The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องนับก้าวอัจฉริยะโดยใช้ micro:bit สามารถนับจำนวนเก้าที่เดิน คำนาณปริมาณแคลอรี่ และจับเวลาที่เดินได้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by s29777, 2019-09-29 11:51:59

เครื่องนับก้าวอัจฉริยะ

เครื่องนับก้าวอัจฉริยะโดยใช้ micro:bit สามารถนับจำนวนเก้าที่เดิน คำนาณปริมาณแคลอรี่ และจับเวลาที่เดินได้

โครงงานคอมพิวเตอร์
เร่ือง เครอื่ งนบั ก้าวอัจฉรยิ ะ

จดั ทำโดย

นาย กฤติธี เพ็ชรส์ ุกใส เลขที่ 2

นาย สริ วิชญ์ อตชิ าติ เลขท่ี 9

นาย กนั ตพัฒน์ แสงอุทยั เลขท่ี 10

นางสาว ฐิติพร อณุ การุณวงษ์ เลขที่ 17

นางสาว ภทั ราพร พฒุ อนิ ทนา เลขที่ 26

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/7

เสนอ
คุณครู ชัชวาล ฝ่ายกระโทก

รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ ส่วนประกอบของโครงงานคอมพวิ เตอร์
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรียนอุทยั วิทยาคม

1

เร่ือง: โครงงาน เครื่องนับก้าวอัจฉริยะ
ผจู้ ัดทำ: นาย กฤติธี เพ็ชรส์ กุ ใส เลขท่ี 2
นาย สิรวชิ ญ์ อติชาติ เลขท่ี 9
ที่ปรกึ ษาโครงงาน: นาย กันตพฒั น์ แสงอทุ ยั เลขท่ี 10
ปกี ารศกึ ษา: นางสาว ฐิตพิ ร อณุ การุณวงษ์ เลขท่ี 17
นางสาว ภัทราพร พฒุ อินทนา เลขท่ี 26
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4/7
คณุ ครู ชชั วาล ฝ่ายกระโทก
2562

บทคัดย่อ

โครงงานคอมพวิ เตอรเ์ ร่ือง เครอ่ื งนับกา้ วอัจฉรยิ ะ โดยมีวัตถุประสงค์ดงั น้ี 1.เพ่ือทำให้คนหันมา
ตระหนักเหน็ ถึงความสำคญั ของการออกกำลังกายและประโยชนข์ องการออกกำลังกาย 2.เพือ่ นำเทคโนโลยี
มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวัน 3.เพือ่ ศึกษาการเขียน code ลงmicro:bit การดำเนินการ คือ ศึกษา
การคำนวณพลงั งานแบบ แคลอรี่ ต่อการก้าวในแต่ละครง้ั และการเขยี นโปรแกรมใน micro:bit

ผลการดำเนนิ การ เซนเซอรต์ รวจวัดการส่ัน สามารถตรวจวัดจำนวนก้าวไดต้ ามจำนวนกา้ วทเ่ี รา
เดนิ ไดต้ ามความเป็นจรงิ โปรแกรมจับเวลาสามารถจบั เวลาได้ตรงตามเวลาผ่านไป โปรแกรมคำนวณแคลอร่ี
สามารถคำนวณ คา่ แคลอรีทเ่ี สียไปไดต้ รงตามสูตรการคำนวณแคลอรี สามารถสรา้ งเคร่ืองนบั กา้ วอัจฉริยะได้
จากการ อุปกรณ์สมองกล micro:bit

2

กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานเร่ือง เครอื่ งนับก้าวอัจฉรยิ ะ สำเร็จลลุ ่วงด้วยดีได้ เพราะได้รับความช่วยเหลือจากผู้มี
อุปการะคุณ ดงั ต่อไปน้ี

นายชชั วาล ฝ่ายกระโทก ไดช้ ่วยชแ้ี นะเกยี่ วกบั วิธีการทำโครงงาน
นายอภสิ ิทธ์ สงั ขศ์ ิริ ได้ชว่ ยดูแล และให้ข้อมลู เก่ียวกับอุปกรณใ์ นหอ้ ง Fab Lab
และเวบ็ ไซต์ออนไลนท์ ่ีข้อมลู
คณะผจู้ ัดทำขอขอบคุณผู้อุปการะคณุ ดงั กล่าวหากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จดั ทำขอรบั ผดิ
เพียงผู้เดยี ว ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการทำโครงงานฉบับนี้อทุ ิศแด่ผูม้ ีอปุ การะคุณ และผอู้ ่านทุกๆทา่ น

คณะผู้จดั ทำ
29 กันยายน 2562

3

คำนำ

โครงงานเรอ่ื งเครือ่ งนบั ก้าวอัจฉริยะ จดั ทำข้ึนเพื่อใหค้ นหนั มาตระหนักเห็นถงึ ความสำคญั ของ

การออกกำลงั กายและประโยชน์ของการออกกำลงั กาย เพ่ือศกึ ษาการเขยี น code ในอุปกรณ์ micro:bit และ
เพือ่ นำเทคโนโลยมี าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจำวนั โดยใช้อุปกรณส์ มองกล micro:bit ในการดำเนินการ

ทางคณะผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ ผูอ้ า่ นจะไดร้ ับข้อมูลในเรือ่ ง การเขยี นโคด้ ในอุปกรณ์สมองกล
micro:bit การออกกำลังกายทม่ี ผี ลดตี ่อสุขภาพ การเผาผลาญแคลอรี และข้อมลู ต่าง ๆท่ีผอู้ า่ นสนใจไม่มากก็
น้อย

คณะผูจ้ ดั จำขอขอบคุณ คุณครู อาจารย์ และ เจา้ หนา้ ที่ ทุกทา่ นท่ีได้ให้ความรู้ คำปรึกษา และ
อุปกรณ์ต่าง ๆ และขอขอบคุณผู้ปกครองท่ีไดใ้ ห้การสนบั สนุนในดา้ นต่าง ๆ จนทำให้โครงงานนส้ี ำเรจ็ ลลุ ว่ ง
ด้วยดี หากมขี ้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทำขออภัยมา ณ ท่นี ด้ี ว้ ย

คณะผู้จดั ทำ
29 กันยายน 2562

4

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อ .……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1
กิตตกิ รรมประกาศ ………….……………………………………………………………………………………………………………… 2
คำนำ …………………………….……………………………………………………………………………………………………………… 3
บทท่ี 1 บทนำ ………………………………………………………………………………………………………………………..……… 6

- ทม่ี าและความสำคัญ ..................................................................................................................... 6
- วัตถุประสงค์ ................................................................................................................................. 6
- ขอบเขตการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………….. 6

- ขอบเขตดา้ นเน้ือหา …………………………………………………………………………………………………. 6
- ขอบเขตด้านระยะเวลา ……………………………………………………………………………………………. 6
- ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ………………………………………………………………………………………………………… 7
บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง ……………………………………………………………………………………………………………… 8
- บอร์ด micro:bit และเรียนรู้การใช้งานเบื้องตน้ …………………………………………………………………. 8
- ประโยชน์ของการเดนิ ................................................................................................................... 19
- แคลอรี่ ………………………………………………………………………………………………………………………….. 21
บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงาน ............................................................................................................................. 31
- วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือโปรแกรมท่ีใชใ้ นการพัฒนา ……………………………………………………………. 31
- ขน้ั ตอนการดำเนินงาน ................................................................................................................. 31
บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ ………………………………………………………………………………………………………………. 32
- ผลการดำเนนิ การ ………………………………………………………………………………………………………….. 32
- รูปตวั อยา่ งของผลงานและโปรแกรม ........................................................................................... 33
บทที่ 5 อภิปรายผลการศกึ ษา ....................................................................................................................... 34
บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………………………………………………… 36
ภาคผนวก …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 38

5

สารบัญรูปภาพ

หน้า
ภาพท่ี 2.1 แสดงด้านหลงั บอร์ด micro:bit ................................................................................................... 8
ภาพที่ 2.2 แสดงส่วนประกอบของบอรด์ micro:bit ………………………………………………………………………….. 9
ภาพท่ี 2.3 แสดง LED บนบอร์ด micro:bit ……………………………………………………………………………………… 10
ภาพที่ 2.4 แสดงปมุ่ กดบนบอรด์ micro:bit ……………………………………………………………………………………… 11
ภาพที่ 2.5 แสดง pin บนบอรด์ micro:bit ………………………………………………………………………………….…… 11
ภาพท่ี 2.6 แสดง Light Sensor บนบอรด์ micro:bit …………………………………………………………………….…. 12
ภาพที่ 2.7 แสดง Temperature Sensor บนบอรด์ micro:bit …………………………………………………….……. 12
ภาพที่ 2.8 แสดงตำแหน่งชพิ NXP/Freescale MAG3110 บนบอรด์ micro:bit ……………………………….…. 13
ภาพที่ 2.9 แสดงตำแหน่งชิพ NXP/Freescale MMA8652 บนบอร์ด micro:bit …………………………………. 13
ภาพที่ 2.10 แสดงการใช้ Radio บนบอร์ด micro:bit ……………………………………………………………………….. 14
ภาพท่ี 2.11 แสดงการใช้ Bluetooth บนบอร์ด micro:bit ………………………………………………………………… 14
ภาพท่ี 2.12 แสดงการใช้ Online Editor เขียนโปรแกรมบอรด์ micro:bit ………………………………………….. 15
ภาพท่ี 2.13 แสดงการใช้ microPython เขยี นโปรแกรมบอรด์ micro:bit …………………………………………… 16
ภาพที่ 2.14 แสดงการใช้ Code Kingdoms JavaScript เขียนโปรแกรมบอรด์ micro:bit …………………….. 16
ภาพที่ 2.15 แสดงการใช้ Microsoft Block Editor เขียนโปรแกรมบอรด์ micro:bit ……………………………. 17
ภาพท่ี 2.16 แสดงการใช้ Microsoft Touch Develop เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit ……………………… 17
ภาพที่ 2.17 แสดงการใช้ arm mbed เขยี นโปรแกรมบอรด์ micro:bit ………………………………………………. 18
ภาพที่ 2.18 แสดงการใช้ Arduino เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit …………………………………………………… 18
ภาพท่ี 2.19 แสดงการใช้ Editor บนสมารท์ โฟนและแท็บเล็ท เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit …………….. 19
ภาพท่ี 4.1 แสดงโปรแกรมท่ีใชใ้ นการสร้างเครื่องนับก้าวอัจฉรยิ ะ …………………………………………….…………. 32
ภาพท่ี 4.2 แสดงตวั อยา่ งชิ้นงานเครือ่ งนบั ก้าวอจั ฉริยะ ……………………………………………………………….…….. 33

