The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุมชนนวัตกรรม 64 ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by abc.rmutsv.tr, 2022-04-26 08:02:42

หนังสือชุมชนนวัตกรรม 64 ฉบับสมบูรณ์

หนังสือชุมชนนวัตกรรม 64 ฉบับสมบูรณ์

บทน�ำ

ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะปานกลาง 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) ก�ำหนด
วิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยแห่งนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนาภูมิภาคอย่างมั่นคง” ซ่ึงเป็นวิสัยทัศน์ในระยะ 5 ปีแรก ในการ
ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ไปสู่
เป้าหมายวิสัยทัศน์ระยะยาว “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อสังคม” โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยในการสร้าง
ความโดดเด่นและเป็นเลิศเฉพาะทางตามอัตลักษณ์เชิงพื้นท่ี สร้างงานวิจัยเพ่ือพัฒนาเชิงพื้นที่และก่อให้เกิดคุณค่าทาง
เศรษฐศาสตร์ สร้างนวัตกรรมการบริการวิชาการท่ีก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ
งานวิจัยเพ่ือพัฒนาเชิงพื้นที่เป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายพันธกิจมหาวิทยาลัยกับสังคม
โดยมหาวิทยาลัยฯ ได้วางแนวทางการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีให้มุ่งเน้นการท�ำงานวิจัยแบบบูรณาการศาสตร์(Transdisciplinary
Research) ระหว่างนักวิจัยต่างคณะ ต่างวิทยาเขต ผสานองค์ความรู้ทางด้านวิชาการร่วมท�ำงานพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสม นวัตกรรมพร้อมใช้ จากโจทย์ความต้องการของชุมชนสังคม เพ่ือแก้ปัญหาความต้องการของพื้นที่ ช่วยสร้างขีด
ความสามารถในการผลิตและการบริการของชุมชน เพ่ิมโอกาสทางการตลาด สร้างการกระจายรายได้ในชุมชนอย่างเป็นธรรม
โครงการการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีภายใต้บริบทชุมชน “เขา ป่า นา เล” ในพื้นท่ีจังหวัด
ตรังและจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้กรอบ Flagship ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน เป็นโครงการวิจัยประจ�ำ
ปีงบประมาณ 2564 ที่มหาวิทยาลัยฯ ได้รับสนับสนุนจากหน่วยหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการพัฒนาระดับพ้ืนท่ี
(บพท.) ภายใต้แพลตฟอร์มการวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาเชิงพื้นท่ีและลดความเหล่ือมล้�ำ มีเป้าหมายเพ่ือเสริม
สร้างขีดความสามารถของชุมชนในการเรียนรู้และรับปรับใช้นวัตกรรม สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงและจัดการ
ปัญหาในชุมชน พ่ึงตนเองได้อย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นโอกาสท่ีมหาวิทยาลัยฯจะใช้เป็นเครื่องมือน�ำองค์ความรู้ไปสู่การพัฒนาพื้นท่ี
เพ่ือหนุนเสริมความเข้มแข็งของชุมชนสู่ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภริ ักษ์ สงรกั ษ์
รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั

ผอู้ �ำนวยการแผนงานวิจยั

โครงสร้างการบริหารจดั การ งานวจิ ยั เพื่อพัฒนาเชงิ พื้นท่ี

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั ไดก้ ำ�หนดให้สถาบันวิจยั และพัฒนาด�ำ เนินการวางแผนพฒั นาระบบการ
บริหารจัดการงานวิจยั ในลกั ษณะบูรณาการเชิงพื้นท่ี ผา่ นหน่วยจัดการงานวจิ ัยเพอื่ พัฒนาเชิงพนื้ ที่ โดยการก�ำ กบั ดูแลของรอง
อธิการบดีที่รับผดิ ชอบดา้ นวจิ ัยและบริการวชิ าการ และมอี ธกิ ารบดีเป็นท่ปี รกึ ษาเพ่อื ให้บรรลผุ ลส�ำ เร็จไดโ้ ดยการขับเคลอื่ น
ระบบและกลไกการบรหิ ารจัดการงานวิจยั เชงิ พนื้ ที่ ผ่านการทำ�งานของหน่วยจัดการงานวจิ ัยเพ่อื พฒั นาเชิงพนื้ ที่ สำ�หรับหนว่ ย
จัดการงานวิจยั เพอื่ พัฒนาเชงิ พนื้ ที่ ท�ำ หนา้ ท่ีประสานงานใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ระหวา่ งนกั วิจัยของมหาวทิ ยาลยั กับภาคีเครอื ข่าย
ภายนอกมหาวทิ ยาลยั โดยก�ำ หนดพ้นื ทแี่ ละเป้าหมายการท�ำ งานรว่ มกนั กบั หน่วยงานในพ้นื ท่ี
สำ�นักการจัดการนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานจัดตั้งภายในทำ�หน้าที่สนับสนุนการพัฒนา
เทคโนโลยีและขับเคลอื่ นการใช้ประโยชน์

กรอบการวจิ ยั ชุมชนนวตั กรรม เพ่ือการพัฒนาอย่างย่งั ยนื







ผลการด�ำ เนนิ งานวจิ ยั

แผนวจิ ยั การยกระดับเศรษฐกิจฐานรากดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยภี ายใต้บรบิ ทชุมชน “เขา ปา่ นา เล” ในพืน้ ที่
จังหวัดตรังและจังหวัดนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 11 โครงการ มีการวางระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัย แบ่งออกเป็น
3 สว่ น ได้แก่ การบรหิ ารจัดการตน้ น�้ำ (Upstream) การบริหารจัดการกลางน้ำ� (Midstream) และการบรหิ ารจัดการปลายน�ำ้
(Downstream) ผลการด�ำเนินงานวิจัยพบวา่ แผนงานวจิ ยั ไดส้ ร้างนวตั กรชาวบา้ น จ�ำนวน 84 คน มเี ทคโนโลยที เ่ี หมาะสมและ
นวตั กรรมพรอ้ มใช้ท่ีเกิดขนึ้ หลงั การด�ำเนนิ โครงการ จ�ำนวน 23 ผลงาน

สรปุ ผลการดำ�เนนิ งาน

แผนงานวจิ ยั

กลุ่มเทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี ชุดความรู้ เทคโนโลยี
ทเ่ี หมาะสม การเกษตร เคร่อื งจักร ดา้ นสมุนไพร ผลิตภณั ฑ์ ดา้ นธรุ กิจ การท่องเท่ยี ว

และนวตั กรรมพร้อมใช้ อาหาร

จ�ำ นวน
นวตั กรรมชุมชน

23

จ�ำ นวนนวัตกร
ชาวบ้าน
84

ระดับความพรอ้ ม
ทางเทคโนโลยี
(TRL)

ก่อน หลงั

ระดบั ความพรอ้ ม
ทางสงั คม
(SRL)

กอ่ น หลัง

8

คณุ ลกั ษณะของนวตั กรชาวบา้ น ในแผนงานวจิ ยั

วธิ กี ารคดั เลอื ก วิธกี ารพัฒนา คณุ ลักษณะ บทบาทหนา้ ท่ี
หลังการพัฒนา ในชุมชน

1. คณุ สมบตั ทิ เ่ี หมาะตอ่ เงอื่ นไขการ 1. การรว่ มปรกึ ษาหารอื และเรยี นรู้ 1. มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ 1. ท�ำหนา้ ทสี่ นบั สนนุ และดแู ลการ
ใชน้ วตั กรรมชมุ ชน ดว้ ยกนั แกป้ ญั หาและลงมอื ท�ำได้ ใชง้ าน แกป้ ญั หา ซอ่ มแซมเทคโนโลยี
2. การเปดิ โอกาสในสมาชกิ ในชมุ ชน 2. การลงฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารจรงิ
3. การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 2. มที กั ษะในการพฒั นาตอ่ ยอด ทไี่ ดร้ บั
มสี ว่ นรว่ ม และ บ�ำรงุ รกั ษาเทคโนโลยไี ด้ 2. ท�ำหน้าที่พัฒนาต่อยอดและ
3. การประเมนิ ความรู้ ความสามารถ 4. การเพม่ิ ทกั ษะเฉพาะดา้ น 3. มีความสามารถในการถ่ายทอด ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยไี ดต้ อ่ เนอื่ ง
เดิมของผู้จะเข้าสู่กระบวนการ 5. การทดสอบและวดั ผล ความรู้ และออกแบบ วางแผน 3. เปน็ ผถู้ า่ ยทอดความรใู้ หผ้ สู้ นใจ
พฒั นาเปน็ นวตั กรชมุ ชน 6. การทวนสอบและหนนุ เสรมิ การพัฒนาชมุ ชน/กลุ่ม ได้จริง ในชุมชนและพ้ืนท่ีใกล้เคียงได้
4. เงอ่ื นไขหรอื คณุ ลกั ษณะพเิ ศษท่ี 7. การสรา้ งเครอื ขา่ ย
และเชอ่ื มประสานหนว่ ยงาน/ชดุ
พงึ มี ความรู้ เพอื่ การชว่ ยยกระดบั ชมุ ชน

