The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iamnatakorn, 2020-06-10 22:51:14

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 2561

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาสที่ 4 ปี 2561

ISSN 1685-0408

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จังหวดั อานาจเจรญิ

ไตรมาสที่ 4 : ตลุ าคม – ธันวาคม 2561

สานักงานสถิติจงั หวดั อานาจเจริญ
สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติ
กระทรวงดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จังหวัดอานาจเจรญิ

ไตรมาสท่ี 4 : ตลุ าคม – ธนั วาคม 2561

สานกั งานสถติ จิ งั หวัดอานาจเจริญ
สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
กระทรวงดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม

หนว่ ยงานเจ้าของเรอ่ื ง สำนกั งำนสถิติจังหวัดอำนำจเจรญิ
ศำลำกลำงจังหวัดอำนำจเจริญ ชนั้ 3
หน่วยงานท่เี ผยแพร่ อ.เมอื งอำนำจเจรญิ จ.อำนำจเจรญิ 37000
โทรศพั ท์ 0 4552 3040
ปที จ่ี ดั พิมพ์ โทรสำร 0 4552 3120
จดั พมิ พโ์ ดย ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ : [email protected]

กองสถติ ิพยำกรณ์
สำนักงำนสถติ ิแห่งชำติ
ศูนย์รำชกำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำฯ
อำคำรรัฐประศำสนภักดี ชน้ั 2
ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศพั ท์ 0 2143 1323 ตอ่ 17496
โทรสำร 0 2143 8132
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

2562
สำนักงำนสถิติจงั หวัดอำนำจเจรญิ

คำนำ

สำนักงำนสถติ ิแห่งชำติ ได้เรมิ่ จัดทำโครงกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร มำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506
ในช่วงปี พ.ศ. 2514-2526 ได้ทำกำรสำรวจปีละ 2 รอบโดยรอบแรกเป็นกำรสำรวจนอกฤดูกำรเกษตรระหว่ำง
เดือนมกรำคมถึงเดอื นมีนำคมรอบท่ี 2เป็นกำรสำรวจในฤดูกำรเกษตรระหวำ่ ง เดือนกรกฎำคมถงึ เดือนกันยำยน
และช่วงปี พ.ศ. 2527-2540 ทำกำรสำรวจเป็นปีละ 3 รอบ คือ รอบที่ 1 สำรวจในเดือนกุมภำพันธ์ รอบท่ี 2
สำรวจในเดือนพฤษภำคม รอบท่ี 3 สำรวจในเดือนสิงหำคม และช่วงปี พ.ศ. 2541-2543 ทำกำรสำรวจ
เพมิ่ ขึน้ อกี 1 รอบ เป็นรอบที่ 4 ในเดอื นพฤศจกิ ำยน ซึง่ ทำให้ได้ขอ้ มูลเป็นรำยไตรมำส

ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป กำรสำรวจโครงกำรน้ีไดจ้ ดั ทำเป็นรำยเดอื นทุกๆ เดอื นสว่ นกำรเสนอ
ผลกำรสำรวจน้นั ในปี พ.ศ. 2544 นำเสนอผลทกุ เดือนตงั้ แต่เดือนกุมภำพันธถ์ ึงเดอื นธนั วำคม โดยเอำข้อมูลที่
ได้จำกกำรสำรวจคร้ังละ 3 เดือน มำประมวลผลและหำค่ำเฉลี่ยเคลื่อนที่ (ค่ำเฉล่ียเคล่ือนที่ 3 เดือน) ซ่ึงผล
ของกำรสำรวจจะสะท้อนถึงค่ำประมำณของเดือนท่ีอยู่กลำงคำบเวลำสำรวจนั้นๆ และกำรเสนอผลต้ังแต่
พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป จะนำเสนอปีละ 4 ฉบับเป็นรำยไตรมำส สำหรับผู้ที่ต้องกำรใช้ข้อมูลเป็นรำยเดือน
ในลักษณะเดมิ ยังสำมำรถตดิ ต่อขอขอ้ มูลไดท้ ี่สำนักงำนสถติ ิจังหวดั

สำหรับรำยงำนฉบับน้ี เป็นกำรเสนอผลกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร ไตรมำสท่ี 4 :
ตุลำคม – ธันวำคม 2561 ของจังหวัดอำนำจเจริญ ท่ีได้ดำเนินกำรสำรวจระหว่ำงเดือน ตุลำคม – ธันวำคม 2561
เนื่องจำกข้อมูลที่นำเสนอในรำยงำนฉบับนี้ได้มำจำกกำรสำรวจด้วยระเบียบวิธีตัวอย่ำงซ่ึงอำจจะมีควำม
คลำดเคลอ่ื นจำกกำรเลือกตัวอยำ่ งและควำมคลำดเคลื่อนอ่นื ๆ รวมอยู่ด้วย จึงขอให้ผใู้ ช้ข้อมลู ได้คำนึงถึงเรื่องนี้
ในกำรใชต้ วั เลขด้วย