6

บทที่ 1
บทนำ

ท่มี าและความสำคญั

ปัจจุบนั คนส่วนใหญ่ในสงั คมละเลยการออกกำลงั กายเป็นส่วนใหญ่ เนือ่ งจากแต่ละคนอาจจะไม่มี
เวลาในการออกกำลงั กายและไม่เหน็ คุณค่าของการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายนน้ั ไม่ได้เห็นผลดี
แบบทนั ที แต่ต้องเกิดจากการทำเปน็ ประจำอย่างต่อเน่ืองถึงจะทำให้เกดิ ผลดตี ่อสขุ ภาพร่างกายของเรา ซึง่
คณะผูจ้ ัดทำก็มักประสบกบั ปัญหาแบบน้ี เราจงึ ได้ประดิษฐ์เคร่ืองนับกา้ วอจั ฉริยะ เนือ่ งจากการเดนิ ถือเปน็
สิ่งทกี่ ารออกกำลงั กายขั้นพื้นฐานและยงั สามารถทำไดท้ กุ เพศทุกวยั เราจงึ ประดิษฐ์เครื่องนับก้าวอัจฉรยิ ะ โดย
เครื่องนบั กา้ วอจั ฉริยะของเราสามารถบอกจำนวนก้าวและปรมิ าณแคลอรี เพ่ือให้ทกุ คนไดม้ ีแรงบันดาลใจใน
การออกกำลังกายเพื่อจะไดม้ ีสขุ ภาพท่ีดีในระยะยาว

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือทำใหค้ นหนั มาตระหนักเหน็ ถึงความสำคัญของการเดนิ ออกกำลงั กายและประโยชน์ของการ
ออกกำลังกาย
2. เพอ่ื นำเทคโนโลยมี าใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน
3. เพื่อศกึ ษาการเขียน code ลง micro:bit

ขอบเขตการศกึ ษา
ขอบเขตด้านเนื้อหา
การใช้micro:bitในการวัดการสน่ั สะเทอื น การคำนวณปริมาณแคลอรี และการจบั เวลา
โปรแกรมทใี่ ชใ้ นการดำเนนิ งาน ไดแ้ ก่ โปรแกรมออนไลน์ https://microbit.org/
ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
ศึกษาต้งั แตว่ นั ที่ 10 กนั ยายน 2562 – วันที่ 30 ตุลาคม 2562

7

ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั

1. ทกุ คนหันมาให้ความสำคญั กับการออกกำลงั กายเพื่อมสี ขุ ภาพร่างกายที่ดขี ึ้น
2. สามาถนำไปพัฒนาต่อเป็นอปุ กรณ์ท่ีใช้ทางการแพทย์ได้
3. สามารถนำความรู้ทไี่ ดร้ ับจากการเขียนโปรแกรม microbit ไปใช้พฒั นางานในด้านตา่ งๆ

8

บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

โครงงานเรื่อง เคร่ืองนับก้าวอัจฉรยิ ะ จดั ทำขึ้นเพ่ือทำใหค้ นหนั มาตระหนกั เหน็ ถงึ ความสำคญั ของ
การเดินออกกำลังกายและประโยชน์ของการออกกำลังกาย เพือ่ นำเทคโนโลยมี าใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชวี ิตประจำวนั และเพ่ือศึกษาการเขียน code ลง microbit มีเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี

1. บอรด์ micro:bit และเรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น

2. ประโยชนข์ องการเดิน

3. แคลอรี่

1. บอรด์ micro:bit และเรยี นร้กู ารใช้งานเบ้อื งต้น

ภาพที่ 2.1 แสดงดา้ นหลงั บอรด์ micro:bit

บอร์ด micro:bit เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์สำหรับการศึกษาจากโครงการของ BBC (British
Broadcasting Company) หรือบริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงของอังกฤษ ที่ร่วมมือกับ Partner หลายบริษัท
ผลิตบอร์ดคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการศึกษาเรียนรู้ในยุคดิจิตอลแจกจ่ายให้แก่เด็กในประเทศอังกฤษ ต่อ
จากในอดีตที่ทาง BBC เคยทำบอร์ด BBC Micro ออกมาแล้วเมื่อปี 1980 เพื่อให้เกิดการเริ่มต้นเรียนรู้ใช้งาน
คอมพิวเตอรข์ องเดก็ ๆ

บอร์ด micro:bit ถูกออกแบบให้เขียนโค้ตและคอมไพล์ผ่านทางเว็บบราวน์เซอร์ สามารถใช้งาน
ร่วมกับระบบอ่ืนๆได้หลายระบบ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ท (ใช้ได้ทั้ง android, iOS) อีกท้ัง

9

ยังมีเซ็นเซอร์พื้นฐานสำหรับการเรียนรู้ อาทิเช่น เซ็นเซอร์วัดแสง เซ็นเซอร์วัดความเร่ง เซ็นเซอร์เข็มทิศ
รวมทัง้ ปุม่ กด และ LED แสดงผล ติดต้งั มาใหเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ ทำให้ตวั บอรด์ เรียกใช้เซน็ เซอรแ์ ตล่ ะอย่างโดยง่าย
ไม่จำเปน็ ต้องหาเซน็ เซอร์มาตอ่ เพมิ่ เตมิ จึงเหมาะแกก่ ารเรียนรสู้ ำหรบั เด็กหรือผ้ทู ส่ี นใจ

1.1 สว่ นประกอบของบอร์ด

ภาพท่ี 2.2 แสดงส่วนประกอบของบอร์ด micro:bit
• Nordic NRF51822 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์หลัก ARM ซีรีย์ Cortex-M0 แบบ 32-bit

ความถ่ีสญั ญาณนาฬิกา 16 MHz หน่วยความจำ Flash Memory ขนาด 256 KB
หนว่ ยความจำ RAM ขนาด 16 KB พร้อม Bluetooth Low Energy (BLE) 2.4 GHz สามารถ
สลบั ความถสี่ ัญญาณนาฬิการะหว่าง 16 MHz กับ 32.768 KHz
• NXP/Freescale KL26Z ARM Cortex-M0+ ความถส่ี ญั ญาณนาฬิกา 48 MHz ทำหน้าทเ่ี ป็น
USB 2.0 OTG ติดต่อสื่อสารกับชพิ หลักและแปลงแรงดันไฟเล้ยี งบอรด์ เปน็ 3.3 โวลตเ์ มือ่ ตอ่ ไฟ
หรือโปรแกรมผา่ น USB
• NXP/Freescale MMA8652 เปน็ เซ็นเซอร์วดั ความเร่งแบบ 3 แกน 3-axis accelerometer
เชอ่ื มต่อผา่ น I2C
• NXP/Freescale MAG3110 เป็นเซ็นเซอร์ทศิ ทางแบบ 3 แกน 3-axis magnetometer
เช่อื มต่อผา่ น I2C
• คอนเนคเตอร์ Micro USB สำหรบั จ่ายไฟและต่อคอมพวิ เตอร์เพื่ออัพโหลดโปรแกรม
• คอนเนคเตอร์ Battery แบบ JST รองรับแรงดันกระแสตรง 3 โวลต์

10

• หลอด LED 25 ดวง (5x5) เรียงเป็นอาเรย์ 5 แถว แถวละ 5 ดวง
• คอนเนคเตอร์ 25-pin บนขอบ PCB สองด้าน เปน็ ขาสัญญาณต่างๆ ดังน้ี

- 3V
- GND
- PWM จำนวน 2 หรือ 3 ขา แลว้ แต่การกำหนดค่า
- GPIO จำนวน 6 ถึง 17 ขา แลว้ แตก่ ารกำหนดคา่
- Analog Input จำนวน 6 ขา
- Serial I/O
- SPI
- I2C
- ปมุ่ กดสำหรบั ผู้ใชง้ านโปรแกรมได้จำนวน 2 ปุ่ม
- ปุ่มรีเซต็ 1 ปุ่ม
-
1.2 ฟเี จอร์และเซ็นเซอร์ต่างๆในบอรด์
1.2.1 LED

ภาพท่ี 2.3 แสดง LED บนบอร์ด micro:bit

L คอื Light (แสง)
E คอื Emitting (เปล่งประกาย)
D คือ Diode (ไดโอด)

11

เมือ่ นำทั้ง 3 คำมามารวมกันจะมคี วามหมายว่า “ไดโอดที่สามารถเปล่งแสงได”้ ในตวั บอร์ด micro:bit จะ
มี LED 25 ดวง ตดิ ต้ังมาใหเ้ รียบร้อยแลว้ สามารถเขยี นโปรแกรมเพ่อื แสดงเป็นรูปหรอื ตวั อักษรได้

1.2.2 Button

ภาพท่ี 2.4 แสดงปุม่ กดบนบอรด์ micro:bit
ในบอรด์ micro:bit มปี ุ่มกดติดตง้ั มาให้ 2 ปุ่ม คือ

- ปุ่ม A อยูท่ างดา้ นซา้ ยของบอร์ด
- ปมุ่ B อย่ทู างดา้ นขวาของบอรด์
สามารถเขยี นโปรแกรมเพื่อใช้เป็น Input ใหก้ ับบอร์ด
1.2.3 Pin

ภาพที่ 2.5 แสดง pin บนบอรด์ micro:bit
คอนเนคเตอร์ 25 pin บนขอบ PCB สองดา้ น ประกอบดว้ ย
• Large pins

12

• 0: GPIO (general purpose digital input and output) with analogue to
digital convertor (ADC)

