The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chalor Sangngam, 2021-05-21 05:45:25

ภาษาไทยพื้นฐาน หน่วยที่ 1 การรับสารและส่งสารด้วยภาษาไทย

หน่วยที่ 1 - การรับสารและส่งสารด้วยภาษาไทย

หน่วยท่ี 1

ภาษาไทยพนื้ ฐาน การรับสารและส่งสาร
ดว้ ยภาษาไทย
20000-1101感谢您下载包图网平台上提供的PPT作品,为了您和包图网以及原创作者的利益,请勿复制、传播、销售,否则将承担法律责任!包图网将对作品进行维权,按照传播下载次数进行十倍的索取赔偿!
ibaotu.com

อ.ชะลอ สังขง์ าม สอดแทรกหลกั ปรชั ญาของ
ปวช. เศรษฐกิจพอเพียง

และคา่ นิยม 12 ประการ

สปั ดาหท์ ่ี 1

1 จุดประสงคร์ ายวชิ า

เพ่อื ให้

1. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในการใชภ้ าษาไทย
2. สามารถใชภ้ าษาไทยส่ือสารในงานอาชีพอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั การใชภ้ าษา
3. สามารถนาทกั ษะทางภาษาไทยไปใชพ้ ฒั นาตนเองและงานอาชีพ
4. เหน็ คณุ คา่ และความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทย

2 สัดส่วนคะแนน 100 คะแนน

1. คะแนนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 20 คะแนน

2. คะแนนการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (คะแนนระหว่างภาค) 40 คะแนน

1. คะแนนจติ พิสยั (20 คะแนน)

- คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

- หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

-3D

2. คะแนนระหว่างภาค (40 คะแนน)

2.1 การอา่ น 10 คะแนน ไดแ้ ก่

- บคุ ลกิ ภาพ (5) - นา้ เสียง/อกั ขระ (5)

- เป็นธรรมชาติ (5) - การใชส้ ายตา (5)

2.2 การเขียน 10 คะแนน ไดแ้ ก่ เนือ้ หาสาระ (5) การใชภ้ าษา (5)

2.3. การพดู 10 คะแนน ไดแ้ ก่

- บคุ ลิกภาพ (2) - เนือ้ เร่อื ง/สาระนา่ สนใจ (3)

- นา้ เสียง/อกั ขระ (2) - การใชอ้ วจั นภาษา (3)

2.4. ทดสอบประจาหนว่ ย (แบบฝึกหดั ) 10 คะแนน

3. คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน

3 การประเมนิ ผลการเรียน

แบบองิ เกณฑ์ และใช้ตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรียน ดงั ตอ่ ไปนี้

ชว่ งคะแนน ระดบั ผลการเรียน ความหมาย

80-100 4.0 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ีเย่ียม

75-79 3.5 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ มี าก

70-74 3.0 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ี

65-69 2.5 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ีพอใช้

60-64 2.0 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้

55-59 1.5 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑอ์ อ่ น

50-54 1.0 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑอ์ อ่ นมาก

0-49 0 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑข์ นั้ ต่า

4 การประเมนิ ผลการเรียนเป็ นตวั อกั ษร

กรณี นักเรียน นักศึกษาจะต้องลงทะเบยี นเรียนใหม่
4.1.1 ข.ร. หมายถึง ขาดเรยี น ไมม่ สี ทิ ธิเขา้ รบั การประเมินสรุปผลการเรยี น เนื่องจากมีเวลาเรยี นตา่ กว่ารอ้ ยละ 80 (หา้ ม

ขาดเรยี นเกิน 3 ครง้ั โดยประมาณ)
4.1.2 ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏิบตั ิงาน หรอื ปฏิบตั ิงานไมค่ รบ โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแลว้ เหน็ ว่าไมม่ เี หตุผลสมควร
4.1.3 ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมินสรุปผลการเรยี น โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแลว้ เหน็ วา่ ไมม่ ีเหตผุ ลสมควร (ขาดสอบ