จ�ำ นวนนวัตกรชาวบา้ นแผนวจิ ัยการยกระดับเศรษฐกจิ ฐานรากดว้ ยนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ภายใต้บริบทชมุ ชน “เขา ป่ า นา เล” ในพ้ืนท่จี งั หวดั ตรงั และจังหวดั นครศรีธรรมราช

ทกั ษะ ระดบั ขดี ความสามารถ จำ�นวนนวัตกรชาวบ้าน
4 คน
ทกั ษะการสังเกต ระดบั ท่ี 1 มคี วามรูแ้ ละเข้าใจบรบิ ทชุมชนของตนเอง

ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ระดับท่ี 2 มคี วามสามารถในการวิเคราะหป์ ั ญหา 2 คน
ทักษะอาชพี 29 คน
ทกั ษะการบริหาร ระดับท่ี 3 มีความสามารถในการแกป้ ั ญหา 31 คน

ระดับท่ี 4 มีความรู้ ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ 18 คน
ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรไู้ ด้

ระดับท่ี 5 มคี วามสามารถในการบริหารจัดการ การ
พัฒนาแผนเขา้ สู่หนว่ ยงานภาครฐั เช่อื มประสาน
และสร้างเครือขา่ ยความร่วมมือได้

“ ”มติ ชิ ุมชนเขา นวตั กรรมเพื่อยกระดบั คณุ ภาพขมน้ิ ดว้ ง

ของกลมุ่ ผปู้ ลกู ขมนิ้ ดว้ งบา้ นวงั หอน
อ�ำเภอชะอวด จงั หวัดนครศรธี รรมราช

บริบทชมุ ชน

บา้ นวงั หอน หมทู่ ี่ 5 ต.วงั อา่ ง อ.ชะอวด จ.นครศรธี รรมราช ประชาชนสว่ นใหญท่ ำ� อาชพี สวนยางพารา รอ้ ยละ 60 ปาลม์ นำ�้ มนั และปลกู ขมนิ้ ดว้ งรอ้ ยละ 15
เน่อื งจากยางพารา ราคาถูก “กล่มุ วสิ าหกจิ สวนสมรมบา้ นวังหอน” จำ� นวนสมาชิก 15 คนมกี ารเพาะปลกู ขมิ้นดว้ ง และขายขมนิ้ ด้วงสดในเชงิ พาณชิ ย์
เพอ่ื เปน็ อาชพี เสรมิ

Pain Point เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม
และนวัตกรรมพร้อมใช้
1. กลมุ่ วสิ าหกจิ ขาดระบบการจดั การดนิ
และการดแู ลรกั ษาโรคพชื ของขมนิ้ ดว้ ง 1. สารชีวภณั ฑท์ ่มี เี อกลกั ษณส์ ำ� หรบั ขมนิ้ ดว้ งจากเชื้อจุ ลินทรยี ์ไตรโคเดอรแ์ ละ
2. กลุ่มวิสาหกิจขาดองค์ความรู้ในการพัฒนา การเตรยี มเช้ือสงั เคราะหแ์ สงเพ่อื นำ� ไปผลติ เปน็ นำ้� หมกั ปลาท่มี กี รด 5 อะมโิ นลวี ูลนิ กิ
ผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐานจากขมิ้นด้วง 2 . เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ป ลู ก ข มิ้ น ด้ ว ง แ บ บ ค ว บ คุ ม ด้ ว ย ร ะ บ บ ฟ า ร์ ม อั จ ฉ ริ ย ะ

การเปล่ยี นแปลงท่เี กิดขน้ึ ระดบั นวตั กรชาวบา้ น

ระบบการปลูกแบบควบคุมสภาพแวดล้อมด้วยระบบฟาร์มอัจฉริยะร่วมกับ
การใช้สารชีวภัณฑ์จากเชื้อจุ ลินทรีย์ไตรโคเดอร์ส่งผลให้เกิดการเน่าของ
แงง่ ระหวา่ งการปลูกท่นี ้อยลง ตน้ มกี ารเจรญิ เติบโตท่ีดี ไมพ่ บการท�ำลาย
จากศตั รูพืช
ขม้ินด้วงมคี ณุ ภาพและปลอดภัยตามความต้องการของตลาด
กลมุ่ วสิ าหกจิ สวนสมรมบา้ นวงั หอน มรี ายไดจ้ ากการจำ� หนา่ ย “ขมนิ้ ดว้ ง”
เพ่มิ ขน้ึ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 15

21
2

Learning and innovation Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

platform (LIP) “การสรา้ งการเรยี นร”ู้ นวัตกรระดับ 3 มีทักษะการเปลี่ยนแปลง สามารถซอมบํารุง
อุปกรณเบอ้ื งตน ได แกป ญ หาในกระบวนการปลกู โดยโรงเรอื นอจั ฉรยิ ะ
นายสถานี (Platform Admain) ตวั ความรทู้ เี่ หมาะสม และแกป ญ หาการปนเปอ นของเชอ้ื ในการผลติ สารชวี ภณั ฑ์
นางสาวกาญจนา เกอื้ แกว้ -ระบบการปลูกขม้นิ ด้วงแบบควบคุม
นวัตกรระดบั 4 มีทกั ษะการเปลี่ยนแปลง เปนวิทยากรในการถา ยทอด
เกปาา้ รหบมราหิ ยากรจารดั เกรายี รนแรลู้ะการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ สภาพแวดล้อมด้วยระบบฟาร์ม กระบวนการปลูกขมิ้นดวงการใชสารชวี ภณั ฑ์
การผลติ ขมน้ิ ดว้ งบา้ นวงั หอน อจั ฉรยิ ะ นวัตกรระดับ 5 มีทักษะการเปลี่ยนแปลง เกษตรกรมีความรู
-อ ง ค์ความ รู้สาร ชี วภัณ ฑ์ท่ี มี การเตรยี ม คัดเลอื กเชือ้ จุลินทรยี ในการผลิตสารชีวภัณฑท่เี หมาะกบั
พน้ื ทก่ี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั เอกลักษณ์สาํ หรบั ขมนิ้ ดว้ ง การปลกู ขม้ินดวง
วสิ าหกจิ สวนสมรมบา้ นวงั หอน ผเู้ รยี นรแู้ ละผถู้ า่ ยทอดความรู้
กิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการ -นวตั กรชาวบา้ น หวั หนา้ โครงการวจิ ยั
ความรู้ -นกั วจิ ยั ผศ.ดร.ธนากรณ์ ด�ำสุด
-ถ่ายทอดและสาธิตการเพาะปลูกขม้ินด้วง
ดว้ ยระบบฟารม์ อจั ฉรยิ ะ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
-ถ่ายทอดและสาธิตการผลิตสารชีวภัณฑ์
จากเช้ือจุลนิ ทรยี ไ์ ตรโคเดอร์

9

นวัตกรรมเพิ่ มมูลค่าสมุนไพรสู่ผลิตภัณฑ์ “ ”มิตชิ ุมชนปา่
มลู คา่ สูงของชมุ ชนต�ำบลควนกรด

อำ�เภอท่งุ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บรบิ ทชมุ ชน

ต.ควนกรด อ.ทงุ่ สง จ.นครศรธี รรมราช ทำ� อาชพี เกษตรกรรอ้ ยละ 68.05 โดยมพี นื้ ทใ่ี นการเพาะปลกู ประมาณ 18,000 ไร่ หรอื ประมาณ รอ้ ยละ 70.34
ของพนื้ ท่ี ทงั้ หมด สมาชกิ จำ� นวน 30 คน

