The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อนุบาลภูเก็ต Abpk, 2022-10-31 05:29:54

การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

วิจยั ในชั้นเรียน
การพัฒนาพฤตกิ รรมการเรยี นให้มีความรบั ผดิ ชอบ

ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔/๕ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 256๓

โดย
นางสาวฐิกาญภัศ สนั ติกลุ
ครูโรงเรยี นอนุบาลภูเก็ต

โรงเรยี นอนุบาลภเู ก็ต
สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาภูเกต็

กิตติกรรมประกาศ

วิจยั ในชนั้ เรยี นเลม่ นสี้ ำเรจ็ ได้ ผู้วจิ ยั จัดทำขึ้นเพอื่ พัฒนาพฤตกิ รรมการเรียนใหม้ ีความรับผิดชอบของ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและเพือ่ ศึกษาความเหมาะสมของปริมาณ
งานที่มอบหมาย เพื่อลดปัญหาการการขาดส่งงานของนักเรียน ขอขอบคุณคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยโรงเรียนอนบุ าลภเู กต็ ทไ่ี ด้ใหค้ ำแนะนำ ขอ้ เสนอแนะ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องด้วยดจี นทำให้วิจัย
ในชั้นเรยี นเลม่ น้เี สรจ็ สิน้ สมบรู ณ์ ผ้วู ิจยั ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง

ขอกราบขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลภูเกต็ ท่กี รุณาให้ความอนเุ คราะห์จนทำให้
วจิ ยั ในช้ันเรยี นเลม่ นี้สำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ทกุ ประการ คณุ ประโยชน์และคุณค่าของงานวจิ ยั ในชน้ั เรียนเล่มนี้
ขอมอบ แด่ บดิ า มารดา ครอู าจารย์ทป่ี ระสทิ ธ์ิประสาทวิชาความรูใ้ หแ้ กผ่ วู้ จิ ัยในครัง้ นี้

นางสาวฐิกาญภศั สันติกลุ

บทคดั ยอ่

งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทีใ่ นการเรยี นดีขน้ึ ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 256๓
โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลด้าน การเรียน และ
การตอบแบบสอบถามจากนักเรียน การใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คำชมเชยแก่นกั เรยี นรวมทั้ง ดแู ลด้านการ
เรยี นใหม้ ีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากคุณครูท่ีเข้าสอนทำให้นกั เรียนมีความ กระตือรือร้นต่อ
การเรียนมากขึ้น มีความเอาใจใส่ต่อการเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากขึ้นทำให้บรรยากาศการเรียน
ภายในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่มากขึ้น ทำงานที่ได้รับ
มอบหมายและส่งงานตรงกำหนดเวลา รู้จกั ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกันด้วยความเต็มใจ

สารบญั

หน้า

บทท่ี 1 ความเปน็ มาและความสำคัญ
ความสำคัญของการศกึ ษา ...…..…………………….............................................................................. 1

วัตถุประสงค์ .………………………………………..................................................................................... 1
สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั .……………………................................................................................................ 1
ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ ..…………........................................................................................... 2

นยิ ามศัพท์เฉพาะ....………………………………..................................................................................... 2
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

จติ วิทยาการศึกษา ……………………..………………………………………………..………………….................... 3
พฒั นาการจติ วิทยาการศกึ ษา ……………………..………………………………………………..………………….... 4
เจตคติ (Attitude) ……………………..………………………………………………..………………….................... 7

ทฤษฎีแรงจูงใจ ……………………..…………………………...................................................................... 11
การปรับพฤติกรรมในชัน้ เรยี น……………………..……………............................................................... 12

ทฤษฎกี ารเรยี นรูแ้ บบวางเงื่อนไข แบบการกระทำของสกนิ เนอร์………………………………………..... 13
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ การศึกษาคน้ คว้า

ข้นั ตอนการดำเนนิ การวจิ ยั …………………………………………………………………..………..................... 15

ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง …………………………………………………………………..………..................... 15
เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั ……………………………................................................................................ 16

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ……………………............................................................................................ 16
การวิเคราะหข์ อ้ มลู ……………………................................................................................................ 16
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

การวิเคราะหข์ ้อมูล ..............……..……………………........................................................................... 17
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ..............………………………........................................................................... 19

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
ความมุง่ หมาย............... ..……………………………............................................................................. 21
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ..……………………………............................................................................... 21

เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า ……………………………................................................................ 21
วธิ ีการดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล………..………………................................................................... 21

การวเิ คราะหข์ ้อมูล ………………………………..................................................................................... 21
สรปุ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ……………………..................................................................................... 21
ขอ้ เสนอแนะ ……………….…………………........................................................................................... 22

บรรณานุกรม

บทที่ 1
ความเป็นมาและความสำคญั

การศึกษาจึงเป็นสิ่งที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากในการที่จะพัฒนาให้มนุษย์มีประสิทธิภาพ
และศักยภาพสูงสุด ซึ่งต้องมีการพัฒนาโดยต้องคำนึงถึงทรัพยากรที่มีคุณภาพและสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ
ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ถ้ามนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติดังกล่าวก็จะเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ซึ่งจะเป็น
วัฒนธรรมทที่ กุ คนในสังคมต้องปฏิบัติ เพราะจะทำให้สงั คมอย่รู ว่ มกนั อย่างมีความสุข วินัยจึงเป็นคุณธรรมที่
ควรสรา้ งและปลูกฝังใหท้ กุ คนใชเ้ ป็นแนวทางสำหรับบังคบั พฤติกรรมของตนเอง ทำให้บรรลตุ ามจุดหมายของ
ชีวิตและประสบความสำเร็จในชีวิต ครูควรปลูกฝังให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนจะทำให้
สามารถควบคมุ พฤติกรรมของตนใหเ้ ป็นไปในทางท่ีดีงาม ยึดถือและปฏบิ ัติอย่างเครง่ ครดั ถ้าหากในสังคมไม่มี
การปลูกฝังและพัฒนาเด็กให้มีวินัยและมีคุณภาพแล้ว การพัฒนาสังคมและประเทศก็จะเป็นไปอย่างไม่มี
ประสิทธิภาพจึงควรต้องปลูกฝังวินัยในตนเองให้เป็นพื้นฐาน ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นสิ่งที่สำคัญและมีความ
จำเปน็ อยา่ งมากในการทจ่ี ะพฒั นาใหม้ นษุ ยม์ ปี ระสทิ ธภิ าพและศักยภาพสงู สุด

จากการเป็นคุณครูประจำชั้นและเป็นครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ โรงเรียน
อนบุ าลภเู ก็ต ซึ่งมีหน้าท่สี อนและดูแลนกั เรียนท้ังในดา้ นการเรียน ดา้ นพฤติกรรมของนักเรียนทั้งภายในและ
ภายนอกห้องเรียน พบว่า พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนบางคนในห้องเรียนไม่สนใจเรียนขาดความ
รบั ผิดชอบในการเรยี น ไมท่ ำงานที่มอบหมายให้ ใชเ้ คร่อื งมือสอ่ื สารในแบบผดิ ๆ ทำใหบ้ รรยากาศการเรียนรู้
ไม่เอ้ือต่อการเรียนการสอนและมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์จึงทำให้เกิดปัญหาในการเรียนรู้ จึงต้องใช้
กระบวนการวิจยั มาแกป้ ัญหาโดยการนำทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎแี รงจูงใจ และทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขมาใช้กับ
นักเรียนเพื่อเป็นการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนและส่งเสริมศักยภาพของนักเรียน ให้เกิดการเรียนรู้เต็ม
ศักยภาพและความสามารถของตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง มี
บรรยากาศการเรยี นรู้ทดี่ ีขึ้นและเปน็ การปลูกฝังความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่นื ซ่งึ จะส่งผลทำให้สามารถ
พัฒนานักเรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการเรียนดีข้นึ

ความสำคัญของการศึกษา
การวิจัยในครัง้ น้ที ำใหท้ ราบถึงด้านพฤตกิ รรมการเรียน เม่ือนกั เรียนมกี ารพฒั นาพฤตกิ รรมให้เป็นผู้ที่

มีความรับผดิ ชอบในตนเองจะทำให้นักเรียนสนใจเรยี นและมีความขยนั อดทน มีแรงจูงใจ ทำให้มผี ลการเรียน
ดีขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และครูทุกท่านที่จะนำมาเสริมสร้างพัฒนานักเรียนให้มีคุณค่ามี
คณุ ประโยชนต์ อ่ ครอบครัว โรงเรยี น และสังคมตอ่ ไป

วตั ถุประสงค์
เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้น ในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียน
อนบุ าลภูเก็ต

สมมุตฐิ านการวิจยั
การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียน ทำให้สามารถพัฒนา

ศกั ยภาพดา้ นพฤตกิ รรมและการเรยี นใหด้ ีข้ึน

2
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า

1. ประชากร ในการวิจัยค้นคว้าเป็นนักเรียนที่เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๕ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 256๓ โรงเรยี นอนุบาลภูเก็ต จำนวน ๔3 คน

2. ตวั แปรที่ศกึ ษา
2.1 ตวั แปรอสิ ระ คอื พฤตกิ รรมด้านวนิ ัยและความรับผิดชอบตอ่ ตนเองได้แก่ วนิ ัยใน

ตนเอง ความรบั ผดิ ชอบ แรงจงู ใจในการเรยี น
2.2 ตวั แปรตาม คอื พฤตกิ รรมด้านความรบั ผิดชอบในตนเอง

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
ความมวี นิ ยั ในตนเอง หมายถึง การประพฤติปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบและไม่ทำผิดต่อกฎระเบยี บในการ

เป็นนักเรียน ความรับผิดชอบ หมายถึง ความมุ่งมั่นของนักเรียนที่จะงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วง
ด้วยดี และตั้งใจเรียนอย่างเต็มความสามารถ แรงจูงใจในการเรียน หมายถึง การแสดงพฤติกรรมเมื่อถูก
กระตนุ้ จากสง่ิ เร้า เชน่ คำชมเชย การให้รางวลั ฯลฯ แล้วสามารถประพฤตติ นไดบ้ รรลุเปา้ หมายโดยการเรียนรู้
ของแตล่ ะคน

อตั มโนทศั น์ หมายถงึ ความรสู้ ึกนึกคิด ความเข้าใจ การรบั ร้แู ละเจตคติของแตล่ ะบุคคลทีม่ ีต่อตนเอง

ในทุก ๆด้าน ซึ่งเป็นผลมาจากเรียนรู้และประสบการณ์ที่บุคคลได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม

อันเป็นตัวกำหนดบคุ ลกิ ภาพ

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง

ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้องในการจดั ทำงานวิจัย

จติ วทิ ยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษามีบทบาทสำคญั ในการจัดการศกึ ษา การสร้างหลกั สตู รและการเรียนการสอน โดย

คำนึงถึงความแตกต่างของบุคคล ครูจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาการศึกษาเพื่อจะได้เข้าใจ
พฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนถึงปัญหาต่าง ๆเกี่ยวกับการเรียน ความสำคัญของ
การศึกษาจิตวทิ ยาการศึกษา ความสำคญั ของวัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาและบทเรียน นักจติ วทิ ยาการศึกษา
ได้เน้นความสำคัญของความชัดเจนของการระบุวัตถุประสงค์ของการศึกษาบทเรียนตลอดจนถึงหน่วยการ
เรียนเนื่องจากวัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎีพัฒนาก าร และทฤษฎี
บุคลกิ ภาพเป็นเร่อื งที่ครูจะต้องมีความรเู้ พราะจะชว่ ยให้เข้าใจเอกลกั ษณข์ องผเู้ รยี นในวยั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะใน
วัยเด็ก ซึ่งเป็นวัยที่กำลังศึกษาในโรงเรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้าใจ
พัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆแล้วครูจะต้องเรียนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่มทางด้านระดับ
เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนักจิตวทิ ยาได้คดิ วธิ ีการวิจัยทีจ่ ะ
ชว่ ยชีใ้ หเ้ ห็นวา่ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลเป็นตัวแปรท่ีสำคัญในการเลอื กวธิ ีสอนและในการสร้างหลักสูตรท่ี
เหมาะสม นอกจากจะสนใจว่าทฤษฎีการเรียนรู้จะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้และจดจำอย่างมีประสิทธิภาพได้
อย่างไรแลว้ ยังสนใจองคป์ ระกอบเกย่ี วกับตัวของผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามคี วามสัมพันธก์ ับการเรียนรู้อย่างไร
ความรู้เหล่านี้ก็มีความสำคัญต่อการเรยี นการสอน ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยา
การศกึ ษาได้เป็นผู้นำในการบกุ เบิกต้ังทฤษฎีการสอน ซึง่ มีความสำคญั และมีประโยชน์เท่าเทียมกับทฤษฎีการ
เรยี นรูแ้ ละพัฒนาการในการชว่ ยครูเก่ียวกบั การเรียนการสอน สำหรับเทคโนโลยีในการสอนท่ีจะชว่ ยครไู ด้มาก
ก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน หลักการสอนและวิธีสอน นักจิตวิทยาการศึกษาได้เสนอหลักการสอนและ
วิธีการสอนตามทฤษฎีทางจิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนักจิตวทิ ยา
พฤตกิ รรมนิยม ปญั ญานิยม และมนษุ ยนยิ ม หลกั การวัดผลและประเมินผลการศกึ ษา ความรพู้ น้ื ฐานเก่ียวกับ
เรื่องนี้จะช่วยให้ครูทราบว่า การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือผู้เรียนได้สัมฤทธิ์ผลตาม
วตั ถปุ ระสงค์ เฉพาะของแตล่ ะวิชาหรือหนว่ ยเรียนหรือไม่ เพราะถา้ ผู้เรยี นมสี มั ฤทธิ์ผลสูง กจ็ ะเป็นผลสะท้อน
ว่าการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนเพื่อเอื้อการเรียนรู้และช่วย
เสริมสร้าง บุคลิกภาพของนักเรียน ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครูมีความสำคัญในเรื่อง
ต่อไปนี้

