The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chethimar Kasiwong, 2019-11-24 07:13:45

vichit book

vichit

2



CONTENT
• สารบัญ •

• ประวตั กิ ารศกึ ษา 5

• ประสบการการทำ� งาน 6-9

• ชวี ติ กบั ความสำ� เรจ็ 10 - 11

• ชวี ติ ในรว้ั มหาวทิ ยาลยั 12 - 13

• ชวี ติ ของการทำ� งาน 14 - 15

• เรยี นรงู้ าน...พฒั นาคน 16 - 17

• มงุ่ มนั่ ตามอดุ มการณ ์ 18 - 19

• มมุ มองผบู้ รหิ าร 20 - 21

• การทำ� งานคอื การเรยี นร ู้ 22 - 23

• ปณธิ านของเราคอื “องคก์ รตอ้ งอยรู่ อด” 24 - 25

• ความในใจ

- คณุ วรี วฒั น์ ศรนี รดษิ ฐเ์ ลศิ 26 - 27

- คณุ นเรศว์ อว้ิ ศรสี กลุ 28 - 29

- คณุ จรี ภา วฒั นชยั 30 - 31

EDUCATIONAL • ประวัติการศึกษา • สถาบนั
BACKGROUND มหาวทิ ยาลัย
คณุ วฒุ ิ สาขา
ปจี บ ระดบั การศกึ ษา บูรพา
มหาวทิ ยาลยั
2009 ปรญิ ญาโท/ บธ.ม. บรหิ ารธรุ กจิ ธรรมศาสตร์
เทียบเทา่ (บริหารธุรกิจ) จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
2005 วฒุ อิ ่นื ๆ - MINI MBA
เฉพาะงาน

1982 ปรญิ ญาโท/ วท.ม. วทิ ยาศาสตร์
เทียบเทา่ (วทิ ยาศาสตร์) ทั่วไป

5

EWXOPERRKIEINNCGE • ประสบการณ์การทำ�งาน •

วนั ท่ ี เหตกุ ารณ์/เหตผุ ล บริษทั /ขอบเขตบุคคล ตำ� แหน่ง/หน่วยงาน

1 มนี าคม 2562 แตง่ ต้ังต�ำแหนง่ / บมจ. ไออารพ์ ซี ี รอง กจญ./
1 มกราคม 2562 ผ.บริหารระดบั สงู ส�ำนักงานระยอง GRO IOE
เปล่ยี นชือ่ ตำ� แหน่ง/ บมจ. ไออาร์พซี ี ผช.กจญ./LIN IC
1 มกราคม 2562 หน่วยงาน/เปลยี่ นช่อื ส�ำนกั งานระยอง
ผช.กจญ./LIN IC
หน่วยงาน บมจ. ไออาร์พซี ี
สำ� นักงานระยอง
โอนย้าย/
ภายในบรษิ ัท

1 มกราคม 2562 เลือ่ นระดับ PG/ บมจ. ไออาร์พีซี ผช.กจญ./LIN OS
ตำ� แหน่งเดิม ส�ำนกั งานระยอง

1 มกราคม 2560 โอนย้าย/ บมจ. ไออาร์พีซี ผช.กจญ.(100.00)/
ภายในบรษิ ัท สำ� นกั งานระยอง LIN OS
บมจ. ไออาร์พซี ี
1 มกราคม 2559 แต่งตง้ั ตำ� แหน่ง/ สำ� นักงานระยอง รก.กจก.(0.00)/
ผ.บริหารระดบั สงู COM MD
บมจ. ไออาร์พีซี
1 มกราคม 2557 ปรบั โครงสรา้ ง ส�ำนกั งานระยอง ผช.กจญ.(40.00)/
องคก์ ร บมจ. ไออาร์พซี ี LIN PE
ส�ำนกั งานระยอง
1 มกราคม 2555 รักษาการ/ รก.กจก.(30.00)/
แทน COM MD

รก.กจก.(30.00)/
COM MD

ผช.กจญ.(51.00)/
LIN PE

รก.กจก.(49.00)/
COM MD

ผช.กจญ.(51.00)/
LIN O1

รก.กจก.(49.00)/
COM MD

6

วันที่ เหตุการณ/์ เหตผุ ล บริษัท/ขอบเขตบุคคล ตำ� แหน่ง/หนว่ ยงาน คำ� สงั่

15 พฤษภาคม 2555 เล่อื นระดับ PG/ บมจ. ไออารพ์ ซี ี ผช.กจญ./ -
ต�ำแหนง่ เดมิ สำ� นกั งานระยอง LIN O1 ค�ำส่ังกรรมการ
บมจ. ไออาร์พซี ี ผช.กจญ./ ผจู้ ัดการใหญ่
15 พฤษภาคม 2555 แต่งตง้ั ต�ำแหน่ง/ ส�ำนกั งานระยอง LIN O1 ฉบับที่ 055/2555
ผ.บริหารระดับสงู บมจ. ไออารพ์ ซี ี MEMO การปรับ
สำ� นกั งานระยอง ระดบั พนกั งาน
บมจ. ไออาร์พซี ี
1 พฤษภาคม 2555 พน้ รักษาการ สำ� นักงานระยอง รก.ผช.กจญ./ คำ� ส่ังกรรมการ
บมจ. ไออารพ์ ซี ี LIN O1 ผจู้ ัดการใหญ่
สำ� นกั งานระยอง ฉบับท่ี 039/2555

13 กมุ ภาพนั ธ์ 2555 โอนย้าย/ บมจ. ไออารพ์ ซี ี รก.ผช.กจญ. ค�ำสงั่ กรรมการ
ภายในบรษิ ัท สำ� นักงานระยอง (60.00)/LIN O1 ผ้จู ัดการใหญ่
บมจ. ไออารพ์ ซี ี กจก.(40.00)/COM ฉบบั ที่008/2555
ส�ำนกั งานระยอง
บมจ. ไออาร์พีซี MD
สำ� นักงานระยอง
1 พฤษภาคม 2554 เล่อื นระดับ PG/ บมจ. ไออาร์พซี ี รก.ผช.กจญ. -
ต�ำแหนง่ เดมิ ส�ำนักงานระยอง (60.00)/COM CEO
ผจญ.(40.00)/COM -
1 ตลุ าคม 2252 เรม่ิ ใช้ PG ใหม่/ -
ต�ำแหน่งเดิม VP -
-
18 มถิ นุ าคม 2552 แต่งต้งั ต�ำแหน่ง/ VP(51.00)/DEP LO
ผ.บริหารระดับสูง VP(ACT.)(49.00)/DE

18 มถิ นุ าคม 2552 รักษาการ P TF
VP(51.00)/DEP LO
18 มถิ นุ าคม 2552 ปรับโครงสร้าง VP(ACT.)(49.00)/DE
องคก์ ร
P TF
VP(51.00)/DEP LO
VP(ACT.)(49.00)/DE

P TF
VP(51.00)/DEP LO
VP(ACT.)(49.00)/DE

P TF

7

วนั ท่ี เหตกุ ารณ์/เหตุผล บรษิ ัท/ขอบเขตบุคคล ตำ� แหนง่ /หนว่ ยงาน คำ� สง่ั
-
1 พฤษภาคม 2552 เปล่ยี นช่ือตำ� แหน่ง/ บมจ. ไออาร์พซี ี ACM/DEP C4
หนว่ ยงาน/ เปล่ียนชือ่ สำ� นักงานระยอง ACM/DIV C4 -
หน่วยงาน บมจ. ไออารพ์ ซี ี
ส�ำนักงานระยอง
19 พฤศจกิ ายน 2550 ปรบั โครงสร้าง
องค์กร

1 มกราคม 2549 โอนยา้ ย/ บมจ. ไออาร์พีซี A.COM.MGR./COM -
ภายในบริษทั
ส�ำนักงานระยอง 4

1 มกราคม 2549 แต่งตัง้ ต�ำแหน่ง/ บมจ. ไออาร์พซี ี A.COM.MGR./COM -
ผ.บริหารระดบั สงู
ส�ำนกั งานระยอง 4

8

ววนั นั ทที่ ่ี เหเตหกุตาุกรารณณ์/์/เหเหตตผุุผลล บบรษิรษิ ทั ัท//ขขออบบเเขขตตบบคุ คุ คคลล ตต�ำ�ำแแหหนนง่ ง่ //หหนน่ว่วยยงางนา น คค�ำ�ำสสั่งั่ง
-
12 กนั ยายน 2539 แต่งตัง้ ตำ� แหน่ง/ บมจ. ไออาร์พซี ี DM./PD 4
ผ.บรหิ ารระดับกลาง ส�ำนักงานระยอง

5 มถิ นุ ายน 2538 แต่งตง้ั ต�ำแหนง่ / บมจ. ไออาร์พีซี ADM./PD 4 -
ผ.บริหารระดบั กลาง สำ� นกั งานระยอง

8 พฤษภาคม 2538 โอนย้าย/ บมจ. ไออารพ์ ีซี SM./PD 4 -
ภายในกลุ่มบริษทั สำ� นักงานระยอง SM./LD -
บมจ. ไออารพ์ ซี ี
ไออาร์พซี ี ส�ำนักงานระยอง -

22 กมุ ภาพนั ธ์ 2534 แตง่ ตง้ั ต�ำแหน่ง/ -
ผ.บรหิ ารระดบั กลาง -
-
28 มกราคม 2531 แต่งต้ัง ต�ำแหน่ง/ บมจ. ไออาร์พซี ี ASM/LD
ผ.บรหิ ารระดับกลาง สำ� นกั งานระยอง

1 สงิ หาคม 2528 แต่งตงั้ ตำ� แหนง่ / บมจ. ไออารพ์ ีซี SHIFT SUP./LD
ผ.บรหิ ารระดบั ต้น ส�ำนกั งานระยอง A.SH. SUP./LD
บมจ. ไออารพ์ ีซี
15 สงิ หาคม 2527 แตง่ ตงั้ ต�ำแหนง่ / ส�ำนกั งานระยอง BM./LD
ผ.บริหารระดับต้น บมจ. ไออาร์พซี ี
ส�ำนักงานระยอง
10 พฤษภาคม 2525 จ้างงาน/
ในแผน-ทดแทน

ลาออก

9

MR.VICHIT • ชีวิตกับความสำ�เร็จ •

NITTAYANONTE

หากมคี ำ� ถามวา่ ถ้าย้อนอดตี ไดช้ ีวิตช่วงไหนท่มี ีความสุขทสี่ ดุ และอยากย้อนกลบั ไป ส�ำหรับผม คือ
ชว่ งทเ่ี รยี นอยู่ในมหาวทิ ยาลยั เพราะเปน็ ชว่ งทม่ี คี วามเปน็ อสิ ระและไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบมากเปน็ ชว่ งทส่ี นกุ
กับการเรียน และท�ำกิจกรรม

