The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanakornhaha, 2022-01-12 11:11:57

คู่มืออาหารวัยทองและวัยสูงอายุ


คูมืออาหาร









วั ย ท อ ง แ ล ะ วั ย สู ง อ า ย ุ


คานา















หนังสืออเลกทรอนิกส์เลมนี จัดทาขึนเพือเป นส่วนหนึงของวิชา

10720359 โภชนศาสตร์สําหรับพยาบาล เพือให้ไดศกษาหาความรู้ใน





เรือง โภชนาการทเหมาะสมในคนวัยทองแลววัยสูงอาย และไดศกษา




อย่างเข้าใจเพือเป นประโยชน์ในการเรียน


คณะผู้จัดทาหวังว่าหนังสืออเลกทรอนิกส์เลมนี จะเปนประโยชน์







แกผู้อานนักเรียนนักศกษาหรือประชาชนท วไปทกาลงหาข้อมลเรือง






นี อย่หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขอ



น้อมรับไว้ และขออภยมา ณ ทนี ดวย



สารบญ




1 ความหมายของวยทอง


การเปลยนแปลงเขาสวยทอง


ู่



3 หลกการบร โภคอาหารสําหรับวยทอง
5 ตวอยางเมนอาหารใน 1 วน




9 พลงงานทผสงอายควรไดรับ




ู้

10 แนวทางการบร โภคอาหารสําหรับ
ผสงอาย ุ

ู้

21 ตารางความตองการสารอาหารในผสง
ู้




อายตอวน


22 ตวอยางรายการอาหารและปร มาณ


แคลอร สําหรับผสงอายใน 5 มอ
ู้


32 อาหารสําหรับผสงอายทควรหลกเลยง



ู้


34 บรรณานกรรม


1







วยทอง






ู่
หมายถง เปนคําใชแทนเพศหญงหรอเพศชายท มอายในชวง 40-59 ป ซ งอยระหวางวยเจรญพนธ ุ์



















และวยสงอาย เปนวยท ความสามารถในการผลตฮอรโมนเพศลดนอยลงจนเกดการเปล ยนแปลงของ










รางกาย ภาวะขาดฮอรโมนในเพศชาย หรอทางการแพทย เรยกวา pardum มกเกดในเพศชายอาย 40 ป










ข นไป โดยระดบฮอรโมนจะลดลงเร อย ๆ เน องจากอณฑะจะผลตฮอรโมนเพศชายลดลง แตไมมการหยด





















การทํางาน ดงน นอาการผดปกตตางๆท เกดในชายวยทองจงไมชดเจนและรนแรงเทากบสตรวยทอง

สตรวยทอง หรอสตรวยหมดประจําเดอน (Menopause) หมายถงสตรในวย 40-59 ป อายเฉล ย



















ของผหญงท เขาสภาวะหมดประจําเดอน คอ 50-51 ป เปนวยท มระดบฮอรโมนเอสโตเจนลดลงเน องจาก
ู้









รงไขหยดทํางาน ทําใหส นสดการมประจําเดอนอยางถาวร รวมกบมการเปล ยนแปลงทางสรระวทยาตามมา













ู
การเปลยนแปลงเขาสวยทอง
ี่





เพศหญง เพศหญง (ตอ)