1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัยของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย
สติปญั ญา อารมณ์ สงั คม และบคุ ลิกภาพเปน็ สว่ นรวม

2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ว่า
เกิดข้ึนไดอ้ ย่างไรและเรยี นรู้ถึงบทบาทของครใู นการท่ชี ่วยนักเรียนให้มอี ัตมโนทศั น์ทีด่ ีและถูกต้องได้

3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้
พฒั นาตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล

4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัยและขั้นพัฒนาการของนักเรียน
เพ่ือจงู ใจใหน้ กั เรยี นมคี วามสนใจและมคี วามทอี่ ยากจะเรยี นรู้

4
5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรตา่ ง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรูข้ องนักเรยี นเช่นแรงจูงใจอัตมโนทัศน์
และการตัง้ ความคาดหวังของครทู มี่ ีต่อนักเรยี น
6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียนเพื่อทำให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้
นกั เรยี นทกุ คนเรยี นตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล โดยคำนึงถงึ หัวข้อต่อไปนี้

6.1 ช่วยครูเลอื กวตั ถุประสงค์ของบทเรียนโดยคำนงึ ถึงลกั ษณะนิสยั และความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลของนกั เรยี นที่จะตอ้ งสอนและสามารถทจี่ ะเขียนวัตถุประสงค์ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจว่าสิ่งคาดหวังให้
นักเรียนรู้มีอะไรบ้างโดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรยี นคอื ส่ิงท่ีจะชว่ ยใหน้ ักเรียนทราบ เมื่อจบบทเรียนแล้ว
นกั เรียนสามารถทำอะไรได้บา้ ง

6.2 ช่วยครูในการเลือกหลกั การสอนและวธิ ีสอนทีเ่ หมาะสม โดยคำนงึ ลักษณะนิสัยของ
นักเรียนและวชิ าทสี่ อน และกระบวนการเรยี นรู้ของนักเรยี น

6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครไู ดส้ อนจนจบบทเรยี นเท่านนั้ แต่ใช้
ประเมินความพรอ้ มของนักเรียนกอ่ นสอน ในระหวา่ งท่ที ำการสอนเพือ่ ทราบวา่ นักเรียนมีความกา้ วหน้าหรือมี
ปัญหาในการเรียนรู้อะไรบา้ ง

7. ชว่ ยครใู ห้ทราบหลกั การและทฤษฎีของการเรียนรู้ทีน่ กั ไดพ้ ิสจู นแ์ ลว้ วา่ ได้ผลดี เช่น การเรียนจาก
การสงั เกตหรือการเลยี นแบบ

8. ช่วยครใู ห้ทราบถงึ หลักการสอนและวิธีสอนท่ีมีประสทิ ธภิ าพรวมทัง้ พฤติกรรมของครูที่มีการสอน
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพวา่ มีอะไรบา้ ง เช่น การใชค้ ำถาม การให้แรงเสริม และการทำตนเป็นต้นแบบ

9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว
แต่มีองค์ประกอบอ่ืน ๆ เช่น แรงจูงใจ ทัศนคติหรืออัตมโนทัศน์ของนกั เรยี นและความคาดหวังของครูท่มี ีต่อ
นักเรยี น

10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ครูและนักเรียนมีความรักและไว้วางใจซึ่งกันและกันนักเรียน ต่างก็
ชว่ ยเหลอื กันและกนั ทำใหห้ อ้ งเรยี นเปน็ สถานที่ที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน
เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำคัญในการช่วยให้เยาวชนพัฒนาการทั้งทางด้านเชาวน์ปัญญา และทาง
บุคลิกภาพ เพื่อช่วยให้เยาวชนมีความสำเร็จในชีวิต ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสริมการศึกษาให้มีคุณภาพ มี
มาตรฐานความเป็นเลิศ ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการศึกษาจึงสำคัญในการช่วยทั้งครูและนักเรียนผู้มีความ
รบั ผิดชอบในการปรับปรงุ หลักสูตรและการเรยี นการสอน

พฒั นาการจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยา เป็นศาสตร์ที่มีคนสนใจมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณก่อนคริสตกาล มีนักปรัชญาชื่อพลาโต

(Plato 427 – 347 ก่อนคริสตกาล) อริสโตเติล(Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสตกาล) ได้กล่าวถึง
ธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ในเชิงปรัชญามากกว่าแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาในยุคนั้นเป็น
แบบเก้าอี้โต๊ะกลมหรือเรียกว่า Arm Chair Method เรียกจิตวิทยาในยุคนั้นว่า จิตวิทยายุคเก่าเพราะ
นักจิตวทิ ยาน่งั ศึกษาอย่กู ับโตะ๊ ทำงาน โดยใชค้ วามคดิ เห็นของตนเองเพียงอยา่ งเดียวไม่มีการทดลอง ไม่มีการ
วเิ คราะหใ์ ด ๆ ทัง้ สน้ิ ตอ่ มาอริสโตเตลิ ได้สนใจจิตวิทยาได้ทำการศึกษาและได้เขียนตำราเล่มแรกของโลกเป็น
ตำราทว่ี า่ ดว้ ยเรอื่ ง วิญญาณชื่อ De Anima แปลว่าชีวิต เขากลา่ ววา่ วิญญาณเป็นตน้ เหตุให้คนต้องการเรียน
จิตวิทยา คนในสมัยโบราณจึงศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณ โดยมีความเชื่อว่าวิญญาณจะสิงอยู่ใน
ร่างกายของมนุษย์ขณะมชี วี ิตอยู่ เม่ือคนสิ้นชวี ติ ก็หมายถึงรา่ งกายปราศจากวญิ ญาณและวิญญาณออกจากรา่ ง

5
ล่องลอยไปชั่วระยะหนึง่ แล้วอาจจะกลับสูร่ า่ งกายคืนอีกได้และเมื่อนั้นคน ๆ นั้นก็จะฟืน้ คืนชีพขึ้นมาอีกชาว
กรีกจึงมีการคิดค้นวิธีการปูองกันศพไม่ให้เน่าเปื่อยที่เรียกว่า มัมมี่ เพื่อคอยการกลับมาของวิญญาณต่อมา
ประมาณศตวรรษที่ 11-12 ได้เกดิ ลัทธิความจริง (Realism) เปน็ ลัทธิที่เช่อื สภาพความเปน็ จริงของสง่ิ ต่าง ๆ
และลัทธิความคดิ รวบยอด (Conceptualism) ท่กี ล่าวถงึ ความคดิ ที่เกิดหลังจากได้วเิ คราะห์พิจารณาสิง่ ต่าง ๆ
ถี่ถ้วนแล้วจากลัทธิทั้งสองน้ีเองทาให้ผู้คนมีความคิดมากข้ึนมีการคิด วิเคราะห์ ไตร่ตรอง จึงเป็นเหตุให้ผ้คู น
เริ่มหันมาสนใจในทางวิทยาศาสตร์ และจึงเริ่มมาสนใจในเรื่องจิตวิทยาในเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้นใน
ขณะเดียวกันก็ยังสนใจศึกษาเรื่องจิตมากขึ้นด้วย รวมทั้งให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตสำนึก
(Conscious) อันได้แก่ การมีสมาธิ การมีสติสัมปชัญญะ และเชื่อว่าจะเป็นมนุษย์ได้จะต้องประกอบไปด้วย
ร่างกายกับจิตใจ จึงมีคำพูดติดปากว่า “A Sound mind is in a sound body” จิตที่ผ่องใสอยู่ในร่างกายท่ี
สมบูรณ์ความสนใจเรื่องจิตจึงมีมากขึ้นตามลำดับ นอกจากนี้ยังเชื่อว่า จิต แบ่งสามารถเป็นส่วนๆ ได้แก่
ความคิด (Idea) จินตนาการ (Imagine) ความจา (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนที่สำคัญที่สุดเรยี กว่า
Faculty of will เปน็ ส่วนหน่งึ ของจติ ทีส่ ามารถสั่งการเคล่ือนไหวตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ต่อมา Norman L.
Mumm มีความสนใจเรื่องจิต เขากล่าวว่า จิตวิทยา คือ การศึกษาเรื่องจิต ในปี ค.ศ. 1590 คาว่า
Psychology จึงเปน็ ท่รี ู้จกั และสนใจของคนทั่วไป

วธิ ีการศึกษาทางจิตวิทยาการศึกษาทางจิตวิทยาใชห้ ลาย ๆ วธิ ีการมาผสมผสานและทำการวิเคราะห์
บนสมมุติฐาน นักจิตวิทยาจะใช้วิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น การตรวจสอบตนเอง การสังเกต การศึกษา
บคุ คลเป็นรายกรณี การสมั ภาษณ์ การทดสอบ ดงั จะอธบิ ายเรียงตามลำดบั ตอ่ ไปนี้

1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการใหบ้ คุ คลสำรวจ ตรวจสอบตนเองดว้ ยการ
ย้อนทบทวนการกระทำและความรู้สกึ นกึ คิดของตนเองในอดีต ที่ผา่ นมา แลว้ บอกความรู้สึกออกมา โดยการ
อธิบายถงึ สาเหตุและผลของการกระทำในเร่ืองต่าง ๆ เชน่ ตอ้ งการทราบว่าทำไมเดก็ นักเรียนคนหน่ึงจึงชอบ
พูดปดเสมอๆ ก็ให้เล่าเหตุหรือเหตุการณ์ในอดีตที่เป็นสาเหตุให้มีพฤตกิ รรมเช่นนั้นกจ็ ะทำให้ทราบที่มาของ
พฤตกิ รรมและไดแ้ นวทางในการท่จี ะชว่ ยเหลือแก้ไขพฤตกิ รรมดังกล่าวได้ การตรวจสอบตนเองจะได้รับข้อมูล
ตรงตามความเป็นจริงและเป็นประโยชน์ เพราะผู้รายงานทีม่ ีประสบการณแ์ ละอยูใ่ นเหตุการณน์ ั้นจรงิ ๆ แต่
หากผู้รายงานจดจำเหตุการณ์ได้แมน่ ยำ และมีความจริงใจในการรายงานอย่างซื่อสัตย์ไม่ปิดบังและบิดเบือน
ความจรงิ แตห่ ากผรู้ ายงานจำเหตุการณห์ รือเรอื่ งราวไม่ได้หรอื ไม่ต้องการรายงานข้อมูลที่แท้จริงให้ทราบก็จะ
ทำให้การตคี วามหมายของเรื่องราวตา่ ง ๆ หรอื เหตกุ ารณ์ผดิ พลาดไม่ตรงตามข้อเทจ็ จรงิ

2. การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมในสถานการณ์ที่เป็นจริง อย่างมี
จดุ มุ่งหมาย โดยไม่ใหผ้ ูถ้ กู สังเกตรูต้ วั การสงั เกตแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะคอื

2.1 การสังเกตอย่างมีแบบแผน ( Formal Observation ) หมายถึง การสังเกตที่มีการเตรียมการ

ลว่ งหนา้ มกี ารวางแผน มกี ำหนดเวลา สถานการณ์ สถานที่ พฤตกิ รรมและบคุ คลที่จะสงั เกต ไว้เรยี บร้อยเม่ือ