ปลายภาค)
4.1.4 ถ.ล. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายหลงั กาหนด โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ ไมม่ ีเหตผุ ลสมควร
4.1.5 ท. หมายถึง ทจุ รติ ในการสอบหรอื งานทมี่ อบหมายใหท้ า
4.1.6 ม.ท. หมายถงึ ไมส่ ามารถเขา้ รบั การประเมินทดแทนการประเมนิ สว่ นทข่ี าดของรายวิชาทไี่ ม่ สมบรู ณภ์ ายใน ภาค

เรยี นถดั ไป

กรณีผลการเรียน ม.ส.
ม.ส. หมายถึง ไมส่ มบรู ณ์ เนอื่ งจากไมส่ ามารถเขา้ รบั การประเมินครบทกุ ครงั้ และหรอื ไมส่ ง่ งานอนั เป็นส่วนประกอบของ

การเรยี นรายวิชาตามกาหนดดว้ ยเหตจุ าเป็นอนั สดุ วิสยั โดยผทู้ ไี่ ดผ้ ลการเรยี น ม.ส. เนอ่ื งจากไมส่ ามารถเขา้ รบั การประเมนิ ครบทกุ ครงั้
ตอ้ งรบั การประเมินทดแทนสว่ นทีข่ าดภายใน 10 วนั นบั แตว่ นั ประกาศผลการเรยี นรายวิชา หากพน้ กาหนดนใี้ หถ้ ือวา่ ไมส่ ามารถเขา้ รบั
การประเมินทดแทน ผลการเรยี นจะเป็น (ม.ท.) หรอื ผลการเรยี นจะมีผลตามคะแนนที่ไดจ้ รงิ

5 ข้อตกลงกอ่ นเรียน

5.1 เขา้ เรยี นตรงตามเวลาในตารางเรยี น หากเกินเวลาท่เี รยี น 15 นาที หมายถงึ เขา้ เรยี นสาย
5.2 เขา้ เรยี นสาย 3 ครงั้ หมายถงึ ขาด 1 ครง้ั
5.3 ลาได้ 3 ครง้ั หรอื ตามเหตอุ นั สมควร ถา้ ลา 3 ครงั้ หมายถงึ ขาด 1 ครง้ั
5.4 ขาดเรยี นเกิน 3 ครง้ั หมายถงึ ขร
5.5 งดใชอ้ ปุ กรณส์ ่ือสารทกุ ชนิดในเวลาเรยี น ยกเวน้ กรณีใชส้ บื คน้ ตามใบงาน
5.6 ขออนญุ าตครูทกุ ครง้ั ก่อน เขา้ – ออก หอ้ งเรยี น
5.7 หา้ มนาอาหารเขา้ มารบั ประทานในหอ้ งเรยี น
5.8 หา้ มหยอกลอ้ หรอื สง่ เสียงดงั เวลาเรยี นและปฏิบตั ใิ บงาน
5.9 การแตง่ กายใหป้ ฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บวิทยาลยั

หมายเหตุ หากนกั ศกึ ษาคนใดไมป่ ฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง จะถกู ตดั คะแนนจิตพิสยั ครงั้ ละ 1 คะแนน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

1. ใชภ้ าษาส่อื สารในภาษาไทยได้
2. ใชถ้ อ้ ยคาและสานวนภาษาในการส่อื สารไดเ้ ป็นอยา่ งดี
3. อธิบายระดบั ของภาษาในการส่อื สารได้
4. เขียนสะกดคาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

1.1 การใช้ภาษาสื่อสาร

ความหมาย

หมายถงึ การตดิ ตอ่ ส่อื สารระหวา่ งบคุ คลตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไป
ดว้ ยวธิ ี การพดู การเขยี น การแสดงกริ ยิ าทา่ ทาง หรอื การใช้
สัญลักษณ์ เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั และบรรลตุ าม
วตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี งั้ ไว้