แต่กว่าจะสอบ Entrance เข้ามหาวทิ ยาลัยได้ (ระบบใหมเ่ รยี กว่า Admission) มีความรสู้ ึกวา่ ยากลำ� บากทเี ดยี ว
ตอ้ งคร่�ำเคร่งอ่านหนังสอื ในตำ� ราและยงั ต้องเรยี นกวดวิชาเพิม่ เติมอกี ในสมยั เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ผมเรียน
อยู่ฝ่งั ธนบรุ ี โรงเรียนวดั ราชโอรส บางขนุ เทียน ตอ้ งนั่งรถเมล์ 2-3 ตอ่ ไปโรงเรยี นกวดวิชาแถวถนนราชวถิ ี

10

แต่ก็ยังเทียบไม่ได้กับเด็กสมัยนี้ที่ต้องเรียนพิเศษหลังเลิกเรียนทุกวัน และเรียนในหลาย ๆ แห่งพร้อมกัน
ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เนื่องจากการแข่งขันที่สูงกว่าสมัยก่อนมาก

วันทผี่ มสอบ Entrance ผมยงั จำ� ไดด้ ี ผมสอบท่ีตึก Zoo (เป็นคำ� เรยี กยอ่ ๆ ของภาควิชาสัตววิทยา) คณะ
วทิ ยาศาสตร์ จุฬาฯ พอทำ� ข้อสอบวิชาสุดท้ายเสรจ็ รตู้ ัวเองเลยวา่ คงตดิ คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าฯ นีแ้ น่ แล้วก็ใช่
ชีวิตในมหาวทิ ยาลัยเป็นช่วงเวลาทสี่ นุกที่สดุ ในชีวิต สามารถพดู ได้อย่างเตม็ ที่ เมื่อเทียบกบั ช่วงเวลาต่าง ๆ ของชีวติ
ทีผ่ ่านมาจนถงึ ปัจจุบันนี้ ต้ังแต่วนั แรก “วันรับนอ้ ง” ซงึ่ มที ัง้ รับนอ้ งคณะและรับน้องของมหา’ลยั ตอ้ งยอมรบั ว่าการ
“รับน้องมหา’ลัย” สนกุ มากกวา่ เพราะตอ้ งหาคแู่ ละไปดว้ ยกันทง้ั วนั ตามซุ้มทัง้ 14 คณะ (ในสมยั นั้น) ได้เล่นเกมส์
หน้ามอมแมมท้งั วนั ส่วนการ “รับนอ้ งคณะ” จะมชี ว่ งเวลาที่ซึง้ มาก จดจ�ำจนถึงขณะนี้ คอื มกี ารโปรยใบจามจุรีโดย
พี่ ๆ ในตกึ Zoo (ตึกนี้มีความสำ� คัญมาก เป็นตึกเกา่ แก่เป็นตกึ แรก ๆ ของจฬุ าฯ และมีพระบรมฉายาลกั ษณข์ อง
พระปยิ มหาราช ประทบั อยู่ ทำ� ให้เปน็ ตึกท่ีขลังมาก) และให้น้อง ๆ เดินผ่านเป็นแถวเรียงเด่ียว พร้อม ๆ กับรอ้ งเพลง
จามจุรีศรจี ุฬา

เม่ือต้นปีจามจุรีงามล้น
เครื่องหมายของสิ่งมงคล
ทุกคนเร่ิมต้นสนใจ...

ชีวติ ในมหา’ลยั ผมใชเ้ วลาในการทำ� กจิ กรรมมาก
พอๆ กบั การเรียน กจิ กรรมทีผ่ มเลือก
และท�ำตลอดในช่วงที่เรียน คือ

“ชมรมค่ายอาสาวิดยา”

อาคารชวี วทิ ยา ๑ และเคมี ๒
มีช่อื เรียกอกี ชอื่ หน่งึ ว่า ตกึ ขาว
เปน็ ตกึ ปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์
แห่งแรกของประเทศไทย

11

MR.VICHIT • ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย •

NITTAYANONTE

ในปี 2521 ผมเร่ิมเข้าสู่ร้ัวมหาวิทยาลัย ซ่ึงเป็นช่วงท่ีโลกกิจกรรมของนักศึกษาได้รับอนุญาตจาก
ทางราชการให้ทำ� กิจกรรมกนั ได้อีกคร้งั หนึ่ง

หลายคนอาจสงสยั น่นั เปน็ เพราะผลสืบเน่ืองจากเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทน่ี ิสติ นกั ศึกษามีการ
ประท้วงเพ่ือเรียกร้องประชาธปิ ไตย จนถกู ปราบปรามจากรัฐบาลสมัย จอมพลถนอม กติ ตขิ จร จนเกดิ
เหตุการณ์นองเลือดบนถนนราชด�ำเนิน เป็นวันมหาวิปโยคของคนไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 ก็เกิด
เหตุการณ์นองเลือดในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันท่ี 6 ตุลาคม รัฐบาลในขณะนั้น ใช้ก�ำลังเข้า
สลายการชุมนุมของนักศึกษา และออกกฎหมายจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ห้ามนักศึกษาจัด
กิจกรรมหรือชมุ นุมแสดงความคิดเหน็ ที่รฐั บาลมองว่าจะเป็นการต่อต้านรัฐบาล

ในเวลานน้ั เสยี งเพลงเพอ่ื ชวี ติ หลายเพลง เชน่ แสงดาวแหง่ ศรทั ธา, เปบิ ขา้ ว ฯลฯ ทำ� ใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษา
เกดิ ความตนื่ ตวั สนใจ ตอ้ งการคน้ ควา้ หาความจรงิ ทางสงั คม ตวั ผมเองกร็ สู้ กึ สนใจเพราะเนอื้ หาของเพลง
แตกตา่ งจากเพลงลกู ทงุ่ , เพลงสากลทว่ั ๆ ไป ไม่ใชเ่ อาแตค่ วามสนกุ และรนุ่ พี่ กช็ กั ชวนใหล้ องทำ� กจิ กรรม
สักอย่าง จงึ เลือกชมรมค่ายอาสาวดิ ยา ซง่ึ การออกคา่ ยครงั้ แรก ผมไปที่โรงเรยี นแหง่ หนง่ึ ในกิ่งอำ� เภอ
สนามชยั เขต (ปจั จบุ นั เปน็ อำ� เภอ) จ.ฉะเชงิ เทรา ขณะนนั้ ยงั เปน็ พนื้ ทส่ี ชี มพู คอื เปน็ พนื้ ทที่ ที่ างการกำ� หนด
เปน็ พนื้ ทอี่ นั ตรายอาจมภี ยั คกุ คามจากคอมมวิ นสิ ต์ได้ ไมน่ า่ เชอื่ !! อยู่ใกลก้ รงุ เทพฯ แคน่ เี้ อง ยงั เปน็ พนื้ ท่ี
อันตราย และจากการท่ีได้ไปสมั ผสั พบเหน็ ความยากลำ� บากของเด็กนกั เรยี น, ชาวบ้าน จากความเปน็
อยทู่ ี่กนั ดาร โรงเรยี นก็ไมม่ ีผนังก้ันหอ้ ง มแี ต่เสากบั หลังคา นง่ั เรียนบนพ้นื ดนิ ชาวบ้านถกู โกงทด่ี นิ จาก
ผ้ทู ี่ไดเ้ ปรยี บทางสงั คม ฯลฯ หลงั จากกลับมา ผมก็ฝังตวั กับชมรมค่ายฯ ตลอดจนจบ เมอ่ื จบแล้วยัง
แวะไปเยีย่ มคา่ ยฯอย่บู า้ งในช่วงแรก นานเข้าเวลา-หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบไม่อ�ำนวย จงึ ห่างหายออกมา

พูดถึงงานค่ายฯ แล้วโดยท่ัวไปมี 2 ประเภท คือ
1. ค่ายสร้าง เป็นค่ายที่เน้นไปสร้างโรงเรียน สร้างถาวรวัตถุให้ชาวบ้าน
2. คา่ ยศกึ ษา เปน็ คา่ ยทตี่ อ้ งการใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษาได้ไปศกึ ษาความเปน็ จรงิ
ทางสังคมชนบท ต้องการบ่มเพาะให้นักศึกษามีความเข้าใจปัญหาของ
สังคมไทยท่ีคนส่วนใหญ่กว่า 80% อยู่ในชนบทและยังยากจน ต้องการ
ความช่วยเหลือพัฒนาความรู้ความสามารถเพ่ือยกระดับความเป็นอยู่
เม่ือได้ศึกษาถึงปัญหาจะได้ช่วยกันหาทางแก้ไขพัฒนาประเทศ เป็นบัณฑิต
ท่ีดีของสังคม

12

ในช่วงที่ท�ำกิจกรรมค่ายฯ มีประสบการณ์มากมายที่หาไม่ได้ ในห้องเรียน กิจกรรมนี้ผมได้รับเกียรติให้เป็น
“ผู้อ�ำนวยการค่าย” คือ เวลาเราไปออกค่าย ผู้อ�ำนวยการค่ายจะเป็นผู้รับผิดชอบท้ังหมดทุกอย่างภายในค่าย
งานเริม่ ต้นตัง้ แต่ Survey พ้ืนที่ เลอื กเป้าหมายท่ีไป เชน่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ในพืน้ ท่ที ่เี ราตอ้ งการจะไปสร้าง
โรงเรียนและมีกรณศี ึกษาท่นี ่าสนใจ เช่น มีการท�ำนาขา้ ว, ไร่มนั ส�ำปะหลงั จะเป็นการฝกึ ใหน้ สิ ิตได้มีโอกาสได้ศึกษา
วงจรการท�ำอาชีพของชาวบ้าน ทำ� แล้วขายอยา่ งไร, ขายตรงหรือผา่ นพอ่ ค้าคนกลาง, กำ� ไร-ขาดทุนเท่าไร