เม อยางเขาสวยทอง การสรางฮอรโมนเพศ 3.ระบบทางเดนบสสาวะและอวยวะสบพนธ ุ์
















หญงจะลดลง ทําใหมผลตออวยวะในระบบตางๆ ภายนอก เม อเขาสวยหมดประจําเดอนฮอรโมน










ของรางกาย คอ เอสโตรเจนลดลง ทําใหมการเส อมสลายและบาง




1.ระบบโครงกระดก การลดลงของฮอรโมน ตวของเซลลบรเวณทางเดนปสสาวะและชอง












ู่



ในระยะแรกของการหมดประจําเดอน ทําใหมการ คลอด ทําใหกล นปสสาวะไมอย หรอมอาการชอง


สญเสยเน อกระดกถงรอยละ 3-5 ตอป ทําให ้ คลอดแหง









เกดโรคกระดกพรน และอาจมการหกของกระดก 4.ระบบประสาทอตโนมต จะมอาการรอน



















ในสวนตางๆ ไดแก กระดกขอมอ กระดกสนหลง วบวาบตามใบหนา ศรษะ คอ และสวนบนของ






กระดกสะโพก ทรวงอก ซ งเปนอาการท พบไดบอย ตามดวย











2.ระบบหวใจและหลอดเลอด เม อสตรเขาส ู ่ อาการหนาวส น มเหง อออกตามลําตวและฝามอ







วยหมดประจําเดอน การเกดโรคหวใจและ ใจส น หงดหงดงาย











หลอดเลอดจะเพมข น จนมอตราใกลเคยงกบ เพศชาย





ชายเม ออาย 70 ป จะมระดบฮอรโมนเพศชาย (เทสทอสเตอโรน)







ลดลง และเร มมปญหาสขภาพ เพมข น เชน โรค







อวน เบาหวาน ความดนโลหตสง เกาต หวใจขาด




เลอด และภาวะไขมนในเลอดสง เปนตน







2




คูมืออาหารวัยทองและ
วัยสูงอาย ุ









ผลกระทบทเกดขึนจากการลดระดบ
ของฮอร์โมนเพศชาย




1.ด้านร่างกาย มีอาการออนเพลยงาย กลามเนอลบเลก







อวนลงพง ภาวะกระดูกพรน



2.ด้านสตปญญาและอารมณ์อาการหงดหงดงาย ซึมเศร้า




สมาธิลดลง ความจําลดลง

3.ด้านระบบไหลเวียนโลหิตมีอาการร้อนวบวาบ เหงอออก


มาก ชีพจรเตนเร็ว (ใจสั น)


4.ด้านจิตใจและเพศสัมพันธ์มีอาการนอนไม่หลบ ตน




ตระหนกงาย ขาดความสนใจทางเพศ กจกรรมทางเพศ
ลดลงอวัยวะเพศไม่คอยแข็งตว


หากผู้ที เข้าสู่วัยทอง
มีความเข้าใจและปรับตวตอการเปลยนแปลง เช่น การรับ



ประทานอาหารทมีประโยชน์ มีปริมาณแคลเชียมเพียงพอ

จํากดอาหารไขมัน และลดพฤตกรรมเสี ยงตางๆ จะช่วย







ป องกนอาการเปลยนแปลงดังกลาว ทาให้สามารถดําเนิน
ชีวิตในวัยทองได้อย่างเป นสุข

3



คูมืออาหารวัยทองและ
วัยสูงอาย ุ







หลกการบริโภคอาหารสําหรับวัยทอง





1.รับประทานอาหารให้ครบท ง 5 หม่ทุกวัน และให้หลาก

หลายชนด หากรับประทานอาหารชนิดเดยว

เป นเวลานานๆ จะทาให้เป นโรคขาดสารอาหารได้










2.ผู้ทมีนําหนักเกนมาตรฐานหรือเปนโรคอวน หรือไขมันใน



เลอดสูงกว่า 220 มิลลกรัม/ เดซิสิตร

จําเป นตองมีการเปลยนแปลงแบบแผนการบริโภคเพือลด


คอเลสเตอรอล ดังนี



1) หลกเลยงการรับประทานอาหารทมีไขมันทรานส์
(Partially hydrogenated oil) เช่น เบอเกอรี
เคก คุกก เนยเทยม ครีมเทยม และวิปป งครีม






2) หลกเลยงอาหารทมีกรดไขมันอ มตวสูง เช่น ไขมัน







จากสัตว์ หนังสัตว์ เนือสัตว์ตดมัน กะท นํามันปาลม

3) เลอกรับประทานอาหารทมีกรดไขมันไม่อ มตวสูง









เช่น นํามันถ วเหลอง นํามันดอกทานตะวัน นํามันรําข้าว

ปลาทะเล เป นตน

4) รับประทานอาหารทมีใยอาหารสูง จะให้ประโยชน์ใน
การดูดชับสารอาหารไขมันและ

นําดีไว้ในลาไส้ ทาให้ได้รับอาหารไขมันลดลง เช่น ผัก ผลไม้


ข้าว-แป ง ไม่ขัดสี

4




คูมืออาหารวัยทอง





และวัยสูงอาย ุ





















ห ล ก ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ต ว อ ย่ า ง เ ม น อ า ห า ร