Pain Point เทคโนโลยที ี่เหมาะสม
และนวัตกรรมพร้อมใช้
1.กลุม่ เกษตรกรภายใต้โครงการโคกหนองนาโมเดล ขาดความรู้และทกั ษะใน
การปลกู พชื ตามมาตรฐาน GAP 1. ระบบผลติ สมุนไพรตามมาตรฐานการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรท่ดี ี (GAP)
2.ชุมชนขาดความต่อเน่ืองการพฒั นาผลิตภัณฑข์ องชุมชน 2. นวตั กรรมการพฒั นาผลติ ภณั ฑม์ ูลคา่ สงู

การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดข้นึ

กลมุ่ เกษตรกรสามารถผลติ แปรรูป และการจดั การผลติ ภณั ฑต์ าม
มาตรฐาน GAP และมผี ลติ ภณั ฑจ์ ากการแปรรูปและกอ่ ใหเ้ กดิ การแลก
เปล่ยี นเรยี นรูผ้ า่ นนวตั กรชุมชน
ชุมชนสามารถถา่ ยทอดกระบวนการผลติ การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตร
ท่ดี ี (GAP) และนวตั กรรมผลติ ภณั ฑจ์ ากการแปรรูปสมุนไพรมูลคา่ สงู

ระดับนวัตกรชาวบา้ น

33

Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

Learning and innovation นวัตกรระดับ 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง ดา้ นกระบวนการผลติ และการแปรรูป
และสามารถเปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรูแ้ กผ่ ูอ้ ่นื ได้
platform (LIP) “การสร้างการเรียนร”ู้

นายสถานี (Platform Admain) ตวั ความรทู้ ี่เหมาะสม นวตั กรระดับ 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง สามารถดำ� เนนิ งานตามแผนธุรกจิ ได้
นายภารดี นนทะวงศรี องค์ความรู้กระบวนการผลิตตาม สามารถส่อื สารทางการตลาดกบั กลมุ่ ลกู คา้ เป้าหมาย และสามารถเปน็ วทิ ยากร
เปา้ หมายการเรยี นร ู้ การเพ่มิ มูลคา่ มาตรฐาน (GAP) การปลกู ขา่ ใหค้ วามรูแ้ กผ่ ูอ้ ่นื ได้

สมุนไพร (ขา่ ) สผู่ ลติ ภณั ฑม์ ูลคา่ สงู องค์ความรู้การยกระดับมาตรฐาน
ของชุมชน ผลติ ภณั ฑข์ า่

พื้นทก่ี ารเรยี นรรู้ ่วมกนั องคค์ วามรูร้ ะบบสารสนเทศเพ่อื การ
พนื้ ท่ศี นู ยเ์ รยี นรูว้ ถิ พี อเพยี งต.ควนกรด จดั การทางธุรกจิ บนฐาน Digital
และ พนื้ ท่อี บต.ควนกรด Platform

กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการจัดการ ผู้เรียนรูแ้ ละผ้ถู า่ ยทอดความรู้ หัวหน้าโครงการวจิ ยั
ความรู้ - นวตั กรชาวบา้ น ผศ.ดร.เกียรตขิ จร ไชยรตั น์
-กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรู(้ Best Prac- - นกั วจิ ยั
tice)
- กจิ กรรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารและการศกึ ษา คณะเทคโนโลยีการจดั การ

ดงู าน

9

การยกระดับกระบวนการผลิตเมล็ดโกโก้แห้งให้ได้

“ ”คณุ ภาพตามมาตรฐาน: กรณศี ึกษาต�ำ บลสระแกว้ มติ ชิ ุมชนป่ า

อำ�เภอท่าศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช

บรบิ ทชมุ ชน

ต.สระแก้ว อ.ทา่ ศาลา จ.นครศรธี รรมราช มีพ้นื ท่ปี ลกู โกโก้ท้ังสิ้นประมาณ 925 ไร่ ผลผลิตมีจ�ำนวนทงั้ ส้ิน 26,870 ตน้ และยงั ไม่ใหผ้ ลผลิต 17,908 ตน้
“กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนทา่ ศาลา” มสี มาชกิ จำ� นวน 41 ราย ผลผลติ เมลด็ โกโกแ้ หง้ อยทู่ ป่ี ระมาณ 300 กโิ ลกรมั ตอ่ เดอื น คดิ เปน็ กำ� ไรสทุ ธติ อ่ เดอื นเทา่ กบั 9,000
บาทตอ่ เดอื น

Pain Point เทคโนโลยีท่เี หมาะสม
และนวัตกรรมพรอ้ มใช้
1. กลมุ่ วสิ าหกจิ ขาดตลาดท่รี บั ซ้ือผลผลติ โกโกอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง
2.กลมุ่ วสิ าหกจิ ขาดกระบวนการหมกั และอบแหง้ ท่ไี ดม้ าตรฐานเพ่อื ผลติ เมลด็ 1. ตอู้ บแหง้ เมลด็ โกโกด้ ว้ ยพลงั งาน
โกโก้แห้งท่ีได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและปลอดภัย 2. ระบบถงั หมกั โกโก้

การเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดขนึ้

กลมุ่ วสิ าหกจิ สามารถผลติ เมลด็ โกโกแ้ หง้ ท่ีมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสง่ ผล
ใหร้ ายไดก้ ารจำ� หนา่ ยเพ่มิ ขนึ้
ไดช้ ่องทางการจำ� หนา่ ยเมลด็ โกโกแ้ หง้ กบั กลมุ่ ลกู คา้ เฉพาะท่ตี อ้ งการผลติ
ชอ็ คโกแลต(ตลาดโฮมเมด)

ระดบั นวตั กรชาวบา้ น
1

22

Learning and innovation Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

platform (LIP) “การสรา้ งการเรียนรู”้ ระดบั นวัตกร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง ดา้ นกระบวนการผลติ และการแปรรูป
และสามารถเปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรูแ้ กผ่ ูอ้ ่นื ได้
นายสถานี (Platform Admain) -จัดท�ำคู่มือการหมักและการอบแห้ง ระดับนวตั กร 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง สามารถดำ� เนนิ งานตามแผนธุรกจิ ได้
นายจริ ชัย เชาวลติ โกโก้ สามารถส่อื สารทางการตลาดกบั กลมุ่ ลกู คา้ เป้าหมาย และสามารถเปน็ วทิ ยากร
เปา้ หมายการเรียนร ู้ -การ live สด ผา่ นหนา้ ส่อื ออนไลน์ ใหค้ วามรูแ้ กผ่ ูอ้ ่นื ได้
การผลติ เมลด็ โกโกแ้ หง้ ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพ ตัวความร้ทู ี่เหมาะสม ระดับนวตั กร 5 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง นวตั กรสามารถพฒั นาแผนการ
ตามมาตรฐาน -องคค์ วามรูด้ า้ นกระบวนการหมกั ทำ� งานและสามารถสรา้ งเครอื ขา่ ยเช่ือมโยงกบั หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน
พ้ืนท่ีการเรยี นรรู้ ่วมกัน -องค์ความรู้การท�ำแห้งโกโก้ให้ได้ ทงั้ ในพน้ื ท่แี ละนอกพนื้ ท่ี
กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนทา่ ศาลา คณุ ภาพตามมาตรฐาน
หัวหน้าโครงการวิจัย
กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ละการจัดการ ผู้เรยี นรแู้ ละผูถ้ ่ายทอดความรู้ อาจารย์ศรีอบุ ล ทองประดิษฐ์
-นวตั กรชาวบา้ น
ความรู้ คณะอตุ สาหกรรมเกษตร
-อบรมหลักสูตรเร่ืองนวัตกรรม -นกั วจิ ยั
กระบวนการหมักและอบแห้งเมล็ดโกโก้
ท่มี คี ณุ ภาพเปน็ ไปตามมาตรฐาน
-ท�ำคลิปวีดีโอสาธิตกระบวนการหมัก
และการท�ำแห้งท่ีสามารถเผยแพร่ทาง
ส่อื ออนไลน์

นวตั กรรมการจดั การอาหารโคเน้อื ในต�ำบลดุสิต​
อำ� เภอถ้ำ� พรรณรา​จังหวดั นครศรธี รรมราช
“ ”มิติชมุ ชนนา
บรบิ ทชมุ ชน

ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี ทำ� สวนยางพารา สวนปาลม์ นำ�้ มนั รบั จา้ ง ซง่ึ มอี าชพี เสรมิ เลยี้ งโคเนอื้ โดยมกี ลมุ่ ผเู้ ลยี้ งโค “สหฟารม์ โคเนอื้ ลมุ่ นำ้� ตาป”ี

หมทู่ ่ี 4 บา้ นทงุ่ หนองควาย ต.ดสุ ติ อ.ถำ้� พรรณรา จ.นครศรธี รรมราช สมาชกิ จำ� นวน 13 คน โคเนอ้ื จำ� นวน 89 ตวั ในตำ� บลมกี ารเลยี้ งโคจำ� นวน 800 ตวั

รายไดข้ องกลมุ่ 10,000-20,000 บาท/ตวั

Pain Point เทคโนโลยีท่เี หมาะสม
1. เกษตรกรขาดแคลนอาหารในการเลย้ี งโคเนอ้ื (อาหารหยาบ) และนวัตกรรมพรอ้ มใช้
2.การเลย้ี งโคแบบเดมิ มอี ตั ราการเตบิ โตชา้ 1.เทคโนโลยกี ารจดั การทางดา้ นอาหาร TMR
3.อตั ราการผสมเทยี มตำ่� (นบั ระยะการตดิ สดั คลาดเคลอ่ื น) 2.เทคโนโลยกี ารปลกู และการจดั การแปลงพชื อาหารสตั วค์ ณุ ภาพดี

การเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขนึ้ ระดบั นวัตกรชาวบา้ น
เกดิ การจดั ตงั้ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนชอ่ื “สหฟารม์ โคเนอ้ื ลมุ่ นำ้� ตาป”ี

เกษตรกรเขา้ รว่ มการเลย้ี งโคเนอื้ เปน็ อาชพี เสรมิ เพมิ่ ขน้ึ

เกษตรกรมรี ายไดจ้ ากการเลย้ี งโคเนอี้ เพม่ิ ขนึ้

1
22

Learning and innovation Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

platform (LIP) “การสร้างการเรียนร”ู้ ระดบั นวัตกร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลงมคี วามรูด้ า้ นโภชนศาสตรก์ ารปรบั ปรุง
พนั ธุ์ โรคและการสขุ าภบิ าลโคเนอ้ื
นายสถานี (Platform Admain) -ถ่ายทอดการผลิตอาหารหยาบ ระดบั นวตั กร 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลงในการจดั การฟารม์ โคเนอ้ื
นายสนั ติ รฐั นยิ ม คณุ ภาพสงู การเกบ็ ถนอมอาหารสตั ว์ ระดับนวัตกร 5 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง เกษตรกรมที กั ษะในการจดั การแปลง
หญา้ และการทำ� อาหาร TMRและเกษตรกรมที กั ษะการขุนโคเนอ้ื
เป้าหมายการเรยี นรู้ และการจัดการฟาร์มโคเนื้อ
การจดั การอาหารโคเนอื้ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ความร้ทู เ่ี หมาะสม หัวหน้าโครงการวิจัย
พืน้ ทกี่ ารเรยี นร้รู ว่ มกนั
-องค์ความรู้การจัดการทางด้าน ผศ.วุฒิชยั สีเผอื ก
ฟารม์ โคเนอ้ื ของคณะเกษตรศาสตร์ อาหารหยาบ โดยเนน้ การจดั การทาง
อ.ทงุ่ ใหญ่ จ.นครศรธี รรมราช และฟารม์ ดา้ นการผลติ หญา้ เนเปียร์ คณะเกษตรศาสตร์
เกษตรกรท่เี ขา้ รว่ มโครงการ -องคค์ วามรูก้ ารผสมอาหารขน้

กิจกรรมการเรียนรแู้ ละการจดั การ การผสมอาหาร TMR
ความรู้
ผเู้ รียนรู้และผถู้ ่ายทอดความรู้
-ถ่ายทอดการผลิตอาหารและการให้ -นวตั กรชาวบา้ น
อาหารโคเน้ือ การปรับปรุงพันธุ์โรค -นกั วจิ ยั
และการสขุ าภบิ าลโคเนอื้

การพัฒนาอาหารโปรตีนปลอดภัยจากปลานลิ เพื่อ

“ ”มติ ิชมุ ชนนา ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานราก ชมุ ชนบ้านวดั ใหม่
ตำ� บลทงุ่ ใหญ่ อ�ำเภอทุ่งใหญ่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช

บรบิ ทชมุ ชน เทคโนโลยีท่เี หมาะสม
และนวัตกรรมพรอ้ มใช้
บ้านวัดใหม่ ต.ทุ่งใหญ่ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ประชาชน
ส่วนใหญ่ท�ำการเกษตร ซึ่งพ้ืนที่แม่น�้ำตาปีเล้ียงปลารวมมากกว่า 1. ชุดผลติ ออกซิเจนในน้ำ� ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ยร์ ว่ มกบั พลงั งานไฟฟ้า
200 กระชัง โดยหมู่ที่8 บ้านวัดใหม่ มี“กลุ่มการเลี้ยงปลานิลและ (Hybrid energy) แบบ floating Solar ซ่ึงมีหัวจ่ายให้อากาศผ่านหัว
ปลาทบั ทมิ ในกระชงั ”จ�ำนวน 9 คน กระชังเลี้ยงปลาท้ังสิ้น 55 กระชัง ทรายจ�ำนวน 2 หัว และตดิ ตัง้ ระบบใช้พลงั งานไฟฟ้ากรณพี ลังงานจาก
และ “กลุม่ แมบ่ า้ นแปรรูปปลานิล” กลุม่ จ�ำนวน 7 คน แบตเตอร่หี มดระหวา่ งการใช้งาน
2. เคร่ืองอบลมร้อนติดตั้งชุดรมควัน ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ปลานิลรมควัน
Pain Point และปลานลิ อนามยั อบลมรอ้ น
1.กลมุ่ วสิ าหกจิ ประสบปัญหาออกซิเจนในน้ำ� ต่ำ� ช่วงฤดแู ลง้ ทำ� ใหป้ ลาท่เี ลยี้ งใน
กระชังตายจากการ ขาดออกซิเจนปลาสขุ ภาพออ่ นแอเกดิ โรคตดิ เชื้อ
2.กลุ่มแม่บ้านแปรรูปปลานิลขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก
ปลาใหไ้ ดม้ าตรฐานและความตอ้ งการของตลาด

การเปล่ียนแปลงที่เกิดขนึ้ ระดับนวัตกรชาวบ้าน
เกิดการพัฒนาการเล้ียงปลานิลและเพ่ิมคุณภาพของปลานิลและการ 22
พฒั นาแปรรูปผลติ ภณั ฑป์ ลานลิ เปน็ สนิ คา้ ตามอตั ลกั ษณช์ ุมชน
ช่ วยเพ่ิมผลผลิตของปลานิลจากการแก้ปั ญหาคุณภาพน้�ำเปล่ียนแปลง 2
โดยฉบั พลนั
กลมุ่ แมบ่ า้ นแปรรูปปลานลิ มที กั ษะในการแปรรูปผลติ ภณั ฑป์ ลานลิ รมควนั
และปลานลิ อนามยั อบลมรอ้ น
กลมุ่ วสิ าหกจิ และกลมุ่ แมบ่ า้ นมกี ารกระจายรายไดเ้ พ่มิ ขน้ึ