บทสรปุ สำหรบั ผ้บู ริหำร

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือ จังหวัดอำนำจเจริญ มีประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป
เศรษฐกิจและสังคม ดำเนินกำรสำรวจภำวะกำรทำงำน จำนวน 219,707 คน เป็นผู้ในกำลังแรงงำน 145,479 คน
ของประชำกรหรือสำรวจแรงงำนอย่ำงต่อเนื่องเป็น (ประกอบด้วยผู้มีงำนทำ 145,285 คน ผู้ว่ำงงำน 193 คน)
ประจำทุกปี เริ่มตั้งแต่ ปี 2506 โดยในช่วงแรก แ ล ะ ผู้ อ ยู่ น อ ก ก ำ ลั ง แ ร ง งำ น อี ก 7 4 ,2 2 8 ค น
สำรวจเพียงปีละ 2 รอบ รอบแรกเป็นกำรสำรวจนอก (ประกอบด้วยผู้ทำงำนบ้ำน 20,383 คน ผู้เรียนหนังสือ
ฤดกู ำรเกษตร รอบที่ 2เป็นฤดูกำรเกษตร ตอ่ มำในปี 2527 18,038 คน และอื่นๆ เช่น ชรำ พิกำรจนไม่สำมำรถ
ถึง 2540 สำรวจปีละ 3 รอบ โดยเพิ่มสำรวจช่วงเดือน ทำงำนได้ 35,808 คน)
พ ฤ ษ ภ ำ ค ม เพ่ื อ ดู แ ร ง ง ำ น ที่ จ บ ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ให ม่ เข้ ำ สู่
ตลำดแรงงำน และในปี 2541 ไดเ้ พิ่มกำรสำรวจข้ึนอีก 2. ผมู้ ีงำนทำ
1 รอบ ในเดือนพฤศจิกำยน เป็นช่วงฤดูกำลเก็บเกี่ยว
ผลผลิตกำรเกษตร ท ำให้เป็ นกำรสำรวจภ ำวะ 2.1 อำชพี
กำรทำงำนของประชำกรครบท้ัง 4 ไตรมำสของปี
แผนภมู ิ 1 จำนวนผมู้ งี ำนทำ จำแนกตำมอำชพี ไตรมำสที่ 4 พ.ศ. 2561
สำนั กงำน สถิติจังห วัดอำน ำจเจริญ ได้
ดำเนินกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกรใน จำนวน (คน) 92,065
ไตรมำสที่ 4 เดือนตลุ ำคม – ธนั วำคม 2561 ระหว่ำงวนั ที่ 80,000
1-12 ของเดือน มีครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่ำงท้ังส้ิน 840
ครัวเรือน เป็นครัวเรือนในเขตเทศบำล 480 ครัวเรือน และ 60,000
นอกเขตเทศบำล 360 ครัวเรือน สำหรับวิธีกำรเก็บ
รวบรวมข้อมูลใช้วิธีกำรสัมภำษณ์สมำชิกในครัวเรือน 40,000
ที่ตกเป็นตัวอย่ำง ผลกำรสำรวจทำให้ทรำบถึงภำวะ
กำรมีงำนทำและว่ำงงำนของประชำกรในจังหวัด 20,000 18,078 7,1744,631 4,602
อำนำจเจริญสรปุ ขอ้ มูลทีส่ ำคัญได้ ดงั นี้ 0 6,060 6,459 2,464 3,752
อำชพี
1. ลักษณะของกำลงั แรงงำน 1 234 56
78 9
แผนผังกำรจำแนกประชำกรตำมสถำนภำพแรงงำน
กำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร ไตรมำส ที่ 4 พ.ศ. 2561 1. ผู้บญั ญัตกิ ฎหมำย ข้ำรำชกำรระดับอำวุโส และผ้จู ัดกำร
2. ผปู้ ระกอบวชิ ำชพี ด้ำนต่ำงๆ
ผู้มีอำยุ 15 ปี ขนึ้ ไป 3. ผปู้ ระกอบวิชำชีพด้ำนเทคนิคสำขำตำ่ งๆ และอำชีพท่เี ก่ียวขอ้ ง
219,707 คน 4. เสมยี น
5. พนกั งำนบริกำรและพนักงำนในร้ำนค้ำ และตลำด
ผอู้ ยู่ในกำลังแรงงำน ผูอ้ ยนู่ อกกำลงั แรงงำน 6. ผปู้ ฏบิ ตั ิงำนท่ีมีฝมี ือในด้ำนกำรเกษตร และกำรประมง
(ผทู้ ่พี ร้อมทำงำน) (ผไู้ ม่พร้อมทำงำน) 7. ผู้ปฏิบัตงิ ำนดำ้ นควำมสำมำรถทำงฝมี ือ และธุรกจิ อ่ืนๆท่เี ก่ียวขอ้ ง
145,479 คน (66.2 %) 74,228 คน (33.8 %) 8. ผู้ปฏิบัตกิ ำรโรงงำนและเครือ่ งจักร และผปู้ ฏิบตั ิงำนด้ำนกำรประกอบ
9. อำชีพขนั้ พน้ื ฐำนต่ำงๆ ในดำ้ นกำรขำย และกำรให้บรกิ ำร
ผมู้ ีงำนทำ 145,285 คน ทำงำนบ้ำน 20,383 คน
สำหรับจำนวนผู้มีงำนทำ 145,285 คน ส่วนใหญ่
ผ้วู ำ่ งงำน 193 คน เรยี นหนังสอื 18,038 คน เป็นผู้ปฏิบัติงำน ที่มีฝีมือใน ด้ำนกำรเกษตรและ
กำรประมง 92,065 คน รองลงมำเป็นพนักงำนบริกำร
อนื่ ๆ 35,808 คน แล ะพ นั ก งำน ใน ร้ำน ค้ ำแล ะตลำด 18,078 ค น
คน ผู้ ป ฏิ บั ติ ง ำ น ด้ ำ น ควำมสำมำรถทำงฝี มื อและธุ รกิ จอื่ นๆ
ที่เกี่ยวข้อง 7,174 คน ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนต่ำง ๆ 6,459 คน
ที่เหลือเปน็ ผู้ประกอบอำชพี อ่ืนๆ