• 1: GPIO with ADC
• 2: GPIO with ADC
• 3V and GND
1.2.4 Light Sensor

ภาพท่ี 2.6 แสดง Light Sensor บนบอรด์ micro:bit
เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง ใช้ LED ท่ีอยบู่ นบอรด์ เป็น Input เพื่อใช้วัดปริมาณแสงโดยรอบตวั บอรด์

1.2.5 Temperature Sensor

ภาพท่ี 2.7 แสดง Temperature Sensor บนบอร์ด micro:bit
เซน็ เซอร์วัดอุณหภูมขิ องสภาพแวดล้อมโดยรอบ (℃ องศาเซลเซยี ส)

13

1.2.6 Compass

ภาพท่ี 2.8 แสดงตำแหน่งชพิ NXP/Freescale MAG3110 บนบอร์ด micro:bit
เซ็นเซอรเ์ ขม็ ทิศอาศัยหลักการทำงานของแรงดงึ ดูดระหวา่ งสนามแมเ่ หล็กโลกกบั แมเ่ หล็กของเข็มทศิ
ในการบอกทิศทาง ใช้ชิพ NXP/Freescale MAG3110 ส่อื สารผา่ นทาง I2C Interface

1.2.7 Accelerometer

ภาพท่ี 2.9 แสดงตำแหน่งชิพ NXP/Freescale MMA8652 บนบอร์ด micro:bit

เซน็ เซอร์ วดั ความเร่งแบบ 3 แกน สามารถใช้ตรวจจบั การเคล่อื นไหว เช่น การเขย่า, การเอยี ง และ
การตกแบบอสิ ระ ใช้ชิพ NXP/Freescale MMA8652 ส่อื สารผ่านทาง I2C Interface

14

1.2.8 Radio

ภาพท่ี 2.10 แสดงการใช้ Radio บนบอรด์ micro:bit
เปน็ ฟีเจอร์ทใ่ี ช้คล่นื วิทยุเพ่ือใช้สอ่ื สารระหว่างบอร์ด micro:bit ตัวอยา่ งการใช้งาน เชน่ สง่ ข้อความ
สง่ ข้อมลู เซน็ เซอร์ สรา้ งเกมหลายผู้เล่น เป็นตน้

1.2.9 Bluetooth

ภาพท่ี 2.11 แสดงการใช้ Bluetooth บนบอรด์ micro:bit

บลูทธู พลงั งานต่ำ (Bluetooth Low Energy) ความถ่ี 2.4GHz ใช้ชพิ Nordic NRF51822 สามารถ
เช่อื มตอ่ กบั PC, Smart Phone หรือ Tablet ใช้ในสือ่ สารหรอื อัพโหลดโปรแกรมลงบนบอร์ดได้

15

1.3 การเขียนโปรแกรมบนบอรด์ micro:bit
บอรด์ micro:bit เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ชนิดหนึ่งที่ถอื ว่า “มีความยืดหยุ่นในการพัฒนา

โปรแกรมสงู ” เพราะว่าบอร์ด micro:bit รองรบั การพฒั นาโปรแกรมได้หลายภาษา ไมว่ า่ จะเปน็ JavaScript
Block Editor, ภาษา Python และ ภาษา C/C++ ผใู้ ชง้ านสามารถเลอื กพัฒนาโปรแกรมได้ตามรปู แบบภาษา
ทตี่ นเองถนัดโดยในแต่ละภาษาท่ใี ช้ในการพัฒนาโปรแกรมนั้นจะมคี วามยากงา่ ยแตกต่างกันไป

สำหรบั โปรแกรมทใ่ี ช้ในการเขียนโปรแกรมลงบนบอร์ด micro:bit สว่ นใหญจ่ ะเป็น Online Editor
สามารถเรยี กใชง้ านผา่ น Internet Browser (Google Chrome, Chromium, Microsoft Edge, Mozilla
Firefox, Safari) ทตี่ ดิ ตง้ั อยู่บนเคร่อื งคอมพวิ เตอรไ์ ด้ทันที ข้อดีของโปรแกรมแบบนี้คือไม่จำเป็นต้องติดต้งั
โปรแกรมเพิ่มเติม ใน Editor บางตัวสามารถแชรต์ ัวอย่างโค้ตทเ่ี ขียนไดเ้ ปน็ link ได้ สามารถใช้งานไดใ้ นหลาย
แพลตฟอรม์ คอมพวิ เตอรไ์ มว่ ่าจะเปน็ ทง้ั Windows OS, Mac OS, Linux OS และยงั รองรับการใช้งานบน
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ท(Android, iOS) ได้อกี ด้วย

• Online Editor ทีใ่ ช้เขยี นโปรแกรมบอร์ด micro:bit

ภาพท่ี 2.12 แสดงการใช้ Online Editor เขยี นโปรแกรมบอร์ด micro:bit

16

• microPython (ภาษา Python)

ภาพที่ 2.13 แสดงการใช้ microPython เขยี นโปรแกรมบอร์ด micro:bit
• Code Kingdoms JavaScript (Block to JavaScript)

ภาพท่ี 2.14 แสดงการใช้ Code Kingdoms JavaScript เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit

17

• Microsoft Block Editor (Block)

ภาพท่ี 2.15 แสดงการใช้ Microsoft Block Editor เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit
• Microsoft Touch Develop (Block to text-based programming)

ภาพที่ 2.16 แสดงการใช้ Microsoft Touch Develop เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit

18

• arm mbed (ภาษา C/C++)

ภาพท่ี 2.17 แสดงการใช้ arm mbed เขียนโปรแกรมบอรด์ micro:bit
• Arduino (ภาษา C/C++ ตดิ ตัง้ Arduino IDE และบอรด์ เพิ่มเติม)

ภาพที่ 2.18 แสดงการใช้ Arduino เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit

19

• Editor บนสมารท์ โฟนและแท็บเลท็

ภาพที่ 2.19 แสดงการใช้ Editor บนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ท เขียนโปรแกรมบอร์ด micro:bit

2. ประโยชน์ของการเดนิ

การออกกำลงั กายเปน็ เร่อื งเฉพาะตวั สำหรับผทู้ ใี่ ส่ใจหมั่นออกกำลงั กายก็จะได้ สุขภาพท่ีแข็งแรงเป็น
การตอบแทน ซึง่ จะมากหรอื น้อยขึน้ อยกู่ บั การลงทุน (เวลาและจติ ใจ) ถ้าหากมีเวลาน้อยกเ็ ลอื กออกกำลังกาย
แบบงา่ ยๆ เช่น การเดิน (เร็ว) การว่ิง (เหยาะๆ) การว่ายน้ำ การขจ่ี กั รยาน การเต้นแอโรบกิ เปน็ ต้น การออก
กำลงั กายทดี่ แี ละมปี ระโยชน์คอื การออกกำลงั กายทีเ่ หมาะสมกบั วัยและสม่ำเสมออยา่ งน้อยวนั เว้นวันหรอื
สัปดาหล์ ะ 3-5 วนั วันละ 30-45 นาที การลงทนุ ดว้ ยการออกกำลงั กายประเภทใดประเภทหนง่ึ หรอื หลาย
ประเภทสลับกนั อย่างสม่ำเสมอ เพื่อใหส้ ขุ ภาพกายแขง็ แรง สขุ ภาพจิตสดชน่ื เบิกบาน มชี ีวิตยนื ยาว ก็น่าจะถือ
ว่าเป็นการลงทุนท่ีคมุ้ ค่าทส่ี ดุ

"การเดิน" คือการออกกำลงั กายทงี่ า่ ย สะดวก และปลอดภัยท่ีสดุ ใครทเี่ ดินไดก้ ส็ ามารถออกกำลงั กาย
ด้วยวธิ ีน้ไี ด้ นั่นคือการเดินเร็วที่สม่ำเสมอและต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง จนกระทัง่ เหงื่อออกโซมกาย หัวใจเตน้
เรว็ กวา่ ปกติ ชีพจรเตน้ เร็ว 100-120 ครง้ั ต่อนาที การเดนิ ออกกำลังกายมวี ธิ กี ารเฉพาะ กลา่ วคือ ควรเร่มิ ที่ท่า
ยนื กอ่ น ปล่อยตวั ตามสบายหายใจปกติ ขณะเดนิ ควรเงยหน้ามองตรง ไปให้ไกลทสี่ ุด เดินเตม็ ฝ่าเท้า โดยลง

20

ส้นเทา้ เหยยี บพื้นให้เต็มฝา่ เท้าก่อน แล้วยกเทา้ ขน้ึ โดยให้หัวแม่เท้าขนึ้ จากพืน้ เปน็ ส่วนท้ายของการเดิน ควรจะ
เดินออกกำลงั กายเป็นประจำสม่ำเสมอ อย่างน้อยคร้งั ละ 30-45 นาที วนั เวน้ วัน หรือสปั ดาหล์ ะ 3-5 วัน
สำหรับความเรว็ และระยะทางในการเดนิ น้ันขน้ึ กับสภาพของแต่ละบคุ คล การเดนิ เพ่อื ออกกำลงั กายแม้จะงา่ ย
สะดวก และปลอดภยั ก็ตาม แตก่ ็ไม่เหมาะสำหรบั ผทู้ ่ีมปี ัญหาขอ้ เท้าและหวั เข่า เพราะการเดินมากๆ จะทำให้
ขอ้ และเขา่ เจ็บ ควรเปลยี่ นเป็นการออกกำลงั กายประเภทหรอื ชนิดอ่นื เชน่ เดินในนำ้ วา่ ยนำ้ หรือรำมวยจีน
เป็นตน้ สำหรับรองเท้าท่ใี ช้เดินออกกำลงั กายนนั้ ก็มีสว่ นในการปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ไดไ้ ม่นอ้ ยจึงควรเลือก
รองเท้าทม่ี ีพน้ื กันแรงกระแทกและรองรบั อย่างมั่นคง การเดิน "ด"ี ตอ่ สุขภาพอยา่ งไร

2.1 สภาพร่างกายในทกุ ๆสว่ นแข็งแรงสมบูรณ์โดยทำให้กลา้ มเน้ือกระดกู และเอน็ แขง็ แรง มีความยดื หยุน่
การเดนิ เป็นประจำจะทำให้กระดกู หนาแนน่ และแข็งแรงย่ิงขึ้น