ถึงเวลาที่นักจิตวิทยาวางแผนก็จะเริ่มทำการสังเกตพฤติกรรมตามที่กำหนดและผู้สังเกตพฤติกรรมจะจด

พฤติกรรมทุกอยา่ งในชว่ งเวลานัน้ อยา่ งตรงไปตรงมา

2.2 การสังเกตอยา่ งไม่มแี บบแผน ( Informal Observation ) หมายถงึ การสงั เกตโดยไมต่ ้องมีการ
เตรียมการล่วงหน้าหรือวางแผนล่วงหน้าแต่สังเกตตามความสะดวกของผู้สังเกตคือจะสงั เกตช่วงเวลาใดก็ได้
แล้วทำการจดบันทึกพฤติกรรมที่ตนเห็นอย่างตรงไปตรงมา การสังเกตช่วยให้ได้ข้อมูลละเอียด ชัดเจนและ
ตรงไปตรงมา เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรู้สกึ ของบุคคลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำให้เห็นพฤติกรรมได้
ชดั เจนกวา่ การเก็บขอ้ มลู ด้วยวิธกี ารอน่ื ๆ แตก่ ารสงั เกตทด่ี มี ีคุณภาพมสี ่วนประกอบหลายอย่าง เชน่ ผ้สู งั เกต

6
จะต้องมีใจเป็นกลางไม่อคติหรือลำเอียงอย่างหนึ่งอย่างใด และสังเกตได้ทั่วถึงครอบคลุม สังเกตหลายๆ
สถานการณห์ ลาย ๆ หรอื หลาย ๆ พฤติกรรม และใช้เวลาในการสงั เกต ตลอดจนการจดบนั ทึกการสังเกตอยา่ ง
ตรงไปตรงมาและแยกการบันทกึ พฤตกิ รรมจากการตีความไม่ปะปนกนั ก็จะทำให้การสังเกตไดข้ อ้ มูลตรงตาม
ความเป็นจรงิ และนำมาใชป้ ระโยชน์ตามจดุ ม่งุ หมาย

3. การศกึ ษาบคุ คลเปน็ รายกรณี (Case Study) หมายถงึ การศึกษารายละเอยี ดตา่ ง ๆ ท่ีสำคัญของ
บุคคล แต่ต้องใช้เวลาศึกษาติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณาตีความ
เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งนี้เพื่อจะได้หาทาง
ชว่ ยเหลือแก้ไข ปรบั ปรุง ตลอดจนสง่ เสริมพฤติกรรมให้เปน็ ไปในทางสร้างสรรค์ท่ีสำคญั ของบุคคลแต่ต้องใช้
เวลาศึกษาติดต่อกันเป็นระยะหนึ่งแล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พจิ ารณาตีความเพือ่ ใหเ้ ข้าใจถงึ สาเหตุของ
พฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษท่ีผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งนี้ เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง
ตลอดจนส่งเสรมิ พฤติกรรมใหเ้ ปน็ ไปในทางสรา้ งสรรค์

4. การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากันระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมี
จุดมุ่งหมาย ซึ่งการสัมภาษณ์กม็ หี ลายจุดมุ่งหมาย เชน่ การสัมภาษณเ์ พ่อื ความค้นุ เคย สมั ภาษณ์เพ่ือคัดเลือก
บุคคลเข้าทำงาน สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อตลอดจนสัมภาษณ์เพื่อการแนะแนวและการให้
คำปรึกษา เป็นต้น แต่ทั้งการสัมภาษณ์ก็เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ การ
สัมภาษณท์ ดี่ ีจำเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า วางแผน กำหนดสถานท่ี เวลาและเตรียมหัวข้อหรือคำถาม
ในการสัมภาษณ์ และนอกจากนั้นในขณะสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ควรจะใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบด้วยก็ยิ่งจะ
ได้ผลดี เช่น การสงั เกต การฟัง การใช้คาถาม การพูด การสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดรี ะหว่างผู้ให้สัมภาษณ์และผู้
สมั ภาษณก์ ็จะชว่ ยใหก้ ารสมั ภาษณไ์ ด้ดำเนินไปดว้ ยดี

5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครื่องมือที่มีเกณฑ์ในการวัดลักษณะของพฤติกรรมใด
พฤติกรรมหนึ่ง หรือหลาย ๆ พฤติกรรม โดยให้ผู้รับการทดสอบเป็นผู้ตอบสนองต่อแบบทดสอบซึ่งอาจเปน็
แบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบตั ิการหรือลงมือทำ ทง้ั นีเ้ พ่ือใหไ้ ดข้ ้อมูลเกีย่ วกบั บุคคลน้นั ตามจุดมุ่งหมายท่ีผู้
ทดสอบวางไว้แบบทดสอบท่นี ำมาใช้ในการทดสอบหาขอ้ มูล ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบทดสอบความ
สนใจ เป็นต้น การทดสอบก็มีสิ่งที่ควรคำนึงถึงเพื่อผลของข้อมูลที่ได้รับ ซึ่งแบบทดสอบที่นำมาใช้ควรเป็ น
แบบทดสอบท่ีเชื่อถอื ไดเ้ ป็นมาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อย่างถูกต้อง เป็นตน้

6. การทดสอบ (Experiment) หมายถึง วธิ ีการรวบรวมข้อมูลท่ีเปน็ ระบบ มีขัน้ ตอนและเป็นวิธีการ

ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีลำดับขั้นตอนดังนี้ ตั้งปัญหา ตั้งสมมุติฐาน การรวบรวมข้อมูล การทดสอบสมมุติฐาน

การแปลความหมายและรายงานผล ตลอดจนการนำผลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริมต่อไป การ

ทดลองจึงเป็นการจัดสภาพการณ์ขึ้นมาเพื่อดูผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มหรือ

สถานการณ์ คอื

1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คือ กลุ่มที่ได้รับการจัดสภาพการณ์ทดลองเพื่อศึกษาผลท่ี
ปรากฏจากสภาพนั้นเชน่ การสอนด้วยเทคนคิ ระดมพลังสมอง จะทำใหก้ ลุ่มเกิดความคิดสร้างสรรค์หรือไม่

2. กล่มุ ควบคมุ (Control Group) คือ กลมุ่ ทไ่ี มไ่ ดร้ ับการจัดสภาพการณ์ใด ๆ ทุกอยา่ งถูกควบคุมให้
คงภาพเดมิ ใช้เพื่อเปรยี บเทียบกับกลุ่มทดลอง สงิ่ ทีผ่ ้ทู ดลองต้องการศึกษาเรยี กว่า ตัวแปร ซ่งึ มีตัวแปรอิสระ
หรอื ตัวแปรต้น (Independent Variable) และตัวแปรตาม ( Dependent Variable )

7
เจตคติ (Attitude)
ความหมายของเจตคติ

“เจตคต”ิ คอื ความรสู้ ึกของนักเรียนทมี่ ีตอ่ สง่ิ ใด ๆ ซงึ่ แสดงออกมาเป็นพฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่
ชอบ อาจเหน็ ดว้ ย ไม่เหน็ ดว้ ย พอใจ ไม่พอใจ ต่อส่งิ ใด ๆ ในลักษณะเฉพาะตวั ตามทิศทางของทัศนคติท่ีมีอยู่
และทำใหจ้ ะเปน็ ตวั กำหนดแนวทางของบุคคลในการที่จะมปี ฏิกิริยาตอบสนอง

องค์ประกอบของเจตคติ
องคป์ ระกอบของเจตคติท่ีสำคญั 3 ประการ คือ
1. การรู้ (COGNITION) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อ

ลัทธิคอมมิวนสิ ต์ สงิ่ สำคญั ขององค์ประกอบนี้ กค็ ือ จะประกอบดว้ ยความเชือ่ ทีไ่ ด้ประเมินคา่ แล้วว่าน่าเชื่อถือ
หรือไม่น่าเชื่อถือดีหรือไม่ดีและยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่าควรจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างไรต่อเป้าหมาย
ทัศนคติจึงจะเหมาะสมทส่ี ดุ ดงั น้ันการร้แู ละแนวโน้มพฤติกรรมจึงมคี วามเกย่ี วข้องและสัมพนั ธอ์ ย่างใกล้ชดิ

2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ นั้น เป้าหมายจะถูกมองด้วย
อารมณ์ชอบหรือไม่ชอบ ถูกใจหรอื ไมถ่ ูกใจ ส่วนประกอบด้านอารมณ์ ความรสู้ ึกนเ้ี องท่ีทำให้บุคคลเกิดความ
ดอ้ื ดึงยึดมั่น ซงึ่ อาจกระตุน้ ให้มีปฏกิ ิรยิ าตอบโตไ้ ดห้ ากมีส่ิงทขี่ ัดกบั ความรสู้ กึ มากระทบ

3. แนวโน้มพฤติกรรม (ACTION TENDENCY) หมายถึง ความพรอ้ มทจ่ี ะมีพฤติกรรมท่ีสอดคล้องกับ
เจตคติ ถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดีต่อเป้าหมายเขาจะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือสนับสนุน
เป้าหมายนั้น ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบตอ่ เป้าหมาย เขาก็จะมคี วามพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทำลาย หรือทำ
รา้ ยเป้าหมายนน้ั เช่นกนั

การเกดิ เจตคติ และเจตคติเกิดจากอะไร
เจตคตเิ กิดจากการเรียนร้ขู องบคุ คลไม่ใช่เป็นสิง่ มีตดิ ตัวมาแต่กำเนิด หากแตว่ ่าจะชอบหรอื ไม่ชอบสิ่ง

ใดตอ้ งภายหลัง เมือ่ ตนเองได้มปี ระสบการณใ์ นสง่ิ น้ัน ๆ แลว้ ดังน้นั จึงพอสรุปไดว้ า่ เจตคติเกดิ ข้นึ จากเร่อื ง
ตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี

1. การรวบรวมความคิดอันเกิดจากประสบการณ์หลายๆ อยา่ ง
2. เกดิ จากความรสู้ ึกทรี่ อยพมิ พใ์ จ
3. เกดิ จากการเห็นตามคนอื่น
ปจั จัยที่ทำใหเ้ กิดเจตคติจึงมหี ลายประการเช่น
1. ประสบการณ์เฉพาะ เมือ่ คนเราไดร้ ับประสบการณ์ต่อสิ่งใดสงิ่ หน่ึงอาจจะมีลักษณะในรูปแบบท่ีผู้

ไดร้ บั รสู้ ึกว่าไดร้ างวลั หรือถูกลงโทษ ประสบการณท์ ี่ผูร้ ู้สกึ เกิดความพงึ พอใจยอ่ มจะทำให้เกิดเจตคติท่ีดีต่อสิ่ง

นนั้ แตถ่ ้าเปน็ ประสบการณ์ทไี่ มเ่ ปน็ ท่ีพงึ พอใจกย็ อ่ มจะเกิดเจตคติที่ไมด่ ี

2. การสอน การสอนนั้นอาจจะเป็นทั้งแบบทีเ่ ปน็ แบบแผนหรือไมเ่ ป็นแบบแผนก็ได้ซึง่ เราได้รบั จาก
คนอื่น องคก์ ารทท่ี ำหน้าท่ีสอนเรามมี ากมายอาทเิ ชน่ บ้าน วดั โรงเรียน สอื่ มวลชนต่าง ๆ เรามักจะได้รับเจต
คติที่สังคมมีอยู่และนามาขยายตามประสบการณ์ของเราการสอนที่ไม่เป็นแบบแผนนั้นส่วนให ญ่เริ่มจาก
ครอบครัวตั้งแต่เด็ก ๆ มาแล้ว พ่อแม่พี่น้องมักจะบอกเราว่าสิ่งนั้นไม่ดีสิ่งนี้ไม่ดีหรือใครควรทำอะไรมี
ความสำคัญอย่างไร การสอนส่วนมากเปน็ แบบยดั ทะนานและมกั ได้ผลดีเสยี ด้วยในรปู แบบการปลูกฝังเจตคติ

3. ตัวอยา่ ง (Model) เจตคตบิ างอย่างเกิดขึ้นจากการเลียนแบบในสถานการณต์ ่าง ๆ เราเห็นคนอื่น
ประพฤติ เราเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมคนอ่ืนออกมาเปน็ รปู ของเจตคติถ้าเรายอมรบั นับถือหรือเคารพคนๆน้ัน