สํา ห รั บ วั ย ท อ ง ( ต อ )





5) เลอกรับประทานอาหารทช่วยเพิ ม นางมณเจ็ดแสงเป นหญงวัยทอง









ฮอร์โมนแห่งความสุข เช่น ข้าวกลอง ธัญพืช อาย 54 ป นาหนก 60 กโลกรัม ส่วนสูง 158
ถ วตาง ๆ เซนตเมตร มีกจกรรมออกกาลงกายโดยการวิ ง






ปลาแซลมอน ไข่ กลวย ดาร์กช็อกโกแลต เหยาะ ๆ 1-3 วัน/สัปดาห์ นาไปคานวณคา




เตาหู้ เป นตน พลงงานทตองใช้ในแตละวัน (Total daily










6) ควรรับประทานอาหารประเภททให้ energy expenditure : TDEE) ไดเทากบ


สารโปรตนทมีกรดอะมิโนอาร์จินน เพือกระตุน 1,735 กโลแคลลอรี จากสูตร BMR x activity




ให้มีการหล ง growth hormone ช่วยในการ factor

เจริญเตบโตของเซลล และใช้ซ่อมแซมส่วนท ี เพศชาย : BMR = 66 + (13.7 x นาหนกตวเปน








สึกหรอ เช่น ถ วเหลอง งาขาว กุงแห้ง ปลา กก.) + (5 x ส่วนสูงเปนซม.) - (6.8 x อาย)











ทะเล ถ วแดง ถ วเขียว ไข่ นม เป นตน เพศหญิง : BMR = 665 + (9.6 xนาหนกตวเปน

กก.) + (1.8 x ส่วนสูงเปน ซม.) - (4.7 x อาย) ุ

7) รับประทานอาหารทมีแคลเซียมสูง



เพือเกบรักษาระดบแคลเซียมและการสูญเสีย Activity factor









แคลเซียมของร่างกาย เพือป องกนโรค - น งทางานอย่กบท และไม่ไดออกกาลงกาย






กระดูกพรน เช่น โยเกร์ตไขมันตา นมไขมันตา เลย = BMR x 1.2








ผักใบเขียว ผลไม้ตระกูลเบอร์รี - ออกกาลงกายหรือเลนกฬาเลกนอย
ประมาณอาทตย์ละ 1-3 วัน = BMR x 1.375





- ออกกาลงกายหรือเลนกฬาปานกลาง
ประมาณอาทตย์ละ 3-5 วัน = BMR x 1.55



- ออกกาลงกายหรือเลนกฬาอย่างหนก



ประมาณอาทตย์ละ 6-7 วัน = BMR x 1.725





- ออกกาลงกายหรือเลนกฬาอย่างหนก

ทุกวันเช้าเย็น = BMR x 1.9

5

ตวอย่างเมนูอาหารใน 1 วัน









ประกอบดวย 3 มือหลก และ
อาหารว่าง 2 มือ







มือเช้า 08.30 น.


















ข้าวตมปลากระพง

220 kcal






















นําเตาหูทรงเครือง

80 kcal
รวม



360





กลวยนําว้า 1 ส่วน


60 kcal
KCAL

6





มือเทยง






12.30 น.










ข้าวกลองอบธัญพืช







322
kcal



แกงส้มผักรวมกุง







124

kacl






นาใบเตยเย็น 1 แกว




120

kacl



ฝรั ง 2 ส่วน





68
ร ว ม 6 3 4 kacl




K C A L

7




อาหารว่าง







16.00 น.























ขนมป งโฮลวีตทูนา 2 แผ่น


200 kcal

















โยเกร์ตไขมัน 0 %



45 kcal











รวม 245





KCAL

8


















ต้มกะหลํ าปลียัดไส้





ข้าวกลอง 1.5 ทพพี
150 kcal
105 kcal

มือเย็น









18.30 น.