2.2 ป้องกันและต่อตา้ นการเกิดโรคภยั ไขเ้ จ็บตา่ งๆ ได้เป็นอยา่ งดี ดงั คำกล่าวทีว่ ่า "กีฬาๆ เป็นยาวเิ ศษ"เชน่
เปน็ ยาปอ้ งกันรกั ษาโรคหวั ใจ โรคความดันเลอื ด โรคกระดูกพรนุ โรคเบาหวาน เป็นตน้

2.3 ชะลอความเสื่อมของรา่ งกาย ยดื ระยะการเป็นหนมุ่ สาวให้ยาวนาน พร้อมทัง้ ยงั ช่วยให้อายุยนื ยาว
ยิ่งขน้ึ

2.4 สตปิ ญั ญาเฉยี บแหลม เพมิ่ ความสามารถในการคิด การจำดีข้นึ

2.5 ลดปญั หาการนอนไมห่ ลับ การเดินออกกำลังกายตอนเย็นแดดออ่ นๆ จะชว่ ยใหก้ ารนอนหลบั ดียิง่ ข้ึน

2.6 ระบบการทำงานของหวั ใจและการไหลเวียนของเลือดไดด้ ีและเปน็ ปกติ

2.7 หลอดเลอื ดขยายตัวและหดตัวสลับกนั ทำใหก้ ารไหลเวียนเลอื ดสะดวกยงิ่ ขึ้น ซง่ึ จะชว่ ยลดความดนั
เลอื ดลง

2.8 ระบบการย่อย และระบบการขบั ถา่ ยของร่างกาย ทำงานได้ดีเปน็ ปกติ

2.9 เจรญิ อาหารย่งิ ข้ึน

2.10 ระบบภมู คิ ้มุ กนั หรอื ภมู ิต้านทานโรคแข็งแรง

2.11 ผิวพรรณสดใสและเตง่ ตงึ

2.12 ลดความเครยี ดไดเ้ ป็นอย่างดี กระต้นุ ให้ฮอร์โมน เอนดอรฟ์ ิน (หรอื สารความสขุ ) หลงั่ ออกมาซ่งึ มฤี ทธิ์
กลอ่ มประสาท ทำให้อารมณ์ดี รู้สกึ มคี วามสุขเป็นพิเศษ จิตใจสดช่ืนเบกิ บาน รวมทัง้ ลดความเจ็บปวด
ไดด้ ว้ ย

21

2.13 ลดความหงุดหงดิ ความโกรธหรอื อารมณไ์ ม่ดตี า่ งๆ ได้อย่างดี
2.14 ผอ่ นคลายความตึงเครยี ดของสมอง และกล้ามเนื้อสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายไดเ้ ป็นอย่างดเี ชน่ กัน
2.15 ร่างกายหล่งั ฮอรโ์ มนเพศมากขนึ้ ความรูส้ กึ ทางเพศจงึ ดขี ้นึ ทง้ั ชายและหญงิ
2.16 จิตใจสดช่นื เบกิ บาน ปลอดโปร่งแจม่ ใส กระชุ่มกระชวย รู้สกึ มีความสุข
การเดนิ ออกกำลงั กายนบั ว่าเป็นวธิ ที ปี่ ลอดภยั ประหยดั มีประโยชน์และคุ้มค่าทส่ี ุด สมควรใช้เป็นวคั ซีน
และยา (วิเศษ) ป้องกันและรักษาโรคตา่ งๆ ทัง้ ทางกายและทางใจดว้ ยตนเอง

3. แคลอรี่
แคลอรี่ (Calories) คือ หน่วยวดั พลังงานอย่างหน่งึ ของอาหาร สว่ นใหญ่แล้ว จะหมายถึงพลงั งานที่

ได้รบั จากการบริโภคอาหารและเคร่อื งด่มื หรอื พลังงานท่ีร่างกายใช้ทำกิจกรรมต่าง ๆ มกั เรียกวา่ "กิโลแคลอ
ร"ี่ (Kilocalories) ซ่งึ จะเขยี นอยู่บนฉลากอาหารวา่ kcal โดยทวั่ ไปแล้ว ร่างกายต้องการแคลอรี่ เพื่อนำมาใช้
เปน็ พลังงานในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ ตั้งแต่หายใจไปจนถงึ กจิ กรรมที่ตอ้ งเคลื่อนไหวรา่ งกาย เชน่ การเดนิ หรือ
การวิ่ง อยา่ งไรก็ตาม หากรับจำนวนแคลอร่ีมากกวา่ ที่เผาผลาญออกไป ร่างกายจะแปรรูปพลังงานเหล่านนั้
เป็นไขมันสว่ นเกนิ เกบ็ สะสมตามรา่ งกาย ส่งผลให้นำ้ หนักตัวเพม่ิ ขึ้น

3.1 ความแตกต่างระหว่างกิโลแคลอร่ี (kcals) และกโิ ลจลู (kJ)
โดยทั่วไปแล้ว ฉลากของผลติ ภัณฑอ์ าหารและเครื่องดื่มต่าง ๆ จะประกอบดว้ ยขอ้ มลู เกี่ยวกบั น้ำหนกั

ของอาหารหรือเครื่องด่ืม สว่ นประกอบของอาหารหรอื เคร่ืองดืม่ ส่วนผสมทีอ่ าจทำใหเ้ กิดการแพ้ วธิ เี ก็บรักษา
ผลิตภณั ฑ์ รวมทั้งข้อมลู เกี่ยวกบั ปรมิ าณพลังงานทีไ่ ดร้ ับจากการบรโิ ภคอาหารหรอื เครื่องด่ืมน้นั ๆ โดยข้อมลู
เกยี่ วกับแคลอร่ีหรือปริมาณพลังงานท่จี ะไดร้ บั เรียกวา่ ขอ้ มูลทางโภชนาการ ข้อมลู ดังกล่าวจะช่วยใหผ้ ู้บรโิ ภค
สามารถคำนวณปริมาณพลงั งานที่ได้รับในแต่ละวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หนว่ ยพลังงานหรอื แคลอรที่ ร่ี ะบบุ น
ฉลากของผลติ ภัณฑแ์ ต่ละอย่าง จะใชว้ า่ kcals ซึ่งย่อมาจาก Kilocalories (กโิ ลแคลอร)ี่ คำว่ากิโลแคลอร่ี ถือ
เปน็ คำเรียกของแคลอร่ีอีกคำหนง่ึ ทั้งน้ี ยงั ปรากฏคำเรียกสำหรับหนว่ ยวัดพลังงานหรอื แคลอรีว่ ่า "กโิ ลจลู "
(Kilojoules, kJ) โดยคำนี้เปน็ หนว่ ยวัดแคลอร่ีระบบเมตริกทใ่ี ช้กนั อยา่ งแพรห่ ลายในสากล

22

พลงั งานจำนวน 1 กิโลแคลอร่ี เท่ากบั พลงั งานจำนวน 4.2 กิโลจูล หากต้องการแปลงหน่วยพลงั งาน
จากกโิ ลแคลอร่เี ป็นกโิ ลจลู สามารถทำไดโ้ ดยนำจำนวนพลงั งานของหนว่ ยกโิ ลแคลอร่ีคูณกบั 4.2 ก็จะได้
จำนวนพลังงานในหนว่ ยกิโลจูล

3.2 จำนวนแคลอรีท่ ่ีควรไดร้ บั

โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายควรได้รับพลังงานในแต่ละวันอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยผู้ชายควรได้รบั
พลังงานจากการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มในปริมาณ 2,500 กิโลแคลอรี่ (10,500 กิโลจูล) ส่วนผู้หญิงควร
ได้รับพลังงานในแต่ละวันไมเ่ กิน 2,000 กิโลแคลอรี่ (8,400 กิโลจูล) ทั้งนี้ เด็กแต่ละวยั มีความต้องการแคลอร่ี
แตกต่างกัน โดยเด็กโตต้องการพลังงานในการทำกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าเด็กเล็ก ส่วนวัยรุ่นต้องการพลังงาน
ในจำนวนที่ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปริมาณพลังงานที่ได้รับในแต่ละวันนั้นอาจแตกต่างกันไปตาม
ปัจจัยอน่ื เชน่ เพศ อายุ น้ำหนกั และส่วนสงู ของรา่ งกาย หรือกิจกรรมที่ทำในแตล่ ะวนั ข้อมลู ทางโภชนาการที่
ระบุบนฉลากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ถือเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจจำนวนแคลอรี่ของอาหารหรือ
เคร่อื งดม่ื ท่ีรับประทานเข้าไปได้ โดยขอ้ มูลดังกล่าวจะระบุข้อมูลของไขมนั ไขมันอิ่มตวั คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล
โปรตีน และเกลอื ในปรมิ าณ 100 กรมั หรอื หน่งึ หน่วยบริโภคของอาหารหรือเคร่อื งดม่ื นนั้ ๆ

นอกจากน้ี ฉลากของผลิตภณั ฑ์อาหารและเคร่ืองด่ืมยงั ระบุปริมาณสารอาหารท่ีควรได้รับในแต่ละวัน
(Reference Intake: RI) ไวด้ ว้ ย ซ่งึ ประกอบด้วยขอ้ มูลของสารอาหารตา่ ง ๆ และพลังงานท่จี ำเปน็ ตอ่ รา่ งกาย
โดยทั่วไปแลว้ ผใู้ หญท่ ่ีทำกิจกรรมตามปกติควรได้รับพลงั งานวันละ 2,000 กโิ ลแคลอรี่ จากสารอาหารแต่ละ
อย่างในปริมาณท่ีเหมาะสม ได้แก่ ไขมันทง้ั หมด 70 กรัม ไขมันอ่ิมตวั 20 กรัม คารโ์ บไฮเดรต 260 กรัม
น้ำตาลท้ังหมด 90 กรมั โปรตีน 50 กรัม และเกลือ 6 กรัม โดยมีรายละเอียด ดังนี้