จากภาพมวี ธิ ีการสอื่ สารอะไรบา้ ง

การเขยี น

การแสดงกริ ิยาทา่ ทาง

ขอบคณุ ภาพจาก www.chiangmainews.co.th การใชส้ ัญลักษณ์

จากภาพมวี ธิ ีการสื่อสารอะไรบา้ ง

การแสดงกริ ิยาทา่ ทาง

การเขียน

การใช้สัญลักษณ์

ขอบคณุ ภาพจาก เพจ บนั ทกึ ภาษาไทยของผม

องคป์ ระกอบของการสื่อสาร 3.สาร ขอ้ มลู จากผสู้ ง่ สารไปยงั ผรู้ บั สาร
4.ส่อื / ช่องทางการสอ่ื สาร
2.ผู้รับสาร

บคุ คล กลมุ่ บคุ คล ผฟู้ ัง
ผอู้ า่ น ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ

1.ผู้ส่งสาร 5.การตอบสนอง

บคุ คล กลมุ่ บคุ คล การส่อื สารท่ดี ตี อ้ งมกี ารตอบสนอง
ผพู้ ดู ผเู้ ขียน กวี ศิลปิน
นกั จดั รายการวทิ ยุ โฆษกรฐั บาล ผสู้ ง่ สาร ผรู้ บั สาร

อุปสรรคของการสือ่ สาร

1. ส่งิ รบกวนทางกายภาพ (physical noise) เช่น เสียงรถยนต์ เสียงคนคยุ กนั
เสยี งประตู เสยี งก่อสรา้ ง ฯลฯ เป็นตน้

2. ส่งิ รบกวนทางจิตใจ (psychological noise) คือ เกิดขนึ้ ภายในความคิด
จิตใจ และอารมณข์ องผสู้ ่อื สาร เชน่ ผพู้ ดู มีอคติตอ่ เรอ่ื งท่ีพดู อารมณไ์ ม่ดี หรอื
ผฟู้ ังขาดสมาธิในการฟัง เป็นตน้

1.2 การใช้ถ้อยคาภาษาในการส่ือสาร

ความหมาย
ถอ้ ยคา หมายถงึ คากลา่ ว เสยี งพดู และลายลกั ษณอ์ กั ษร ท่ี

มนษุ ยใ์ ชส้ ่ือสารกนั ทงั้ ในดา้ นกิจธุระและกิจการอ่ืน ๆ มีรูปลกั ษณ์
ต่างกันไป ผู้ท่ีมีความรู้เร่ืองถ้อยคา รู้จัก ถ้อยคาและเข้าใจ
ความหมายของถ้อยคาได้ดี จะสามารถเลือกใช้ถ้อยคามาใช้
ในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

การเลอื กใชถ้ อ้ ยคาในการสื่อสารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

1. การออกเสยี งใหถ้ กู ตอ้ ง

ความ ควม
ครู คู
2. การเขียนใหถ้ กู ตอ้ ง

อนญุ าต อนญุ าติ
กฎหมาย กฏหมาย

การเลอื กใช้ถ้อยคาในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

3. ใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามความหมาย 4. ใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา
เชน่ การใชล้ กั ษณนาม แทง่ -ดา้ ม-อนั
ตวั -ตน

5. ใชค้ าใหเ้ หมาะสมบคุ คล
แมเ่ ชิญพระสงฆ์ จานวน 9 รูปมาท่บี า้ น
(ควรใช้ นิมนต)์

ควรใชค้ าอ่นื เช่น สวยตะลงึ สวยสะพร่งั

การเลอื กใชถ้ ้อยคาในการสอื่ สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

6. ใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั โอกาส 7. ใชค้ าท่ชี ดั เจนไม่กากวม
เชน่ โอกาสท่เี ป็นทางการ ควรหลกี เล่ียง
คาหยาบ คาสแลง ภาษาพดู

การเลอื กใชถ้ ้อยคาในการสือ่ สารอยา่ งมีประสิทธิภาพ

8. ใชค้ าไมซ่ า้ ซากหรอื รูจ้ กั การหลากคา 10. ใชค้ าใหเ้ หน็ ภาพ

พอใจ-ชอบ-ปลมื้ ขาวโพลน เงียบสงดั กวา้ งใหญ่

มคี วามสขุ -เพลิดเพลิน ไพศาล

9. ใชค้ าใหต้ รงตามความนิยมของผใู้ ช้ 11. ใชค้ าท่เี ป็นคาไทย

ภาษาเดยี วกนั บางโอกาสไมค่ วรใช้ ไทยปนเทศ

ขนึ้ อย่กู บั บรบิ ท เชน่ คาวา่ “มาก” เช่น กรุณาดาดเซฟตเี้ บลทด์ ว้ ยคะ่

ไดแ้ ก่ หลาย โพด แนน่ ลน้ หลาม (ควรใช้ เข็มขดั นิรภยั )