เมื่อมีขอ้ มูล ก็จะตดิ ต่อไปยงั ศาลากลางจงั หวดั แตล่ ะแห่ง ดสู ถานทีจ่ รงิ จะกางเตน็ ท์ตรงไหน หาแหลง่ น้�ำเพ่อื ใช้
ท�ำอาหาร อาบน้�ำ สรา้ งหอ้ งน้ำ� -ทีพ่ กั เอง และการติดตอ่ ราชการทำ� ให้ได้มีโอกาสพบพูดคยุ กบั นายอ�ำเภอ บางครง้ั
ก็ผ้วู ่าราชการจังหวดั เช่นคราวที่จังหวดั สรุ ินทร์ หมบู่ ้านที่ไปฝัง่ หนงึ่ เปน็ ชาวไทยเชอื้ สายลาว อกี ฝัง่ หนง่ึ เป็นชาวไทย
เชือ้ สายเขมร ท้งั สองหมบู่ า้ นไมถ่ ูกกนั คณะนักศึกษาตอ้ งไปต้งั ค่ายฯ ท่ีวา่ งตรงกลางระหวา่ ง 2 ฝงั่ ชาวบา้ น ตกดกึ
ไม่มีแสงไฟมืดมาก บางคืนเหมือนมีคนมาซุ่มดู เพราะเห็นแสงไฟเล็ก ๆ จากปลายบุหรี่ที่คนสูบ และท่ีน่ีเรายังเจอ
เหตกุ ารณท์ นี่ ายอ�ำเภอระดับแหวนเพชรเชดิ ชเู กียรติของมหาดไทยมาเย่ยี มถึงคา่ ยฯ ในคำ�่ วนั หนึ่ง โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
กล่าวเตอื นนกั ศกึ ษาไม่ใหม้ ายยุ งชาวบ้านใหเ้ ขา้ ใจทางการผดิ ๆ การพูดกพ็ ดู ทา่ มกลางชาวบา้ นรวมอย่ดู ้วย ผมเอง
ตอนนนั้ คดิ ในใจวา่ “เรามาแลว้ เราก็ไป ไมอ่ ยากใหช้ าวบ้านเดือดร้อน” กเ็ ลย ครับ ๆ ๆ รับปากไป เช้าวันจะกลบั ก็
คดิ กันวา่ ไปร�ำ่ ลานายอ�ำเภอทา่ นดังกล่าวดู ผดิ คาด แกต้อนรับโอภาปราศรัยดมี าก “เหมือนหนงั คนละม้วน” กเ็ ลย
เรม่ิ เข้าใจข้าราชการบา้ นเรา

จะขอยกอีกตัวอย่างหน่ึงท่ีค่ายหนองบัวระเหว
กิ่ง อ.หนองบัวระเหว อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ ที่น่ีเด็กต้อง
นั่งเรียนบนตอไม้ โต๊ะนักเรียนก็ใช้ไม้พาดบนเสาตอไม้
หลังคามุงจาก ชาวบ้านมีอาชีพปลูกปอ ตอนไป Survey
พวกเราสบตากันก็รูเ้ ลยว่าท่นี เ่ี หมาะสมมาก น่าสนใจทงั้ การ
สร้างโรงเรียน สอนหนงั สอื เดก็ และศึกษาวงจรการทำ� ไรป่ อ
ของชาวบ้าน ซงึ่ ในพ้นื ที่มกี ารตัดไม้เถอ่ื นขาย (ชาวบ้านเรียก
ไมเ้ หลย่ี ม) พน้ื ทปี่ า่ ถกู ทำ� ลาย ชาวบา้ นทนี่ ยี่ ากจนมาก วนั ทจี่ ะ
กลบั เดก็ นกั เรยี นรอ้ งไหเ้ อาเชอื กมาผกู ขอ้ มอื พวกเราไม่ใหข้ นึ้
รถ พวกเราจึงตกลงกันวา่ ชว่ งซัมเมอรจ์ ะกลับไปเยยี่ มค่ายน้ี
อกี ครง้ั ซง่ึ คา่ ยนเี้ ปน็ คา่ ยทพี่ วกเรามคี วามรสู้ กึ ผกู พนั มากทสี่ ดุ

13

MR.VICHIT • ชีวิตของการทำ�งาน •

NITTAYANONTE

และจากนี้จะขอเปล่ียนเข้าสู่ช่วงชีวิตของการท�ำงานของผม ซ่ึงผมเป็นคนหนึ่งท่ีไม่ชอบท�ำงานใน
กรุงเทพฯ เบ่ือรถติดมาก ๆ ๆ ยังจ�ำได้ดีตอนเรียนประถมที่วัดประยุรวงศาวาส เชิงสะพานพุทธ ฝั่ง
ธนบรุ ี พอรถเมล์ถึงวงเวียนใหญ่ คนขับจะดบั เคร่อื งเลยเปน็ ทรี่ ู้กัน ผู้โดยสารทกุ คนจะลงจากรถท้ังหมด
แล้วเริ่มเดิน เดิน ผมเดนิ จากวงเวยี นใหญ่ไปเชิงสะพานพทุ ธเกือบทุกวนั ช่วงที่เรียน

มานึกถึงตอนน้ีระยะทางก็ไกลเป็นกิโลเหมือนกัน พอได้ท�ำงานท่ี ทีพีไอ ระยอง ดีใจครับ เพราะอยาก
ท�ำงานในโรงงานที่ไม่ต้องอยู่ในกรุงเทพฯ แถมยังเป็นโรงงานปิโตรเคมี ซ่ึงสมัยนั้นโก้มาก และเป็นโรงงาน
ผลิต LDPE โรงแรกของ Asian ผมได้เพ่ือนเข้ามาพร้อม ๆ กันรวม 8 คน เมื่อเดือนพฤษภาคม 2525
เรมิ่ ตน้ การทำ� งานทหี่ นว่ ย Compressor กบั พป่ี ระทปี วฒั นาศรีโรจน์ และพสี่ พุ จน์ อำ� พนั รตั น์ พวกเราตอ้ งเรยี นรู้ PID,
อา่ น Process Description เดนิ ไล่ Line เรยี นรู้ ท�ำความเขา้ ใจทุกอยา่ งทั้งใน Field ด้วย ตอนเยน็ เลิกงานกเ็ ดินมา
โรงอาหาร ในสมยั นั้นเปน็ Canteen เล็ก ๆ Open air มรี า้ นข้าวแกง 2-3 รา้ น ถ้าไม่ถกู ใจก็เขา้ เมอื งคือรอรถตู้
หรอื ถ้าไมม่ ี ก็เดนิ จากตึก Admin ไปทจ่ี ดุ 1 หนา้ โรงงาน รอรถ 2 แถวผา่ นเขา้ เมอื ง พวกผมไม่ไดจ้ ักรยานกนั นะครบั
ต้องเป็นระดับ Boardman จึงจะได้ ลืมบอกไปผมเข้ามาในต�ำแหน่ง BSC. Operator (Operator ระดับ ป.ตรี)
ตอนนั้นทางบริษัทต้องการ ป.ตรี มา Start Plant เพราะโรงงานปิโตรเคมีในสมัยนั้น เป็นเร่ืองที่คนไทยยังไม่เคยมี
ประสบการณ์มาก่อน ในตัวเมืองระยอง 30 ปีก่อนถนนก็ยังเป็นแบบน้ี แต่ไม่มีความเจริญของห้าง Big C, Lotus
มีร้านต๋ิว (ชื่อร้านจ�ำไม่ได้ไม่ค่อยเรียกกันเรียกแต่ร้านต๋ิว) ไปก็ซื้อของใช้และที่ขาดไม่ได้คือมาม่า พอซื้อเสร็จก็เดิน
มาร้านจานใหญ่ เป็นร้านอาหารตามส่ังอยู่ถนนวัดลุ่ม เย้ืองประปา ตอนน้ีไม่รู้ไปไหนแล้วท�ำอร่อยมาก พวกเรา
เดินไปไหนก็เจอกันเพราะเมืองระยองตอนนั้นไม่มีอะไร ทีวี ก็ต้องข้ึนเสาบนหลังคา มีแต่ช่อง 7, วิทยุก็มีแต่ช่อง
สทร.5 พทั ยา ทพี่ กั เปน็ ตกึ 4 ชน้ั อาคาร 40 ตง้ั อยู่ใกล้ Tank Farm (สมยั หนงึ่ เคยใชเ้ ปน็ Training Center ตอนนเี้ ปน็
ท่ีเก็บเอกสารของทั้งโรงงาน) ในห้องนอน เราต้องอยู่กัน 2 คน โต๊ะไม่มี ต้องใช้แผ่นไม้อัดในตู้เส้ือผ้ามาต่อกับ
กระป๋องท่ีใสล่ ูกเทนนสิ พันใหแ้ น่นดว้ ยกระดาษกาวตอ่ เปน็ ขาโตะ๊ เตีย้ ๆ 4 ขา เวลาอ่าน PID, Document กท็ ำ� งาน
บนโตะ๊ แบบน้ี

14

เรามกี ารสอบด้วยครับ ใครคะแนนดกี ็ได้เป็น Leader ชีวิตแบบนจี้ งึ ทำ� ใหพ้ วกเราจาก 8 คน เหลือ 6 คน และ
เรม่ิ Pre-Commissioning เสรจ็ ก็เหลือ 5 คน ผมจ�ำได้ช่วงนัน้ เหนื่อยมาก เครื่องจักรบางตัวเราต้องหมุน Pulley
ด้วยมือก่อนจ่ายไฟเดินจริง เพื่อดูการทำ� งานของลูกสูบให้แน่ใจก่อน อย่างตัว Primary Compressor ท่ีอาคาร 2
Start และ Shut down บอ่ ยมาก ทุกคนต้องว่ิงขึน้ -ลงบนั ได ปดิ -เปิดวาลว์ บางทกี ระโดดลงมา 2-3 ขน้ั เพราะใจรอ้ น

ตอนท่ีได้เม็ดพลาสติกเม็ดแรกของเมืองไทยที่เราผลิตเองจ�ำได้ว่าเป็นเดือนตุลาคม 2525

ในคนื น้ันมี Gas รัว่ ท่ี Pressure strain gauge (PI-64506) เปน็ ตวั ปลายของ Tubular
reactor เปลวไฟพงุ่ แรงมาก ตอนนัน้ เราไมม่ ีประสบการณ์การผจญเพลิง ทีมดบั เพลิงมาจะ
ดบั ไฟเลย แต่ Commissioning Manager ของ UHDE Mr.Riepe บอกดับไมไ่ ด้ เดยี๋ ว
Unburn Gas ทะลกั ออกมาจะระเบิดได้ เพราะฉะนั้นให้รบี Release gas และควบคมุ เปลว