แตงโม 2 ส่วน


50 kcal



นํ าพริกกะป ผักลวก
รวม 458

153 kcal

kcal

ผู้สูงอาย ุ








พลงงานทผู้สูงอาย ุ



ควรได้รับ







ผสูงอายชายและหญงควรไดรับพลงงานจากอาหารไม่




ู้


เกนวันละ 2,250 และ 1,850 กโลแคลอรี ขึนอย่กบกจกรรม









ที ทา อาหารที ใหพลงงานนอยกว่า 1800 กโลแคลอรีตอวัน

มักจะมีปริมาณของสารอาหารโปรตีนแคลเซียม และวิตามิน

ไม่เพียงพอ ควรมีการวางแผนในการใหอาหารที มีคุณคา



อาหารสูง โดยการรับประทานอาหารใหครบ 5 หม่และหลาก

หลาย วันละ 3 มือ พอประมาณ และมีอาหารว่าง 2 มือ โดย

ทุกมือควรมีผกผลไม้เพือเพิ มกากอาหาร



อาหารที เหมาะกบผสูงอาย ควรปรงอาหารใหเป อยนม
ุ่



ู้







งายตอการเคี ยว และการย่อย จัดแตงอาหารใหมีสีสันนารับ


ประทาน และควรปรงสุกใหม่ๆ ทุกมือ ควร หลีกเลี ยงการ



ปรงอาหารเคมจัด หวานจัด ในผสูงอายที อวนและมีโรค

ู้
ประจําตว






9



คูมืออาหารวัยทองและวัยสูงอาย ุ

10




แนวทางการบริโภค

อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ





ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ






โปรตีน








ผู้สูงอายมีความตองการโปรตน


ประมาณ1 กรัม/นําหนักตว




(กโลกรัม)/วัน เพือรักษามวลกลาม


เนือให้แข็งแรง ป องกนภาวะกลาม

เนือลบและซ่อมแซมส่วนทผุพังของ






ร่างกาย ตวอย่าง เช่น ผู้ทมีนํา

หนัก60กโลกรัม ควรไดรับโปรตน



วันละ 60 กรัม โดยเลอกรับประทาน



โปรตนคุณภาพด เช่น เนือสัตว์ทไม่



ตดมัน ไข่ดาว ดมนมพร่องมันเนย









และผลตภณฑจากถ วเหลองเปน
ประจํา

11



แนวทางการบริโภค

อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ








คาร์โบไฮเดรต








เปนสารอาหารทให้พลงงานกบ



ร่างกาย ไดแก อาหารกลุมข้าว แป ง



ผู้สูงอายควรรับประทานอาหารกลุม



นี ให้เพียงพอเพือรักษานําหนักตวให้

อย่ในเกณฑทเหมาะสม และควร



เลอกรับประทานคาร์โบไฮเดรต





เชิงซ้อน เช่น ข้าวกลอง ขนมปง

โฮลวีท ลูกเดอย


12




แนวทางการบริโภค

อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ





ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ









ไขมัน







ผู้สูงอายตองการพลงงานจากไข


มันเพียงเลกน้อย เพือให้ร่างกายได้


รับกรดไขมันจําเปนและวิตามินท ี



ละลายในไขมันเพียงพอ ผู้สูงอาย ุ



ควรลดหรือจํากดการบริโภคอาหาร




ทมีไขมันสูง เช่น ไขมันจากสัตว์ เนย



นํามัน กะท ครีมเข้มข้น

13



แนวทางการบริโภค

อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ








แคลเซียม






ช่วยป องกนโรคกระดูกพรุนและ


สร้างมวลกระดูกให้มีความหนาแน่น




ผู้สูงอายตองการแคลเซียมอย่าง



น้อยวันละ 1,000 มิลลกรัม อาหาร


ทุกมือควรมีแคลเซียมโดยเฉลยมือ




ละ 300 มิลลกรัม อาหารทเปน






แหลงของแคลเซียม ไดแก นมถ ว

เหลองเพิ มแคลเซียม นมสด ถ ว





เหลอง ปลาตวเลกทรับประทานได้


ท งกระดูก ผักใบเขียวเข้ม ผักสีส้ม

14




แนวทางการบริโภค

อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ








ธาตุเหลก





ผู้สูงอายอาจขาดธาตุเหลกได ้


เนืองจากรับประทานอาหารทมีธาตุ


เหลกไม่เพียงพอและประสิทธิภาพ



ของการดูดซึมธาตุเหลกลดลง ท งนี



ธาตุเหลกจะช่วยป องกนภาวะซีด





โลหิตจาง และอาการเหนือยงาย






อาหารทมีธาตุเหลกสูง ไดแก เนือ

สัตว์สีแดง (เช่น สันในหม เนือวัว)