2.2 อตุ สำหกรรม 3. กำรว่ำงงำน

แผนภูมิ 2 เปรยี บเทยี บจำนวนผมู้ งี ำนทำ จำแนกตำมภำคอตุ สำหกรรม แผนภูมิ 3 จำนวนและอัตรำกำรวำ่ งงำน พ.ศ. 2560 - 2561
ท่สี ำคญั ไตรมำสท่ี 4 พ.ศ. 2560 – 2561

จำนวน (คน) 93,703 จำนวน (คน) รอ้ ยละ

100,000 2,000 1,944 1.6

8 0,000 80,216 1,600 1.4 1,553 1,546 1.4
60,000 1.2
59,671 51,582 1.1 1.1 1
0.8
1,200 847 0.6

40,000 800 576 635 0.7
626

20,000 400 0.4 0.4 0.4 193 0.4
0.1 0.2
พ.ศ.
00
0

2560 2561 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4
ภำคเกษตรกรรม นอกภำคเกษตรกรรม 2560 2561



ส ำห รับ จำน ว น ผู้ มี งำน ท ำ 145,2 85 ค น สำหรับจำนวนผู้วำ่ งงำนในไตรมำสที่ 4พ.ศ. 2561
ประกอบด้วย ผู้ทำงำนภำคเกษตรกรรม 93,703 คน มีจำนวนท้ังส้ิน 193 คน หรือคิดเป็นอัตรำกำรว่ำงงำน
และน อกภ ำคเกษ ต รกรรม 51,582 ค น ร้อยละ 0.1 เม่ือเปรียบทียบช่วงเวลำเดียวกันของ
เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมำสที่ 4 พ.ศ. 2560 พบว่ำ ปี 2560 จำนวนผู้ว่ำงงำนลดลง 442 คน (จำก 635 คน เป็น
จำนวนผู้ทำงำนในภำคเกษตรกรรมเพ่ิมขึ้น 13,487 คน 193 คน)
(จำก 80,216 คน เป็น 93,703 คน) และผู้ทำงำนนอก
ภำคเกษตรกรรมลดลง 8,089 คน (จำก 59,671 คน
เป็น 51,582 คน)

สารบัญ

คานา หนา้

บทสรุปสาหรบั ผ้บู รหิ าร ค

สารบญั ตาราง ง

บทท่ี 1 บทนา ช

1. ความเป็นมาและวัตถปุ ระสงค์ 1
2. คมุ้ รวม
3. สัปดาหแ์ ห่งการสารวจ 1
4. คาอธบิ ายศพั ท์ แนวคิด คาจากดั ความ 2
2
บทท่ี 2 ผลการสารวจท่ีสาคัญ 2

1. ลักษณะของกาลังแรงงาน 7
2. การมสี ่วนร่วมในกาลงั แรงงาน
3. ผูม้ ีงานทา 7
7
3.1 อาชพี 7
3.2 อตุ สาหกรรม 7
3.3 สถานภาพการทางาน 8
3.4 การศกึ ษา 8
3.5 ช่ัวโมงการทางาน 9
9
4. การว่างงาน
9
ภาคผนวก
11
ภาคผนวก ก ระเบยี บวิธี 13
ภาคผนวก ข ตารางสถติ ิ

สารบัญตาราง หนา้

ตาราง ก จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7
ตาราง ข จานวนและอัตราการมีสว่ นร่วมในกาลังแรงงาน จาแนกตามเพศ 7
ตาราง ค จานวนและรอ้ ยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ 8
ตาราง ง จานวนและรอ้ ยละของผ้มู ีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ 8
ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผูม้ ีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 9
ตาราง ฉ จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามการศกึ ษาทสี่ าเร็จและเพศ 9
ตาราง ช จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานตอ่ สัปดาห์และเพศ 9
ตาราง ซ จานวนและอตั ราการว่างงาน จาแนกตามเพศ 9