ไฟไม่ใหล้ กุ ลามขยายวง พร้อมกับ Cool down part อนื่ ๆ

ประสบการณ์เรื่องเพลิงไหม้ยงั มีอีกหลายเหตกุ ารณ์ แตค่ รัง้ ทีส่ ะเทอื นใจท่สี ุดคือ ไฟไหมท้ ี่ HDPE ในปี 1988
(2531) ถ้าจ�ำไม่ผิด เหตุเกิดข้ึนตอนดึกจ�ำได้ว่า “ช่อ” (สุรศักด์ิ ยิ่งเจริญมาก) มากดกร่ิงหน้าบ้าน ผมอยู่เพลิน
ใจ 1 มองเห็นเปลวไฟสูงมาก เห็นได้ชัดเจนจากในหมู่บ้าน ช่อพาผมซ้อนมอเตอร์ไซค์เข้ามาที่โรงงาน เราต้อง
วิ่งอ้อมไปทางถนน By pass เพราะต�ำรวจปิดถนนสุขุมวิท ผมเข้าไป Plant LDPE ยืนดูท่ีอาคาร 6 Extruder
ตอนนน้ั ทาง LDPE ตรงกบั กะของ คณุ วีระ อนศุ าสนปฎิเวช ซึง่ ได้สงั่ ให้ลูกนอ้ งในกะออกมานอกโรงงานเพราะไฟไดล้ ุก
ไหม้แรงมาก มลี ูกไฟทเี่ ป็น Polymer ตดิ ไฟปะทขุ า้ ม Pipe rack มาตกฝง่ั LDPE แต่มี คณุ สมปอง (ทอม) ย่งิ ยงค์ ที่
ยังพยายามคมุ Jet gun ฉีดน�้ำ Cool down ตาม Pipe rack โดยใชฝ้ ากลอ่ ง Transmitter box กำ� บังตวั นับว่าเป็น
ผูท้ ก่ี ลา้ หาญมาก พวกเราทย่ี นื อย่ฝู ่งั อาคาร 6 เห็นคนถูกไฟคลอกพยายามวิง่ มาทางรวั้ LDPE แตต่ ดิ ปญั หาที่รวั้ สงู
มากและมีลวดหนาม ท�ำให้ไม่มีใครเข้าไปช่วยเหลือได้ ซ่ึงเป็นภาพท่ีสะเทือนใจอย่างย่ิง ช่วงเช้าผมไปที่โรงพยาบาล
ระยอง เพราะทราบว่าต้องมีคนไปเซ็นชื่อเพื่อให้โรงพยาบาลรับดูแลคนเจ็บ คนที่ถูกไฟไหม้ต้องเข้าห้อง Burn Unit
ซงึ่ ต้องสง่ ตวั ตอ่ ไปท่ีโรงพยาบาลเอกชล ท่ชี ลบุรี จำ� ไดว้ ่า คุณวิชัย (ต๋ีใหญ่) Shift Supervisor HDPE เป็นคนหนึ่งที่
ตอ้ งรักษาตวั ใน Burn Unit มคี นเล่าใหฟ้ งั ว่า ต้องมีการแช่น้�ำเกลอื ทง้ั ตัวเพอ่ื ฆา่ เช้อื ตามผิวหนงั และใหเ้ ซลลผ์ วิ ใหม่
ขึ้นมา ลองนึกภาพดวู ่าคงเจ็บปวดมาก ผมคดิ วา่ ในครัง้ นัน้ เปน็ การสูญเสียครงั้ รา้ ยแรงทส่ี ุดของบริษทั ฯ และเปน็ บท
เรยี นทม่ี คี า่ มากเพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ ขนึ้ อกี เดด็ ขาด ผมเองไดเ้ ลา่ เหตกุ ารณน์ ้ีใหน้ อ้ ง ๆ ทผี่ มบงั คบั บญั ชาฟงั อยบู่ อ่ ย ๆ
เพอื่ เตอื นสติ ไม่ให้ประมาทจะต้องท�ำงานตาม Operation Manual ไม่ลัดขา้ มขั้นตอน

15

MR.VICHIT • เรียนรู้งาน...พัฒนาคน •

NITTAYANONTE

ชว่ งชวี ติ ทเ่ี ปน็ ผจู้ ดั การแผนก LDPE จะเนน้ หนกั ไปในทางมงุ่ งานเสยี สว่ นใหญ่ เพราะปญั หาเรอ่ื ง “คน”
มีไม่มาก สวสั ดิการก็ไมม่ ีอะไรใหเ้ รียกรอ้ ง เพราะเป็นบรษิ ทั ทเ่ี จ้าของกจิ การบริหารเอง

แต่มคี ำ� สอนทีส่ �ำคัญทีผ่ มไดร้ บั มาจาก คุณเปรื่อง มงั กรแก้ว รุน่ พี่ Gen. SC. วิทยาศาสตร์ จฬุ าฯ มาจาก
เครือสหพัฒน์ ท่ีเพิ่งมารู้จักท่ีนี่หลังจากถูกทาบทามให้มาเป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคลในช่วงท่ีบริษัทฯ ต้องการปรับ
เปลีย่ นทัศนคตใิ นการบริหารงานบคุ คล เคยนง่ั คุยกนั พีเ่ ขาสอนว่า

“คนเราเปน็ หวั หน้า ตอ้ งท�ำให้ลูกนอ้ งกอ่ น ไมต่ อ้ งรอใหล้ กู น้องร้องขอ

เพราะความร้สู กึ และคณุ คา่ ท่ีได้รับแตกตา่ งกนั มาก แต่ถ้าลูกน้องรอ้ งขอ ยังไม่ทำ� ให้

ไมอ่ ธบิ ายส่ือสารให้ฟงั ถือว่าเป็นหัวหนา้ ที่ไม่มีลกู น้องคนไหนอยากท�ำงานดว้ ยแนน่ อน”

การเปล่ียนแปลงทสี่ �ำคัญคร้ังหนงึ่ ในชวี ติ เมื่อวนั หนง่ึ ในเดือนมนี าคม 2538 ดร.ประมวล ไดเ้ ข้ามาท่ี Plant
LDPE และให้ผมพาเขา้ ไปในโรงงาน LDPE Line 2 ระหว่างที่เดินดเู คร่ืองจกั ร ดอ๊ กเตอร์ (พวกเราจะเรียกท่าน
ว่า ด๊อกเตอร)์ บอกว่า ผมตอ้ งไป Start Project RAYFIN (Ethylene Plant) ผมบอกว่าขออยูด่ แู ลพฒั นา LDPE
ต่อได้ไหมครับ ? ท่านว่า ไม่ได้ เราต้องเอาความรู้ความสามารถท่ีมีไปพัฒนาที่อ่ืนบ้าง ผมจึงต้องย้ายไปดูแล
Ethylene plant ในเดอื นพฤษภาคม 2538 วนั ทจ่ี ะไป ผมเดนิ ในโรงงาน LDPE และรอบ ๆ อาคารตา่ ง ๆ เปน็ การ
ร�่ำลา และนกึ ถงึ ภาพเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในอดีต เพราะมคี วามผกู พันพอสมควร เมอ่ื ย้ายไปดู RAYFIN Project
ก็ไดท้ ำ� งานกับมิสเตอร์ เกา ในสมัยก่อน ทพี ีไอ จะมผี ูบ้ ริหารชาวไต้หวนั 2 คน คือ มิสเตอร์ เกา กบั มิสเตอร์
ฟู ซ่งึ มบี ุคลิกแตกต่างกนั มาก มิสเตอรเ์ กา จะมคี วามสภุ าพให้เกยี รติผู้อ่นื เสมอ ขณะที่มสิ เตอรฟ์ ู จะตรงกนั ข้าม
ออกจะโผงผางไปสกั หน่อย มิสเตอร์เกา สอนผมวา่ การบรหิ ารคนตอ้ งให้ได้ 1+1 = 3 ในทางคณิตศาสตร์ท�ำ
ไม่ได้ แต่การบรหิ ารคนคือสง่ิ ทีย่ าก เปรียบเหมอื น 1+1 = 3 ถา้ ใครทำ� ไดต้ ่ำ� กวา่ กห็ มายความวา่ เราบริหาร
คนไม่ส�ำเร็จ งานท่ี RAYFIN Project ทา้ ทายมาก หนกั ทง้ั งานและคน บรษิ ัท Samsung ท�ำงาน Construction

ส่วน Know-How เป็นของ LINDE จึงได้ท�ำงานกับท้ังเกาหลีและเยอรมัน มาตรฐานงานของเกาหลี
เราต้องดูแลให้ดี พลาดไม่ได้เพราะมี “ลักไก่” ผมได้มีโอกาสไปท�ำ HAZOP ที่กรุงโซล 2 เดือนเต็ม กิน
กิมจิทุกวันจนสุดบรรยายในรสชาด เวลาประชุมพวกเกาหลีสูบบุหรี่จัดมาก ถือว่าเป็นช่วงเวลาท่ีแย่ทีเดียว

16

นอกจากผมก็มี Mr.Krutil ชาวยูโกสลาเวีย และ Mr.Zhuang ชาวจีน ซึ่งว่าจ้างมาช่วย project น้ีด้วย
ในวนั ท่จี ะได้กลับเมอื งไทย รถ Taxi ที่น่งั กลับโรงแรมเปิดเพลง Take Me Home Country Road ของ John
Denver พวกเราทั้ง 3 คน ร้องเพลงประสานเสียงกันดังลั่นรถ เพราะอยากจะกลับเมืองไทยแล้ว เบื่อแล้ว
พอกลบั มากเ็ รม่ิ สัมภาษณ์รบั พนักงานเข้ามาชุดใหญร่ ะดบั ปริญญาตรี สว่ น Operator และ Shift Supervisor
ก็ติดต่อผู้ที่สนใจจาก LDPE, HDPE, PP, ABS

จากนั้นก็เร่ิมจัด Training จนถึงช่วงท่ีจะเตรียม Pre-commissioning ก็ต้องไป Foreign Training ซึ่ง
อยู่ในข้อตกลงท่ี LINDE ต้องจัดให้ท่ีมิวนิค - เยอรมัน และ Antwerp - เบลเยี่ยม เราไปกันคณะใหญ่หลาย
สิบชีวิตที่มิวนิค เป็นการ Classroom Training เดินทางด้วยรถไฟฟ้าทุกวัน อีกหน่ึงเดือนเป็นการ Train
ใน Ethylene plant ของ BASF ท่ีเมือง Antwerp - เบลเยี่ยม เม่ือกลับมาในกลางเดือนเมษายน 2539
ของจริง งานจริง เร่ิมให้เราเผชิญ เรียนรู้กับมัน เร่ิมจาก Pre-commissioning และ Commissioning
จนได้ Ethylene Product First on spec. เมื่อเดอื นกุมภาพันธ์ 2540 การทำ� งานและบริหารจัดการก็ดำ� เนนิ ไป
ตามปกติ จนมาถึงช่วงเดือนพฤศจิกายน 2543 ทางบริษัทฯ ซึ่งได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจจากการท่ี
รฐั บาลประกาศลดคา่ เงนิ บาท ทำ� ใหอ้ ัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราระหว่าง เงนิ บาทไทย (฿) กบั เหรียญสหรฐั อเมรกิ า
(U$) เกดิ การเปลย่ี นแปลงจากอตั ราแลกเปลย่ี น 25 ฿ ตอ่ 1 U$ เปน็ 50 ฿ ตอ่ 1 U$ เมอ่ื วนั ที่ 2 กรกฎาคม
2540 ท�ำให้ ทีพีไอ มีหนม้ี ลู คา่ สงู ทสี่ ดุ ของประเทศเป็นเงิน 3,500 ล้านเหรยี ญสหรฐั หรือ 175,000 ล้านบาท
จึงได้มกี ารกอ่ ตงั้ สหภาพแรงงาน ทีพไี อ เมอ่ื วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2543 และสหภาพแรงงานกเ็ ร่มิ เปน็ ตวั จกั ร
ที่ส�ำคัญในการต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมให้กับพนักงานและองค์กรท่ีเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำของพวกเขา จนกระท่ัง
สามารถผลักดันกอบกอู้ งคก์ รไดส้ �ำเร็จ