Learning and innovation Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

platform (LIP) “การสร้างการเรยี นร”ู้ ระดบั นวตั กร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง สามารถสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื
นายสถานี (Platform Admain) กจิ กรรมการเรยี นรู้และการจัดการ เพ่อื ใช้องคค์ วามรูจ้ ากหลายภาคสว่ นมาแกป้ ัญหา
นายปรชี า พรานชู ความรู้ ระดับนวัตกร 4 มีทักษะการเปล่ียนแปลง มีองค์ความรู้ท่ีทันสมัย แก้ไข
-ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเลยี้ งสตั วน์ ้�ำใน ปัญหาไดท้ นั ทว่ งที ส่อื สารใหก้ บั คนท่สี นใจได้
เป้าหมายการเรยี นรู้ ระดับนวัตกร 5 มีทักษะการเปล่ียนแปลง การสร้างกลุ่ม สร้างเครือข่าย
การเลี้ยงปลานิลและเพ่ิมคุณภาพของ กระชัง ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภาครฐั ในการนำ� การพฒั นาสชู่ ุมชน
ปลานิลและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลา -ถ่ายทอดและสาธิตการพัฒนา
นลิ เปน็ สนิ คา้ ตามอตั ลกั ษณช์ ุมชน ผลติ ภณั ฑป์ ลานลิ หัวหน้าโครงการวจิ ยั
ตัวความรูท้ เ่ี หมาะสม
พนื้ ทก่ี ารเรียนรรู้ ่วมกัน -เทคโนโลยชี ุดการผลติ ออกซิเจนในน้ำ� ผศ.ดร.สุไหลหมาน หมาดโหยด
กลมุ่ ผูเ้ลย้ี งปลานลิ และปลาทบั ทมิ ในกระชัง
ในแมน่ ำ้� ตาปี หมู่ 8 บา้ นวดั ใหมแ่ ละกลมุ่ - อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร พั ฒ น า คณะสตั วแพทยศาสตร ์
แมบ่ า้ นแปรรูปปลาหมู8่ บา้ นวดั ใหม่ ผลติ ภณั ฑป์ ลานลิ
ผ้เู รยี นรู้และผถู้ ่ายทอดความรู้
- นวตั กรชาวบา้ น
- นกั วจิ ยั

นวัตกรรมเชิงสร้างสรรคข์ องอาหารทะเล

“ ”ต้นแบบเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนชายฝ่ งั วิถีใหม่
มติ ชิ มุ ชนเล

บรบิ ทชมุ ชน

กลุ่มเขาออกการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านเขาออก หมู่ที่ 3 ต.ท้องเนียน อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช กลุ่มของชาวประมงพื้นบ้านในชุมชน
จำ�นวน 18 คน ประกอบอาชพี ทางด้านการทอ่ งเท่ยี วมีเรือนำ�เที่ยวรวมกนั 24 ลำ� กลุ่มมีรายได้ต่อปอี ยูท่ ี่ 360,000 บาท

Pain Point เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม
และนวตั กรรมพร้อมใช้
1. กลมุ่ ทอ่ งเท่ยี วขาดผลติ ภณั ฑห์ รอื สนิ คา้ ชุมชนตามอตั ลกั ษณเ์ ชิงพน้ื ท่เี พ่อื
การทอ่ งเท่ยี ว 1. อตั ลกั ษณข์ องชุมชนเขาออกการทอ่ งเท่ยี วเชิงอนรุ กั ษเ์ พ่อื สรา้ งมูลคา่ การ
2. กลมุ่ ทอ่ งเท่ยี วขาดการสรา้ งอตั ลกั ษณเ์ พ่อื เพ่มิ มูลคา่ การทอ่ งเท่ยี วชุมชน ทอ่ งเท่ยี วชุมชนชายฝ่ัง ประกอบดว้ ย
ชายฝ่ัง
- อตั ลกั ษณม์ องเหน็ ได้
การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้น - อตั ลกั ษณท์ ่สี ามารถสมั ผสั ได้
กลุ่มชุมชนเขาออกการท่องเท่ียว - อตั ลกั ษณเ์ ชิงพฤตกิ รรม
เชิ งอนุรักษ์สามารถผลิตข้าวมัน - อตั ลกั ษณเ์ ชิงประโยชน์
ทะเลออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ี 2. ชุดความรูก้ ารทำ� ขา้ วมนั ทะเลนำ� มาใช้ในการทำ� ผลติ ภณั ฑข์ องชุมชนภายใต้
ชุมชนสามารถมียอดการส่ัง จ�ำหน่ายเป็นสินค้าตามอัตลักษณ์ อตั ลกั ษณแ์ ละสรา้ งรายไดเ้ พ่มิ สชู่ ุมชน
ซื้ อและมีการผลิตข้าวมัน พน้ื ถ่นิ ของกลมุ่ ได้
ท ะ เ ล อ อ ก ม า จ� ำ ห น่ า ย เ ป็ น ระดับนวตั กรชาวบา้ น
หน่งึ ในการทอ่ งเท่ยี วได้
4 22 1 1

นกั ทอ่ งเท่ยี วมจี ำ� นวนเพ่มิ Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5
มากขน้ึ
ระดบั นวตั กร 1 ทกั ษะการเปล่ยี นแปลงมคี วามเขา้ ใจและเรยี นรูข้ องอตั ลกั ษณแ์ ละ
Learning and innovation เอกลกั ษณข์ องชุมชนเขาออก
ระดบั นวตั กร 2 ทกั ษะการเปล่ยี นแปลงแรถศกึ ษาและวเิ คราะหป์ ัญหาจากการ
platform (LIP) “การสร้างการเรยี นรู้” ดำ� เนนิ กจิ กรรมทอ่ งเท่ยี วของชุมชนเขาออก
ระดบั นวตั กร 3 ทกั ษะการเปล่ยี นแปลงสามารถแกป้ ัญหาของการดำ� เนนิ กจิ กรรม
นายสถานี (Platform Admain) -อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการคดิ ตน้ ทนุ การทอ่ งเท่ยี วของชุมชนอยา่ งเปน็ ระบบได้
ระดบั นวตั กร 4 ทกั ษะการเปล่ยี นแปลงสามารถถา่ ยทอดชุดความรูข้ องสตู รและ
นางพมิ พากรณ์ ทองแซม ความคมุ้ คา่ และการจำ� หนา่ ยสนิ คา้ กระบวนการการท�ำขา้ วมันทะเลได้ และสามารถนำ� เร่ืองราวของอัตลักษณช์ ุมชน
มาผูกโยงระหวา่ งขา้ วมนั ทะเลและกจิ กรรมการทอ่ งเท่ยี วของชุมชนได้
เป้าหมายการเรียนร ู้ ตัวความรทู้ ่เี หมาะสม ระดบั นวตั กร 5 ทกั ษะการเปล่ยี นแปลง การสรา้ งกลมุ่ สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ ม
มอื กบั หนว่ ยงานภาครฐั ในการนำ� การพฒั นาสชู่ ุมชน
สามารถผลิตข้าวมันทะเลออกมา -ชุดความรู้สูตรและกระบวนการ
หวั หน้าโครงการวจิ ยั
เป็นผลิตภัณฑ์ที่จ�ำหน่ายเป็นสินค้า ผลิตข้าวมันทะเลอัตลักษณ์ของ
ดร.วชิร ยั่งยืน
ตามอตั ลกั ษณพ์ น้ื ถนิ่ ของกลมุ่ ได้ ชมุ ชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม
พื้นทกี่ ารเรยี นรรู้ ว่ มกัน -ชุดความรู้การวิเคราะห์ความคุ้ม และการจัดการ

กลุ่มชุมชนเขาออกการท่องเท่ียว คา่ และการตง้ั ราคาสนิ คา้

เชงิ อนรุ กั ษ์ -องค์ความรู้การเชื่อมโยงของ

กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการจดั การ เรอ่ื งราวตา่ งๆเพอ่ื ผกู โยงเปน็ เรอื่ ง

ความรู้ ราว (Story telling)

-ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตการ ผูเ้ รยี นรแู้ ละผูถ้ า่ ยทอดความรู้

ผลติ ขา้ วมนั ทะเลการคน้ หาอตั ลกั ษณ์ - นวตั กรชาวบา้ น

เร่ืองราวท�ำการท่องเท่ียวอย่าง - นกั วจิ ยั

ยงั่ ยนื ชมุ ชน

“ ” นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและยกระดบั
มติ ิชมุ ชนเล คณุ ภาพผลติ ภณั ฑป์ ลาหวานชุมชนบ้านตะเสะ
อำ�เภอหาดส�ำ ราญ จังหวัดตรงั

บริบทชุมชน

ชุมชนบ้านตาเสะ ต.ตะเสะ อ.หาดสำ�ราญ จ.ตรงั ประชาชนสว่ นใหญท่ ำ�สวนยางพารา รอ้ ยละ 40 รองลงมาประมงพื้นบ้าน รอ้ ยละ 30 ซงึ่ ชุมชนมีการจบั
ปลาหลงั เขียวได้ปรมิ าณมาก วันละ 1-2 ตนั