• ไขมนั คือสารอาหารทจี่ ำเป็นต่อรา่ งกาย โดยจะช่วยให้รา่ งกายไดร้ ับพลังงานและดูดซึมวติ ามนิ ตา่ ง ๆ
เชน่ วิตามินเอหรอื วติ ามินดี รวมท้งั เสรมิ สรา้ งไขมนั จำเปน็ บางอย่างทรี่ า่ งกายไมส่ ามารถสร้างไดเ้ อง
อย่างไรกต็ าม ผูบ้ ริโภคควรรบั ประทานไขมนั ในปริมาณที่พอเหมาะ โดยไขมนั แบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ
หลัก ได้แก่ ไขมนั อิ่มตัว (Saturated Fats) ไขมันไม่อ่ิมตัวเชงิ เดยี่ ว (Monounsaturated Fats) และ
ไขมันไม่อ่ิมตวั เชงิ ซ้อน (Polyunsaturated Fats) ผลิตภัณฑ์อาหารส่วนใหญ่มักมีไขมนั ท้ัง 3 ชนดิ
รวมกันอยู่ นอกจากน้ี ไขมันอ่ิมตัวและไขมันทรานส์ (Trans Fats) ยังจดั เปน็ ไขมนั ท่ีไมด่ ีต่อสขุ ภาพ
สว่ นไขมนั ชนิดไม่อ่มิ ตัวถือเป็นไขมันดีทม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ รา่ งกาย มักพบในเมลด็ พชื ธัญพืช ถั่วต่าง ๆ
ผกั และผลไม้ เชน่ ถัว่ เหลือง ข้าวโพด น้ำมันงา น้ำมันดอกทานตะวัน หรอื นำ้ มนั มะกอก ชว่ ยเพิ่ม
ระดับไขมันดีให้กบั รา่ งกาย ท้ังน้ี กรดไขมันโอเมก้า 3 ยังชว่ ยป้องกันการเกิดลิ่มเลอื ด ปรับระดบั การ

23

เตน้ ของหวั ใจใหเ้ ปน็ ปกติ รวมท้ังฟ้ืนฟรู า่ งกายใหด้ ขี ึ้นหลงั ประสบภาวะหัวใจลม้ เหลว อยา่ งไรกต็ าม
ผลติ ภัณฑอ์ าหารมักระบุปริมาณไขมัน 2 ประเภททีค่ วรได้รบั ไดแ้ ก่ ไขมันทงั้ หมด และไขมนั อ่ิมตัว
ดังน้ี

- ไขมนั ท้ังหมด ปริมาณไขมนั ท้ังหมดท่ีระบุบนฉลากผลิตภัณฑอ์ าหารหรือเคร่ืองด่มื ถือว่าเปน็
สารอาหารทีจ่ ำเปน็ ต่อรา่ งกายมาก เนอื่ งจากไขมันทกุ ชนิดจะให้จำนวนแคลอรเี่ ท่ากนั

- ไขมนั อิ่มตวั ไขมันอมิ่ ตวั จะเพิ่มระดบั คอเลสเตอรอลในรา่ งกายให้สูงขน้ึ ซ่งึ ทำใหเ้ สย่ี งเป็น
โรคหัวใจได้ ผู้บรโิ ภคควรรบั ประทานอาหารทีม่ ีไขมันอิ่มตวั ในปรมิ าณนอ้ ย โดยไขมนั ชนิดน้มี ักพบ
ในนำ้ มันหมู เนย หรอื ไขมันสัตว์ ขนมเคก้ บสิ กิต ผลิตภณั ฑ์เนยนมท่ีมไี ขมนั สงู

• คาร์โบไฮเดรต คารโ์ บไฮเดรตคือแหลง่ พลังงานของรา่ งกาย โดยร่างกายจะเปลีย่ นคารโ์ บไฮเดรตมา
เป็นพลงั งานในรูปของกลูโคส เพือ่ ช่วยใหอ้ วัยวะต่าง ๆ ทำงานไดต้ ามปกติ รวมทง้ั รักษามวลกล้ามเนือ้
ภายในรา่ งกายเอาไว้ หากร่างกายไดร้ ับคารโ์ บไฮเดรตไมเ่ พียงพอ ก็จะนำกรดไขมันมาแปรรูปเปน็
พลังงานในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ กระบวนการดังกล่าวจะก่อให้เกิดคโี ตน ซ่ึงต้องย่อยสลายโปรตนี
และทำให้สูญเสยี มวลกล้ามเนื้อได้ คารโ์ บไฮเดรตแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ น้ำตาลเชิงเดี่ยว
(Simple Sugars) และคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (Complex Carbohydrates) โดยคาร์โบไฮเดรตชนดิ
นำ้ ตาลเชงิ เด่ยี วจะแปรรปู เปน็ พลงั งานไดเ้ รว็ มกั พบในน้ำตาล ไซรปั น้ำเชอ่ื ม นำ้ ผึ้ง หรอื นำ้ ตาล
มะพรา้ ว เช่น แยมทาขนมปงั ลูกอม น้ำผลไม้ ส่วนคารโ์ บไฮเดรตเชงิ ซ้อนจะค่อย ๆ ถูกแปรรูปเปน็
พลงั งานใหร้ ่างกาย พบในอาหารท่มี ีน้ำตาลธรรมชาติอยู่แล้ว เช่น นม ผกั ผลไม้ ขนมปัง ขา้ ว หรอื มนั
ฝรง่ั

• นำ้ ตาลทง้ั หมด นำ้ ตาล คือสารใหค้ วามหวาน แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ น้ำตาลสังเคราะหท์ ใี่ ชเ้ ติม
รสชาตใิ นอาหารหรอื เครื่องดื่มต่าง ๆ เชน่ ซโู ครส หรือกลโู คส และน้ำตาลท่ีมาจากธรรมชาติ เช่น
นำ้ ผงึ้ ไซรปั น้ำผลไม้ที่ไม่เติมน้ำตาลสังเคราะห์ ฟรกั โทสในผลไม้ หรอื แลคโทสในนม ผบู้ รโิ ภคควร
บริโภคนำ้ ตาลแตน่ ้อย เนือ่ งจากนำ้ ตาลให้พลังงาน แต่ไม่ได้ให้สารอาหารเพื่อไปเสรมิ สรา้ งการทำงาน
ของรา่ งกาย ทง้ั นี้ น้ำตาลมอี ยู่แลว้ ในอาหารทว่ั ไป ผบู้ รโิ ภคไมจ่ ำเป็นตอ้ งเติมน้ำตาลเพ่ือเพ่ิมรสชาติ
เน่ืองจากการบริโภคนำ้ ตาลมากเกินไปจะทำให้ฟันผุ โดยเด็กควรบริโภคอาหารหรอื เครอื่ งดื่มที่ผสม
นำ้ ตาลในปรมิ าณท่ีเหมาะสม ดังนี้

- เดก็ อายุ 4-6 ปี ควรบรโิ ภคนำ้ ตาล 19 กรัม หรอื นำ้ ตาล 5 ก้อน

- เด็กอายุ 7-10 ปี ควรบริโภคนำ้ ตาล 24 กรมั หรือน้ำตาล 6 ก้อน

- เดก็ อายุ 11 ปี หรือมากกว่าน้ัน ควรบริโภคนำ้ ตาล 30 กรัม หรือน้ำตาล 7 กอ้ น

24

• โปรตีน โปรตีนนับเปน็ สารอาหารที่จำเป็นตอ่ รา่ งกายอีกอย่างหนงึ่ เนือ่ งจากจะช่วยเสรมิ สร้าง
กระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อสว่ นท่ีสึกหรอ รวมทง้ั พฒั นาร่างกายใหเ้ จรญิ เติบโตตามปกติ หากได้รับ
โปรตีนในปริมาณมากเกินความต้องการ รา่ งกายจะนำไปแปรรปู เปน็ พลงั งาน เพอ่ื ใช้ทำกจิ กรรมต่าง
ๆ ในชีวติ ประจำวนั

3.3 วิธีตรวจจำนวนแคลอรบ่ี นฉลากอาหารและเครื่องด่ืม
ผ้บู ริโภคที่เลอื กซ้ือผลิตภณั ฑ์อาหารหรือเคร่ืองด่ืมมารบั ประทานนัน้ สามารถคำนวณปริมาณพลังงานท่ี

ได้รบั จากการบรโิ ภคอาหารหรอื เคร่ืองดื่มต่าง ๆ โดยพจิ ารณาว่าอาหารหรือเครื่องด่ืมมไี ขมนั ทั้งหมด ไขมัน
อิ่มตัว และน้ำตาลในปริมาณท่ีสงู เกนิ ไปหรือไม่ ดงั น้ี

• ไขมันทง้ั หมด
- ปริมาณสูง: มากกวา่ 17.5 กรัม ของปริมาณไขมัน 100 กรัม
- ปรมิ าณตำ่ : 3 กรัม ของปริมาณไขมัน 100 กรมั หรือน้อยกว่านน้ั

• ไขมนั อ่มิ ตัว
- ปริมาณสูง: มากกว่า 5 กรมั ของปริมาณไขมันอมิ่ ตัว 100 กรัม
- ปรมิ าณตำ่ : 1.5 กรัม ของปริมาณไขมันอิ่มตัว 100 กรัม หรือน้อยกวา่ นน้ั

• น้ำตาล
- ปริมาณสูง: มากกวา่ 22.5 กรัม ของปริมาณน้ำตาลทั้งหมด 100 กรัม
- ปริมาณต่ำ: 5 กรมั ของปริมาณนำ้ ตาลท้งั หมด 100 กรัม หรือน้อยกว่านั้น

3.4 วธิ ีนับแคลอร่ี
ผู้บรโิ ภคที่ต้องการคำนวณจำนวนแคลอร่ีท่ีได้รับในแต่ละวันดว้ ยตวั เอง สามารถทำไดโ้ ดยสังเกตปรมิ าณของ
สารอาหารต่าง ๆ ทร่ี ะบบุ นฉลากผลติ ภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่มท่บี ริโภค โดยสารอาหารแต่ละอย่างมี
จำนวนแคลอรใ่ี นปรมิ าณ 1 กรัม ดังน้ี

• คารโ์ บไฮเดรต 4 กิโลแคลอรี่ (16 กิโลจลู ) โดยคาร์โบไฮเดรตแตล่ ะอยา่ งอาจให้พลงั งานต่างกัน