8
เราก็มักยอมรบั ความคิดของเขาตามท่ีเราเข้าใจ เช่น เด็กชายแดงเหน็ บิดาดูรายการกีฬาทางโทรทัศนป์ ระจำ
เขาก็จะแปลความหมายว่า กีฬานั้นเป็นเรื่องน่าสนใจและจะต้องดูหรือถ้าเขาเห็นพ่อแม่ระมัดระวังต่อชุด
รับแขกในบา้ นมากกวา่ ของที่อยู่ในสนามหญ้าหลังบ้านเขาก็จะเกิดความรู้สึกว่าของในบ้านต้องระวังรักษาเป็น
พิเศษ ซึ่งการเรียนรูเ้ ช่นนพ้ี ่อไมไ่ มจ่ ำเป็นต้องพดู ว่าอะไรเลย เดก็ จะเฝา้ สังเกตการณ์ปฏบิ ตั ิของพอ่ แม่ต่อบุคคล
อื่นอย่างถี่ถว้ นจะเรียนรูว้ ่าใครควรคบใครควรนับถอื ใครไมค่ วรนบั ถือ

4. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสถาบนั ปัจจัยทางสถาบันมีอยู่เป็นอันมากทีม่ ีสว่ นสร้างสนับสนุนเจตคตขิ องเรา
ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติตนในวัด ในโบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณ์ทางสงั คมต่าง ๆ เป็นสิ่งให้แนว
เจตคตขิ องคนเราเปน็ อันมาก

สภาวะท่มี ผี ลตอ่ การก่อเกิดของเจตคตนิ ้ันมหี ลายอย่าง อาทเิ ช่น ประการแรก ขน้ึ อยู่กับการท่ีเราคิด
วา่ เราเป็นพวกเดียวกนั (identification) เด็กทย่ี อมรบั ว่าตนเองเปน็ พวกเดียวกับพอ่ แม่ยอ่ มจะรับเจตคติของ
พ่อแม่ง่ายขน้ึ หรอื ท่ีโรงเรยี นหากเดก็ ถือวา่ ครูเปน็ พวกเดียวกับตนเด็กย่อมจะรับความเชื่อถือหรือเจตคติของ
ครู ประการทีส่ อง ขึ้นอยกู่ บั ว่าเจตคตนิ นั้ คนอ่ืน ๆ เปน็ จำนวนมากเช่ืออย่างนนั้ หรือคิดอย่างน้ัน(uniformity)
การทเี่ ราจะมเี จตคติเข้ากลมเกลียวเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดียวกนั ไดน้ ั้นอาจจะมสี าเหตอุ ืน่ อีกเชน่ โอกาสท่จี ะได้รับเจต
คติแตกต่างไปนั้นไม่มีประการหนึ่งอีกประการหนึง่ หากไม่เห็นด้วยกับส่วนใหญ่เราเกดิ ความรู้สึกว่าส่วนใหญ่
ปฏิเสธเรานอกจากนี้ประการท่ีสามการท่ีเรามีเจตคติตรงกับคนอนื่ ทำใหเ้ ราพูดติดต่อกับคนอื่นเข้าใจ เมื่อเรา
เจริญเตบิ โตจากเด็กเป็นผู้ใหญน่ ้ันแน่ท่ีสุดท่ีเราจะพบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ในบ้านนั้นนับว่าเป็น
แหล่งเกิดเจตคติตรงกนั ที่สดุ แต่พอมีเพอ่ื นฝูงเราจะเห็นว่าเจตคตขิ องเพ่ือนฝงู และของพ่อแม่ของเขาแตกต่าง
กันบ้าง ในโรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับการศึกษาชั้นสูงเราจะพบความแตกต่างของเจตคติมากมาย
ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่าเจตคติแรก ๆ ที่เราได้รับนั้นค่อนข้างจะคงทนถาวร เจตคตินั้นจะสามารถนำไปใช้กับ
สถานการณ์ใหม่ที่คล้ายกัน เช่น คนที่มีพ่อดุดันเข้มงวดเขาจะเกิดความมุ่งร้ายต่อพ่อ อาจจะคิดว่า
ผ้บู ังคบั บญั ชานนั้ ดุดันเขม้ งวดและเกิดความรู้สึกม่งุ ร้ายตอ่ ผู้บงั คับบญั ชากไ็ ด้ หรอื คนงานทีไ่ ม่ชอบหัวหน้างาน
อาจจะนำความไมช่ อบน้ันไปใช้ต่อบริษทั หรอื เกลียดบรษิ ทั ไปดว้ ย

ลกั ษณะของเจตคติ
ลกั ษณะสำคญั ของเจตคติ 4 ประการ คอื

1. เจตคติ เป็นสภาวะก่อนที่พฤติกรรมโต้ตอบ (PREDISPOSITION TO RESPOND) ต่อเหตุการณ์
หรอื ส่ิงใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะหรอื จะเรยี กว่าสภาวะพรอ้ มทจี่ ะมีพฤตกิ รรมจรงิ

2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยู่ในช่วงระยะเวลา (PERSISTENCE OVERTIME) แต่มิได้หมายความว่า

จะไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลง

3. เจตคติ เปน็ ตัวแปรหน่งึ นำไปสคู่ วามสอดคล้องระหว่างพฤตกิ รรม ความรสู้ กึ นกึ คิดไม่วา่ จะเปน็ การ
แสดงออกโดยวาจา หรอื การแสดงความรสู้ กึ ตลอดจนการที่จะตอ้ งเผชญิ หรือหลีกเลย่ี งต่อสิ่งใดสิง่ หนงึ่

4. เจตคติ มีคุณสมบัติของแรงจูงใจ ในอันที่จะทำให้บุคคลประเมินผล หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึง
หมายความตอ่ ไปถึงการกำหนดทิศทางของพฤติกรรมจริงดว้ ย

เจตคตินับว่าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานอย่างหนึ่ง นอกจากความพร้อมและการจูงใจ
บุคคลที่มเี จตคติทีด่ ีต่อการทำงานจะช่วยให้ทางานได้ผลท้ังน้ีเพราะเจตคติเป็นตน้ กำเนิดของความคิดและการ
แสดงการกระทำออกมานนั่ เอง

9
กลา่ วโดยสรปุ เจตคติ เปน็ ลกั ษณะทางจิตของบคุ คลท่เี ป็นแรงขบั แรงจูงใจของบุคคล แสดงพฤตกิ รรม
ที่จะแสดงออกไปในทางต่อต้านหรือสนับสนุนต่อสิ่งนั้นหรือสถานการณ์นั้น ถ้าทราบทัศนคติของบุคคลใดที่
สามารถทำนายพฤติกรรมของบุคคลนัน้ ไดโ้ ดยปกติคนเรามกั แสดงพฤตกิ รรมในทศิ ทางท่ีสอดคลอ้ งกับทัศนคติ
ท่ีมอี ยู่
อยา่ งไรกด็ เี จตคติเม่ือเกดิ ขน้ึ แลว้ อาจจะมลี กั ษณะท่ีคอ่ นข้างถาวรและคงทน ความรงั เกยี จที่เรียนรู้ใน
วัยเด็กอาจจะคงอยู่ต่อไปจนชั่วชีวิต เจตคติทางการเมือง ศาสนาและอื่น ๆ มักจะมีความคงทนเป็นอันมาก
สาเหตทุ ี่ทำให้เจตคตบิ างอย่างมคี วามคงทนอาจมีสาเหตดุ งั ตอ่ ไปน้ี
1. เนอ่ื งจากเจตคติน้ันเป็นแนวทางปรับตวั ได้อย่างพอเพยี งคอื ตราบใดที่สถานการณ์นั้นยังสามารถ
จะใช้เจตคตเิ ช่นน้ันในการปรับตัวอยู่เจตคตนิ ั้น กจ็ ะยงั คงไม่เปลย่ี นแตเ่ นอ่ื งจากไม่สามารถที่จะใช้ได้เนื่องจาก
สถานการณ์ได้เปล่ียนแปลงไปแลว้ เจตคติน้ันก็มักจะเปล่ียนแปลงไป เช่น ในสหรัฐอเมรกิ าคนสว่ นใหญ่มักจะ
คัดค้านการช่วยเหลือของรัฐบาลอย่างรุนแรง แต่พอเกิดเศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรงก็อาจจะรับความ
ช่วยเหลอื ของรัฐบาลมากขนึ้
2. เหตุที่เจตคติไมเ่ ปล่ียนแปลง่ายๆก็เพราะว่าผู้มีเจตคตินัน้ จะไม่ยอมรับรูส้ ิง่ ยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์
เช่นนี้เรยี กว่า Selective perception เชน่ คนทีเ่ กลียดยวิ เกิดความคดิ ว่าพวกยิวนี้ข้เี หนียวเอารัดเอาเปรียบ
ต่อมามียิวมาอยู่บ้านใกล้ ๆ ทั้ง ๆ ที่ยิวคนนั้นแสนจะดีเปน็ กันเองให้ความช่วยเหลือเราดีเจตคติของเรามอี ยู่
เดมิ จะไมย่ อมรับรู้ความดีของยิวเชน่ นนั้ ดังนัน้ เจตคตจิ งึ ไม่เปล่ยี น
3. สาเหตุอกี อยา่ งหน่ึงคอื ความภักดตี ่อหมกู่ ลมุ่ ท่เี ราเป็นสมาชกิ คนเราไมอ่ ยากได้ชอ่ื ว่าทรยศต่อพวก
ตัวอย่างเช่น หญิงสาวถูกอบรมมาในครอบครัวซึ่งเคร่ง ไม่ยอมให้เล่นการพนัน สูบบุหรี่เพราะการกระทำ
เช่นน้นั ครอบครวั ถอื ว่าเปน็ การกระทำมใิ ชว่ ิสยั สตรีทด่ี ี ทจ่ี ะพึงกระทำ ต่อมาแม้วา่ จะมโี อกาสท่ีจะกระทำได้แต่
ไม่ทำ เพราะเห็นวา่ ขัดตอ่ เจตคติของพอ่ แมท่ ีเ่ คยส่ังสอนไว้
4. ความตอ้ งการป้องกนั ตนเอง บคุ คลท่ีไม่ยอมเปล่ียนเจตคตทิ ่ีเขามีอยเู่ ดิมนั้นอาจเนอ่ื งจากเหตุผลว่า
หากเขาเปลี่ยนแปลงแล้วจะทาให้คนอื่นเห็นว่าเขาอ่อนแอ เช่น คนขายของเสนอวิธีการขายใหญ่ให้หัวหน้า
หัวหน้าเหน็ วา่ ดเี หมือนกันแต่ไม่ยอมรับเพราะเหน็ วา่ เป็นเรอ่ื งท่ีทำใหค้ นอ่ืนเห็นหัวหนา้ ไม่มคี วามสามารถ
5. การไดร้ ับการสนับสนุนจากสังคมนน้ั คือการท่ีเราเช่ืออย่างนนั้ มีเจตคติอย่อู ย่างนน้ั เรายังได้รับการ
สนับสนุนกับคนทมี่ ีความเช่อื อยา่ งเดยี วกบั เราอยู่

หน้าที่และประโยชนข์ องเจตคติ
เจตคติมปี ระโยชนแ์ ละหน้าที่ คอื
1. เป็นประโยชน์โดยการเป็นเครอื่ งมือ ปรบั ตวั และเป็นประโยชนใ์ นการใช้เพ่ือทำการต่าง ๆ

2. ทำประโยชน์โดยการใช้ปูองกันสภาวะจิตใจ หรือปกป้องสภาวะจิตของบุคคล (EGODEFENSIVE
FUNCTION) เพราะความคดิ หรือความเช่อื บางอย่างสามารถทำให้ผเู้ ชื่อหรือคิดสบายใจ สว่ นจะผิดจะถูกเป็น
อีกเรอื่ งหน่ึง

3. เจตคติทำหนา้ ท่แี สดงค่านิยม ใหค้ นเห็นหรือรบั รู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มปี ระโยชนห์ รือให้คุณประโยชนท์ างความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับผคู้ นและส่ิงตา่ ง ๆ
5. ช่วยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรมหรือช่วยพัฒนาค่านิยมให้กับบุคคล
การทบ่ี ุคคลมีทัศนคติที่ดีตอ่ บุคคล สถานการณต์ ่าง ๆ ในสังคมจะเปน็ สิ่งที่ชว่ ยให้บุคคลสามารถประเมินและ
ตัดสินได้วา่ ควรจะเลือกประพฤติอยา่ งไรจึงจะเหมาะสมและดงี าม