Pain Point เทคโนโลยที ่เี หมาะสม

1.กลมุ่ แมบ่ า้ นแปรรูปผลติ ภณั ฑป์ ลาหวานคณุ ภาพยงั ไมไ่ ดม้ าตรฐาน และขาด และนวตั กรรมพรอ้ มใช้
เทคโนโลยที ่เี หมาะสมในการผลติ
2.กลมุ่ แมบ่ า้ นขาดช่องทางการตลาดและการเช่ือมโยงกบั แหลง่ จำ� หนา่ ยอ่นื 1. ชุดความรูก้ ารแปรรูปผลติ ภณั ฑป์ ลาหวานแบบเดมิ และผลติ ภณั ฑป์ ลาหวาน
พรอ้ มบรโิ ภค
การเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ ขน้ึ 2. กระบวนการผลติ ผลติ ภณั ฑป์ ลาหวานท่ถี กู สขุ ลกั ษณะ มสี ตู รตน้ แบบในการ
ผลติ ผลติ ภณั ฑป์ ลาหวานสตู รดงั้ เดมิ สตู รปรุงรสสามรส สตู รใช้หญา้ หวาน
ทดแทนน้ำ� ตาล
3. ช่องทางการตลาด/ช่องทางการจดั จำ� าหนา่ ยแบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์

กลมุ่ แมบ่ า้ นมที กั ษะความสามารถการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ ระดับนวัตกรชาวบา้ น
ใหไ้ ดม้ าตรฐาน
ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตรงตามความต้องการของตลาด 221
และผู ้บริโภค
Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5
กลมุ่ แมบ่ า้ นมชี ่องทางการตลาดและรปู แบบการจดั จำ� หนา่ ย
ทต่ี รงกบั คณุ คา่ ของผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ระดับนวัตกร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง สามารถซ่อมบำ� รุงอุปกรณเ์ บอ้ื งตน้ ได้
แกป้ ัญหาในกระบวนการผลติ และแกป้ ัญหาความตอ้ งการของลกู คา้ ท่เี กดิ ขนึ้ จาก
Learning and innovation การส่อื สารกบั ลกู คา้
ระดบั นวตั กร 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลงเปน็ วทิ ยากรในการถา่ ยทอดกระบวนการ
platform (LIP) “การสรา้ งการเรยี นร้”ู ผลติ ปลาหวาน การใช้และดแู ลรกั ษาเคร่อื ง
ระดบั นวตั กร 5 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง เปน็ แบบอยา่ ง ผูน้ ำ� การเปล่ยี นแปลง
นายสถานี (Platform Admain) - คลปิ วดี โี อสาธติ กระบวนการทำ� ปลา และเปน็ พ่เี ลยี้ งใหแ้ กค่ นรุน่ ใหม่
นางละออ เจรญิ ฤทธ์ิ หวานแบบดิบและแบบพรอ้ มบรโิ ภคเผย
เป้าหมายการเรยี นรู ้ แพรส่ ่อื ออนไลน์
กระบวนการท�ำปลาหวานให้มีรสชาติ ตวั ความรูท้ ่เี หมาะสม
และมคี ณุ ภาพเปน็ ไปตามมาตรฐาน - องคค์ วามรูก้ ระบวนการแปรรูปปลา
พน้ื ท่กี ารเรยี นรูร้ ว่ มกนั ห ว า น แ บ บ ดิ บ แ ล ะ ป ล า ห ว า น ป รุ ง ร ส
กลมุ่ แปรรูปอาหารทะเลชุมชนบา้ นตาแสะ พรอ้ มบรโิ ภค
กิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการ - องคค์ วามรูก้ ารยดื อายุการเกบ็ รกั ษา
ความรู้ ผลติ ภณั ฑป์ ลาหวาน
-อบรมหลักสูตรการท�ำปลาหวานแบบ ผูเ้ รยี นรูแ้ ละผูถ้ า่ ยทอดความรู้
ดบิ และปลาหวานปรุงรสแบบพรอ้ มบรโิ ภค - นวตั กรชาวบา้ น
-อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการผลติ ทม่ี มี าตรฐาน - นกั วจิ ยั
และไดผ้ ลติ ภณั ฑท์ ม่ี คี ณุ ภาพดี
-การจดั ทำ� สอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ เช่น บอรด์
แนะนำ� ผลงานวจิ ยั

หัวหน้าโครงการวจิ ัย

รศ.ชมพนู ุช โสมาลยี ์

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารประมง

ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ก า ร แ ป ร รู ป แ ล ะ จ�ำ ห น่ า ย “ ”มติ ชิ ุมชนเล

ผลติ ภณั ฑ์ ด้วยนวัตกรรม

ตู้อบแหง้ อจั ฉรยิ ะและตลาดออนไลน์

บรบิ ทชุมชน เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม
และนวตั กรรมพร้อมใช้
ต.หาดสำ�ราญ อ.หาดสำ�ราญ จ.ตรัง พื้นที่ลักษณะเป็นที่ราบ
ชายฝั่งทะเลอาณาเขตตดิ ตอ่ ชายฝ่งั ทะเลอันดามัน ประชาชนทำ�อาชพี 1. ตู้อบอาหารทะเลตากแหง้ อัจฉรยิ ะแสง
ทำ�สวนรับจา้ งทั่วไปประมง ค้าขาย และธรุ กจิ สว่ นตวั โดยส่วนใหญ่ อาทิตย์รว่ มชีวมวลแบบโรตารี
ทำ�ประมงชายฝั่งทะเลสรา้ งรายได้ให้แกช่ มุ ชนในพ้ืนที่ ซ่ึงกลุ่มแปรรปู 2. การออกแบบการบรรจุภัณฑแ์ ละฉลาก
อาหารทะเล จำ�นวน 25 คนเป็นกลุ่มแปรรูปอาหารทะเล สนิ คา้ แบบใหม่
3. เวป็ ไซตแ์ ละเพจการจำ�หน่ายสนิ คา้ อาหาร
Pain Point ทะเลตากแหง้

1. ช่วงฤดฝู นกลมุ่ แมบ่ า้ นไมส่ ามารถแปรรูปผลติ ภณั ฑส์ ตั วน์ ้ำ� ได้
2. ผลติ ภณั ฑส์ ตั วน์ ้ำ� ยงั ไมไ่ ดม้ าตรฐาน
3. กลมุ่ แมบ่ า้ นขาดช่องทางในการจดั จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑอ์ าหารทะเลตากแหง้

การเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขนึ้ ระดับนวัตกรชาวบ้าน

กลุ่มแม่บ้านแปรรูปอาหารทะเลมีความสามารถในการผลิตอาหาร 221
ทะเลแปรรูปไดม้ าตรฐานและตรงความตอ้ งการของตลาด
ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูปมีบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าเป็นที่ Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5
ยอมรบั ของผูบ้ ริโภค
กลุ่มแม่บ้านมีช่องทางการขายสินค้าในรูปแบบใหมแ่ ละหลากหลาย รอแหะจั ดง้ฉแบั รบนยิ บวะตแตั ลา่ กะงสรๆาม3ทา่เี หรมถมที านกั ะำ�ษสอะมกงกคาบั รค์ สเวปภาลาม่ยี พรนูทข้ แอ่ไีปดงลม้ชงุมาวชมเินคีควราาะมหรแ์ูแ้ ลละะปสราะมยาุกรตถใ์ใชช้ร้งูปานแบตบอู้ กบาแรหตง้ าก
ระดบั นวตั กร 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง สามารถวเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาเบอ้ื งตน้
Learning and innovation เรกงกาะา่ยีดนรวใบัเชทกน้งบัคาวกโนนัตาเโกทรลทครยำ�โีทนง5่ีเาโกลน่ียยมแทีวลที ่เขีะกกั ก้อ่ยีษางวะรกกขซับอา้่อรตงมเกู้อปบบับลำ� ต่รแยี ุงหอู้นต้งบแอู้อปแหบัจลง้แงฉอหรง้สจั ิยไาฉดะมไรแ้ดายิล้/ระะคไถสดิดใา้ชม้งวาาิเรคนถรแใชาละ้งะหถา์น่าอยแลอทะกอถแดา่ บกยบาทงรอใาดชน้
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การทำ� ตลาดออนไลนไ์ ด้
platform (LIP) “การสรา้ งการเรยี นร”ู้
หวั หน้าโครงการวจิ ยั
นายสถานี (Platform Admain) -อบรมแผนการตลาด การวเิ คราะหแ์ ละ
นายโรจน์ เกา้ เอยี้ น พฒั นาตลาดออนไลน์ ผศ.นเรศ ขวญั ทอง
เป้าหมายการเรยี นรู ้ -จดั ทำ� คมู่ อื และถา่ ยทอดวธิ กี ารใช้งาน
พัฒนาตู้อบแห้งอัจฉริยะและตลาด และซ่อมบำ� รุง คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พออน้ื นทไล่กี นาท์รเเ่ีหรมยี านะรสูร้มว่ในมแกตนั ล่ ะช มุ ชนเป้าหมาย -ส่ือประชาสัมพันธ์ทัง้ แบบออนไลน์และ
ออฟไลน์ เช่น โปสเตอร์ วดี โี อ ยูทปู
แหล่งเรียนรู้เก่ียวกับการแปรรูปอาหาร เปน็ ตน้
ทะเลตากแห้งด้วยตู้อบอัจฉริยะในพื้นท่ี ตวั ความรูท้ ่เี หมาะสม
ต.หาดสำ� ราญ อ.หาดสำ� ราญ จ.ตรงั -เทคโนโลยตี อู้ บอจั ฉรยิ ะ
กิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการ - แพลตฟอรม์ ตลาดออนไลน์
ความรู้ ผูเ้ รยี นรูแ้ ละผูถ้ า่ ยทอดความรู้
-อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ -นวตั กรชาวบา้ น
ชุมชนเป้ าหมายเก่ียวกับแนวทางการ -นกั วจิ ยั
ออกแบบและการใช้งานตอู้ บอจั ฉรยิ ะ
-สร้างกลุ่มตัวแทนผู ้จ�ำหน่ายสินค้า
ออนไลน์ประจ�ำชุมชนพร้อมถ่ายทอด
เทคโนโลยตี ลาดออนไลน์