25

• โปรตีน 4 กโิ ลแคลอรี่ (17 กโิ ลจูล)
• ไขมัน 9 กิโลแคลอร่ี (37 กิโลจูล) โดยกรดไขมนั บางอย่างอาจใหพ้ ลงั งานต่างกัน
• แอลกอฮอล์ 7 กโิ ลแคลอรี่ (29 กิโลจูล)
• ไฟเบอร์ 3 กโิ ลแคลอร่ี (13 กโิ ลจลู )
• นำ้ เปลา่ 0 กิโลแคลอรี่ (0 กโิ ลจูล)

เมอื่ ทราบปริมาณของสารอาหารแตล่ ะอย่างแล้ว ใหน้ ำปริมาณกรัมของสารอาหารท่ีต้องการคำนวณ
แคลอร่ี มาคณู กับจำนวนแคลอรีใ่ นปริมาณ 1 กรัม ของสารอาหารนนั้ ๆ เช่น มันฝรงั่ แผน่ จำนวน 20 แผน่ มี
ปรมิ าณไขมัน 10 กรมั ใหน้ ำปรมิ าณ 10 กรัม คณู กบั จำนวนแคลอร่ีของไขมันปริมาณ 1 กรมั ซ่งึ เท่ากบั 9 กโิ ล
แคลอร่ี จะไดผ้ ลลพั ธ์ 90 ซึง่ หมายความว่าผู้บริโภคจะไดร้ ับพลงั งานของไขมันจากการรับประทานมันฝรัง่ แผ่น
90 กิโลแคลอร่ี

การนับแคลอรจ่ี ะช่วยใหผ้ ู้บริโภคสามารถคำนวณแคลอรหี่ รอื ปรมิ าณพลังงานท่ีควรไดร้ บั อย่าง
เหมาะสมตามความต้องการของแต่ละคน อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มนี ้ำหนกั ตวั เกนิ มาตรฐานหรือประสบภาวะอ้วน
ควรรบั ประทานอาหารที่ไขมันหรอื ปรงุ แต่งด้วยนำ้ ตาลหรือแอลกอฮอล์ใหน้ อ้ ยลง เน่ืองจากอาหารหรือ
เคร่อื งดื่มที่มีสารอาหารเหลา่ น้ใี นปรมิ าณสูงจะให้พลงั งานมากเกินความต้องการของรา่ งกาย สว่ นเด็กควร
รับประทานอาหาร เพื่อให้ไดร้ ับพลงั งานที่เพียงพอกับความต้องการของรา่ งกายในแต่ละวนั โดยเลอื ก
รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ในปริมาณที่เหมาะสม

3.5 วิธีทำใหไ้ ด้รบั จำนวนแคลอร่ีท่ีเหมาะสม

ร่างกายของแต่ละคนจะไดร้ ับจำนวนแคลอรท่ี ี่เหมาะสมเพ่ือนำไปใชท้ ำกจิ กรรมต่าง ๆ ในแตล่ ะวนั
แตกต่างกันไป ซึ่งขนึ้ อยู่กับปัจจยั หลายอยา่ ง เชน่ ขนาดรูปร่าง น้ำหนกั ส่วนสงู และอายุ หากต้องทำกจิ กรรม
ที่เคลอื่ นไหวร่างกายมาก ก็ต้องบริโภคอาหารและเครื่องด่ืมในปรมิ าณมากพอกนั เพ่อื ให้ได้รับพลังงานท่ี
เพยี งพอต่อการนำไปใช้เผาผลาญสำหรบั ทำกจิ กรรมดังกล่าว ผบู้ รโิ ภคจงึ ควรจำกดั จำนวนแคลอรท่ี ี่ได้รบั ในแต่
ละวนั ให้เหมาะสมกับความต้องการของรา่ งกาย โดยทวั่ ไปแลว้ การปรับจำนวนแคลอรที่ ่ีได้รบั ใหเ้ หมาะสมน้ัน
แบง่ ออกเป็น 3 ลักษณะ ตามความตอ้ งการของร่างกาย ดงั น้ี

26

• รกั ษาน้ำหนักตวั ผู้ทม่ี นี ้ำหนักตัวอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน ไม่อ้วนหรอื ผอมเกินไปสามารถรกั ษาน้ำหนัก
ตัวได้ โดยบรโิ ภคอาหารหรือเคร่อื งด่ืม รวมท้งั ใชพ้ ลงั งานทำกจิ กรรมต่าง ๆ ให้เทียบเท่ากับจำนวน
แคลอร่ที ่ีได้รับมา เพ่ือชว่ ยปรบั จำนวนแคลอรที่ ีร่ า่ งกายไดร้ ับในแตล่ ะวนั ให้อยู่ในเกณฑส์ มดลุ

• เพิม่ น้ำหนัก ผู้ที่มนี ้ำหนกั ตัวตำ่ กว่าเกณฑ์มาตรฐานและต้องการเพ่ิมน้ำหนกั ตัว ควรรับประทาน
อาหารในปรมิ าณที่มากกวา่ ท่เี คยบรโิ ภค เพือ่ ให้ได้จำนวนแคลอร่ีที่มากขึ้น

• ลดนำ้ หนกั ผทู้ ่มี ีน้ำหนกั ตวั เกินเกณฑ์มาตรฐาน ประสบภาวะอ้วน และต้องการลดน้ำหนักตวั นั้น
จำเป็นตอ้ งเคลอื่ นไหวรา่ งกายหรอื ทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหต้ ่อเน่ืองตดิ ต่อกนั เปน็ เวลานาน ใชพ้ ลงั งานให้
มากกว่าปริมาณพลังงานท่ีได้รบั เพอ่ื เพิ่มการเผาผลาญไขมันในรา่ งกาย

ท้ังน้ี วธิ ีปรบั จำนวนแคลอรใี่ ห้เหมาะสมกบั ความต้องการของรา่ งกายนั้น ทำได้โดยปรับพฤตกิ รรมการ
รบั ประทานอาหารและการออกกำลังกาย ซ่งึ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

การรับประทานอาหาร ผู้บริโภคควรเลือกรบั ประทานอาหารที่หลากหลาย เพ่ือใหร้ ่างกายไดร้ ับ
สารอาหารที่เป็นประโยชนค์ รบถ้วน ลดความเส่ียงปว่ ยเปน็ โรคหวั ใจ โรคหลอดเลือดสมอง มะเรง็ บางชนดิ
โรคเบาหวาน และโรคกระดกู พรนุ รวมทัง้ ชว่ ยควบคมุ น้ำหนกั ตัวให้อยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน ทั้งนี้ การ
รบั ประทานให้ได้ปริมาณท่ีพอเหมาะนน้ั ถือเป็นสง่ิ สำคัญต่อร่างกาย เนื่องจากผทู้ ี่ไดร้ ับพลงั งานจากการบรโิ ภค
อาหารและเครอื่ งด่ืมในปริมาณที่มากหรือน้อยเกินไป มีความเสย่ี งสงู ในการเกดิ ปญั หาสุขภาพต่าง ๆ การ
รบั ประทานอาหารเพอื่ ให้ไดร้ ับจำนวนแคลอรที่ ่ีเหมาะสมนั้น เบ้อื งตน้ มีแนวทางพร้อมตวั อย่างของอาหารและ
เครือ่ งด่ืมพอสังเขป ดังนี้

• คาร์โบไฮเดรต ควรรบั ประทานอาหารจำพวกคารโ์ บไฮเดรต เชน่ ขนมปงั ขา้ ว มันฝร่ัง อาหารเช้า
ซีเรยี ล เสน้ กว๋ ยเต๋ียว พาสต้า หรือขา้ วโอต๊ ให้ครบทกุ มือ้ อยู่เสมอ รบั ประทานธัญพืชอนื่ ๆ หรือ
อาหารท่ีมีไฟเบอร์สงู รวมทั้งรับประทานอาหารทีป่ รุงแตง่ ด้วยน้ำตาล เกลอื และไขมนั ในปรมิ าณน้อย
ปรมิ าณคาร์โบไฮเดรตทเ่ี หมาะสมนน้ั มดี ังน้ี

- ขนมปังแผ่นขนาดกลาง 1 แผน่

- ขา้ วทตี่ ้มแล้ว 2-3 ชอ้ นโตะ๊

- มนั ฝรง่ั ต้มหัวเล็ก 2 หัว

- มนั ฝรงั่ อบ (ไมป่ อกเปลือก) ขนาดกลาง 1 หัว

27

- อาหารเชา้ ซีเรียล 3 ชอ้ นโตะ๊

• ธญั พชื ที่ไม่ผ่านการขดั สี ธญั พืชเตม็ เมลด็ ท่ีไมผ่ า่ นการขดั สี หรอื โฮลเกรน (Wholegrains)
ประกอบดว้ ยรำข้าวซ่งึ มไี ฟเบอร์ จมกู ข้าวซึ่งเป็นสารอาหารของธญั พชื แต่ละอย่าง และเนื้อเยอ่ื ของ
เมล็ดพชื ธัญพืชที่ผ่านการขัดสนี ้นั จะไม่มีไฟเบอร์และสารอาหารหลงเหลืออยู่ ต่างกับธัญพืชไม่ขัดสีที่
อุดมไปดว้ ยไฟเบอร์ วติ ามินบีและกรดโฟลิค กรดไขมนั โอเมก้า 3 โปรตนี วิตามนิ อี สารต้านอนมุ ูล
อิสระ และทองแดง ผู้บรโิ ภคควรรับประทานธัญพชื ไม่ขัดสีเป็นประจำ เพื่อช่วยเสรมิ สร้างสุขภาพท่ีดี
รวมท้งั ลดโอกาสเส่ียงเปน็ โรคต่าง ๆ โดยรบั ประทานธญั พชื ดังกล่าวในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม ดังน้ี