รสัฐาบมในาาลรวอถขนังอชคทำ�งก์ี่ 2รพร6ะคห.เตรนมัง้.้ีใษทสหา.�ำก้ทยคบัักนญั เษจ2ณินา้ 5หี้ 4สชน9าินี้ไมดควาด้ือตั รว้วรถนัยศแทคลึกบี่วะษศารามาษิ ไลรดัทลว่้จทม้มาีพมกลีไือหะอลทอสาปี่สาย�ำรมกคะาลวัญรตัาถงิศอรซาะอหสง่ึ กรวตจาา่รายง์ กพสลแหะิทผเภอกั นายีษฟพด์อน้ืทแงรฟคงั้ งหก์ูไงดมรา้สดนทำ�ขใ่ีตเนอรึกเจ็งคก1รหา0อืลรทปังกจีพี อาีไบกอกู้

17

18

MR.VICHIT • มุ่งมั่นตามอุดมการณ์ •

NITTAYANONTE

เมอ่ื การฟน้ื ฟกู จิ การเปน็ ผลสำ� เรจ็ ผมและนอ้ ง ๆ ทร่ี ว่ มอดุ มการณก์ นั ก็ไดป้ รกึ ษากนั วา่ ถงึ เวลาทภี่ ารกจิ การบรหิ าร
จดั การกลบั สภู่ าวะปกตแิ ลว้ และ Line Command สมควรตอ้ งทำ� หนา้ ทขี่ องตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี พวกเราจงึ ขอวางมือ
และขอทำ� หนา้ ที่ใน Line ตามปกตเิ พยี งอยา่ งเดยี ว ผมได้ ใชเ้ วลา 2 ปเี ศษ เพอ่ื เรยี นหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ (MBA) ที่
มหาวทิ ยาลยั บรู พา สำ� นกั งานระยอง ผบู้ ริหารของบรษิ ัทฯ หลาย ๆ คนเรียน MBA ทีน่ ก่ี นั มาก เนื่องจากหลกั สตู รดี
สามารถน�ำมาใช้ได้ผลในการท�ำงาน คณาจารย์ผู้สอนก็เป็นผู้มีความรู้แตกฉานได้รับการยอมรับในวงการศึกษา
หลายท่าน ผมเองได้น�ำความรู้จากหลายวิชามาปรับใช้ ในการท�ำงาน เช่น Finance, Managerial Accounting,
Human Resource, Strategic Thinking และ Organization Behavior, หลกั สูตร MBA มีจุดมงุ่ หมายให้ผู้เรียน
เปน็ ผ้บู ริหารทม่ี องและเขา้ ใจภาพใหญ่ (Big Picture) และคดิ แบบองคร์ วม (Holistic Thinking) เพราะการบรหิ าร
องค์กรโดยเฉพาะองค์กรอย่าง ไออาร์พีซี ที่มีขนาดใหญ่มาก มีหลายหน่วยงานประกอบกันเป็น Value Chain
มีโครงสร้างแบบ Corporate ทีม่ หี ลาย Business Unit (BU) และ Functional Unit จ�ำเป็นทจี่ ะตอ้ งมีการวางแผน
เชิงกลยทุ ธ์ และมีหน่วยงาน Supply Chain ทก่ี ำ� หนดแผนการผลติ , แผนการจดั เกบ็ (Inventory Control) และ
แผนการจดั จา่ ย (Logistic Management) การทำ� งานจะตอ้ ง Synergy กันและตอ้ ง Cross Function กนั ได้

19

MR.VICHIT • มุมมองผู้บริหาร •

NITTAYANONTE

องค์ประกอบเชิงโครงสรา้ งและระบบตลอดจนกระบวนการทำ� งาน (Work Flow) ท่กี ล่าวมานน้ั จะ
ประสบความส�ำเรจ็ ไดย้ าก หากการบริหารจัดการบุคลากรขาดประสทิ ธิภาพ

เพราะคนคือปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดของความส�ำเร็จ แนวคิดของการบริหารจัดการ (Management) ในปัจจุบัน
มีมมุ มองที่ยกระดับจาก Human Resource เปน็ Human Capital ถ้าองค์กรใดมที รัพยากรบคุ คลท่เี กง่ มากความ
สามารถกเ็ ปรียบเหมือนมที นุ (Capital) ทลี่ ้�ำค่า สามารถบริหารสรา้ งสรรค์ให้องค์กรมีคุณคา่ เพ่มิ (Value Added)
เติบโต (Growth) แบบก้าวกระโดด มมี าตรฐาน สามารถแข่งขันกับองคก์ รในระดบั ภมู ภิ าค (Regional) ได้

แต่ส่วนใหญ่แล้วน้อยคนนักท่ีจะมีความสามารถพร้อมกันทั้ง

จากประสบการณ์ในการ สองอย่าง ถ้าจะว่าไปจากประสบการณ์อาจพูดได้ว่าหาผู้บริหารท่ี
บรหิ ารงานและบริหารคนของ เก่งเรื่องคนได้ยาก เก่งคนและเป็นท่ียอมรับของลูกน้อง ได้ ใจลูก
ผม หลงั จากทอี่ า้ งอิงถึงหลัก น้อง ลูกน้องรักและศรัทธา คือเป็นหัวหน้าหรือผู้บริหารที่ได้ท้ัง
งานและได้ท้ังคน ได้งาน คือผลผลิตดี, Bottom Line หรือก�ำไร
การทางวชิ าการมาแล้ว

ผมมคี วามคิดว่า สุทธิของบริษัทดี และ ได้คน คือคนท�ำงานด้วยอย่างมีความสุข
ผบู้ รหิ ารที่จะประสบ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นได้รับโอกาสในการแสดงออกใน
ความส�ำเรจ็ ได้นนั้ เรื่องต่าง ๆ มีความก้าวหน้าในงาน จนท�ำให้พนักงานมีความผูกพัน
ตอ้ งเก่งท้งั งานและคน และพัฒนาจนมีความเป็นเจ้าขององค์กร (Ownership) การที่จะได้

Roadmap ตามที่กลา่ วจนเกิดเป็น Ownership ได้ ผ้บู ริหารจะต้อง

เรียนรู้และเข้าใจว่ามนุษย์โดยธรรมชาติต้องการอะไร ผมขออ้างอิง

Human’s ถงึ Maslow Theory ท่กี ล่าวถงึ
Needs
• Physiological Needs ความต้องการอยู่รอดดว้ ยปจั จยั 4
• Security or Safety Needs ความตอ้ งการความปลอดภยั และความม่นั คง
ท่มี ี 5 ข้นั ตอน • Affiliation or Acceptance Need ความตอ้ งการการยอมรบั ในทางสงั คม
• Esteem Needs ความตอ้ งการการยกย่อง หรอื ความภาคภมู ใิ จในตนเอง
• Self Actualization Needs ความต้องการความส�ำเรจ็ ในชีวติ

Maslow ไดอ้ ธบิ ายไวว้ า่ คนเราจะตอ้ งไดร้ บั การตอบสนองจากขั้นที่ 1 ก่อน คอื ต้องสามารถอยู่รอดได้ มปี ัจจยั
4 ในการด�ำรงชวี ติ ครบ จงึ จะคดิ ถงึ เรอื่ งไกลตวั อยา่ งอนื่ หลงั จากนนั้ มนษุ ยก์ จ็ ะแสวงหาความตอ้ งการในลำ� ดบั ตอ่ ไป
คอื ความมน่ั คงและความปลอดภยั ในชวี ติ และเมอ่ื ไดร้ บั การตอบสนองใน 2 ขนั้ ตอนนแี้ ลว้ มนษุ ยจ์ ะไขวค่ วา้ หาความ
ตอ้ งการทสี่ งู ขน้ึ ๆ ใหส้ งั คมยอมรบั ตนเอง ตอ้ งการการยกยอ่ งและสดุ ทา้ ยของเปา้ หมายคอื ประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ

20

ขึ้นช่ือว่า “คน” ความต้องการ (Needs) จะมีอยู่ตามหลักของ
Maslow ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ความซบั ซอ้ นก็ไมม่ อี ะไรเปลยี่ นแปลง แมช้ ว่ ง
เวลาจะผ่านไปเป็นพนั ปี เชน่ ในสมยั พุทธกาลคนเป็นอยา่ งไร มีรกั โลภ
โกรธ หลงอยา่ งไร ในปจั จบุ นั กย็ งั มเี หมอื นเดมิ แตก่ ารทจี่ ะโนม้ นา้ วจงู ใจ
ใหค้ นกา้ วออกจาก Comfort Zone ของตนเพอื่ Change ตวั เอง กลา้
ทจ่ี ะกา้ วขา้ มความตอ้ งการขน้ั ท่ี 2 ไปสขู่ นั้ ทสี่ งู ขน้ึ ตามธรรมชาตขิ องคน
เมื่อสบายแลว้ คือ บรรลคุ วามตอ้ งการ (Needs) ข้ันท่ี 1, 2 แล้วมกั
ไม่สนใจผูอ้ นื่ หรืองานสว่ นรวม จะขออยู่ใน Comfort Zone ของตวั เอง

เพราะฉะนั้น ผู้บริหารต้องกระตุ้นให้การสนับสนุนและสร้างแรงบันดาล 21
ใจของลูกน้องให้เป็น โดยต้องมี Relation ให้เขายอมรับและศรัทธาได้ก่อน
จะขอแชร์ประสบการณ์ของตัวเอง ส่ิงหนึ่งที่ส�ำคัญ คือต้องจริงใจ ดูแลเขา
แบบลกู นอ้ งจรงิ ๆ เปรยี บเหมอื นพเี่ หมอื นนอ้ ง เมตตา ให้โอกาสไดแ้ สดงออก
ถ้าลกู นอ้ งขาดอะไรกต็ ้องสอนและแนะนำ� เขา คอยตดิ ตามการพฒั นาความรู้
ความสามารถใหก้ �ำลงั ใจเขา