การเลอื กใช้ถอ้ ยคาในการส่อื สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

12. ใชค้ าท่ีก่อใหเ้ กิดมนษุ ยสมั พนั ธอ์ นั ดีตอ่ กนั
• ใชค้ าขยายเพ่อื ใหส้ ภุ าพ เชน่ กรุณา ขอโทษ โปรด อนเุ คราะห์ เป็นตน้
• ใชค้ าลงทา้ ย หรอื คาเรยี กขานทกุ ครงั้ ท่จี บคาถามหรอื คาตอบ เช่น ครบั คะ่ ขา

13. ใชค้ าท่เี ป็นรูปธรรม
• การใชถ้ อ้ ยคา ท่เี ป็นรูปธรรมจะชว่ ยใหผ้ ฟู้ ัง เขา้ ใจงา่ ย และเหน็ ภาพพจน์

14. ใชค้ าราชาศพั ทใ์ หถ้ กู ตอ้ ง

แบบฝึ กหดั ท่ี 1

คาชแี้ จง (งานเดยี่ ว)
ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบฝึกหดั ท่ี 1 โดยดาวนโ์ หลดเอกสารตามลิงคท์ ่แี นบให้

กาหนดสง่ งานตามท่อี าจารยผ์ สู้ อนทาการตกลงแตล่ ะกลมุ่ ผเู้ รยี น

https://drive.google.com/drive/folders/13ApipKPqzJ95tkrQjiq3dBMsDWRSTDSF?usp=sharing

1.3 การใช้สานวนภาษาในการสือ่ สาร

1. สานวนภาษาสามัญ
– เรยี กอกี อยา่ วา่ สานวนท่วั ไป
– เป็นสานวนภาษาสภุ าพท่ีใชใ้ นเรอ่ื งท่วั ๆไป เช่น พดู คยุ อธิบาย

ตวั อย่าง https://youtu.be/iStHAjbha_M



2. สานวนภาษาการประพนั ธ์

– เป็นสานวนภาษาท่มี งุ่ ใหเ้ กิดความสะเทอื นอารมณห์ รอื ใชต้ ามแบบฉบบั รอ้ ยกรอง
อาจปนสานวนสามญั บา้ ง

3. สานวนภาษาส่อื มวลชน

สานวนภาษาส่อื มวลชนเป็นสานวนภาษาท่มี ีส่อื มวลชนนิยมใช้
เชน่ “ตอ่ ขอ้ ถามทว่ี า่ ..” “เปิ ดเผย” “แถลง” หรอื “ชแี้ จง”

ตวั อย่าง 'กระบ่เี ผยคล่นื แรง รองจาก สนึ ามิ ปี 47‘
‘เฮงแจ๊คพอต 34 ล.’

3. สานวนภาษาโฆษณา
ภาษาท่ดี งึ ดดู ความสนใจของคนอา่ น หรอื คนฟัง นกั โฆษณาจงึ มกั คดิ คน้

ถอ้ ยคา สานวนภาษาแปลก ๆ ใหม่ ๆ นามาโฆษณาอย่เู สมอ

ตวั อยา่ ง https://youtu.be/Fmf5bqecWxI



1.4 ระดับของภาษาในการส่ือสาร

1. ภาษาระดบั พธิ ีการ ใชใ้ นกาลเทศะท่ีมีพิธีการ เชน่ การเปิดงาน
2. ภาษาระดบั ทางการ ใชใ้ นการบรรยาย การอภิปราย ติดตอ่ กนั ดว้ ยเร่ือง
ธุรกิจและการงาน
3. ภาษาระดับกง่ึ ทางการ เชน่ ประชมุ กลมุ่ การบรรยายในชนั้ เรยี น
4. ภาษาระดบั สนทนา ใชส้ นทนาเร่อื งท่วั ๆ ไปในชีวิตประจาวนั
5. ภาษาระดบั กันเอง ติดตอ่ ส่อื สารระหวา่ งผทู้ ่ีใกลช้ ิดกนั มาก อาจมีภาษา
ถ่ินปนอยู่