10
นอกจากนี้ เจตคติทำหน้าที่เกยี่ วกับการรบั รูอ้ ยู่มาก เจตคตมิ ีสว่ นกำหนดการมองเห็นของคน และยัง
ทำหนา้ ทอ่ี ่ืน ๆ อีกเช่น
1. เตรยี มบุคคลเพ่อื ให้พรอ้ มตอ่ การปฏบิ ตั ิการ
2. ช่วยใหบ้ ุคคลได้คาดคะเนลว่ งหน้าว่าอะไรจะเกิดขึน้
3. ทำให้บคุ คลไดร้ ับความสำเร็จตามหลักชัยทว่ี างไว้
การเปลยี่ นแปลงเจตคติ
ทศั นคติของบคุ คลสามารถเปลย่ี นแปลงไดเ้ นือ่ งมาจาก
1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคติจะเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงใหม่ได้หลังจากที่ได้รับ
คำแนะนำบอกเล่า หรือได้รับความรูเ้ พม่ิ พูนขน้ึ
2) การเปล่ยี นแปลงกลุ่ม (GROUP CHANGE) ช่วยเปลี่ยนทัศนคติของบุคคลได้
3) การโฆษณาชวนเชื่อ (PROPAGANDA) เปน็ การชักชวนใหบ้ คุ คลหนั มาสนใจหรือรบั รู้โดยการสร้าง
ส่ิงแปลกๆใหมๆ่ ข้ึน
สง่ิ ท่ีมีอทิ ธิพลต่อเจตคติ คือ

1. บิดา มารดา ของเดก็
2. ระเบียบแบบแผน วฒั นธรรมของสงั คม
3. การศกึ ษาเล่าเรยี น
4. สง่ิ แวดลอ้ มในสังคม
5. การพักผ่อนหย่อนใจท่แี ตล่ ะคนใช้ประจำตวั
การแก้ไขเจตคติหรือวธิ สี ร้างเจตคติ
เจตคตเิ ปน็ เร่อื งทแ่ี ก้ไขไดอ้ ยากถา้ จำเป็นจะต้องช่วยแกไ้ ขเปลยี่ นเจตคตขิ องคนอาจใชว้ ิธี
เหลา่ นนั้ คอื
1. การค่อย ๆ ช้ืนลงให้เขา้ ใจ
2. หาส่งิ เรา้ และสงิ่ จงู ใจอย่างเขม้ ขน้ มาย่ัวยุ
3. คบหาสมาคมกับเพื่อนดดี ี
4. ใหอ้ ่านหนังสอื ดมี ีประโยชน์
5. ใหล้ องทำจนเห็นชอบแล้วกลบั ตัวดีเอง

เจตคติเปล่ียนแปลงได้ ปัจจัยท่ีจะชว่ ยให้เจคติเปล่ียนแปลงได้มีหลายประการเชน่
1. ความกดดันของกลุ่ม(Group pressure) หากกลุ่มจะสามารถให้รางวัลหรือลงโทษไดย้ ่อมจะมีแรง

กดดนั มากในการที่จะกดดันทิศทางเจตคติของเราสิ่งยัว่ ยุที่เป็นรางวัลนน้ั ไดแ้ ก่ ความเป็นผู้มีคนรู้จักมากการ
เลื่อนตำแหน่งการงาน สัญลักษณ์ของการยอมรับนับถือเป็นต้น ส่วนสิ่งยั่วยุที่เป็นการลงโทษก็เช่น การเสีย
เพ่ือนฝงู เสยี ช่อื เสียง เสยี ตำแหน่ง เปน็ ต้น ยิง่ เรามคี วามผิดปกติไปจากกลุ่มเท่าใดแรงบีบบังคับของหมู่มีมาก
เท่าใดหรอื ย่ิงหมกู่ ลุ่มนั้น ยงิ่ เราต้องการเป็นสมาชกิ ของหมู่ใด แรงบีบบังคับของหมูย่ ่อมมีมากเทา่ นั้นหรอื ยง่ิ หมู่
กลุ่มต้องการเรามากเท่าใดกลุ่มก็ยิ่งต้องการให้เราปฏิบัติตามมาตรฐานของกลุ่มเท่าน้ัน กลุ่มที่มีเกียรติศักด์ิ
หรือศักดิ์ศรีต่ำในหมู่อาจจะกระทำผิดแปลกไปได้บ้างแต่ยิ่งมีตำแหน่งสูงหรือศักดิ์ศรีสูงแล้วกระทำผิด
มาตรฐานเพียงนิดเดียวแรงกดดันของหมู่จะเกิดขึน้ ทนั ทีเพ่อื ให้ปฏิบตั อิ ยใู่ นแนว

นอกจากนีแ้ รงกดดันของกลมุ่ จะมมี ากกค็ อื การท่ไี มม่ มี าตรฐานอื่นท่จี ะปฏิบตั หิ รอื มนี อ้ ยทางทีจ่ ะ
เลอื กหรือเราไม่มีความรมู้ ากมายนกั ในเร่ืองนั้น บคุ คลมักจะเปลย่ี นความคดิ เห็นหรอื เจตคติหากกลุ่มของเขาท่ี

11
ยึดอยู่เปลีย่ นแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรกๆอาจไม่สนใจกันรวมเป็นสมาคมแตต่ ่อมาหากรู้ว่าคนอ่ืน ๆ
ในกลุ่มรบั ฟังความคิดเห็นน้ัน เขากอ็ าจเปลี่ยนความคดิ ย่งิ กลมุ่ มคี วามเปน็ เอกภาพเท่าใดแรงกดดันของกลุ่มยิ่ง
มผี ลเทา่ นั้นเรื่องอำนาจของความกดดนั ของกล่มุ อันมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงน้ันอาจจะเปน็ ไปได้ 4 กรณคี อื

1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกลุ่มและยดึ ม่ันในเจตคตขิ องเราและเราอาจจะก้าวร้าวย่ิงข้ึนหาก
เราเชอื่ วา่ กลมุ่ ไมม่ ผี ลบบี บังคับเรามากนกั หรอื เรามคี วามภกั ดีต่อกลุ่มอนื่ มากกวา่

1.2 เราอาจจะไม่เปลย่ี นแปลงต่อเจตคติของเราแตเ่ ราปฏบิ ตั ิตามกลุ่มเพราะเหตุผลภายนอกอย่างอื่น
โดยถือวา่ เปน็ ส่วนตวั และเราไมเ่ ห็นดว้ ยแต่ส่วนรวมทำเช่นน้ันกต็ ้องปฏิบัติตาม

1.3 เราอาจยอมรับบรรทัดฐานของกลมุ่ เพียงผวิ เผนิ ภายในส่วนลกึ ของจิตใจเราไมย่ อมเปลย่ี นแต่พอ
เราออกไปอยกู่ ลุ่มอน่ื เราจะได้เห็นวา่ เราเปลยี่ นแปลงเป็นอย่างอื่น

1.4 เราอาจจะนำเอาบางส่วนของบรรทัดฐานของกลุ่มมาผนวกกับความเชื่อของเราและปฏิเสธ
บางส่วน

2. ประสบการณ์ทน่ี า่ พงึ พอใจหรือไม่น่าพึงพอใจ เราอาจเปล่ียนแปลงเจตคติไปไดเ้ ม่อื ไดร้ บั
ประสบการณท์ ีน่ ่าพอใจหรือไม่น่าพอใจ เช่น นายแดงเขา้ ทำงานบริษทั หน่งึ เพราะเขาเชอื่ ว่าจะมีความก้าวหน้า
แต่พบวา่ หวั หน้าของเขาเปน็ คนขี้อจิ ฉาเมอ่ื เขาเกดิ เสนอความคิดเหน็ ดี ๆ เพ่ือปฏบิ ัติหัวหน้าอาจจะเห็นว่าการ
เสนอแนะของเขาเช่นนั้นทำให้ฐานะของเขาสั่นคลอนและนอกจากนั้นยังทราบดีว่าเพื่อนรว่ มงานของเขาไป
ฟ้องแกห่ วั หนา้ งานบ่อย ๆ เขาจงึ อาจเปล่ียนเจตคติไปอีกแบบหนง่ึ คือมองไม่เหน็ ความก้าวหน้าในการทำงาน
กบั บริษทั นี้ เช่นนีเ้ ป็นต้น

3. อิทธิพลของกลุ่มบคุ คลที่มชี ื่อเสียง บุคคลที่มชี ่อื เสยี งในความหมายนี้อาจจะเป็นเพ่อื นซึ่งเรานับถือ
ความคดิ ของเขาหรอื อาจจะเปน็ ผู้เชียวชาญทางด้านความพิเศษต่าง ๆ ตัวอยา่ งที่เหน็ ไดช้ ดั ในเรื่องนี้ก็คือ การ
โฆษณา ซ่งึ มกั จะใช้คนมีช่อื เสยี งไปยุ่งเก่ียว เชน่ ดาราภาพยนตรช์ ่ือดังคนนั้นใชส้ บยู่ ่ีหอ้ น้ัน ๆ เป็นตน้

เจตคตเิ ป็นความรู้สึกของบุคคลที่มีตอ่ ส่งิ ตา่ ง ๆ อนั เปน็ ผลเนือ่ งมาจากการเรยี นรู้ ประสบการณ์ และ

เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ไปในทิศทางหนึ่ง อาจ

เป็นไปในทางสนบั สนุนหรือคัดค้านก็ได้ ทง้ั นขี้ น้ึ อยู่กับขบวนการการอบรมให้การเรียนรู้ระเบียบวิธีของสังคม

ซึง่ เจตคตนิ ่ีจะแสดงออกหรือปรากฏให้เหน็ ชัดในกรณีท่สี งิ่ เรา้ นนั้ เป็นส่งิ เร้าทางสงั คม

องค์ประกอบของเจตคติ
องคป์ ระกอบของเจตคตมิ ี 3 ประการ ไดแ้ ก่

1. ด้านความคิด ( Cognitive Component) หมายถึง การรับรู้และวินิจฉัยข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับ
แสดงออกมาในแนวคิดท่วี า่ อะไรถูก อะไรผิด

2. ด้านความรู้สึก ( Affective Component) หมายถึง ลักษณะทางอารมณ์ของบุคคลที่สอดคล้อง
กับความคดิ เช่น ถา้ บคุ คลมีความคิดในทางทไ่ี มด่ ีต่อสงิ่ ใด กจ็ ะมีความรสู้ ึกที่ไม่ดีต่อส่ิงน้ันด้วย จึงแสดงออกมา
ในรปู ของความรู้สกึ ไมช่ อบหรือไมพ่ อใจ

3. ด้านพฤติกรรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพร้อมที่จะกระทำซึ่งเป็นผลมาจาก
ความคิดและความรสู้ ึกและจะออกมาในรปู ของการยอมรับหรือปฏิเสธ การปฏิบตั ิหรอื ไม่ปฏิบตั ิ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ความหมายและองคป์ ระกอบของแรงจูงใจ ( Motivation)

แรงจงู ใจ หมายถงึ สภาวะทอ่ี นิ ทรยี ถ์ ูกกระตุน้ ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมเพ่อื ไปยังจดุ ม่งุ หมายดงั นั้นแรงจูงใจ
จงึ เป็นความปรารถนา ท่ีบคุ คลมีความตอ้ งการท่ีจะบรรลุเป้าหมายโดยการเรยี นรู้ของแตล่ ะคนน่ันเอง เมื่อ

12
บุคคลไดร้ บั การกระตุ้นจากสิง่ เร้าตา่ ง ๆ และบุคคลจะเกิดความต้องการ( Needs ) และถา้ ความต้องการของ
บคุ คลไม่ได้รบั การตอบสนอง บคุ คลจะเกดิ ความเครยี ด( stress ) เมอ่ื บคุ คลสะสมความเครยี ดไวม้ าก ๆ บุคคล
จะขาดความสุขในการดำเนินชีวิต การสะสมความเครียด ความวิตกกังวลมาก ๆ จะทำให้บุคคลเกิดแรงขับ
( drive ) ที่จะกระทำกจิ กรรมบางอย่างหรือแสดงพฤตกิ รรมบางอยา่ งให้ลดความเครียดนั้นลงมากระบวนการ
ที่เกดิ ข้ึนภายในน้เี อง ซ่งึ จะทาการกระตุ้นให้บคุ คลไปสู่การกระทำบางอย่างที่ไปสูเ่ ป้าหมาย กระบวนการเชน่ น้ี
เรียกวา่ แรงจูงใจ ( Motivation )

องค์ประกอบในการเกิดแรงจงู ใจ มี 4 ขน้ั ตอน คือ
1. ขน้ั ความต้องการ ( needs stage ) ออความตอ้ งการเป็นสภาวะขาดสมดลุ ท่ีเกิดไดเ้ ม่ือบุคคลขาด