- ข้าวโอ๊ตท่ไี ม่ผ่านการปรุงอาหาร 1 ช้อนโตะ๊

- โฮลวตี ในรูปตา่ ง ๆ เชน่ ขนมปังโฮลวีตหรอื ซีเรยี ลโฮลวตี 3 ชอ้ นโตะ๊

- ขา้ วกลอ้ ง 2 ช้อนโต๊ะพูน

• ผลิตภัณฑ์เนยนม ควรเลือกรับประทานผลิตภัณฑ์เนยนมที่มีไขมันและนำ้ ตาลนอ้ ย รวมทัง้ เลือก
ผลิตภณั ฑเ์ นยนมทีม่ ีแคลเซยี มสูง โดยรับประทานในปริมาณ 3 หน่วยบริโภคตอ่ วนั เพอ่ื ให้ได้รับ
ปรมิ าณแคลเซียมทเ่ี พยี งพอต่อร่างกาย ปริมาณพลังงานท่ีควรได้รบั จากผลิตภณั ฑเ์ นยนม มดี งั นี้

- นมจดื 200 มิลลลิ ติ ร (1 แกว้ )

- ผลิตภัณฑน์ ้ำนมถ่ัวเหลืองเพมิ่ แคลเซยี ม 200 มลิ ลิลิตร (1 แก้ว)

- โยเกริ ์ต 125 กรัม (3 ช้อนโต๊ะ)

- ชีสชนิดแขง็ 30 กรมั (ขนาดกล่องไม้ขดี )

• โปรตีน ควรรบั ประทานอาหารจำพวกโปรตีน เช่น เน้ือสัตว์ ปลา ไข่ไก่ และถั่วต่าง ๆ โดยเลือกโปรตีน
ไขมันต่ำ ลอกหนงั ของเนือ้ สัตวอ์ อกกอ่ นรับประทาน เลีย่ งรบั ประทานของทอดและเน้ือสัตวท์ ผ่ี า่ นการ
ใชส้ ารเรง่ เนอ้ื แดง รวมท้ังรบั ประทานผลติ ภณั ฑ์เสริมโปรตนี ท่ีมไี ขมันต่ำและน้ำตาลน้อยแทนการ
รบั ประทานผลติ ภัณฑเ์ นยนม เช่น น้ำนมถ่วั เหลอื งหรือโยเกิรต์ ผู้บริโภคควรรับประทานอาหาร
จำพวกโปรตีนจากเนื้อสัตว์และพืชในปริมาณที่เหมาะสม ดังน้ี

- โปรตนี จากเน้อื สตั ว์

- เนือ้ สตั ว์ปรงุ สุก (เน้ือวัว หมู แกะ ไก่ หรือไก่งวง) 60-90 กรมั (ขนาดเท่าสำรบั ไพ)่

28

- เนือ้ ปลาท่ีมีกรดไขมันจำเป็นสูงทีป่ รงุ สกุ แล้ว (แซลมอน แมคเคอเรล หรือปลาซาร์ดีน) 140 กรมั
(ขนาดหน่งึ กำมือ)

- ไข่ไก่ 2 ฟอง หรอื 120 กรัม

- โปรตีนจากพชื

- ถ่วั อบ 4 ช้อนโตะ๊ หรือ 150 กรัม

- ถั่วเหลือง เต้าหู้ รวมทัง้ ผลติ ภัณฑ์เนื้อสตั วท์ ่ที ำมาจากถัว่ เหลือง 4 ชอ้ นโตะ๊ หรือ 100 กรัม

- ธัญพชื ตา่ ง ๆ 1 ช้อนโตะ๊ หรอื 30 กรมั

• ผกั และผลไม้ ควรเลือกรบั ประทานผักผลไมส้ ดทุกมื้ออาหารเปน็ ประจำ รวมทงั้ รบั ประทานผักผลไมใ้ ห้
หลากหลาย โดยเลอื กรับประทานผักและผลไมช้ นิดและสตี ่าง ๆ เนือ่ งจากผักผลไม้แตล่ ะสีและแตล่ ะ
ชนดิ มีวติ ามิน เกลือแร่ และไฟเบอร์ทีจ่ ำเป็นต่อรา่ งกายแตกตา่ งกนั ไป อีกท้งั ยังชว่ ยเพ่มิ สารต้านอนมุ ูล
อสิ ระ ผบู้ ริโภคควรไดร้ บั พลงั งานจากผักและผลไม้ในปริมาณทเ่ี หมาะสม ดังน้ี

- แอปเปลิ้ ลกู แพร์ สม้ หรอื กล้วย 1 ผล หรือ 80 กรมั

- ถวั่ ลันเตา แครอท ขา้ วโพดหวาน และผกั ตา่ ง ๆ 3 ช้อนโต๊ะพูน หรอื 80 กรัม

- มะเขือเทศขนาดกลาง 1 ลูก หรือ 80 กรมั

• น้ำมนั และผลิตภณั ฑ์สเปรด (Spreads) อ่ืน ๆ ควรเลอื กผลติ ภณั ฑส์ เปรดไขมันตำ่ โดยรับประทานใน
ปริมาณนอ้ ย ทง้ั นี้ อาจเลือกรับประทานน้ำมันท่มี ีไขมนั อ่ิมตวั ตำ่ เช่น นำ้ มันมะกอก น้ำมันดอก
ทานตะวัน หรือนำ้ มันพชื เนือ่ งจากไขมันอม่ิ ตัวจะเพมิ่ ไขมันไม่ดี (Low Density Lipoproteins: LDL)
ในเลอื ดใหส้ งู ขนึ้ ซึ่งเส่ียงเปน็ โรคหวั ใจได้ สว่ นนำ้ มันทีม่ ีไขมันอ่ิมตวั นอ้ ยจดั เปน็ ไขมนั ไมอ่ ิ่มตัวเชงิ เด่ยี ว
จะชว่ ยลดไขมนั ไม่ดใี นเลือดใหน้ อ้ ยลง อีกทง้ั ยงั เพิ่มระดบั ไขมนั ดี (High Density Lipoproteins:
HDL) ใหก้ ับร่างกาย อยา่ งไรก็ตาม ผู้บรโิ ภคควรรับประทานไขมนั และผลติ ภัณฑจ์ ากสเปรดในปรมิ าณ
ท่เี หมาะสม ดงั น้ี

- เนยหรือผลติ ภณั ฑ์หน้าสเปรด 1 ชอ้ นชา หรือ 5 กรัม

- น้ำมัน 1 ชอ้ นชา หรอื 3 กรัม

29

3.6 ประเภทของการออกกำลังกาย

การออกกำลงั กาย ผูบ้ รโิ ภคสามารถปรับสมดุลของจำนวนแคลอร่ีที่ได้รบั และใชอ้ อกไปได้ ด้วยการทำ
กิจกรรมทเ่ี อ้ือตอ่ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ซ่งึ จะช่วยเผาผลาญจำนวนแคลอรี่ตามความหนกั ของกจิ กรรมที่
ทำ ผ่านการออกกำลังกาย ดังนี้

• ออกกำลังกายแบบแอโรบคิ (Aerobic Exercise) การออกกำลงั กายลักษณะนจี้ ะช่วยเผาผลาญแคลอ
ร่ีท่ีได้รับจากการบริโภคอาหารและเคร่ืองดม่ื ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ สว่ นใหญแ่ ลว้ ควรออกกำลังกาย
แบบแอโรบคิ ให้ได้สัปดาห์ละ 150 นาที เช่น เดิน ปน่ั จักรยาน หรือว่ายนำ้ โดยออกกำลงั กายสัปดาห์
ละ 5 วนั วนั ละ 30 นาที และพักระหวา่ งออกกำลังกายเป็นเวลา 10 นาที ผ้ทู ตี่ ้องการลดนำ้ หนักควร
ออกกำลังกายแบบแอโรบคิ ให้ไดม้ ากกว่า 150 นาทตี ่อสปั ดาห์ รวมทั้งควบคุมอาหารควบคู่กันไปด้วย
กจิ กรรมที่จดั เป็นการออกกำลงั กายแบบแอโรบิคประกอบดว้ ย

- เดนิ เร็ว

- ป่นั จักรยาน

- ว่ายน้ำ

- เลน่ เทนนิสแบบเดี่ยวหรือแบบคู่

- ตัดหญา้

- ปีนเขา

- เลน่ สเกต็ บอรด์ หรือเล่นโรลเลอรส์ เกต็

- ว่งิ เหยาะ ๆ หรือว่งิ เร็ว

- กระโดดเชอื ก

- เล่นยมิ นาสติก

- เล่นกีฬาเปน็ กลมุ่ เชน่ ฟตุ บอล วอลเลยบ์ อล บาสเกต็ บอล เปน็ ต้น

• ออกกำลังกายแบบฝึกกลา้ มเนื้อ (Strength Training) การออกกำลังกายลักษณะนจ้ี ะช่วยเสริมสร้าง
มวลกล้ามเนอื้ และลดน้ำหนกั ได้ เนือ่ งจากกล้ามเน้อื สามารถเผาผลาญแคลอร่ีไดด้ ีกว่าไขมนั ควรออก
กำลังกายแบบฝึกกลา้ มเน้ือสัปดาห์ละ 2-3 วนั เพ่ือกระตุ้นกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ เช่น กล้ามเนอ้ื ขา
สะโพก หลงั หนา้ ท้อง กลา้ มเนื้ออก ไหล่ และแขน โดยกิจกรรมท่ชี ่วยฝกึ กลา้ มเนื้อประกอบด้วย

30

- ยกนำ้ หนัก
- บริหารร่างกายด้วยทา่ บอด้ีเวท
- ออกกำลงั กายกบั อปุ กรณ์เสริมทเี่ พ่ิมแรงต้านในการออกแรง
- ทำสวนหรือจัดสวน
- เล่นโยคะ
- เคลอื่ นไหวร่างกายเสมอ การเคลอื่ นไหวรา่ งกายอยู่เสมอจะชว่ ยกระตุ้นการเผาผลาญพลงั งาน

โดยสามารถปรับกิจวัตรประจำวันให้เออ้ื ต่อการเคล่ือนไหวร่างกายได้ ดงั นี้
- ออกกำลังกายเบา ๆ วันละ 10 นาที
- วง่ิ เลน่ หรือทำกิจกรรมรว่ มกับเดก็ ๆ
- เดินเล่นในสวนสาธารณะกับสุนัข
- ทำกจิ กรรมเข้าจังหวะ หรือเต้นประกอบเพลง
- เดินบ่อย ๆ รวมท้ังเดินขน้ึ บันไดแทนการใช้ลฟิ ตบ์ ้าง
- ทำงานบ้าน เชน่ กวาดบา้ น ถูพ้ืน ลา้ งจาน หรอื ซักผ้า
- ป่ันจกั รยานรอบสวนสาธารณะ