บทที่ 1
บทนำ

1. ควำมเป็นมำและวตั ถปุ ระสงค์

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ทำกำรสำรวจ หลังจำกเกิดภำวะวิกฤติทำงเศรษฐกิจกลำงปี
ภำวะกำรทำงำนของประชำกรท่ัวประเทศอย่ำง 2540 ควำมต้องกำรใช้ข้อมูลเพื่อกำรวำงแผนและ
ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เริ่มต้ังแต่ปี พ.ศ. 2506 กำหนดนโยบำยดำ้ นแรงงำนมีมำกข้ึนและเรง่ ด่วนข้ึน
โดยในช่วงแรกทำกำรสำรวจปีละ 2 รอบ และใน ในปี พ.ศ. 2544 จึงได้เร่ิมดำเนินกำรสำรวจเป็น
พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2540 ได้ทำกำรสำรวจปีละ รำยเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกันเพ่ือเสนอ
3 รอบ โดยรอบท่ี 1 ทำกำรสำรวจในเดือนกุมภำพันธ์ ข้อมูลเป็นรำยไตรมำส โดยข้อมูลท่ีสำคัญสำมำรถ
เป็นช่วงหน้ำแล้งนอกฤดูกำรเกษตร รอบที่ 2 สำรวจ นำเสนอในระดับจังหวัด สำหรับข้อมูลของเดือนที่
ในเดือนพฤษภำคม เป็นช่วงท่ีกำลังแรงงำนใหม่ ตรงกับรอบกำรสำรวจเดิม คือขอ้ มูลเดือนกุมภำพันธ์
ท่ีเพิ่งสำเร็จกำรศึกษำเร่ิมเข้ำสู่ตลำดแรงงำน รอบท่ี พฤษภำคม และ สิงหำคม ได้จัดทำสรุปผลกำร
3 สำรวจในเดือนสิงหำคม เป็นช่วงฤดูกำรเกษตร สำรวจเฉพำะข้อมูลที่สำคัญเพอื่ สำมำรถเปรียบเทียบ
และต่อมำใน พ.ศ. 2541 เป็นต้นมำ ได้เพิ่มกำร กบั ข้อมูลแต่ละรอบของปที ่ีผ่ำนมำได้ และกำรสำรวจ
สำรวจอีก 1 รอบ รวมเป็น 4 รอบ โดยทำกำรสำรวจ ต้ังแต่เดือนกันยำยน พ.ศ.2544 เป็นต้นมำ สำมำรถ
ในเดือนพฤศจิกำยนของทุกปี ซ่ึงเป็นช่วงฤดูกำรเก็บ นำเสนอผลของกำรสำรวจเป็นรำยเดือนทุกเดอื นโดย
เกี่ยวผลผลิตทำงกำรเกษตร ท้ังน้ีเพ่ือเป็นกำร ส ำ ม ำ ร ถ เส น อ ผ ล ใน ร ะ ดั บ ภ ำ ค เท่ ำ น้ั น เน่ื อ ง จ ำ ก
น ำ เส น อ ข้ อ มู ล ท่ี ส ะ ท้ อ น ถึ ง ภ ำ ว ะ ก ำ ร มี ง ำ น ท ำ ตัวอย่ำงไม่มำกพอที่จะนำเสนอในระดับย่อยกว่ำน้ี
กำรว่ำงงำนและกำรประกอบกิจกรรมต่ำงๆ ของ และในขณะเดียวกันได้มีกำรปรับอำยุผู้อยู่ในกำลัง
ประชำกรทั้งประเทศเป็นรำยไตรมำสและต่อเน่ือง แรงงำนจำก 13 ปีข้ึนไปเป็น 15 ปีข้ึนไป เพื่อให้
ครบทุกช่วงเวลำของปี สอดคล้องกับกฎหมำยกำรใช้แรงงำนเด็ก ปรับปรุง
กำรจัดจำแนกประเภทของอำชีพ อุตสำหกรรมและ
เน่ืองจำกควำมจำเป็นต้องกำรใช้ข้อมูล เพ่ือใช้ ส ถ ำ น ภ ำ พ ก ำ ร ท ำ ง ำ น ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ในกำรวำงแผนและกำหนดนโยบำยในระดับจงั หวัดมี ม ำต รฐ ำน ส ำก ล ใน ปั จ จุ บั น เพ่ื อ ให้ ส ำม ำร ถ
มำกข้ึน สำนักงำนสถิติแห่งชำติจึงได้กำหนดขนำด เปรียบเทียบข้อมูลกันได้ ปรับเขตกำรปกครองจำก
ตวั อยำ่ งเพ่มิ ขนึ้ โดยเร่ิมตั้งแต่ พ.ศ. 2537 ท้ังนี้เพื่อให้ เดิมเขตสุขำภิบำลถูกนำเสนอรวมเป็นนอกเขต
สำมำรถนำเสนอข้อมูลในระดับจังหวัดได้ โดยเสนอ เทศบำล มำรวมเป็นในเขตเทศบำล เน่ืองจำก
เฉพำะรอบกำรสำรวจของเดือนกุมภำพันธ์และเดือน พระรำชบัญญัติเปล่ียนแปลงฐำนะของสุขำภบิ ำลเป็น
สิงหำคมเท่ำนั้น กำรสำรวจรอบท่ี 4 ในเดือน เทศบำล พ.ศ. 2542
พฤศจิกำยน พ.ศ. 2541 ซ่ึงจัดทำเป็นคร้ังแรกได้
เสนอผลในระดับจังหวัดด้วยและตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 วัตถุประสงค์ที่สำคัญของกำรสำรวจภำวะกำร
เป็นต้นมำ ผลกำรสำรวจทั้ง 4 รอบได้เสนอผลใน ท ำ ง ำ น ข อ งป ร ะ ช ำ ก ร เพ่ื อ ป ร ะ ม ำ ณ จ ำ น ว น แ ล ะ
ระดับจังหวัด ลักษณะของกำลังแรงงำนภำยในประเทศและใน
จังหวัดต่ำง ๆ ในแต่ละไตรมำสของข้อมูลสถิติที่ได้
จำกกำรสำรวจ