ส่งิ ที่จะทำใหส้ ่วนตา่ ง ๆ ภายในร่างกายทำหนา้ ทไ่ี ปตามปกติ สงิ่ ที่อาจจะเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตจึง
ทำให้เกิดแรงขับและเกิดแรงกระตุ้น เช่น ความหิว เมื่อบุคคลหิวบุคคลก็ต้องพยายามหาอาหาร คนที่ลด
นำ้ หนกั โดยการใชย้ าลดความอ้วน ยาจะไปกดประสาทไมใ่ หห้ ิวแตพ่ อหลังจากไม่ใชย้ าลดน้ำหนกั จะเห็นว่าคน
ที่ลดน้ำหนักโดยใชย้ าจะกินอาหารชดเชยมากข้ึนและอาจจะกลับมาอว้ นใหม่อกี หรือเด็กเลก็ ที่ไมก่ ินนมตอน
ปว่ ย แต่พอไม่ปว่ ยเด็กจะเรมิ่ กินนมมากขนึ้ เพือ่ ชดเชยตอนที่ปว่ ย ความกระหายกเ็ ปน็ ความตอ้ งการอีกอย่างท่ี
เมื่อเกิดแล้วบุคคลต้องหาวิธีการเพื่อให้หายกระหาย ความต้องการทางเพศและความต้องการการพักผ่อนก็
จัดเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต และไม่มีใครในโลกนี้ที่พยายามฝืนเพื่อไม่ให้ตนเองหลับ
มนุษย์ทกุ คนตอ้ งการการพักผอ่ นดว้ ยกันทง้ั สน้ิ

2. ขั้นแรงขับ ( drive stage ) หรือภาวะท่ีบุคคลถกู กระตุ้นให้เกิดแรงขับ เมื่อบุคคลเกิดแรงขบั แล้ว
บุคคลจะน่งิ อยูเ่ ฉยๆ ไมไ่ ดบ้ คุ คลอาจจะรู้สกึ ไม่มีความสุข กระวนกระวายใจ ดงั น้นั บคุ คลจะคิดค้นหาวิธีการท่ี
ทำให้ตนเองรสู้ ึกวา่ ได้รับการตอบสนองจากความหวิ ความกระหาย ความตอ้ งการท้งั ปวงท่เี กิดขนึ้ เพ่ือผลักดนั
ให้ไปสูจ่ ุดหมายปลายทาง ตามทบ่ี คุ คลต้องการ เช่น เมื่อเราว่ิงเหนื่อยๆ อากาศกร็ ้อนจัด ทำใหเ้ ราเหน่ือยและ
คอแห้งอยากกินนำ้ สิ่งที่เราตอ้ งการบำบดั ความกระหายในชว่ งเวลานัน้ คือนำ้ บุคคลจะพยายามทุกวิธที างท่ีจะ
หาน้ำมาดม่ื

3. ขั้นพฤติกรรม ( behavior stage ) เป็นขั้นที่เกิดแรงขับอย่างมากที่ทำให้บุคคลเดินไปหาน้าด่ืม
โดยการเดนิ เข้าไปในร้านสะดวกซือ้ แลว้ เปิดขวดด่ืมแล้วจึงเดินมาจ่ายสตางคห์ รอื ถา้ ทนต่อความกระหายน้ำได้
ก็รีบเดินอย่างรวดเร็วไปจา่ ยสตางค์แลว้ ยกนำ้ ดื่มรวดเดยี วหมดขวด ช่ืนใจ ความกระหายก็บรรเทาลง

4. ขน้ั ลดแรงขับ ( drive reduction stage ) เปน็ ขั้นสดุ ทา้ ยที่อนิ ทรีย์ได้รับการตอบสนองคือ ได้ดื่ม
น้ำเป็นข้ันที่บุคคลเกิดความพึงพอใจ ความตอ้ งการตา่ ง ๆ ก็จะลดลง

การปรับพฤติกรรมในช้ันเรยี น
“การปรบั พฤติกรรม หมายถงึ การประยกุ ต์หลักการพฤติกรรมหรือหลักการเรียนรู้เพ่ือเปล่ียนแปลง

แก้ไขพฤติกรรมโดยเน้นที่พฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นได้หรือวัดได้เป็นสำคัญ และมีความเชื่อพื้นฐานว่า
พฤติกรรมปกติและไม่ปกตพิ ฒั นามาจากหลักการเรยี นรู้” วธิ ีการปรับพฤติกรรม สามารถกระทำไดห้ ลากหลาย
วธิ ี ซ่ึงสามารถเลอื กใช้วธิ ีการใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียนหรอื กลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการปรบั พฤตกิ รรม โดยทั่วไปนิยม
ใช้ 5 วิธี ดงั น้ี

1. แรงเสรมิ เชิงบวก (Positive Reinforcement) เปน็ วิธีการที่เสรมิ แรงเพ่อื ให้ผเู้ รียนแสดงพฤติกรรม
ท่ตี ้องการออกมาอย่างสมำ่ เสมอ เชน่ การชมเชยเมื่อตอบคำถามได้ถกู ตอ้ ง เปน็ ตน้

2. แรงเสริมเชิงลบ (Negative Reinforcement) เป็นวิธีการท่เี สริมแรงในทางลบ เพื่อให้ผเู้ รยี น

13
แสดงพฤติกรรมทีต่ อ้ งการออกมา โดยการหลีกเลยี่ งการกระทำอกี ส่ิงหน่งึ เช่น กำหนดแบบฝึกหดั 2 ส่วน ให้
ผู้เรยี นเลือกทำเพียงสว่ นใดสว่ นหนึ่งเท่านั้นแตถ่ ้าผ้เู รียนคนใดเลือกทำท้ัง 2 สว่ น จะมคี ะแนนพิเศษให้เปน็ ตน้

3. การหยดุ ย้ัง (Extinction) เป็นวิธีการทผี่ ู้สอนงดการใหร้ างวัล คำชมเชยตอ่ พฤติกรรมในช้ันเรียนท่ี
ไม่พึงประสงค์ และใช้วิธีเสริมแรงเชิงบวกควบคู่ไปด้วย แต่วิธีการนี้เหมาะสาหรับพฤติกรรมทีไ่ ม่รุนแรง เช่น
การคุยในช้ันเรียน ผู้สอนจะทำการเพิกเฉยต่อพฤติกรรมดังกล่าว แต่เมื่อผู้เรียนท่ีคุยในชั้นเรียนสามารถตอบ
คำถามถกู ต้อง ก็ให้คำชมเชยหรือรางวลั เปน็ ต้น

4. การทำสัญญากับผู้เรียน (Behavioral contract) เป็นวิธีการผู้สอนทำสัญญากับผู้เรียน เช่นหาก
ผู้เรยี นจดบันทึกการบรรยายในสมุดและสง่ ทา้ ยชัว่ โมงครบทุกสัปดาห์จะได้รบั คะแนนจติ พิสัย 5 คะแนน เป็น
ต้น

5. การลงโทษ (Punishment) เป็นวิธกี ารท่ผี ู้สอนพยายามขจัดพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงคใ์ นช้ันเรยี น
ออกไป โดยการตำหนิ หกั คะแนน หรอื การลงโทษทางกาย เช่น เม่อื ผู้เรยี นขาดเรียนในสปั ดาห์ใด จะตอ้ งเขยี น
สรปุ บทเรียนของสปั ดาหน์ ั้น ๆ ดว้ ยลายมือลงในกระดาษ A4 จำนวน 1 แผ่น เป็นตน้

ลักษณะของการปรับพฤติกรรม
1. ม่งุ ทพี่ ฤติกรรมโดยตรง โดยท่ีพฤติกรรมน้นั ต้องสงั เกตเห็นได้ และวัดไดต้ รงกันดว้ ยเครือ่ งมือที่เป็น

วตั ถุวิสัย ไม่วา่ การตอบสนองน้นั เป็นภายในหรอื ภายนอกก็ตาม
2. ไม่ใช้คำที่เป็นการตีตรา นอกจากจะมีความหมายกว้าง ไม่มีความชัดเจน ยากต่อการสังเกตให้

ตรงกันและยากต่อการจัดโปรแกรมการปรับพฤติกรรมให้บรรลุเป้าหมายได้ การตีตราอาจทำให้เด็กหรือ

ผ้ปู กครองเกิดความอบั อายแลว้ จะสง่ ผลให้เดก็ เลือกแสดงพฤติกรรมตามที่ถกู ตตี ราได้

3. พฤติกรรมไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือไม่ปกติก็ตาม ย่อมเกิดจากการเรียนรู้ในอดีตทั้งสิ้น
ดังน้นั พฤติกรรมเหลา่ น้ีสามารถเปลีย่ นแปลงไดโ้ ดยกระบวนการเรียนรู้

4. การปรับพฤติกรรมจะเนน้ สภาพ และเวลาในปัจจุบนั เทา่ นัน้ เมื่อวเิ คราะห์ไดว้ ่าสิง่ เรา้ และผลกรรม
ใดที่ทำให้พฤติกรรมนั้นเกิดบ่อยหรือลดลงในสภาพปัจจุบัน ก็สามารถปรับสิ่งเร้าและผลกรรมให้เหมาะสม
ยิง่ ขึ้น เพื่อทำใหพ้ ฤตกิ รรมดงั กลา่ วเปลย่ี นแปลงไปตามเป้าหมายท่ตี อ้ งการ

5. การปรับพฤติกรรมนั้นจะเน้นวิธีการทางบวกมากกว่าวิธีการลงโทษ เนื่องจากเป้าหมายของการ
ปรับพฤติกรรมเน้นการเพิ่มพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จึงจาเป็นต้องใช้วิธีการทางบวก เพราะเป็นวิธีการที่มี
ประสิทธิภาพ ท้งั ยังได้กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาทางอารมณน์ อ้ ยกวา่ วธิ กี ารลงโทษ

6. วธิ ีการปรบั พฤตกิ รรมน้ัน สามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมตามลักษณะของปัญหาแต่ละบุคคล เพราะ
คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้นในการดำเนนิ การปรับพฤติกรรมจึงตอ้ งคำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ ง
บคุ คลด้วย

7. วธิ กี ารปรับพฤติกรรมเป็นวิธีการทีไ่ ด้รับการพิสูจน์มาแล้วว่า มีประสทิ ธภิ าพและได้ผลโดยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการเรยี นรแู้ บบวางเงือ่ นไข แบบการกระทำของสกนิ เนอร์

สกินเนอร์ (B.F. Skinner) เกิดในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ในปี ค.ศ. 1904 มีบทบาทสำคัญในการนำ
บทเรยี นสำเร็จรปู และเครอ่ื งมือมาใช้ บางคนเรยี กวา่ ทฤษฎเี สริมแรง การเสริมแรงเปน็ การช่วยตอบสนองส่ิง
เร้าให้ปรากฏขึ้นช้าอยู่เสมอจนทำให้เกิดความเคยชินสิ่งเร้าเดิมการตอบสนองเช่นเดิม ก็ตามมาคือ เกิดเป็น
การเรียนรู้

14

การทดลองของสกินเนอร์
ได้ทดลองกบั หนขู าว โดยมีขน้ั การทดลอง ดังนี้
ขนั้ ท่ี 1 ก่อนการเรียนรู้ ---> กดคาน (CR) ---> อาหาร (UCS) ---> กนิ (UCR)
ขั้นที่ 2 หลังการเรียนรู้ (S1) ---> (R1) ---> S2 ---> R2
คาน(CS) กดคาน(CR) อาหาร(UCS) กิน(UCR)

การประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสอน
1. การตัง้ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
2. การใชต้ ัวเสรมิ แรง ได้แก่ ยิ้มแย้ม การชมเชยจากครู คะแนน
3. การใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรปู

บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนนิ การศึกษาคน้ ควา้

การศกึ ษาวิจยั คร้งั น้ี มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื เป็นการพฒั นาพฤติกรรมการเรยี น ใหเ้ ปน็ ผ้มู คี วามรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้น ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 256๓ โรงเรียนอนบุ าลภเู กต็ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต ได้
ดำเนนิ การตามข้ันตอนดงั น้ี