ในหลักสูตรวิชาทรัพยากรมนุษย์ มีทฤษฏีหนึ่งกล่าวว่า ผู้น�ำต้อง
ปรับสถานการณ์ ให้เข้ากับตัวเอง โดยการวิเคราะห์สถานการณ์เพ่ือ
ปรับให้เข้ากับตัวผู้น�ำ แต่อีกทฤษฏีหน่ึงกล่าวว่า ผู้น�ำจะเอาพฤติกรรม
อะไรมาใช้ ในการท�ำงานต้องข้ึนกับความพร้อมของผู้ปฏิบัติงาน นั่นคือ
ผู้น�ำต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ท้ังสองทฤษฏีไม่มีใครผิด-ใครถูก
และเราไม่สามารถเลือกใช้ทฤษฏีใดเพียงทฤษฏีเดียวได้ ดังน้ันจึงต้องใช้
การผสมผสานบางสถานการณ์อาจใช้การบริหารจัดการแบบหน่ึงแต่น�ำ
ไปใช้กับอีกสถานการณ์หนึ่งไม่ได้ พฤติกรรมของ “คน” เป็นส่ิงท่ีคาด
เดาได้ยากจ�ำต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการปกครอง ต้องพิจารณา
ดูว่าจะใช้วิธีโน้มน้าวจูงใจให้เขาศรัทธาเราได้อย่างไร นอกเหนือจาก
ทักษะในการปกครองแล้ว “ภาวะผู้น�ำ” (Leadership) ก็เป็นเรื่องที่
ส�ำคัญที่สุด ผู้น�ำต้องกล้าตัดสินใจ (Decision Making) เมื่อได้ข้อมูล
ท่ีถูกต้องครบถ้วน พิจารณาหารือผู้เกี่ยวข้อง ท้ายที่สุดต้องตัดสินใจ
บนความรับผิดชอบของเรา ผู้น�ำจะต้องกล้าท่ีจะตัดสินใจ หลายคน
กลัวการตัดสินใจ หากเกิดการผิดพลาดไม่ยอมแสดงความรับผิดชอบ
เชน่ นี้ไม่ได้ ผู้นำ� ท่ีดีจะต้องพยายาม Lead Team, Motivate ให้ Achieve
สู่เป้าหมาย โดยที่ ณ เวลาปัจจุบันเท่าที่ Resource มีอยู่ จะท�ำอย่างไร
ให้ขับเคล่ือนไปสู่เป้าหมาย ทีมงานมีความศรัทธาและพร้อมร่วมหัว
จมท้ายไปกับเราได้ และกล้าท่ีจะก้าวออกมาแสดงความรับผิดชอบ
หากเกิดความผิดพลาด เพราะทุกคนเม่ือท�ำงานย่อมมีโอกาสผิดพลาดได้
แต่ท่ีส�ำคัญจะต้องเรียนรู้จากความผิดพลาดนั้น เก็บเก่ียวเป็นประสบการณ์
ไม่ให้เกิดขึ้นซ�ำ้ รอยอีก

MR.VICHIT • การทำ�งานคือการเรียนรู้ •

NITTAYANONTE

ในกลางปี 2552 ผมได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดูแลงานฝ่ายขนส่งและจัดจ่าย
ผลิตภัณฑ์ (Logistics and Oil Distribution) ซ่ึงเป็นงานในลักษณะของการสนับสนุน
(Support) ต่างจากงานฝ่ายผลิต ซึ่งเป็นงานหลักของบริษัท และอยู่ในสายงานน้ีมาโดย
ตลอดกวา่ 27 ปี ผมรบั รมู้ าวา่ สว่ นใหญแ่ ลว้ คนทท่ี ำ� งานในฝา่ ยผลติ มกั ไมค่ อ่ ยอยากเปลย่ี น
งานมาทางสาย Support จะเป็นด้วยเหตุผลอะไรไม่แน่ใจ ส�ำหรับผมเองก็รู้สึกเช่นน้ัน แต่
เหตุผลของผมคือเราไม่มีประสบการณ์งานที่จะไปท�ำ ไม่มั่นใจว่าจะท�ำได้ดีหรือไม่ และส่วน
ลึกท่ีผมเคยคิดก็คือมันเหมือนศักดิ์ศรีของงานจะแตกต่างจากงานฝ่ายผลิต แต่พอได้สัมผัส
กับงานใหม่แล้วก็รู้สึกสนุกกับงาน ได้ความรู้ ใหม่ ๆ ประสบการณ์ใหม่ ๆ น้อง ๆ และทีม
งานให้ความรว่ มมอื และตอบรับดมี าก ผมพบวา่ ระบบงานในฝ่าย LO. ยงั มหี ลายเรอื่ งทตี่ อ้ ง
ปรับปรุงแก้ไข จึงน�ำวิธีการท่ีใช้ ในฝ่ายผลิตมาปรับใช้ท่ีน่ี เช่น ระบบการรายงานเพื่อให้
ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง รวดเร็ว การจัดประชุมโดยให้มีครบทุกมิติท้ังการแก้ไข-ปรับปรุงปัญหา
ในงานท้ังภายในและระหว่างหน่วยงาน เน่ืองจาก Logistics และคลังน�้ำมันต้องเก่ียวข้อง
กับงานท้ังฝ่ายผลติ , ฝ่ายขาย จึงตอ้ ง Monitor และ Coach ทมี งาน ให้สามารถรองรับ
การบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน ซ่ึงความจริงพนักงานเองมีศักยภาพในตัว
แตข่ าดโอกาสในการแสดงออก ผมไดเ้ ขา้ ไปปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งในสว่ นของงานคลงั นำ�้ มนั
เพอ่ื ให้โครงสร้างระดบั แผนกใหก้ ระชับขึ้น ลด Span of control ให้ส้ันลง ให้โอกาสหัวหนา้
งานทมี่ ี Potential ดกี วา่ ขน้ึ มาบรหิ ารงานตามหลกั การทเี่ ราทราบกนั ดี คอื Put the right man
on the right job at the right time ประเด็นของผมคือจะต้อง At the right time เพราะถา้
เราไมก่ ลา้ ปรบั เปลย่ี นให้ไดภ้ ายในเวลาทเ่ี หมาะสมกเ็ ปลา่ ประโยชน์ ผมใหค้ วามสำ� คญั ในการ
Coaching มาก ซ่ึงจะใชเ้ วลาในการประชมุ โดยให้ Section Manager กับ Supervisor
เข้าร่วมประชุมด้วย เพ่ือให้เขาได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น เข้ามารับรู้บรรยากาศในเชิง
บรหิ ารจัดการ เพ่ือให้มวี สิ ัยทศั นเ์ ปิดโอกาสเป็นผู้น�ำรนุ่ ตอ่ ไป

22

ในทัศนคติการบริหารของผม ผู้บริหารต้องเป็นเสมือนช่างเจียรนัยเพชรพลอย เราต้อง Coaching ขัดเกลา
ให้เขาเป็นทายาทรุ่นต่อไป หรือการสร้าง Successor น่ันเอง ท่ี Logistic เน่ืองจากมีหน่วยงานระดับแผนกถึง
10 แผนก และอยตู่ า่ งสถานทกี่ นั จงึ ต้องใชส้ รรพกำ� ลงั มากพอสมควร แตผ่ มคิดเชงิ บวก (Positive Thinking) แทน
การย่อท้อต่อระยะทาง ถือว่าได้ไปเท่ียวด้วย ได้เดินทางไปพระประแดง ไปอยุธยา รวมทั้งที่ชุมพร ซึ่งรางวัลท่ีได้
คือ ความภาคภูมิใจที่น้อง ๆ ให้ความร่วมมือและการต้อนรับที่ดี เพราะฉนั้นในการท�ำงานหากเราทุ่มเท (Passion)
และจรงิ ใจ เราจะไดร้ บั ความรว่ มมอื ทด่ี กี ลบั มาเสมอ ผมยนื ยนั สง่ิ นี้ไดด้ ี เพราะหลกั การเดยี วกนั นี้ไดน้ ำ� มาใชท้ ่ี Polyol
ด้วยเช่นกัน ซ่ึงผมได้โอนย้ายมาดูแลรับผิดชอบเม่ือปลายปี 2553 ท่ีน่ีผมต้องดูแลงานในฐานะกรรมการผู้จัดการ
มีท้ังงานส่วนผลิต ส่วนวางแผนและเทคนิค ส่วนบัญชี และงานสินเช่ือ ซึ่งก็เป็นประสบการณ์งานที่ท้าทายเช่นกัน
ผมเดนิ แนวทางเดมิ คอื มองทีภ่ าพใหญ่กอ่ น (Big picture) เรมิ่ จากก�ำหนด Vision เพื่อวาง Direction ใหพ้ นกั งาน
ม่ันใจว่าบริษัทน้ีจะ Growth ได้ด้วยแนวทางอย่างไร ก�ำหนดคนท่ีมี Potential เพื่อให้ได้มีโอกาสข้ึนมาท�ำงาน
แก้ปัญหา Weakness เร่อื ง Propylene Oxide ท่ี Volatile Price โดยการหา Second Source เพอื่ ใหส้ ามารถ
Negotiate ได้ ปรับปรุงวางแผนการผลิตให้สามารถท�ำได้จริง และ Align ทั้งส่วนผลิต ส่วนงานขาย ส่วนงาน
จัดซ้ือวัตถุดิบ และเน้นแผนรูปแบบ 3 Months rolling จัดให้มีคณะท�ำงาน Product Development โดยมี
บคุ ลากรจากสว่ นผลติ งาน RD. งานขาย เข้ามา Collaborate กนั และผลักดนั ใหห้ ัวหนา้ งานของส่วนผลิตออกไป
รบั รปู้ ัญหาของลกู คา้ รว่ มกบั ทาง Sale เพื่อช่วย Support งานของ Sale ในดา้ นเครือ่ งจักรของลกู ค้า ท�ำให้หัวหน้า
งานสว่ นผลิตได้ความรปู้ ระสบการณท์ ่ีดขี ึ้น เปน็ การปรบั เปลยี่ น Attitude และเกดิ Win-Win Solution

ขอสรุปมมุ มองการบริหารจากประสบการณ์
ทร่ี ว่ มแชรม์ าท้ังหมดดังน้ี

• Holistic Thinking ผบู้ ริหารตอ้ งร้จู ักมองภาพใหญ่
ของธรุ กจิ ให้เป็น

• Positive Thinking ผู้บริหารต้องคดิ เชิงบวก มองโลกในแง่ดี
• Visionary ผบู้ รหิ ารต้องมวี สิ ยั ทัศน์ กำ� หนด Direction

ให้ผู้ ใตบ้ งั คบั บญั ชาเกิดความมั่นใจในทศิ ทาง
• Decision Making ผบู้ ริหารต้องกล้าตดั สนิ ใจ
• Passion ผบู้ รหิ ารตอ้ งทุม่ เท ผลักดนั งานให้เกิดความส�ำเร็จ
• Take care ผู้บรหิ ารตอ้ งเอาใจใส่ดูแลลูกนอ้ ง ความเป็นอยู่