ผักใบเขียว กะหลาปล ถ วเขียว





15
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ



วิตามินซี






ช่วยในการดูดซึมธาตุเหลกจาก

อาหาร ป องกนเลอดออกตามไรฟ น





และทาให้แผลหายเร็วขึน อาหารทมี





วิตามินซีสูง ไดแก บรอกโคล มัน

ฝรั ง มะละกอ มะม่วง สตรอเบอร์รี


ฝรั ง ส้ม






โพแทสเซียม








ทาหน้าทรักษาระดบความดนโลหิตให้อย่ ู




ในเกณฑปกต ช่วยให้ระบบกลามเนือและ

ระบบประสาททางานไดอย่างมี


ประสิทธิภาพ รักษาสมดุลของของเหลว


ในร่างกายให้อย่ในระดบทเหมาะสม






แหลงอาหารทมีโพแทสเซียม ไดแก ่

กลวย ส้ม ฝรั ง

16
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ




วิตามีนบี 12








เปนวิตามินทมีความสําคญมากตอการ

สร้างเม็ดเลอดแดง เซลลระบบสมอง



และเส้นประสาท ถาขาดวิตามินบี 12




เปนเวลานาน อาจทาให้เกดภาวะโลหิต


จางและมีความเสี ยงตอภาวะความจํา




เสือมได อาหารทเปนแหลงของ




วิตามินบี 12 ไดแก เนือสัตว์ทุกชนิด

(เช่น เนือวัว เนือไก เนือหม) ไข่ท งฟอง







ปลา โยเกร์ต เนยแข็ง นม

17
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ



แมกนีเซียม







เปนแร่ธาตุทมีความจําเปนตอ


กระบวนการทางานภายในร่างกาย





หลายระบบ เช่น ระบบภูมิคุมกน


ระบบประสาท กลามเนือ หัวใจ



กระดูก แมกนีเซียมพบมากในเนือ

ปลา ผักใบเขียว กลวย และถ วตางๆ







วิตามินเอ



ช่วยรักษาสายตาของผู้สูงอายไม่ให้




เสือมสภาพเร็ว ช่วยการเจริญ




เตบโตของเนือเยือและระบบ




ภูมิคุมกนของร่างกาย แหลงของ

วิตามินเอในอาหาร ไดแก ผักโขม



แครอท มันเทศ ฟ กทอง มะละกอ



มะม่วงสุก

18
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ



วิตามินดี






ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและป องกน


โรคทเกยวกบกระดูก โดยปกตร่างกาย






สามารถสังเคราะห์วิตามินดไดเมือได้รับ
แสงแดด สําหรับผู้สูงอายทไม่ได้รับ




แสงแดด ร่างกายอาจสร้างวิตามินดีได้


ไม่เพียงพอ ควรรับประทานอาหาร



ประเภทธัญพืช เห็ด และดนนมทเสริม





วิตามินดเปนประจํา

19
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ



วิตามินอี











เปนสารตานอนุมลอสระทด ช่วย


ป องกนเซลลในร่างกายไม่ให้ถูก
ทาลาย วิตามินดพบมากในอะโวคา






โด ถ วตางๆ เมลดทานตะวัน เนยถ ว

งา และนํามันสําหรับปรุงอาหารทุก

ชนิด






สังกะสี





ช่วยให้การทางานของระบบ





ภูมิคุมกนในร่างกายมีประสิทธิภาพ

มากขึน ผู้สูงอายอาจมีความ



ตองการธาตุสังกะสีน้อยกว่าคนวัย



หนุ่มสาว รวมถงเมืออายมากขึน




การดูดซึมสังกะสีจะลดลง แหลง




อาหารทมีสังกะสี ไดแก เนือสัตว์



อาหารทะเล ไข่

20
แนวทางการบริโภค


อาหารสําหรับผู้สูงอาย ุ






ปริมาณสารอาหารทเหมาะสมสําหรับผู้สูงอาย ุ




เส้นใยอาหาร







ช่วยให้ระบบขับถายทางานไดตาม
ปกตและป องกนปญหาเกยวกบ








ลาไส้ทอาจเกดขึนได ช่วยป องกน



ร่างกายจากโรคหัวใจ เบาหวาน และ

มะเร็งบางชนิด ซึงอาหารทมีเส้นใย




สูงมักพบไดในผัก ผลไม้ และถ ว


เปลอกแข็ง



นา






ผู้สูงอายควรดมนําสะอาดหรือเลอก




ดมนําสมนไพรไม่หวานจัดสลบกบ








นําเปลาอย่างน้อยวันละ 6-8 แกว


นําช่วยขับถายของเสีย ทาให้รู้สึก

สดชื น

21



ตารางความตองการสาร



อาหารในผู้สูงอายตอวัน


























































หมายเหตุ: จาก ตารางความตองการสารอาหารในผู้สูงอายตอวัน โดย คณะแพทย์ศาสตร์ศริราชพยาบาล