2

1. จำนวนประชำกรในวัยทำงำน (อำยุ 15 ปี ไตรมำสที่ 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอำยุข้ันต่ำของ

ข้ึนไป) และจำนวนประชำกรนอกวัยทำงำนจำแนก ประชำกรวัยทำงำนเป็น 15 ปี

ตำมเพศ คำนิยำมทสี่ ำคัญ ๆ ทใี่ ช้ในกำรสำรวจ มดี งั น้ี
2. จำนวนประชำกรในวัยทำงำน จำแนก

ตำมสถำนภำพแรงงำน อำยุ เพศ สถำนภำพสมรส ผ้มู งี ำนทำ
กำรศกึ ษำท่ีสำเร็จ ผู้มีงำนทำ หมำยถึง บุคคลท่ีมีอำยุ 15 ปีข้ึนไป

3. จำนวนผู้มีงำนทำ จำแนกตำมลักษณะท่ี และในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีลักษณะอย่ำงหนึ่ง
น่ำสนใจ เช่น อำยุ เพศ กำรศึกษำท่ีสำเร็จ อำชีพ อย่ำงใด ดังตอ่ ไปน้ี
อุตสำหกรรม สถำนภำพกำรทำงำน ชั่วโมงทำงำน
ค่ำจำ้ ง เงินเดือน และผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ได้รับจำก 1. ได้ทำงำนตั้งแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับ
กำรทำงำน ค่ำจ้ำง เงินเดือน ผลกำไร เงินปันผลค่ำตอบแทนท่ีมี
ลักษณะอย่ำงอื่นสำหรับผลงำนที่ทำ เป็นเงินสด หรือ
4. จำนวนผู้ว่ำงงำน จำแนกตำมลักษณะ สง่ิ ของ
บำงประกำรที่น่ำสนใจ เช่น ระยะเวลำในกำรหำงำนทำ
งำนท่ีทำครัง้ สดุ ทำ้ ย สำเหตกุ ำรว่ำงงำน เปน็ ต้น 2. ไม่ได้ทำงำน หรอื ทำงำนนอ้ ยกว่ำ 1 ช่ัวโมง
แต่ เป็ น บุ ค คลท่ี มี ลักษ ณ ะอ ย่ำงห น่ึ งอ ย่ำงใด

2. คุ้มรวม ดงั ต่อไปนี้ (ซงึ่ จะถือวำ่ เป็น ผทู้ ปี่ กติมงี ำนประจำ)

ประชำกรท่ีอำศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคล 2.1 ยังได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือ
และครวั เรอื นกลุ่มบคุ คลประเภทคนงำน ผลประโยชน์อ่ืนๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจใน
ระหวำ่ งทีไ่ ม่ไดท้ ำงำน

3. สปั ดำหแ์ หง่ กำรสำรวจ 2.2 ไม่ได้รับค่ำตอบแทน ค่ำจ้ำง หรือ
ผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจำกงำนหรือธุรกิจใน
หมำยถึง ระยะเวลำ 7 วัน นับจำกวันก่อนวัน ระหว่ำงท่ีไม่ได้ทำงำน แต่ยังมีงำนหรือธุรกิจท่ีจะ
สัมภำษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภำษณ์คือ กลับไปทำ

วันท่ี 9 ตุลำคม พ.ศ. 2561 “ ระหว่ำง 7 วันก่อนวัน 3. ทำงำนอย่ำงน้อย 1 ช่ัวโมง โดยไม่ได้รับ

สัมภำษณ์ ” คือ ระหว่ำงวันท่ี 2 ถึง วันที่ 8 ตุลำคม ค่ำจ้ำงในวิสำหกิจหรือไร่นำเกษตรของหัวหน้ ำ
พ.ศ. 2561 ครวั เรอื นหรือของสมำชิกในครวั เรอื น