ให้โอกาสและสนับสนุนให้เตบิ โตก้าวหนา้

จากเร่ืองราวทั้งหลายท่ีเล่าผ่านมาทั้งหมดน้ี ท�ำให้รู้สึก
ไดว้ า่ ชวี ติ คนเราไมไ่ ดม้ แี นวทางกำ� หนดใหเ้ หมอื นในหลกั สตู รการ
บรหิ าร เปน็ เรอื่ งทเี่ กดิ ขนึ้ ใหเ้ ราตอ้ งเรยี นรู้ หาวธิ กี ารรบั มอื กบั สง่ิ
ต่าง ๆ ที่เกดิ ข้ึนมาในแตล่ ะชว่ งเวลาของชีวติ ท่ีมีท้ังสุขและทุกข์
หมุนเวียนอยู่ตลอดเวลา แต่ในทุกส่ิงทุกอย่างที่ได้เผชิญมานั้น
เม่อื หวลระลกึ ถึงครัง้ ใดกส็ ร้างความอ่ิมเอมใจให้กบั เราไดท้ กุ ครงั้
จงึ ขอฝากเรอ่ื งราวทสี่ ง่ั สมมากวา่ 29 ปนี แ้ี ดท่ กุ ทา่ นเพอ่ื รว่ มแชร์
ประสบการณต์ อ่ กนั

23

MR.VICHIT • ปณธิ านของเราคอื “องคก์ รตอ้ งอยรู่ อด” •

NITTAYANONTE

ถึงแม้ว่าพวกเรา
จะอยู่ในถ้�ำที่มดื มดิ
ผมกจ็ ะพาพวกเรา
ฟนั ฝ่าค้นหาทางออก
แมเ้ พยี งแสงสวา่ ง แคป่ ลายรเู ข็ม
พวกเรากจ็ ะกา้ ว เดินไปพรอ้ มกัน

ขอขอบคุณคณะผู้พิพากษาศาลล้มละลายกลาง ท่านกมล ธีรเวชพลกุล ท่ีให้ความเมตตาต่อพนักงาน ทีพีไอ
ท่ีให้โอกาส สหภาพแรงงานในเครือ ทีพีไอ น�ำเสนอข้อเท็จจริงต่อศาล และใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินคดี
อย่างเป็นธรรม และมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาจนเป็นคดีประวัติศาสตร์ท่ีศาลและรัฐบาลภายใต้การบริหารของท่าน
อดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาการฟื้นฟู ทีพีไอ ท่ีเป็นกรณีความขัดแย้ง
ทสี่ งู มากระหวา่ งเจา้ หนา้ ทแ่ี ละลกู หนี้ มยี อดหนมี้ ากทสี่ ดุ ของประเทศถงึ กวา่ 180,000 ลา้ นบาท พนกั งานยงั จำ� คำ� พดู
ของท่านอดตี นายกไดด้ ี “พนักงานไมต่ อ้ งกงั วล รัฐบาลจะไม่ปล่อยใหต้ กงานอย่างแน่นอน”

นอกจากต้องขอบคุณ รศ.ดร.วรพล พรหมหมกิ บตุ ร ,ดร.กิตติ ล่ิมสกุล, ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย, อ.ชพู งศ์ ถถ่ี ้วน,
อ.กมล กมลตระกลู ทุกท่านได้ ให้ความชว่ ยเหลอื และค�ำแนะนำ� ท่มี คี ่ายิ่ง พนกั งาน ทีพไี อ หรือ ไออารพ์ ซี ี จะไม่ลืม
และจะระลึกในความทรงจ�ำตลอดไป ที่ส�ำคัญจะอดกล่าวถึงไม่ได้คือพี่น้องชาวระยองท่ีคอยให้ก�ำลังใจไถ่ถามถึง
ความคืบหน้าในการแก้ไขปญั หาของบริษัทฯ

24

นอกจากท่ีกล่าวมาทั้งหมด คณะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ นับได้ว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทมากส�ำคัญท่ีตอบ
รับค�ำเชิญของศาลล้มละลายกลางเขามาแก้ไขปัญหาจนส�ำเร็จลุล่าว โดยเฉพาะท่าประธานคณะผู้บริหารแผนฯ
พล.อ.มงคล อัมพรพิสิฎฐ์ ที่มีความต้ังใจและมุ่งม่ันให้องค์กรอยู่รอดและพนักงานได้มีอนาคตที่ม่ันคง ตลอดจน
ผูบ้ ริหารแผนทกุ ๆ ท่าน ตลอดจนพนกั งาน ไออารพ์ ีซี ขอกราบขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นมา ณ โอกาสน้ี

ในทา้ ยทสี่ ดุ ขอขอบคณุ กรรมการสหภาพแรงงานในเครอื ทพี ไี อ ทกุ ทา่ น รวมถงึ เพอ่ื นพนกั งานทกุ ทา่ นทร่ี ว่ มเปน็
เพอ่ื นเดนิ ทางเคยี งบา่ เคยี งไหลฟ่ นั ฝา่ วกิ ฤตการณท์ ย่ี ากลำ� บาก ขอใหเ้ พอ่ื นพนกั งานทกุ ๆ ทา่ นไดม้ คี วามภมู ใิ จในความ
สำ� เรจ็ ของพวกเราทกุ ๆ คนรว่ มกนั และชว่ ยกนั บอกตอ่ ถงึ รนุ่ นอ้ ง ๆ ตอ่ ไปภายหนา้ เพอ่ื ปฏญิ าณวา่ พวกเราจกั หวงแหน
มรดกล้�ำค่าของชาติแหง่ นี้ใหค้ งอย่เู ปน็ สมบัตขิ องแผน่ ดนิ ไทยตอ่ ไปตราบนานเทา่ นาน

25

26

ความในใจ คุณ วีรวัฒน์ ศรนี รดิษฐเ์ ลิศ

รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่
สายบริหารและพฒั นาศักยภาพองค์กร

ขอเรยี กวา่ “พอี่ อ๊ ด” ผมไดร้ ่วมงานกับพ่ีอ๊อดมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะชว่ งการฟื้นฟูกิจการของ
บรษิ ทั ทพี ีไอ ทพี่ อ่ี อ๊ ดเปน็ ประธานสหภาพ ผมไดค้ ลกุ คลแี ละทำ� งานรว่ มกนั อยา่ งจรงิ จงั สงิ่ ทผ่ี มประทบั ใจ
พอี่ ๊อดเปน็ เร่อื งของความเป็นผนู้ ำ� ลักษณะความเปน็ ผู้น�ำในภาวะที่บรษิ ัทเกดิ วกิ ฤต

พ่ีออ๊ ดเปน็ ผู้น�ำท่กี ลา้ หาญและน�ำพวกเราผ่านมรสุม
และการแก้ไขปญั หาต่าง ๆ โดยทจ่ี ะท�ำใหส้ �ำเร็จ

ส่งิ ที่ส�ำคัญคือความเป็น Role Model ของพอี่ ๊อด
ท่ีแสดงออกถึงความมุ่งมนั่ ความเสียสละ

โดยเฉพาะชว่ งนน้ั มคี วามเสย่ี งทเี่ กดิ ขน้ึ ในการทจี่ ะประกอบวชิ าชพี ในการทจ่ี ะเปน็ พนกั งาน พอี่ อ๊ ดทำ� ใหเ้ หน็ ถงึ ความ
เสียสละและมีเป้าหมายชัดเจน ผมยังจ�ำค�ำพูดของพ่ีอ๊อดได้ ซึ่งพี่อ๊อดก็มักจะพูดประโยคน้ีในการสื่อสารกับเพื่อน
พนักงานบ่อย ๆ ว่า “แม้เพียงปลายอุโมงค์จะมีแสงสว่างเท่ารูเข็ม ก็จะมุ่งมั่นท่ีจะพาพวกเราไปสู่แสงสว่างท่ีปลาย
อโุ มงค์นั้น”

เมื่อครั้งที่อยู่ในช่วงฟื้นฟูกิจการ เราก็ท�ำงานร่วมกันมาแบบอดหลับอดนอนพอสมควร ต่ืนเช้ามืดเดินทางเข้า
กรงุ เทพฯ เปน็ ประจำ� เพอื่ ทจ่ี ะไปพบกบั ผู้ ใหญท่ จี่ ะชว่ ยเหลอื เราได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ฝง่ั รฐั บาล รวมทงั้ ฝง่ั ผเู้ กย่ี วขอ้ งทง้ั หมด
ทีพ่ อจะช่วยเหลือเราได้เราก็พยายามไปพบ ความเสียสละ ความมุง่ มั่น การมเี ป้าหมายท่ชี ดั เจนอยา่ งที่ยกตัวอย่างไป
รวมทงั้ การท�ำงานเป็นทีม จะเหน็ ไดจ้ ากประธานสหภาพอยา่ งพอี่ ๊อด

นอกจากความเสียสละ ความมุ่งมั่น และการมีเป้าหมายที่ชัดเจนแล้ว พี่อ๊อดยังเป็นคนท่ีรับฟังความคิดเห็นของ
ผอู้ นื่ คอ่ นขา้ งสงู ในชว่ งแรกของการทำ� งานอาจจะเกดิ ความคดิ เหน็ ทถี่ กเถยี งกนั คอ่ นขา้ งรนุ แรง แตห่ ลงั จากไดท้ ำ� งาน
ร่วมกัน พวกเราก็ได้ช่วยกันแสดงความคิดเห็นซ่ึงพ่ีอ๊อดก็รับฟัง พี่อ๊อดเป็นผู้รับฟังความคิดเห็นและให้เกียรติทุกคน
ในทีม ความส�ำเร็จท่ีเกิดข้ึนผมคิดว่าอยู่ท่ีผู้น�ำค่อนข้างเยอะ ส่ิงที่พี่อ๊อดแสดงความเป็นผู้น�ำในลักษณะน้ันออกมา
ผมคิดว่าเปน็ ตน้ แบบทีท่ ุกคนควรจะได้รบั รู้ไว้ ถงึ คุณสมบัติความเปน็ ผนู้ �ำของพ่ีออ๊ ดอย่างแทจ้ ริง

27

28

ความในใจ คุณ นเรศว์ อิ้วศรีสกุล

ผ้จู ดั การแผนกโรงซอ่ มอปุ กรณ์ไฟฟ้าและระบบส่ือสาร
ฝา่ ยบ�ำรุงรกั ษา 2 สายงานวิศวกรรมและบำ� รงุ รกั ษา

เสน้ ทางการตอ่ สรู้ ว่ มกนั ในชว่ งการเปน็ สหภาพในบทสมั ภาษณ์ ผมขออนญุ าตเรยี ก พวี่ ชิ ติ วา่ พอี่ อ๊ ด นะครบั

