก็ ในระดบั จลุ ภำคท่ีติดเข้ำไป

กับลมหำยใจและสะสมอยู่ในช่องว่ำงของปอดจนกระท่ังปอดอักเสบ
จนถึงขัน้ เป็ นมะเร็งในปอด อำกำรไข้ที่เกิดจำกควันของโลหะเป็ น
อันตรายสูงสุดอันหนึ่งในงำนเชื่อม ซึ่งเกิดจำกกำรเปล่ียนรูปฟอร์ม
อ๊อกไซด์ของโลหะประเภทต่ำง ๆเช่น สงั กะสีออกไซด์สำหรับเคลือบผิว
โลหะ สำรแคลเซ่ียมฟลูออไรด์ (CaF2) ท่ีละเอียดอ่อน ซึ่งเกิดจำกสำร
พอกห้มุ แกนลวดเชื่อมที่เป็ นด่ำง (Basic Coated Lime-Fluoride or
Low-Hydrogen) ไม่สะลำยตัวในสภำวะปกติ มีควำมละเอียดอ่อน
แต่มีปฏิกิริยำสงู เมื่อผสมกับบรรยำกำศที่มีควำมชืน้ จะทำให้เกิดกรด
ไฮโดรฟลอู อริค (HF) สงู มำก หำกเข้ำส่รู ะบบกำรหำยใจและสะลำยใน
ร่ำงกำยมีปริมำณท่ีพอเหมำะจะเกิดอำกำรเจบ็ ป่ วยได้เร็วมำก

2. แก๊ส (GASES)
แก๊สอำจจะเกิดขนึ ้ ได้ในระหว่ำงกำรปฏิบตั งิ ำนเช่ือม โดยทว่ั ๆ ไป

จะเกิดแก๊สคำร์บอนมอนอกไซด์ , โอโซนและอ๊อกไซด์ของไนโตรเจน ซึ่ง
จะก่อให้เกิดอนั ตรำย ดงั นี ้

2.1 ก่อให้เกิดกำรอกั เสบที่ปอด(Inflammation of the Lung)
2.2 นำ้ ท่วมปอด(Pulmonary Edema)ปอดบวมและมนี ำ้ สะสม
2.3 สญู เสยี กำรยืดหย่นุ ของปอด(Emphysema)
2.4 หลอดลมอกั เสบเรือ้ รัง(Chromic Bronchitis)

ข้อปฏบิ ัตใิ นการเช่อื มโลหะด้วยไฟฟ้ า

1. ตรวจสอบสอบชิน้ ส่วนของอุปกรณ์กำรเช่ือมโลหะให้มีควำมสมบูรณ์ในกำรใช้งำน
โดยเฉพำะอย่ำงย่งิ ระบบไฟฟ้ ำ
2. ปิดเคร่ืองเชื่อมทกุ ครัง้ หลงั จำกหยดุ กำรเช่ือมและเคลื่อนย้ำยเครื่องเชื่อม
3. สวมหน้ำกำกและเลือกกระจกแสงให้ถกู ต้องทกุ ครัง้ ในกำรเช่ือม
4. สวมอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรำยสว่ นบคุ คลให้เหมำะสมกบั ลกั ษณะงำน
5. ผ้ทู ี่อย่บู ริเวณใกล้เคียงไม่ควรมองแสงอำร์กด้วยตำเปลำ่
6. บริเวณงำนเชื่อมควรมีฉำกป้ องกนั แสงอำร์ก เพอื่ มใิ ห้รบกวนบคุ คลอ่ืน
7. บริเวณทำงำนเชื่อมไมค่ วรเปี ยกชืน้ เพรำะจะทำให้ไฟฟ้ ำดดู ผ้ปู ฏิบตั งิ ำน และบคุ คลอ่ืนได้
8. บริเวณทำงำนเช่ือมจะต้องปรำศจำกสำรไวไฟชนิดต่ำง ๆ
9. เครื่องเช่ือมไฟฟ้ ำควรจดั ตงั้ ในที่มีอำกำศถ่ำยเทได้สะดวก

อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมแก๊ส

กำรเช่ือมชืน้ งำนโดยใช้พลงั งำนควำมร้อนจำกกำรสนั ดำปของแก๊สเชือ้ เพลงิ
(Fuel Gas) เชน่ ก๊ำซปิโตรเลียมเหลว (LPG) อะเซทิลนี (C2H2) หรือไฮโดรเจน (H2) กบั
ออกซิเจน (O2) ที่หวั เช่ือมแก๊ส (Torch)

อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเช่อื มแก๊ส

ถงั ออกซเิ จน ถังอะเซทลิ ีน

มาตรวัดความดนั มาตรวัดออกซเิ จน

มาตรวดั อะเซทลิ ีน สายยางลาเลียง
แก๊ส
หวั ผสมแก๊ส
(ทอร์ ช) หวั เช่ือม (ทอร์ช)

อุปกรณ์จุดไฟแก๊ส

อนั ตรายท่เี กดิ จากการเช่ือมโดยใช้แก๊ส

อนั ตรำยที่อำจเกิดขนึ ้ อำจเกิดปรำกฏกำรณ์ไฟย้อนกลบั (Flashback) ท่ีหวั เช่ือม
แก๊ส กำรเกิดไฟลกุ ไหม้หรือระเบดิ ที่อปุ กรณ์ขณะทำกำรเชื่อมแก๊ส เชน่ กำรระเบิดท่ี Torch หรือกำร
ระเบดิ ของสำยแก๊สหรือสำยออกซเิ จน (Hoses) ท่ีตอ่ ระหว่ำง Torch กบั Regulators หรือ
กำรระเบิดท่ี Regulators และรุนแรงท่ีสดุ คือ กำรระเบดิ ท่ีถงั ออกซเิ จนหรือถงั แก๊สเชือ้ เพลิงล้วน
แต่มีสำเหตมุ ำจำกกำรเกิดปรำกฏกำรณ์ไฟย้อนกลบั (Flashback) ทงั้ สิน้

ข้อปฏบิ ตั ใิ นการเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส

1. ก่อนเคล่ือนย้ำยถงั แก๊ส/ลม ต้องถอดหวั ปรับควำมดนั ออกและขณะเคลื่อนย้ำยต้อง
ปิดฝำครอบหวั ถงั ดวั ยทกุ ครัง้ ห้ำม แบก-กลงิ ้
2. ตรวจสำยของถงั แก๊ส/ลม เสมอๆ และทกุ ครัง้ ก่อนนำออกใช้ สำยต้องไมร่ ่ัวแตก ข้อ
ตอ่ ต้องไมห่ ลวม และห้ำมใช้สำยท่ีมีรอยไหม้
3. ก่อนตดั แก๊สต้องแน่ใจว่ำไมม่ วี สั ดตุ ิดไฟอย่ใู กล้บริเวณท่ีจะทำกำรตดั
4. เม่ือต้องกำรวำงสำยลม สำยแก๊ส ข้ำมทำงผ่ำน ต้องแขวนไว้สงู เหนือศรีษะ หรือต้อง
ใช้ไม้วำงกัน้ ทัง้ สองข้ำงเพื่อกันคนหรือกันรถทับ และไม่ให้สำยลมและแก๊สอยู่ใกล้
สำยไฟ
5. หวั ตดั ต้องมีวำล์วกนั ไฟกลบั (CHECK VALVE)
6. หัวตัดแก๊ ส,หัวปรับควำมดันต้ องอยู่ในสภำพดีถ้ ำเกิดข้ อบกพร่องต้ องแจ้ ง
ผ้บู งั คบั บญั ชำ เพื่อรับกำรซ่อมแซมทนั ที
7. หลงั จำกเลกิ ใช้แก๊ส จะต้องปิดแก๊สในถงั เสยี ก่อนแล้วปลอ่ ย
แก๊สท่ีค้ำงอยใู่ นทอ่ ทงิ ้

ปลอดภยั ไว้กอ่ น


Click to View FlipBook Version