4. คำอธิบำยศพั ท์/แนวคิด/คำจำกัดควำม ผวู้ ่ำงงำน
ผู้ว่ำงงำน หมำยถึง บุคคลที่มีอำยุ 15 ปีข้ึน
สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ปรับปรุงแนวคิด
และคำนิยำมที่ใช้ในกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของ ไป และในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีลักษณะอย่ำงหนึ่ง
ประชำกรหลำยครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ อยำ่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี
สอดคล้องกับสภำพที่แท้จริงทำงสังคมและเศรษฐกิจ
ของประเทศตลอดจนควำมต้องกำรของผู้ใช้ข้อมูล 1. ไม่ได้ทำงำนและไม่มีงำนประจำ แต่ได้หำ
แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม ำ ต ร ฐ ำ น ส ำ ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก ำ ร งำน สมัครงำนหรือรอกำรบรรจุ ในระหว่ำง 30 วัน
แ รงงำน ร ะห ว่ำงป ระเท ศ (ILO) กั บ อ งค์ ก ำร กอ่ นวันสัมภำษณ์
สหประชำชำติ (UN) แนวคิดและคำนิยำมที่ใช้ใน
กำรสำรวจไตรมำสนี้ ได้เร่ิมใช้มำตั้งแต่รอบท่ี 1 2. ไม่ได้ทำงำนและไม่มีงำนประจำ และไม่ได้
พ.ศ. 2526 มีกำรปรับปรุงบ้ำงตำมลำดับ และตั้งแต่ หำงำนทำในระหว่ำง 30 วันก่อนวันสัมภำษณ์ แต่
พร้อมท่จี ะทำงำนในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ

3

กำลงั แรงงำนปัจจุบนั 7. ทำงำนให้แก่องค์กำร หรือสถำบันกำร

กำลังแรงงำนปัจจุบัน หมำยถึง บุคคลท่ีมี กุศลต่ำงๆ โดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงผลกำไรส่วนแบ่งหรือ
อำยุ 15 ปีขึ้นไป ซ่ึงในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีงำน สิ่งตอบแทนอย่ำงใด
8. ไมพ่ รอ้ มท่จี ะทำงำน เน่ืองจำกเหตุผลอนื่
ทำหรอื วำ่ งงำน ตำมคำนยิ ำมทไี่ ดร้ ะบขุ ำ้ งตน้

กำลังแรงงำนทรี่ อฤดูกำล งำน
กำลังแรงงำนที่รอฤดูกำล หมำยถึง บุคคล งำน หมำยถึง กิจกำรที่ทำที่มีลักษณะอย่ำง

ท่ีมีอำยุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจเป็นผู้ หนึ่งอยำ่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้
ไม่เข้ำข่ำยคำนิยำมของผู้มีงำนทำ หรือผู้ว่ำงงำน แต่
เป็นผู้รอฤดูกำลท่ีเหมำะสมเพ่ือที่จะทำงำน และเป็น 1. กิจกำรที่ทำแล้วได้รับค่ำตอบแทนเป็นเงิน
บุคคลท่ีตำมปกติจะทำงำนที่ไม่ได้รับส่ิงตอบแทนใน หรือส่ิงของ ค่ำตอบแทนท่ีเป็นเงิน อำจจ่ำยเป็น
ไร่นำเกษตร หรือธุรกิจซ่ึงทำกิจกรรมตำมฤดูกำล รำยเดือน รำยสปั ดำห์ รำยวัน หรอื รำยชนิ้
โดยมีหัวหน้ำครัวเรือน หรือสมำชิกคนอื่น ๆ ใน
ครัวเรอื นเปน็ เจำ้ ของหรอื ผดู้ ำเนินกำร 2. กิจกำรท่ีทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังที่จะ
ไดร้ บั ผลกำไร หรือสว่ นแบ่งเป็นกำรตอบแทน
กำลงั แรงงำนรวม
กำลังแรงงำนรวม หมำยถึง บุคคลทุกคนที่มี 3. กิจกำรท่ีทำให้กับธุรกิจของสมำชิกในครัวเรือน
โดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงหรือผลกำไรตอบแทนอย่ำงใดซ่ึง
อำยุ 15 ปีข้ึนไป ในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจเป็นผู้อยู่ สมำชิกในครัวเรือนที่ป ระกอบธุรกิจนั้น จะมี
ในกำลังแรงงำนปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถูกจัดจำแนกอยู่ สถำนภำพกำรทำงำน เป็นประกอบธุรกิจส่วนตัว
ในประเภทกำลังแรงงำนที่รอฤดูกำลตำมคำนิยำมที่ หรือนำยจำ้ ง
ได้ระบขุ ้ำงตน้
อำชพี
ผูไ้ มอ่ ยู่ในกำลังแรงงำน อำชีพ หมำยถึง ประเภทหรือชนิดของงำนท่ี
ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน หมำยถึง บุคคลที่
บคุ คลนั้นทำอยู่ บุคคลส่วนมำกมีอำชีพเดียว สำหรับ
ไม่เข้ำข่ำยคำนิยำมของผู้อยู่ในกำลังแรงงำนใน บุคคลท่ีในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีอำชีพมำกกว่ำ
สปั ดำห์แหง่ กำรสำรวจ คือ 1 อำชีพให้นับอำชีพที่มีชั่วโมงทำงำนมำกท่ีสุด
ถ้ำชั่วโมงทำงำนแต่ละอำชีพเท่ำกันให้นับอำชีพท่ีมี
บุคคลซ่ึงในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจมีอำยุ 15 รำยได้มำกกว่ำ ถ้ำชั่วโมงทำงำนและรำยได้ท่ีได้รับ
ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้ทำงำน และไม่พร้อมที่จะทำงำน จำกแต่ละอำชีพเท่ำกัน ให้นับอำชีพที่ผู้ตอบ
เนอื่ งจำกเปน็ ผูท้ ่ี สัมภำษณ์พอใจมำกท่ีสุด ถ้ำผู้ตอบสัมภำษณ์ตอบ
ไม่ได้ให้นับอำชีพท่ีได้ทำมำนำนท่ีสุด กำรจัดจำแนก
1. ทำงำนบำ้ น ประเภทอำชีพ ต้ังแต่ไตรมำสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรับใช้
2. เรยี นหนงั สือ ต ำ ม International Standard Classification
3. ยังเดก็ เกนิ ไป หรือชรำมำก of Occupation, 2008 (ISCO – 08) ขององค์กำร
4. ไม่สำมำรถทำงำนได้ เน่ืองจำกพิกำร แรงงำนระหวำ่ งประเทศ (ILO)
ทำงรำ่ งกำยหรือจติ ใจ หรอื เจ็บป่วยเรอ้ื รัง
5. ไม่สมคั รใจทำงำน ก่อน พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอำชีพจำแนก
6. ทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำง ผลกำไร ตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอำชีพของประเทศไทย
ส่วนแบ่ง หรือส่ิงตอบแทนอ่ืน ๆ ให้แก่บุคคลซึ่งมิได้ โดยอ้ำงอิง International Standard Classification
เปน็ สมำชกิ ในครวั เรือนเดยี วกัน of Occupation, 1988 (ISCO – 88)