ศนย์การแพทย์กาญจนาภเษก เข้าถงไดจาก



https://www.gj.mahidol.ac.th/main/knowledge-2/nutrition/

ตัวอย่างรายการ
อาหารและปริมาณ 22





แคลอรี
สําหรับผู้สูงอายุใน มื อเช้า







5 มื อ









ข้ า ว ต ม ข้ า ว ผั ด ด อ ก กุ ย ช่ า ย




ก ล อ ง 1 ถ ว ย ต บ 1 จ า น



















1 2 0 K C A L 2 1 0 K C A L








นํา สั บ ป ะ ร ด

ข น ม ค ร ก 1 คู ่
1 แ ก ว




















9 2 K C A L 1 2 5 K C A L
รวม
547


kcal

23
มือกลางวัน

















กวยเตยวหลอด 1 จาน




225 kcal






















ขนมจีบ 2 ลูก



80 kcal
















ลูกเดือยตม



นําตาล 1ถวย


140 kcal รวม
445



kcal

24



มือเย็น


































ข้าวสวย 1 ทพพี

80 kcal





























ตมยําปลากระพง เห็ดผัดนํามันหอย แอปเป ล


1 ถวย 1 จาน 1 ลูก


80 kcal 185 kcal 42 kcal





รวม 387



KCAL

25



อาหารว่าง







อะโวคาโด








รับประทานอย่างนอยวันละ 1-2 ครั ง

ครั งละ 6-8 ชิ นพอคํา



















































160 kcal


อาหารกอนนอน


























































นมอลมอนด์ 1 กลอง



70 kcal

















26

ตัวอย่างที 2 27 ข า ว 1 ถ ว ย
ข้ า ว ต ม ข้ า ว










มื อเช้า







1 2 0 K C A L






ผั ด ไ ช โ ป ว ใ ส่ ไ ข่ ผั ด ผั ก บ้ ง ไ ม่ ใ ส่


1 จ า น นํา มั น 1 จ า น





















1 2 5 K C A L 1 2 5 K C A L








นํา เ ต า หู้ จื ด ก ล ว ย นํา ว้ า





1 แ ก ว 1 ลู ก

















4 0 K C A L 1 2 5 K C A L
รวม
401


kcal

28

มือกลางวัน

















สุกกุงไม่ใส่ว้นเส้น 1 ชาม




200 kcal


























เมี ยงกวยเตยว 3 คา
60 kcal


















รวมมิตร 1 ถวย



230 kcal รวม

490



kcal

29


มือเย็น


































ข้าวสวย 1 ทพพี

80 kcal

































ผัดมะเขือยาวหมสับ แกงจืดตาลงหมสับ สัปปะรด 8 ชิ น
1 จาน 1 ถวย พอดคา



210 kcal 90 kcal 60 kcal


รวม 440



KCAL

30




อาหารว่าง








แอปเป ล






รับประทานอย่างนอยวันละ 1 ลูก


บริโภคชิ นพอดีคํา



















































59 kcal


อาหารกอนนอน






















































นมจืดอนๆ ปริมาณ 200 CC





70 kcal

















31

อาหารสําหรับ






ผู้สูงอาย ุ



















ทควรหลกเลยง









32

อาหารสําหรับผสูงอาย ุ
ู้




ที ควร หลีกเลี ยง











อ า ห า ร ร ส จั ด





อาหารรสจัด ไม่ว่าจะเป นรสเปรี ยวรสเคม รสหวาน รสเผ็ด









กย่อมเกดโทษตอร่างกาย อาจทาให้เกดกรดในกระเพาะ เสี ยงตอ