การพัฒนาและยกระดบั ผลิตภัณฑ์การท่องเท่ยี วเชงิ ส่งเสริมสุขภาพ

“ ”มติ ิชุมชนเล จากฐานทรัพยากรโคลนธรรมชาตบิ ่อน้ำ� พุเคม็ รอ้ น
ในพ้ืนทีต่ �ำ บลบ่อหนิ อำ�เภอสิเกา จังหวดั ตรงั

บรบิ ทชมุ ชน เทคโนโลยที ่เี หมาะสม
และนวตั กรรมพร้อมใช้
“ชุมชนบอ่ หนิ ฟารม์ สเตย์” ม.2 ต.บ่อหิน อ.สเิ กา จ.ตรงั เกดิ ขน้ึ จากการ
รวมตัวของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงปลากระชังโดยมีแหล่งท่องเที่ยว 1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เชิงส่งเสริมสุขภาพ โคลนขัดผิว ครีมนวดสปาโคลน
โดดเดน่ บอ่ นำ้ �พุเคม็ ร้อนกลางป่าชายเลน มนี ักทอ่ งเที่ยวเข้ามาใช้บริการ สบู่ก้อนโคลน เจลอาบน้ำ� โคลน
เฉลี่ยประมาณ 200-300 คนตอ่ เดือน สร้างรายไดเ้ สรมิ ใหช้ ุมชนกว่า 40 2. ระบบโซลารเ์ ซลลเ์ คร่อื งสบู น้ำ�
ครัวเรอื นไดป้ ระมาณ 200,000-300,000 บาท
ตอ่ เดอื น

Pain Point ระดบั นวตั กรชาวบ้าน

1. ชุมชนขาดผลติ ภณั ฑแ์ ละกจิ กรรมเพ่อื การจดั การทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชน 2 10 1
2. ผลติ ภณั ฑก์ ารทอ่ งเท่ยี วเชิงสง่ เสรมิ สขุ ภาพจากฐานทรพั ยากรโคลน
ธรรมชาตบิ อ่ น้ำ� พุเคม็ รอ้ นยงั ไมไ่ ดม้ าตรฐาน

การเปล่ียนแปลงท่เี กิดข้นึ

1. ชุมชนมผี ลติ ภณั ฑท์ างการทอ่ งเท่ยี วเพ่มิ ขนึ้ ช่วยดงึ ดดู นกั ทอ่ งเท่ยี วมาเท่ยี วได้
มากขนึ้
2. เกดิ กจิ กรรมและรูปแบบการจดั การทอ่ งเท่ยี วในแหลง่ บอ่ น้ำ� พุรอ้ นเคม็
3. ชุมชนมที กั ษะในการผลติ ผลติ ภณั ฑท์ างการทอ่ งเท่ยี วเชิงสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
4. นวตั กรชาวบา้ นมที กั ษะการบรกิ าร(นวดแผนไทยและสปา)
5.นกั ทอ่ งเท่ยี วใหค้ วามสนใจกจิ กรรมทอ่ งเท่ยี วเชิงสง่ เสรมิ สขุ ภาพเพ่มิ ขนึ้

Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5

Learning and innovation ระดับนวตั กร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา
ระบบโซลารเ์ ซลลเ์ คร่อื งสบู น้ำ� เบอ้ื งตน้ ในกรณที ่เี คร่อื งขดั ขอ้ ง
platform (LIP) “การสรา้ งการเรียนรู”้ ระดบั นวตั กร 4 มีทกั ษะการเปล่ยี นแปลง มีความเขา้ ใจและสามารถใหบ้ ริการ
นายสถานี (Platform Admain) ตวั ความรูท้ ่เี หมาะสม ดูแลรักษาสุขภาพคนในชุมชมและนักท่องเท่ียวเบื้องต้นด้วยหลักการนวด
นายบรรจง นฤพรเมธี -หลกั การทำ� งานอุปกรณโ์ ซลารเ์ ซลล์ มคี วามสามารถในผลติ ครมี นวดสปาโคลนเพ่อื ใช้ในวสิ าหกจิ ชุม
ยเปก้ารหะมดาับยผกาลริตเรภยี ัณนรฑู้ ์ก ารท่องเท่ียวเชิง -ความรูด้ า้ นการนวดไทยและนวดสปา ระดับนวัตกร 5 มีทักษะการเปล่ียนแปลง ความสามารถในการพัฒนาแผน
-ความรูด้ า้ นการผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ คร่อื ง เข้าสู่หน่วยงานภาครัฐได้และเช่ือมประสานกับหน่วยงานภาครัฐ
ส่งเสริมสุขภาพจากฐานทรัพยากร สำ� อางและบรรจุภณั ฑ์
โคลนธรรมชาตบิ อ่ น้ำ� พุเคม็ รอ้ น -องค์ความรู้การบริหารจัดการการ หวั หน้าโครงการวิจัย
พนื้ ท่กี ารเรยี นรูร้ ว่ มกนั ท่องเท่ียวเชิงส่งเสริมสุขภาพจากฐาน วผิทศยา.ดลยั รก.าธรนโรินงแทรมรแ์ ละสกังารขทอ่ดงวเทง่ียว
ชุมชนการท่องเท่ียวบ่อหินฟาร์มสเตย์ ทรพั ยากรน้ำ� พุเคม็ รอ้ น
กิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการ ผูเ้ รยี นรูแ้ ละผูถ้ า่ ยทอดความรู้
ความรู้ -กลุ่มนวัตกรชาวบ้านในชุมชนจ�ำนวน
-สาธิตการท�ำงานและการต่อประกอบ 13 คน
อุปกรณโ์ ซลารเ์ ซลล์ -นกั วจิ ยั
- การอบรมนวดไทยและนวดสปา
- การสาธติ การผลติ เคร่อื งสำ� อางจาก
โคลนธรรมชาติบ่อน้�ำพุ เดิมร้อนและ
การบรรจุภณั ฑ์

การบริหารชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายผลติ ภณั ฑช์ ุมชน

จากงานวจิ ยั เชงิ พื้นท่เี พื่อขบั เคล่ือนเศรษฐกิจในจังหวัดตรัง

บรบิ ทชมุ ชน

ทุนเดมิ ชุมชนนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาเชิงพน้ื ท่ีในปี 2563 พืน้ ท่วี ิจยั จังหวดั ตรงั 7 ตำ� บล อาทิ ต.น้�ำผดุ “ไกด่ �ำ”ต.นาหมื่นศรี “ผ้าทอ” ต.ละมอ ต.กะช่อง

“กาแฟ” ต.โคกสะบา้ “สาค”ู และต.นาขา้ วเสยี “ลูกเดอื ย” วิสาหกจิ กลมุ่ ชุมชน ประสบปัญหาทางดา้ นการตลาดสง่ ผลใหผ้ ลิตภณั ฑ์ทีไ่ ดร้ บั การพัฒนา