31

บทที่ 3

วิธกี ารดำเนินงานโครงงาน

ในการจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอร์เรื่อง เครอื่ งนับก้าวอัจฉริยะ ผู้ศกึ ษาโครงงานมีวธิ ีดำเนินงาน
โครงงานมวี ัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือโปรแกรมที่ใชใ้ นการพฒั นา และวธิ ดี ำเนนิ งานโครงงานดงั ต่อไปนี้

วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการพฒั นา

1. คอมพวิ เตอร์
2. บอรด์ micro:bit
3. โปรแกรมออนไลน์ https://microbit.org/
4. กล่องใส่ micro:bit
5. สายรัดทีข่ า
6. กระดาษหลงั รปู

ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน

1. รว่ มกันคิดหัวข้อโครงงานทเ่ี ราอยากทำแลว้ นำเสนอคุณครูประจำวิชา
2. ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู ท่ีเก่ยี วกบั เรือ่ งท่ีเราสนใจคือ เร่ืองอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสใ์ นทน่ี ี้คอื บอร์ด

micro:bit เพอื่ มาทำเครอ่ื งนับก้าวอัจฉริยะ
3. ศึกษาการคำนวณพลงั งานแครอร่ีต่อการกา้ วในแตล่ ะคร้ัง และการเขียนโปรแกรมลงใน

micro:bit
4. เขียนโปรแกรมลงในโปรแกรมออนไลน์ https://microbit.org/
5. ทดสอบโปรแกรมที่ทำข้ึนเพ่ือตรวจหาข้อผิดพลาด และหาแนวทางแก้ไข
6. ออกแบบรูปแบบของเคร่ืองนับก้าวอัจฉรยิ ะ และจัดชนิ้ งาน
7. ตรวจสอบผลการทำงานของช้ินงาน
8. อภปิ ราย และสรปุ การทำโครงงาน
9. จดั ทำเล่มโครงงานคอมพิวเตอรเ์ พื่อนำเสนอครปู ระจำวชิ าผ่าน E-book บอร์ดโครงงาน และ

วดี ีโอนำเสนอผลงานลงใน Youtube

32

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ การ

ผลการดำเนินการ
ผูจ้ ัดทำโครงงานได้ดำเนนิ การสรา้ งเครือ่ งนบั กา้ วอัจฉริยะ แลว้ ทำการทดลองได้ดังน้ี
1. เซนเซอร์ตรวจวดั การสั่น สามารถตรวจวดั จำนวนกา้ วไดต้ ามจำนวนก้าวทเี่ ราเดินได้ตามความเปน็
จริง
2. โปรแกรมจบั เวลาสามารถจบั เวลาได้ตรงตามเวลาผา่ นไป
3. โปรแกรมคำนวณแคลอรสี ามารถคำนวณ คา่ แคลอรีที่เสยี ไปไดต้ รงตามสูตรการคำนวณแคลอรี่
4. สามารถสรา้ งเครื่องนบั กา้ วอจั ฉรยิ ะได้จากการ อปุ กรณส์ มองกล micro:bit

รปู ตัวอย่างของผลงานและโปรแกรม

ภาพท่ี 4.1 แสดงโปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการสร้างเคร่ืองนับกา้ วอัจฉริยะ

33

ภาพที่ 4.2 แสดงตวั อย่างชน้ิ งานเครอ่ื งนบั ก้าวอัจฉรยิ ะ

34

บทท่ี 5
อภิปรายผลการศกึ ษา

การศึกษาโครงงานเร่อื งเคร่ืองนบั กา้ วอัจฉรยิ ะ คณะผู้จดั ทำได้รว่ มประชุมเพื่อหาประเด็นที่ตอ้ งการจะ
ศกึ ษาและไดแ้ บง่ หนา้ ทีใ่ นการทำงาน คน้ หาข้อมลู เบ้ืองตน้ จากเว็บไซต์ ศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คือบอร์ด micro:bit มาทำเป็นเคร่ืองนบั กา้ วอจั ฉริยะทางคณะผู้จัดทำได้ผลการศึกษา
ดังน้ี

ตอนท่ี 1 เพ่ือทำให้คนหนั มาตระหนกั เห็นถงึ ความสำคญั ของการเดินออกกำลังกายและประโยชน์ของการ
ออกกำลังกาย

โปรแกรมคำนวณแคลอรสี ามารถคำนวณ ค่าแคลอรที ีเ่ สยี ไปได้ตรงตามสูตรการคำนวณแคลอรี
สามารถผูค้ นตระหนกั ถึงสุขภาพมากขน้ึ เพราะมขี ้อมลู ยืนยันวา่ การออกกำลังกายส่งผลที่ดีต่อสขุ ภาพร่างกาย
และเป็นแรงผลักดนั ให้คนเดินออกกำลงั กายเพราะสามารถช่วยเผาผลาญแคลอรไี ด้

ตอนที่ 2 เพ่ือนำเทคโนโลยมี าใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน
มกี ารใชเ้ ซนเซอรต์ รวจวัดการสน่ั สามารถตรวจวัดจำนวนก้าวได้ตามจำนวนกา้ วที่เราเดนิ ได้ตามความ

เปน็ จริง ใช้โปรแกรมจบั เวลาสามารถจบั เวลาไดต้ รงตามเวลาผ่านไป เขียนคำส่ังลงในอุปกรณ์สมองกล
micro:bit ได้มกี ารนำเทคโนโลยีมาใช้ในการประดิษฐ์เครื่องนบั กา้ วอจั ฉรยิ ะ

ตอนท่ี 3 เพื่อศึกษาการเขยี น code ลง micro:bit
ทางคณะผ้จู ดั ทำได้ทำการศึกษาวธิ กี ารเขียนคำส่ังลงในอุปกรณส์ มองกล micro:bit เพอื่ ให้สามารถ

คำนวณหาแคลอรที เี่ สียไปได้ และสามารถนำมาใชใ้ นชวี ติ ประจำวันไดจ้ รงิ
จากการศึกษาคน้ คว้าจะสรุปไดว้ า่ เครือ่ งนับก้าวอจั ฉรยิ ะสามารถผูค้ นตระหนกั ถงึ สขุ ภาพมากข้ึน เป็น

แรงผลักดนั ให้คนหันมาออกกำลังกายเพราะสามารถชว่ ยเผาผลาญแคลอรีได้ ซ่ึงได้มกี ารนำเทคโนโลยีอปุ กรณ์

35

สมองกล micro:bit มาใช้ในการทำโครงงานน้ี และทางคณะผูจ้ ัดทำได้ทำการศึกษาวธิ ีการเขยี นคำส่งั ลงใน
อปุ กรณส์ มองกล micro:bit จนสามารถประดิษฐ์เครื่องนบั ก้าวอัจฉริยะ

36

บรรณานุกรม

"การเดนิ " ดีตอ่ สุขภาพอยา่ งไร (ออนไลน์) จากเว็บไซต์: https://www.doctor.or.th/article/detai
l/4471?fbclid=IwAR0xc41QBNJACAf3XjB4pKvWuAdGVH46LsWEXXfkspL0AxrX25RY_pj14
Ls (สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 27 กนั ยายน 2562)

เคลด็ ลับเดนิ เพ่ือลดนำ้ หนกั ต้องเดนิ ก่ีก้าว ใช้เวลาเทา่ ไหร่ถึงจะเหน็ ผล (ออนไลน์) จากเว็บไซต:์
https://www.cosmenet.in.th/cosme-intrend/33294/%e0%b9%80%e0%b8
%84%e0%b8%a5%e0%b9%87%e0%b8%94%e0%b8%a5%e0%b8%b1%e0%b8%9a%
e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b
8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%a5%e0%b8%94%e0%b8%99%e0%b9%89
%e0%b8%b3%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b8%b1%e0%b8%81-
%e0%b8%95%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%
b8%b4%e0%b8%99%e0%b8%81%e0%b8%b5%e0%b9%88%e0%b8%81%e0%b9%8
9%e0%b8%b2%e0%b8%a7-%e0%b9%83%e0%b8%8a%e0%b9%89%e0%b9%80%e0
%b8%a7%e0%b8%a5%e0%b8%b2%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%
b2%e0%b9%84%e0%b8%ab%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%96%e0%b8%b6%e
0%b8%87%e0%b8%88%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%ab%e0%b9%87%e0%b8
%99%e0%b8%9c%e0%b8%a5 (สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 27 กันยายน 2562)

แคลอร่ี: คำนวณอยา่ งไร ให้ดีตอ่ สุขภาพ (ออนไลน์) จากเวบ็ ไซต์: https://www.pobpad.com/%E0%
B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88
%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%93%E0%B8%AD%E0%
B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3-
%E0%B9%83%E0%B8%AB?fbclid=IwAR30BNRuE2BAev34gn2p0kEmGYIEcnqYAmug_ZV
JKBjoHDPBrMrPN9oxDLg (สืบคน้ เม่ือวันท่ี 27 กันยายน 2562)

เดิน 10,000 กา้ ว ลด 500 แคลลอร่ี จรงิ หรอื (ออนไลน์) จากเวบ็ ไซต:์ https://pantip.com/topic/
36869663 (สืบค้นเม่ือวนั ที่ 27 กันยายน 2562)

ทำความรู้จักกับบอร์ด Micro:bit และเรียนรกู้ ารใชง้ านเบอ้ื งต้น (ออนไลน์) จากเวบ็ ไซต:์
https://www.thaieasyelec.com/article-wiki/latest-blogs/getting-started-with-the-

37

microbit.html?fbclid=IwAR3qC96qDxoRVFuTNMtuZh4XgpYqo5rUfw_RM49vMXNHr_XK
MpRI5aj97_w (สืบค้นเมื่อวันท่ี 27 กนั ยายน 2562)
Let’s Code (ออนไลน์) จากเวบ็ ไซต์: https://makecode.microbit.org/# (สบื ค้นเม่ือวันท่ี 27 กันยายน
2562)

38

ภาคผนวก

39

40

41

42


Click to View FlipBook Version