1. ขน้ั ตอนการดำเนนิ การวจิ ัย
2. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
3. เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
5. การวิเคราะหข์ ้อมลู
1. ขั้นตอนการดำเนนิ การวจิ ยั
ผวู้ จิ ัยได้กำหนดขั้นตอนในการวจิ ัยไวด้ งั นี้
1. ศึกษาหลักการ ทฤษฎีจิตวิทยาการศึกษา เจตคติ (Attitude) ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎีการเรียนรู้
แบบวางเงื่อนไข แบบการกระทำของสกินเนอร์ ลักษณะด้านวินัยในห้องเรียน ความขยันอดทนและความ
รับผดิ ชอบ
2. กำหนดกรอบความคิดในการวิจัย เพื่อทำการพัฒนาความรับผิดชอบในตนเองของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔/๕ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียนอนบุ าลภูเก็ต สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาภูเก็ต
3. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์
4. กำหนดกลมุ่ ประชากร ในการวิจัยคร้ังนไี้ ดก้ ำหนดกลุ่มประชากร คือ นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่
๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ภูเก็ต จำนวน ๔3 คน
5. สรา้ งเครื่องมือการวิจัย โดยผูว้ ิจัยศึกษาจากหลกั การ ทฤษฎี แนวคิด วัตถปุ ระสงค์ เพื่อจำแนกว่า
ควรสร้างเครื่องมือวัดด้านใดบ้างให้เหมาะสมกับสภาพของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศกึ ษา 256๓ โรงเรยี นอนบุ าลภเู ก็ต สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต จำนวน ๔3 คน
ท่นี ำมาทำการวจิ ยั ในคร้ังน้ี
6. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผ้วู ิจัยนำไดด้ ำเนนิ การเก็บขอ้ มูลดวั ยตัวเองโดยการสังเกต ใหน้ กั เรียนกลุ่ม
ตัวอย่างไดต้ อบแบบสอบถาม
7. การสรุปผลการวิจัยและนำเสนอผลการวจิ ัย โดยนำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ข้อมูลและเขียนสรุปผล
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล

2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งที่ใช้ในการศกึ ษาคร้ังนี้ เป็นนักเรยี นท่ีเรยี นในกล่มุ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 256๓ โรงเรียนอนุบาลภเู กต็ สำนกั งาน
เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาภูเกต็ จำนวน ๔3 คน

16

3. เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
ในการทำวจิ ัยคร้งั นี้ เครอื่ งมอื ที่ใช้เปน็ แบบสังเกต แบบสอบถาม ทผี่ วู้ ิจัยสรา้ งข้นึ เอง

4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผ้วู จิ ัยได้ใช้การสงั เกตและนำเคร่อื งมอื ทสี่ ร้างขึน้ ให้นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา

ปีท่ี ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 256๓ โรงเรยี นอนุบาลภูเก็ต สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาภูเกต็ จำนวน ๔3 คน ได้ตอบแบบสอบถามและเกบ็ ข้อมลู ดว้ ยตนเอง

5. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผวู้ ิจยั ใช้คา่ ร้อยละในการวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติท่ใี ช้ ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ (%)

ค่าร้อยละ ใชส้ ญั ลักษณ์ % เขยี นเป็นสูตรในการคำนวณได้ดังนี้

% = จำนวนนักเรียนที่ตอบแต่ละขอ้ x 100
จำนวนนกั เรยี นทัง้ หมด

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

การศกึ ษาวิจัยการพฒั นาพฤตกิ รรมการเรยี นให้เปน็ ผู้มีความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ทีแ่ ละการเรยี นดีข้ึนใน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๓
โรงเรียนอนบุ าลภเู กต็ สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จำนวน ๔3 คน ปรากฏว่าได้รับความ
ร่วมมือจากนักเรียนเป็นอย่างดี จึงทำให้นักเรียนมีการพฒั นาพฤติกรรมสามารถตอบสนองต่อตัวนักเรยี นเอง

ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนที่ดีขึ้น มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการเรียนดีขึ้น
ผูว้ ิจัยได้ดำเนินการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตามลำดับข้ันตอนดงั น้ี

1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
2. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะหข์ ้อมูล

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้การดำเนินติดตามข้อมูลด้วยตัวเองโดยการสังเกต สัมภาษณ์ ให้
นักเรียนตอบแบบสอบถามและมกี ารตดิ ตามดแู ลพฤตกิ รรมและการเรียนของนักเรียน ดังน้ี

ผู้วิจัยไดด้ ำเนินการศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 256๓ โดยการสังเกตพฤติกรรมและการเรียนของนักเรียนในชั่วโมง ขณะที่ทำการสอน และ
สอบถามจากครูแต่ละวิชาที่ทำการสอน ซึ่งพบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมการเรียน ขาดความ

รับผิดชอบ เช่น มาสาย ไม่สนใจเรียน ไม่ส่งงานตามกำหนดเวลา บางครั้งไม่มาเรียน มีการจดบันทึกและ
ติดตามนกั เรยี นเปน็ รายกรณี โดยการวา่ กล่าวตกั เตอื นและมกี ารใหน้ ักเรียนตอบแบบสอบถาม สรุปไดด้ งั นี้

ตารางแสดงความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบและความสนใจการเรยี น
ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๕ (คร้ังท่ี 1)

ขอ้ รายการ ทำเปน็ ทำเปน็ ไมเ่ คย
1 นักเรยี นมักนำงานวชิ าอืน่ มาทำขณะทกี่ ำลังเรยี นวชิ าหนง่ึ ประจำ บางครงั้ ทำ
2 นกั เรยี นพดู คยุ และเลน่ เพื่อนในขณะที่ครสู อน 69.77 30.23
3 นกั เรยี นส่งงานและการบา้ นตรงเวลาท่ีครูกำหนด - 72.09 4.65
4 นกั เรยี นนอนหลบั ในห้องเรียนขณะชว่ั โมงเรยี น 23.26 86.05 4.65
5 นักเรยี นไมท่ ำการบา้ นและลอกการบา้ นเพ่ือน 9.30 4.65 90.70
6 นักเรียนทำผดิ จะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ ้อแท้ 4.65 34.89 55.81
7 นักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 9.30 39.53 -
8 นกั เรยี นมาเรยี นตรงเวลาและตงั้ ใจเรยี น 60.47 53.49 -
9 นักเรียนใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนโ์ ดยการอ่านหนงั สือ 46.51 62.79 -
10 นกั เรยี นรูจ้ กั วางแผนและเตรยี มพรอ้ มทจี่ ะศึกษาต่อในประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ 37.21 62.79 23.26
13.95 20.93 53.49
25.58

จากแบบสอบถามนักเรียนเก่ยี วกบั ความรับผดิ ชอบในห้องเรยี น (ครง้ั ท่ี 1) สรุปได้ ดงั น้ี
นักเรียนมักนำงานวชิ าอื่นมาทำ ขณะท่กี ำลังเรียนวชิ าหนง่ึ นักเรียนทท่ี ำเป็นบางครั้งมากท่สี ดุ คิดเป็น

ร้อยละ 69.77

18
นักเรียนพูดคุยและเล่นเพื่อนในขณะที่ครูสอน นักเรียนที่ทำเป็นบางครั้งมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ

72.09
นักเรยี นสง่ งานและการบา้ นตรงเวลาท่ีครูกำหนด นกั เรยี นท่ที ำเป็นบางครงั้ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ

86.05
นกั เรียนนอนหลบั ในหอ้ งเรียนขณะชว่ั โมงเรยี น นกั เรียนทไี่ ม่เคยทำมากทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.70
นักเรียนไม่ทำการบ้านและลอกการบ้านเพอื่ น นักเรยี นที่ไม่เคยทำมากทสี่ ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.81

นักเรียนทำผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ นักเรียนที่ทำเป็นประจำมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
60.47

นักเรียนมีความรบั ผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนที่ทำเป็นบางครัง้ มากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 53.49

นกั เรยี นมาเรียนตรงเวลาและตั้งใจเรยี น นกั เรียนทที่ ำเป็นบางครงั้ มากท่สี ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.79

นักเรียนใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชนโ์ ดยการอ่านหนังสอื นักเรียนท่ีทำเป็นบางครั้งมากทีส่ ุด คิดเป็น
ร้อยละ 62.79

นักเรียนรู้จักวางแผนและเตรียมพร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในประถมศึกษาปีท่ี ๕ นักเรียนทีไ่ ม่เคยทำมาก
ทส่ี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 53.49

หลังจากที่ผู้วิจัยได้ทำการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและได้ใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับความ

รับผดิ ชอบและความสนใจการเรียนในรายวิชาภาษาไทยของนกั เรยี น โดยให้นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๕
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 256๓ จำนวน ๔3 คน ตอบแบบสอบถามด้วยความจริงแล้วนำมาสรุปโดยใช้ค่า

ร้อยละในการวเิ คราะห์ผลการวิจัย (จากแบบสรุปผลการตอบแบบสอบถาม) และประกอบกับผลการเรียนใน
ต้นภาคเรียน ทำใหผ้ ู้วจิ ยั ได้ทำการสงั เกตนักเรียนที่มีพฤตกิ รรมในลักษณะดงั กลา่ วและมีผลการเรียนค่อนข้าง
ตำ่ ซงึ่ ผวู้ จิ ยั จะทำการวจิ ัยเพื่อเปน็ การพัฒนาพฤติกรรมให้นกั เรียนในห้องเรียนมีความรับผิดชอบตั้งใจเรียนจึง

ได้ดำเนินการโดยให้แตล่ ะคนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นและรว่ มกันสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ภายในหอ้ งเรียน
ให้เอื้อต่อการเรียนการสอนโดยการวางเงื่อนไขกันภายในห้องเรียนสร้างแรงจูงใจและสรา้ งความตระหนกั ให้

นักเรียนเหน็ ถงึ ผลของการไม่มีความรบั ผิดชอบและไม่ต้ังใจเรยี น โดยไดด้ ำเนินการ ดงั น้ี
- ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนตกลงใหค้ ำม่ันสัญญา
- ขอความร่วมมอื จากครูที่ทำการสอนทุกท่านให้ขอ้ มูลดา้ นพฤติกรรมของนกั เรยี นขณะเรยี นในแต่ละ

วชิ า
- ขอความร่วมมือกับเพื่อนภายในห้องเรียน โดยการจัดเป็นกลุ่ม ๆ ช่วยกันดูแล โดยครูจะคัดเลือก

นักเรียนที่มีความรับผิดชอบ ตั้งใจเรียนและมีผลการเรียนค่อนข้างดี เพื่อเป็นพี่เลี้ยงภายในกลุ่ม และให้
นักเรียนที่เหลือเข้ารวมกลุ่มกันเองตามความสมัครใจ ซึ่งนักเรียนที่เป็นพี่เลี้ยงให้ดูแลภายในกลุ่ม เช่น ดูแล
เกีย่ วกบั พฤติกรรม การขาดเรยี น มาสาย การเรียน การส่งงาน รวมทัง้ พฤติกรรมที่ผิดระเบยี บ ฯลฯ นักเรียน

จะเข้ากลุ่มร่วมกันทำงานและคอยให้คำปรึกษาช่วยเหลือกรณีไม่เข้าใจบทเรียน อ่านหนังสือ และทำงานจน
สำเรจ็

ผู้วิจัยได้ติดตาม ดูแลและสังเกตนักเรียนเป็นระยะ ๆ และในกรณีที่นักเรียนมีปัญหาไม่ว่าจะเป็น
ปัญหาด้านพฤติกรรมและการเรียนครูและนักเรียนร่วมกันแก้ปัญหา และมีการติดตามให้มาเรียนและชี้ให้
นักเรียนเห็นความสำคัญของการเรียน ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทำให้บรรยากาศการเรียนรู้ภายใน

ห้องเรียนดีขนึ้ ผู้วิจยั ไดส้ ังเกตพบวา่ พฤติกรรมของนกั เรียนภายในหอ้ งหลงั จากมีการแบง่ กลมุ่ เปน็ กลมุ่ ย่อย ๆ

19
แลว้ ใหเ้ พ่ือนคอยแนะนำเพื่อนไมว่ า่ จะเป็นดา้ นพฤตกิ รรมและการเรียน พบวา่ นกั เรยี นมีความกระตือรอื ร้นใน
การเข้าร่วมกิจกรรม และเอาใจใส่ต่อการเรียนมากขึ้น โดยดูจากพฤติกรรมการเรียน การส่งงานตรง
กำหนดเวลา โดยภาพรวมของนักเรียนในห้องปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ตั้งใจเรยี น ช่วยเหลือซ่งึ กันและกนั มากข้ึน มี
น้ำใจ รู้จักเสียสละ มีการพฒั นาพฤตกิ รรมการมาเรยี นใหม้ าทันเรยี น และมคี วามรบั ผิดชอบในการส่งงานตรง
เวลามากขนึ้