1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย



1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย

1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย



1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย

1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย
การใช้พยญั ชนะ

1. การใช้ ศ ษ ส มหี ลกั การสงั เกตดงั นี้ ส

ศษ ส เป็นพยญั ชนะตน้ (สว่ นมาก) เชน่ สาว
สวย สวม เสือ้ สี สด
ศ เป็นพยญั ชนะตน้ มบี า้ งเช่น ศอก ศกึ ษ นาหนา้ พยญั ชนะวรรค ฏะ คอื ตวั ฏ ฐ
เศกิ ฑ ฒ ณ เช่น ราษฎร์ เชษฐา โอษฐ์ โกษ คาท่ีมาจากภาษาบาลีใช้ ส เทา่ นนั้ เช่น
สโมสร โอกาส สิริ
ศ นาหนา้ พยญั ชนะวรรค จะ คอื ตวั จ ฉ ช
ฌ เช่น พฤศจิกายน อศั จรรย์ ส นาหนา้ พยญั ชนะวรรค ตะ คอื ตวั ต ถ ท
ธ น เชน่ พสั ดุ ภสั ดา หสั ดิน อสั ดง

คาท่ีมาจากภาษาอ่นื สว่ นมากใช้ ส เชน่
โจรสลดั แสตมป์ สปรงิ ผกั สลดั แก๊ส

1.5 การเขยี นสะกดคาในภาษาไทย
การใช้พยญั ชนะ

2. การใช้ ณ น มีหลกั การสงั เกตดงั นี้
1) คาทม่ี าจากภาษาสันสกฤต

ใชต้ วั ณ ตามหลงั พยญั ชนะ ร ฤ และ ษ เชน่ กรณฑ์ กรณี ตฤณ โฆษณา ทกั ษิณ ลกั ษณะ (ยกเวน้
ปักษิน กรนิ ใชต้ วั น) แมม้ ีสระหรอื พยญั ชนะวรรค กะ หรอื วรรค ปะ มาค่นั ก็คงใชต้ วั ณ เช่น อารมณ์
โบราณ พราหมณ์ เป็นตน้

2) คาทม่ี าจากภาษาบาลี
ใชต้ วั ณ นาหนา้ พยญั ชนะวรรค ฏะ คือตวั ฏ ฐ ฑ ฒ ณ เชน่ มณฑา มณฑล บณั ฑิต ขณั ฑสกร

สณั ฐาน กณุ ฑี เป็นตน้
ใชต้ วั น นาหนา้ พยญั ชนะวรรค ตะ คือตวั ต ถ ท ธ น เชน่ นนิ ทา มนเทียร วนั ทนา ขนั ที เป็นตน้

แบบฝึ กหดั ท่ี 2

คาชแี้ จง (งานเดยี่ ว)
ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบฝึกหดั ท่ี 2 โดยดาวนโ์ หลดเอกสารตามลิงคท์ ่แี นบให้

กาหนดสง่ งานตามท่อี าจารยผ์ สู้ อนทาการตกลงแตล่ ะกลมุ่ ผเู้ รยี น

https://drive.google.com/drive/folders/13ApipKPqzJ95tkrQjiq3dBMsDWRSTDSF?usp=sharing

แบบทดสอบ

คาชแี้ จง (งานเดย่ี ว)
ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบทดสอบหน่วยท่ี 1 โดยสามารถเขา้ ลิงคต์ ามท่แี นบให้

กาหนดสง่ งานตามท่อี าจารยผ์ สู้ อนทาการตกลงแตล่ ะกลมุ่ ผเู้ รยี น

https://drive.google.com/drive/folders/13ApipKPqzJ95tkrQjiq3dBMsDWRSTDSF?usp=sharing


Click to View FlipBook Version