4

อุตสำหกรรม ลูกจำ้ งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท

อุตสำหกรรม หมำยถึง ประเภทของกิจกรรม 4.1 ลูกจ้ำงรัฐบำล หมำยถึง ข้ำรำชกำร

ทำงเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินกำรโดยสถำนประกอบกำร พนักงำนเทศบำล พนักงำนองค์กำรบริหำรส่วน

ท่ีบุคคลนั้นกำลังทำงำนอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ จังหวัด ตลอดจนลูกจ้ำงประจำ และช่ัวครำวของ

ซ่ึงบุคคลนั้นได้ดำเนินกำรอยู่ในสัปดำห์แห่งกำร รัฐบำล

สำรวจ ถ้ำบุคคลหนึ่งมีอำชีพมำกกว่ำหน่ึงอย่ำง 4.2 ลูกจ้ำงรัฐวิสำหกิจ หมำยถึง ผู้ท่ี

ให้บันทึกอุตสำหกรรมตำมอำชีพที่บันทึกไว้ กำรจัด ทำงำนใหก้ บั หนว่ ยงำนรัฐวิสำหกิจ
จำแนกประเภทอุตสำหกรรม ต้ังแต่ไตรมำสที่ 1
พ.ศ. 2554 ปรั บใช้ ตำม Thailand Standard Industrial 4.3 ลู ก จ้ำงเอ ก ช น ห มำยถึง ผู้ท่ี

Classification, (TSIC 2009) ทำงำนให้กับเอกชน หรอื ธุรกิจของเอกชน รวมทั้งผู้ที่

รับจำ้ งทำงำนบำ้ น

กอ่ น พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอุตสำหกรรม 5. กำรรวมกลุ่ม หมำยถึง กลุ่มคนท่ีมำ
จำแนกตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอุตสำหกรรม
ของประเทศไทย โดยอ้ำงอิง International Standard ร่วมกันทำงำนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพึ่งตนเอง และ
Industrial Classification of All Economic ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน สมำชิกแต่ละคนมีควำม
Activities, (ISIC : 1989) เท่ำเทียมกันในกำรกำหนดกำรทำงำนทุกข้ันตอนไม่
ว่ำเป็นกำรลงทุน กำรขำย งำนอ่ืนๆ ของกิจกำรท่ีทำ

สถำนภำพกำรทำงำน ตลอดจนกำรแบ่งรำยได้ให้แก่สมำชิกตำมที่ตกลงกัน
สถำนภำพกำรทำงำน หมำยถึง สถำนะของ (กำรรวมกลุ่มดังกลำ่ วอำจจดทะเบยี นจดั ตงั้ ในรูปของ
สหกรณ์หรือไม่กไ็ ด้)
บุคคลที่ทำงำนในสถำนท่ีท่ีทำงำนหรือธุรกิจ แบ่ง
ออกเปน็ 5 ประเภท คือ กำรจัดจำแนกประเภทสถำนภำพกำรทำงำน
ตั้งแต่ไตรมำสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตำม International
1. นำยจ้ำง หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ Classification of Status in Employment, 1993
(ICSE – 93) ขององค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศ
ตนเองเพื่อหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้ำง (ILO) มีสถำนภำพกำรทำงำนเพิ่มข้ึนอีก 1 กลุ่มคือ
บุคคลอ่นื มำทำงำนในธุรกจิ ในฐำนะลกู จ้ำง