การเป นโรคไต เบาหวาน ไขมันอดตน และความดนโลหิตสูงได้

อ า ห า ร ห ว า น แ ล ะ มี ไ ข มั น สู ง







อาหารหวานและไขมันสูง เป นอาหารทอนตราย และไม่มี






ประโยชนตอร่างกาย ซึงกอให้เกดโรคตางๆ ได้งาย รวมไปถง




อาหารป งย่าง และของทอดอกด้วย


เ ค รื อ ง ด ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์






เครืองดืมแอลกอฮอล มีโทษตอร่างกายมากมาย อาจทาให้



เส้นเลอดในสมองแตก เกดอาการสมองมึนงง ตอบสนองตอสิ ง







ตางๆ ได้ช้าลง คดอะไรไม่คอยออก และอาจเกดอบัตเหตุตางๆ


ขึนได้



33

34















บรรณานกรรม









ู้


กรมกจการผู้สูงอาย ุ . ( 2 5 6 4 ) เมนูอาหารสําหรับผสูงอาย. สืบคน 9 มกราคม 2 5 6 5 ,
.

เข้าถงได้จาก h t t p s : / / w w w . d o p . g o . t h / t h / k n o w / 1 5 / 5 6 7
ู้

กรมกจการผู้สูงอาย ุ . ( 2 5 6 4 ) อาหารที ผสูงอายควรหลีกเลี ยง. สืบคน 1 2 มกราคม


.
ึ ้
,
2 5 6 5 เข้าถงไดจาก h t t p s : / / w w w . d o p . g o . t h / t h / k n o w / 1 5 / 5 8 1


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร สิริยพา สนั นเรืองศกดิ . ( 2 5 6 4 ) โภชนาการสําหรับวัยทอง
.
.



และผสูงอาย โภชนศาสตร์สําหรับพยาบาลมหาวิทยาลยบรพา , 8 0 - 8 5
ู้
.

ู้
ศนย์การแพทย์กาญจนาภเษก . ( 2 5 6 4 ) โภชนาการสําหรับผสูงอาย คณะ


.
.
ิ ้ ึ ้
.
แพทย์ศาสตร์ศริราชพยาบาล สืบคนเมือ 7 มกราคม 2 5 6 5 เข้าถงไดจาก
,
h t t p s : / / w w w . g j . m a h i d o l . a c . t h / m a i n / k n o w l e d g e - 2 / n u t r i t i o n /
ู้
ศนย์รักษคลนกสุขภาพผู้สูงอาย ุ . ( 2 5 6 4 ) โภชนาการในผสูงอาย โรงพยาบาล




.
ุ ้ ี ึ
,
บํารงราษฎร์. สืบคนวันท 7 มกราคม 2 5 6 5 เข้าถงได้จาก
h t t p s : / / w w w . b u m r u n g r a d . c o m / t h / m e d i c a l - c l i n i c s - b a n g k o k -
t h a i l a n d / g e r i a t r i c / s e r v i c e s / n u t r i t i o n




สนก . ( 2 5 6 2 ) อาหารสุขภาพ ควรกน-ควรงด สําหรับ “วัยทอง”. สืบคนเมือ
.
ึ ้
,
6 มกราคม 2 5 6 5 เข้าถงไดจาก h t t p s : / / w w w . s a n o o k . c o m / h e a l t h / 1 5 7 0 9 /
สุรพล ภูยานนท ์ . ( 2 5 6 2 ) อาหารสุขภาพสําหรับวัยทอง. สืบคนเมือ 6 มกราคม 2 5 6 5 ,


.

เข้าถงได้จาก h t t p s : / / w w w . s a m i t i v e j h o s p i t a l s . c o m / t h / a r t i c l e / d e t a i l /


จัดทาโดย



นสิตคณะพยาบาลศาสตร์

ชั นป ที 2






มหาวิทยาลยบรพา



สมาชิกกลุม



























63010126 63010128 63010130



นายธนกร มีนพัฒนศกด นางสาวธนวรรณ ภูผิวนาค นางสาวธัญสุดา ปาลสาร
























63010131 63010161 63010163









นายนภสินธ์ สีคานพ นางสาวสุพิชฌาย์ พกพิบลย นางสาวสุภาวด แกวหอม




Click to View FlipBook Version