ปี พ.ศ. 2540 บรษิ ัท ทีพไี อ (ตอ่ มาเปลีย่ นเปน็ บริษัท ไออาร์พซี ี) เกิดวกิ ฤติเศรษฐกจิ ขณะนนั้ พนกั งานมีความสบั สน
กันมาก มกี ารน่ังจบั กลมุ่ คุยกนั ถึงทิศทางตา่ ง ๆ ของบรษิ ัทฯ และไดพ้ ูดคุยถงึ อนาคตของพนกั งานดว้ ยกนั เอง หลายคนกังวล
เร่ิมส้นิ หวงั แต่ก็ยงั สงั เกตไุ ด้วา่ ยงั มีอกี หลายคนท่พี ร้อมจะร่วมต่อสูแ้ ก้ปญั หาไปพรอ้ มกับบริษัทฯ

ชว่ งแรก ๆ นัน้ ผมเปน็ หน่ึงในกลุ่มคนท่ียังไม่เขา้ ใจผลกระทบต่าง ๆ ทีจ่ ะมีในอนาคต คอื รวู้ า่ บรษิ ทั ประสบปญั หาการเงิน
แตย่ งั ไม่รู้ว่าปัญหาเหล่านม้ี ันใหญ่โตมาก และยังไมร่ วู้ า่ ปัญหามันจะสง่ ผลกระทบกบั ตวั พนกั งานอย่างไรบา้ ง หลายมาตรการ
เร่มิ ถูกนำ� มาใช้เพอื่ แก้ปัญหาของบรษิ ทั ฯ โดยเป็นการขอความรว่ มมือจากผู้บรหิ าร ซง่ึ พนักงานก็ให้ความรว่ มมือเปน็ อย่างดี
เชน่ ไม่มกี ารปรับเงนิ เดอื นประจำ� ปี มกี ารขอลดเงนิ เดอื น มกี ารชลอการจ่ายโบนัส

การเข้ารว่ มกับสหภาพฯ ของผม เร่มิ จากผมไปฟังตัวแทนสหภาพฯ ปราศรยั หนา้ ตกึ 10 ปี (ซึง่ เป็นชว่ งแรก ๆ ของการ
กอ่ ต้งั สหภาพฯ) วันนั้นเป็นเวลาชว่ งบา่ ย ผมฟงั การไฮปาร์ค ฟังไปเรอื่ ย ๆ จนกระทงั่ ไดฟ้ ังพี่ออ๊ ดขน้ึ มาพูด (ในตอนน้ันผมยัง
ไมร่ วู้ า่ พอี่ อ๊ ดเปน็ ใคร) ผมรสู้ กึ วา่ พค่ี นนม้ี บี คุ ลกิ พเิ ศษ พดู มพี ลงั มกี ารพดู ทสี่ ภุ าพ และเตม็ ไปดว้ ยความกลา้ หาญและเดด็ เดย่ี ว
มเี หตมุ ผี ล ในวันนนั้ พีอ่ ๊อดมีค�ำปราศรยั ทีส่ ามารถกระตุ้นและปลกุ เร้าผมได้ จำ� ประโยคได้ประมาณวา่ “เสมอื นพวกเราอยู่ใน
ถ้�ำท่ีมดื มิด แม้มแี สงสวา่ งเทา่ รูเขม็ ที่ปลายอุโมงค์ พวกผมกจ็ ะพาพวกเราฝ่าฟนั อุปสรรคออกไปให้ได”้ ผมจงึ เรมิ่ รสู้ ึกมีความ
ศรัทธาตอ่ ตัวพอ่ี อ๊ ดตั้งแต่วนั นัน้

วันน้ันพ่ีอ๊อดได้กล่าวถึงความยากล�ำบากในการท�ำงานของสหภาพฯ และได้ชักชวนพนักงานที่มาฟังปราศรัยให้
มาช่วยกันท�ำงานให้สหภาพฯ และหลังการปราศรัยจบ ผมจึงไปสมัครเป็นอนุกรรมการด้านประชาสัมพันธ์กับพี่หมึก
(พี่ถิรวุฒิ ช้างเยาว)์ ทนั ที และถอื เปน็ การเริ่มตน้ การท�ำงานรว่ มกบั สหภาพฯ ต้ังแตน่ นั้ เปน็ ตน้ มา

ต่อมาในฐานะกรรมการสหภาพฯ ผมมีโอกาสท�ำงานร่วมกับพี่อ๊อดมากขึ้น ผมย่ิงได้สังเกตุเห็นตัวตนของพี่อ๊อด
ในหลายเวที พีอ่ ๊อดเป็นคนทจ่ี รงิ จังกบั งานมาก ตรงไปตรงมา มีความรับผิดชอบสูง ติดตามงานทุกอย่าง มีความเปน็ ผู้น�ำสูง
มาก ๆ งานสหภาพฯ สมยั น้นั มีความกดดันสงู มาก มีผลกระทบต่อผู้มีสว่ นได-้ เสีย หลาย ๆ กล่มุ ซ่งึ ผมจะสังเกตเุ หน็ ว่า การ
ตัดสินใจทกุ ครัง้ พี่อ๊อดและสหภาพฯ จะตดั สนิ ใจภายใต้เง่อื นไข “การอยูร่ อดขององคก์ รและพนักงาน” ทุกครัง้

สมัยน้ัน หลายคร้ังท่ีต้องตื่นตั้งแต่ตี 4 เพ่ือนั่งรถเข้ากรุงเทพฯ และกลับถึงระยอง เข้าบ้านมืดค่�ำ เพื่อท�ำภาระกิจสห
ภาพฯ-รักษาองค์กรและความอยู่รอดของพนักงาน พ่ีอ๊อดและสหภาพฯ ท�ำอย่างนี้มาหลายปี ถือเป็นความอดทนและมุ่งม่ัน
อย่างมาก ทัง้ ๆ ที่ในขณะนนั้ มงี านประจ�ำท่ตี อ้ งบริหารอย่ดู ว้ ย ในท่สี ุด สหภาพฯ ภายใตก้ ารน�ำของพีอ่ อ๊ ด รวมถึงความรว่ ม
มอื ของทกุ ๆ ภาคสว่ นทเ่ี ห็นว่าองคก์ รตอ้ งอยู่รอด ก็ไดร้ ว่ มกนั น�ำพาองค์กร ไออาร์พีซี ของพวกเรา ออกจากแผนฟน้ื ฟูสำ� เรจ็
เมือ่ 26 เมษายน 2549

ผมคงกล่าวรายละเอียดต่าง ๆ ของสหภาพฯ ภายใต้การน�ำของพ่ีอ๊อด และความร่วมแรงร่วมใจกันของทุกฝ่าย ในบท
สัมภาษณน์ ี้ไมห่ มด แตจ่ ะแนะน�ำวา่ หากพนักทา่ นใดสนใจอยากร้เู รื่องราวประวัติศาสตรก์ ารพทิ ักษอ์ งคก์ รของสหภาพฯ ทา่ น
สามารถหาขอ้ มลู อา่ นได้จาก “หนังสือสมุดปกขาว” และเข้าชม “หอประวัติศาสตร์การพิทักษ์องค์กร” ได้ครบั

29

30

ความในใจ คณุ จรี ภา วฒั นชยั

เจา้ หนา้ ท่อี าวโุ ส หนว่ ยงานองค์กรแหง่ การเรยี นร ู้
สายงานทรัพยากรบคุ คล สายบริหารและพัฒนาศกั ยภาพองคก์ ร

เนอ่ื งในโอกาสที่พี่วชิ ิต (พี่อ๊อด) จะเกษียณอายกุ ารท�ำงานจากบรษิ ัท ไออาร์พีซี
กอ่ นอน่ื ตอ้ งขอเขียนแสดงความรู้สกึ จากใจเลยคะ่ ว่า

“ขอขอบคณุ พ่ีจากใจจรงิ ท่พี ี่ไดท้ ุม่ เทกบั การท�ำงาน
ใหก้ ับองค์กรแห่งนีม้ ายาวนาน ได้ทุ่มเททัง้ แรงกาย แรงใจ

ใหก้ บั บริษทั ของพวกเราด้วยดตี ลอดมา...”

“นบั ไดว้ า่ ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ทพ่ี ที่ ำ� งานอยู่ พ่ีไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีไดอ้ ยา่ งดเี ยยี่ มเสมอมา ไม่ใชเ่ พราะ
วา่ บทบาทหน้าท่ีเทา่ นั้น แต่พ่ีไดท้ �ำออกมาจากใจ จากความรสู้ กึ ท่ีท่มุ เทและมงุ่ มัน่ ของพ่จี ริง ๆ ซง่ี เชอ่ื วา่
ทงั้ ผบู้ ริหารและผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาของพจ่ี ะรบั รูแ้ ละรู้สกึ เชน่ เดียวกันค่ะ”

นอกเหนือจากเร่ืองงานท่ีพ่ีปฎิบตั หิ น้าท่ีไดด้ มี ากแลว้ พ่อี ๊อดยงั เปน็ พี่ชายทีน่ า่ รกั ของนอ้ ง ๆ (แฟนคลับเยอะมาก
ดว้ ยคะ่ …555) พี่เปน็ กนั เองกับนอ้ ง ๆ ทุกคนทมี่ ีโอกาสได้ร้จู ักและใกลช้ ิดพ่ี ดภู ายนอกพ่อี ๊อดจะดูซีเรียส หน้าไมค่ อ่ ย
ยม้ิ (อนั นห้ี ลาย ๆ คนแซวมาคะ่ ) แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ตรงกนั ขา้ มเลยคะ่ พเ่ี ปน็ ผู้ใหญ่ใจดี อธั ยาศยั ดี มคี วามใส่ใจกบั นอ้ ง ๆ
ทกุ คนเปน็ อย่างดี อีกอย่างหน่งึ ท่ีชืน่ ชมพี่ในเรอ่ื งของการดแู ลครอบครัว พอี่ อ๊ ดเปน็ ผนู้ ำ� ครอบครัวทีด่ ีมากเลยค่ะ

ความดี ความน่ารัก ของพี่อ๊อดมีเยอะมากมายค่ะ หากจะเขียนเป็นหนังสือคงได้หลาย ๆ เล่ม จึงขออนุญาต
ทีมงาน KM ทน่ี ่ารกั ที่ได้จัดทำ� หนงั สอื เล่มน้ขี น้ึ มาบรรยายออกมาเพียงสั้น ๆ เพยี งส่วนหนึง่ เทา่ นัน้ คะ่

ท้ายน้ีส�ำหรับพ่ีอ๊อด… กี้ขอเป็นตัวแทนทุกคนที่รักและเคารพนับถือพี่ ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและ
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีพ่ีเคารพนับถือ โปรดประทานพรให้พ่ีประสบแต่ความสุขความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
มีความสขุ กบั ชวี ติ หลังเกษยี ณ มเี วลามากข้ึน ใช้วนั เวลาท่สี วยงามในการดูแลสขุ ภาพกายใจ ขอให้มีชวี ติ ประจำ� วันท่ี
ดตี ลอดไปค่ะ

ดว้ ยความเคารพรกั และนบั ถือ
(ก)้ี จรี ภา

31

32

33

34

35


Click to View FlipBook Version