หลังจากผู้วิจัยเห็นการพัฒนาพฤติกรรมให้นักเรียนเป็นผู้มีความรั บผิดชอบต่อการเรียนแ ละมี
บรรยากาศภายในห้องเรียนดีขึ้น ครูก็มีการพดู คุยและร่วมกันประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมของแตล่ ะคน
โดยการสัมภาษณ์และให้นักเรียนแต่ละคนตอบแบบสอบถามอกี ครั้งแล้วนำมาสรุปเปรียบเทียบกับการตอบ
แบบสอบถามครั้งแรก พบว่า นักเรียนมีความรัก สามัคคีในหมู่คณะ มีความรับผิดชอบ มาเรียนเป็นประจำ
ตงั้ ใจเรียนและทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย มีผลการเรียนดขี ้ึน

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
จากผลการวิเคราะหข์ ้อมูลจากการสังเกต การสมั ภาษณ์ ขอ้ มลู ด้านการเรยี น การตอบแบบสอบถาม

จากนกั เรยี น รวมทัง้ ดูแลดา้ นการเรยี นให้มีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และจากการสอบถามคุณครูท่ีเข้าสอน

ปรากฏว่านกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๕ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 256๓ จำนวน ๔3 คน มีความเอาใจ

ใส่ต่อการเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากขึ้น และมีความรบั ผิดชอบต่อการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย ส่ง

งานตรงกำหนดเวลา สง่ ผลทำใหผ้ ลการเรียนและมีความรบั ผดิ ชอบและความสนใจการเรยี นของนกั เรียน โดย

สรุปจากผลการเปรียบเทยี บจากการตอบแบบสอบถาม ดังนี้

ตารางแสดงความมีวินยั ความรบั ผิดชอบและความสนใจการเรียน
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔/๕ (ครัง้ ที่ 2)

ขอ้ รายการ ทำเปน็ ทำเปน็ ไมเ่ คย
1 นกั เรยี นมักนำงานวชิ าอน่ื มาทำขณะทก่ี ำลงั เรยี นวชิ าหน่ึง ประจำ บางครัง้ ทำ
2 นักเรยี นพดู คุยและเลน่ เพอื่ นในขณะทคี่ รสู อน
3 นกั เรยี นส่งงานและการบ้านตรงเวลาทีค่ รกู ำหนด - 18.60 81.40
4 นักเรียนนอนหลับในห้องเรียนขณะช่วั โมงเรียน - 65.11 34.89
5 นักเรียนไม่ทำการบา้ นและลอกการบ้านเพ่ือน 23.26 76.74 -
6 นกั เรยี นทำผดิ จะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ อ้ แท้ - 4.65 95.35
7 นักเรียนมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 9.30 34.89 55.81
8 นกั เรียนมาเรียนตรงเวลาและตงั้ ใจเรียน 83.72 16.28 -
9 นักเรยี นใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชนโ์ ดยการอ่านหนังสือ 65.11 34.89 -
10 นกั เรียนรจู้ กั วางแผนและเตรยี มพรอ้ มท่ีจะศกึ ษาตอ่ ในประถมศึกษาปีที่ ๕ 60.47 39.53 -
30.23 60.47 9.30
62.79 37.21 -

จากแบบสอบถามนกั เรียนเกี่ยวกับความมีวินัยและรบั ผิดชอบในห้องเรยี นครัง้ ท่ี 2 พบวา่ นักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี ๔/๕ มีความกระตือรือร้น เอาใจใส่ต่อการเรียน และมีความรบั ผิดชอบมากขึ้น โดยสรุปได้
ดังนี้

20
นักเรียนมักนำงานวิชาอื่นมาทำขณะทีก่ ำลังเรียนวชิ าหนึ่ง นักเรียนที่ไม่เคยทำมากที่สุด คิดเป็น
รอ้ ยละ 81.40
นักเรียนพูดคุยและเล่นเพื่อนในขณะที่ครูสอน นักเรียนที่ทำเป็นบางครั้งมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
65.11
นักเรียนสง่ งานและการบ้านตรงเวลาที่ครูกำหนด นกั เรียนท่ีทำเป็นบางครงั้ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
76.74
นกั เรียนนอนหลับในหอ้ งเรียนขณะชัว่ โมงเรยี น นกั เรียนท่ีไมเ่ คยทำมากทส่ี ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 95.35
นักเรยี นไมท่ ำการบ้านและลอกการบา้ นเพอื่ น นักเรยี นทไ่ี ม่เคยทำมากทสี่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 55.81
นักเรียนที่ทำผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ นักเรียนที่ทำเป็นประจำมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
83.72
นักเรียนมีความรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ไี ด้รบั มอบหมาย นักเรยี นท่ที ำเป็นประจำมากทีส่ ุด คดิ เป็นร้อยละ
65.11
นกั เรยี นมาเรียนตรงเวลาและต้งั ใจเรยี น นักเรียนทท่ี ำเป็นประจำมากทส่ี ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 60.47

นักเรยี นใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชนโ์ ดยการอ่านหนังสือ นกั เรยี นที่ทำเป็นบางครั้งมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
60.47

นักเรยี นรจู้ ักวางแผนและเตรียมพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ นักเรียนที่ทำเป็นประจำมาก

ทสี่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.79

บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ความมุ่งหมาย
เพื่อเป็นการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของ

นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔/๕ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 256๓ โรงเรยี นอนุบาลภเู กต็ จำนวน ๔3 คน

ประชากร/กลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากร / กลมุ่ ตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครั้งน้เี ป็นนักเรยี นทเี่ รยี นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต สำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเกต็ จำนวน ๔3 คน

เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศกึ ษาค้นควา้
เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ คอื การสงั เกต และการสมั ภาษณ์ การพูดคยุ การใชค้ ำมัน่ สัญญา

และทฤษฎีเสริมแรง

วธิ ีการดำเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ในการทำวจิ ัยครง้ั น้ี เครือ่ งมือทใี่ ช้เปน็ แบบสงั เกต แบบสอบถาม ท่ผี วู้ จิ ัยสรา้ งขึน้ เอง

การวิเคราะห์ข้อมลู
ผูว้ จิ ัยใช้ค่ารอ้ ยละในการวิเคราะห์ข้อมูล

สรุปผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลด้านการเรียน และการตอบแบบสอบถามจาก

นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการเรียนให้มีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากคุณครูที่เข้าสอน ซึ่ง
นักเรียนใหค้ วามรว่ มมอื เปน็ อย่างดี ทำใหน้ กั เรียนมีความกระตอื รอื รน้ ตอ่ การมาเรยี นและการเรียนมากขนึ้ ใน
การทำวิจัยครั้งนีป้ รากฏว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๕ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๓ โรงเรียน
อนบุ าลภเู กต็ จำนวน ๔3 คน มีความเอาใจใสต่ ่อการเรียน รับผดิ ชอบและสนใจเรียนมากขึ้น โดยสังเกตจาก
บรรยากาศการเรยี นภายในห้องเรียนทม่ี ีความตั้งใจเรียนมากขน้ึ มีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ี ไมข่ าดเรียนหรือ
มาสาย ทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงกำหนดเวลา รู้จักช่วยเหลือซึง่ กัน โดยดูจากการสังเกต การ
สัมภาษณ์ ผลการเรียนและสรุปผลการเปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรับผิดชอบและ
ความสนใจการเรียนของนักเรยี น ดงั น้ี

22

ตารางเปรยี บเทยี บความมวี ินยั ความรับผดิ ชอบและความสนใจการเรยี น

ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4/5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 (คร้ังท่ี 1 และครัง้ ที่ 2)

ครั้งที่ 1 ครงั้ ที่ 2

ข้อ รายการ ทำเป็น ทำเป็น ไม่เคย ทำเป็น ทำเปน็ ไมเ่ คย

ประจำ บางครงั้ ทำ ประจำ บางครั้ง ทำ

1 นักเรยี นมกั นำงานวชิ าอืน่ มาทำขณะท่ีกำลัง - 69.77 30.23 - 18.60 81.40

เรียนวิชาหน่งึ

2 นักเรยี นพูดคยุ และเล่นเพ่ือนในขณะท่ีครูสอน 23.26 72.09 4.65 - 65.11 34.89

3 นกั เรยี นส่งงานและการบ้านตรงเวลาท่คี รู 9.30 86.05 4.65 23.26 76.74 -

กำหนด

4 นกั เรยี นนอนหลับในห้องเรียนขณะชัว่ โมงเรยี น 4.65 4.65 90.70 - 4.65 95.35

5 นกั เรียนไม่ทำการบา้ นและลอกการบา้ นเพอื่ น 9.30 34.89 55.81 9.30 34.89 55.81

6 นักเรียนทำผดิ จะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ อ้ แท้ 60.47 39.53 - 83.72 16.28 -

7 นกั เรียนมคี วามรบั ผิดชอบต่องานทไี่ ดร้ ับ 46.51 53.49 - 65.11 34.89 -

มอบหมาย

8 นกั เรียนมาเรียนตรงเวลาและต้งั ใจเรยี น 37.21 62.79 - 60.47 39.53 -

9 นกั เรยี นใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการ 13.95 62.79 23.26 30.23 60.47 9.30

อา่ นหนงั สือ

10 นกั เรียนรู้จกั วางแผนและเตรยี มพรอ้ มท่จี ะ 25.58 20.93 53.49 62.79 37.21 -

ศึกษาต่อในประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

จากแบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับความรับผิดชอบในห้องเรียน เมื่อนำผลสรุปของการตอบ
แบบสอบถามคร้งั ท่ี 1 และครง้ั ที่ 2 พบวา่ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔/๕ มีความกระตือรือรน้ เอาใจใส่ต่อ
การเรียน และมีความรับผิดชอบมากขึ้น จากตารางพบว่า ในการตอบแบบสอบถามครั้งท่ี 2 นักเรียนมี
พฤตกิ รรมดังกล่าวมากกว่าครง้ั ท่ี 1 หากพจิ ารณาในภาพรวมจะเหน็ ไดว้ ่าดขี ้นึ อย่างเหน็ ได้ชัด คือ นักเรียนไม่
นำงานวิชาอื่นมาทำขณะที่กำลังเรียนวิชาหนึ่ง ไม่คุยและเล่นกบั เพือ่ นในขณะที่ครูสอน ส่งงานและการบ้าน
ตรงเวลาทีค่ รูกำหนด ไม่นอนหลับในหอ้ งเรียนขณะช่ัวโมงเรยี น ทำการบ้านและไมล่ อกการบ้านเพื่อน ทำผิด
จะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มาเรียนตรงเวลาและตั้งใจเรียน
รูจ้ ักวางแผนและเตรยี มพรอ้ มที่จะศกึ ษาตอ่ ในชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ และใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์โดยการ
อ่านหนังสือ ทำให้นักเรียนสามารถพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการ
เรยี น สง่ ผลใหก้ ารเรยี นดีขนึ้
ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรมีการตดิ ตามอย่างต่อเน่ือง
2. ครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมมือกันแก้ไขและสะท้อนปัญหาต่าง ๆ ของ
นกั เรียน ทำใหน้ กั เรียนมีการพฒั นาพฤติกรรมและการเรยี น

บรรณานุกรม

ขวัญเฉลมิ ตนั ประเสรฐิ .(2553).การปรบั พฤตกิ รรมในช้ันเรยี น [online] สืบคน้ เมือ่ 20 มิถุนายน 2561
จาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/395511

จีราภา เตง็ ไตรรตั น์ และคณะ.(2533). จติ วทิ ยาทั่วไป. พิมพค์ รั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร:
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 364 หนา้ .

จุมพล หนมิ พานชิ และคณะ.(2542). จิตวทิ ยาท่ัวไป. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
ชม ภูมภิ าค. (2516). จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานชิ .
ทฤษฏกี ารเรียนร้แู บบวางเงื่อนไข แบบการกระทำของสกนิ เนอร์[online] สบื คน้ เมอื่ 20 มถิ ุนายน 2561

จาก http://school.obec.go.th/science_wp/suppm/5E.htm
พรรณี ชูทัย เจนจติ . 2538. จิตวิทยาการเรียนการสอน. (พมิ พ์ครั้งท่ี 4). กรุงเทพมหานคร :

บรษิ ัทคอมแพคท์พริน้ ท์จำกัด.
โยธิน คนั สนยทุ ธ และคณะ.(2533). จิตวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร: ศนู ย์สง่ เสริมวชิ าการ, 381 หนา้ .
อารยา อนิ ทร์จนั ทร์.(2548). การปรับพฤตกิ รรมการขาดความรับผดิ ชอบของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษา

[Onlineสืบคน้ เมื่อ 20 มิถุนายน 2561 จากhttp://cdn.learners.in.th/assets/
media/files/000/060/877/ original_CAR4.pdf?1285552221


Click to View FlipBook Version