ยังคงประสบกับปัญหาในการกระจายสินค้าออกสู่ตลาดผ้บู ริโภคโดยเฉพาะปญั หาด้านชอ่ งทางจ�ำหน่ายผลิตภณั ฑ์ของชุมชน

P1.ชaุมiชnนมPขี oดี คinวาtมสามารถในการผลติ เพ่มิ ขนึ้ แตข่ าดโอกาสและขาดความสามารถ เทคโนโลยที ่เี หมาะสม
แตน้ ลแะบนบขวอตังนกวตัรกรรมรมพแลระเอ้ทคมโนใชโล้ยพี รอ้ มใช้ท่สี ามารถใช้ไดจ้ รงิ จาก
ในการจำ� หนา่ ยผลผลติ
2.ชุมชนขาดประสบการณใ์ นการพฒั นาช่องทางการจดั จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑข์ อง โครงการวจิ ยั และมกี ารจดทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา
ชุมชนภายใตส้ ถานการณโ์ รคระบาดโควดิ 19 1. แผนธุรกจิ ( Business Model Canvas )
3. ชุมชนขาดองคค์ วามรูแ้ ละเทคโนโลยที างดา้ นการตลาดสมยั ใหม่ 2. แผนการตลาดผลติ ภณั ฑ(์ Marketing Plan)
3. โปรแกรมงบประมาณเงนิ สดดว้ ย Excel ของทงั้ 5 กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์
ชุมชน
การเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดขึน้

ชุมชนมกี ารวางแผนในการดำ� เนนิ ธุรกจิ การวางแผนทางตลาด ในดา้ นพฒั นา
ตราสนิ คา้ ท่เี ปน็ เอกลกั ษณเ์ ปน็ ท่รี ูจ้ กั และยอมรบั ของบุคคลท่วั ไป
ชุมชนมยี อดจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ท่เี พ่มิ ขนึ้ สง่ ผลใหช้ ุมชนมรี ายไดท้ ่เี พ่มิ ขนึ้
เกดิ การกระจายรายไดใ้ นชุมชนและเกดิ การจา้ งงานตลอดจนการวางแผนดา้ นระบบ
บญั ชีและการเงนิ ของธุรกจิ

ระดบั นวตั กรชาวบา้ น

ไก่ดำ� ผ้าทอ สาคู กาแฟ ลกู เดอื ย 10 5 9

Learning and innovation

platform (LIP) “การสรา้ งการเรียนร”ู้
พนื้ ท่กี ารเรยี นรูร้ ว่ มกนั
นายสถานี (Platform Admain) ต.น้ำ� ผุด “ไกด่ ำ� ” ต.นาหม่นื ศรี “ผา้ ทอ” Lavel 1 Lavel 2 Lavel 3 Lavel 4 Lavel 5
-นายสวสั ด์ิ ขุนนยุ้ ต.ละมอ + ต.กะช่อง “กาแฟ” ต.โคกสะบา้
ประธานกลมุ่ ผูเ้ ลยี้ งไกด่ ำ� เขาหลกั ระดบั นวตั กร 3 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง นกั ขายชุมชนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ
-นายสวุ ทิ ย์ โพชสาลี ประธานกลมุ่ วสิ หกจิ “สาค”ู และต.นาขา้ วเสยี “ลกู เดอื ย” ทางการตลาดเพ่มิ มากขนึ้ และช่องทางการจดั จำ� หนา่ ย
ชุมชนผูป้ ลกู กาแฟเทอื กเขาบรรทดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ละการจดั การความรู้ ระดบั นวตั กร 4 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง นกั บญั ชีและวางแผนการเงนิ ชุมชน
-นางอารอบ เรอื งสงั ข์ ประธานกลมุ่ วสิ หกจิ -อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการสรา้ งช่องทางและ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจทางดา้ นการเงนิ เพ่มิ มากขนึ้ และคำ� นวณตน้ ทนุ ในการ
ชมุ ชนผา้ ทอนาหมน่ื ศรี ส่อื ประชาสมั พนั ธใ์ นรูปแบบส่อื สำ� หรบั การ ผลติ ได้
-นางสดุ สาคร สมาชิกกลมุ่ ผูผ้ ลติ และแปรรูป โฆษณาผลติ ภณั ฑ์ ระดบั นวตั กร 5 มที กั ษะการเปล่ยี นแปลง นกั ธุรกจิ ชุมชนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ
ผลติ ภณั ฑแ์ ป้งสาคู -อบรมเชิ งปฏิบัติการการไลฟ์ สดผ่านส่ือ ทางดา้ นธุรกจิ เพ่มิ มากขนึ้ และสรา้ งธุรกจิ ได้
-นายสมยศ พรมชู หวั หนา้ กลมุ่ เกษตรกร อนไลน์
ผูป้ ลกู ลกู เดอื ย -จดั ทำ� คมู่ อื Business Model Canvas หวั หนา้ โครงการวิจัย
ตวั ความรูท้ ่เี หมาะสม
เป้าหมายการเรยี นรู้ ผศ.เจษฎา รม่ เยน็
การบรหิ ารช่องทางการจดั จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ -องคค์ วามรูด้ า้ นการจดั ทำ� แผนธุรกจิ
ชุมชนจากงานวจิ ัยเชิงพน้ื ท่ีเพ่อื ขับเคล่ือน -องคค์ วามรูด้ า้ นการตลาด คณะเทคโนโลยกี ารจัดการ
เศรษฐกจิ ในจงั หวดั ตรงั -องคค์ วามรูด้ า้ นการวเิ คราะหต์ น้ ทนุ
ผูเ้ รยี นรูแ้ ละผูถ้ า่ ยทอดความรู้
-กลมุ่ นวตั กรชาวบา้ น
-นกั วจิ ยั

การประเมนิ ผลลพั ธแ์ ละผลกระทบทางเศรษฐกจิ





Conclusion

แผนวจิ ัยการยกระดบั เศรษฐกิจฐานรากดว้ ยนวัตกรรมและเทคโนโลยภี ายใตบ้ ริบทชมุ ชน “เขา ป่า นา เล” ในพ้ืนที่
จังหวัดตรังและจงั หวัดนครศรีธรรมราช ผลการด�ำเนินงานของแผนวิจยั ชุมชนนวตั กรรมเพอ่ื การพฒั นาอย่างย่ังยนื โดยการด�ำเนนิ
ในพน้ื ท่ีท�ำงานวิจัยเพื่อสร้างชุมชนนวัตกรรม จ�ำนวน 15 ต�ำบล ประกอบด้วยพ้ืนที่จังหวัดตรัง 9 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลตะเสะ
ต�ำบลหาดส�ำราญ ต�ำบลบ่อหนิ ต�ำบลน�้ำผุด ต�ำบลนาหมนื่ ศรี ต�ำบลโคกสะบา้ ต�ำบลละมอ ต�ำบลกะชอ่ ง และต�ำบลนาขา้ วเสีย
และพืน้ ทจ่ี งั หวัดนครศรีธรรมราช 6 ต�ำบล ไดแ้ ก่ ต�ำบลดุสิต ต�ำบลทุ่งใหญ่ ต�ำบลสระแกว้ ต�ำบลควนกรด ต�ำบลวังอา่ ง และต�ำบล
ทอ้ งเนียน

ผลการด�ำเนนิ โครงการวจิ ยั จ�ำนวน 11 โครงการในการขับเคล่ือนแผนงานวจิ ยั มนี กั วจิ ยั แบ่งตามความเชีย่ วชาญในสาขา
วชิ าของนกั วจิ ัย พบว่านักวิจัยทั้งหมด 67 คน โดยจ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมายการพัฒนาเพื่อตอบโจทย์ของชุมชน ส�ำหรับการ
สร้างความย่ังยืนในมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม หรือส่ิงแวดล้อม ใน 4 มิติ คือการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนา
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ การยกมาตรฐานการผลิตและแปรรปู และการบริหารจัดการตลาดเพิ่มโอกาสทางการตลาด
ซึง่ พบวา่ มีเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและนวัตกรรมพรอ้ มใช้ จ�ำนวน 23 ผลงาน สามารถสรา้ งนวัตกรชาวบ้าน จ�ำนวน 84 คน

ผบู้ ริหารแผนงานวจิ ยั

รองอธกิ ารบดี




Click to View FlipBook Version