2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้ำง กำรรวมกล่มุ (Member of Producers’ Cooperative)

หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกจิ ของตนเองโดยลำพังผู้เดียว
หรืออำจมีบุคคลอ่ืนมำร่วมกิจกำรด้วยเพื่อหวังผล ชว่ั โมงทำงำน
กำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้ำงลูกจ้ำงแต่อำจมี
สมำชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงำนมำช่วยทำงำนโดย ช่ัวโมงทำงำน หมำยถึง จำนวนชั่วโมง
ไม่ได้รับค่ำจ้ำง หรือค่ำตอบแทนอย่ำงอื่นสำหรับงำน
ทที่ ำ ทำงำนจริงท้ังหมด ในสัปดำห์แหง่ กำรสำรวจ สำหรับ
บุคคลที่มีอำชีพมำกกว่ำหน่ึงอำชีพ ช่ัวโมงทำงำน
3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ หมำยถึง ยอดรวมของชัว่ โมงทำงำนทุกอำชพี สำหรับ
ผู้ที่มีงำนประจำซึ่งไม่ได้ทำงำนในสัปดำห์แห่งกำร
ค่ำจ้ำง หมำยถึง ผู้ท่ีช่วยทำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำง สำรวจใหบ้ ันทกึ จำนวนชว่ั โมงเป็น 0 ช่ัวโมง

ในไร่นำเกษตร หรอื ในธรุ กิจของสมำชิกในครวั เรอื น กำรสำรวจก่อนปี พ.ศ. 2544 ผู้ท่มี ีงำนประจำ

4. ลูกจ้ำง หมำยถึง ผู้ที่ทำงำนโดยได้รับ ซ่ึงไม่ได้ทำงำนในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ ให้นับ
จำนวนชั่วโมงทำงำนปกติต่อสัปดำห์เป็นชั่วโมง
ค่ำจ้ำงเป็นรำยเดือน รำยสัปดำห์ รำยวัน รำยช้ิน ทำงำน
หรือเหมำจ่ำย ค่ำตอบแทนท่ีได้รับจำกกำรทำงำน

อำจจะเป็นเงิน หรือสง่ิ ของ

5

รำยได้ของลกู จ้ำง ระดับกำรศกึ ษำที่สำเรจ็

รำยได้ของลูกจ้ำง หมำยถึง รำยได้ของผู้ที่มี ได้จำแนกกำรศึกษำตำมระดับกำรศึกษำท่ี

สถำนภำพกำรทำงำนเป็น ลูกจำ้ ง ท่ีได้รับมำจำกกำร สำเรจ็ ดงั น้ี

ทำงำนของอำชีพท่ีทำในสัปดำห์แห่งกำรสำรวจ ซึ่ง 1. ไม่มีกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคลท่ีไม่เคย
ประกอบด้วยค่ำจ้ำงและผลประโยชน์ตอบแทนอ่ืนๆ
สำหรับลกู จำ้ ง เขำ้ ศึกษำในโรงเรยี น หรือไมเ่ คยไดร้ บั กำรศึกษำ

ระยะเวลำของกำรหำงำนทำ 2. ต่ำกว่ำประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคลท่ี

ระยะเวลำของกำรหำงำนทำ หมำยถึง สำเร็จกำรศึกษำต่ำกว่ำชั้นประถมปีที่ 6 หรือ
ระยะเวลำท่ีผู้ว่ำงงำนได้ออกหำงำนทำ ให้นับตั้งแต่ ชั้นประถมปที ่ี 7 หรือช้ัน ม.3 เดิม
วนั ท่ีเรมิ่ หำงำนทำจนถงึ วันสดุ ทำ้ ยกอ่ นวนั สมั ภำษณ์
3. สำเร็จประถมศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่

คำบกำรแจงนบั สำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 6 หรือช้ัน
คำบกำรแจงนับ หมำยถึง ระยะเวลำท่ี ประถมปีที่ 7 หรือชั้น ม.3 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จ
ระดบั กำรศึกษำท่ีสูงกวำ่
พนักงำนออกไปสัมภำษณ์บุคคลในครัวเรือนตัวอย่ำง
ซง่ึ โดยปกตเิ ป็นวันท่ี 1 - 12 ของทกุ เดอื น 4. สำเร็จมัธยมศึกษำตอนต้น หมำยถึง

ประเภทของครัวเรือนทีอ่ ยใู่ นขอบข่ำยกำรสำรวจ บุคคลท่ีสำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ช้ัน ม.3 ม.ศ.3 หรือ
ม.6 เดิมขึน้ ไป แตไ่ มส่ ำเรจ็ ระดับกำรศึกษำทีส่ ูงกว่ำ
ครัวเรือนที่อยู่ในขอบข่ำยกำรสำรวจแบ่งได้
เปน็ 2 ประเภท คอื 5. สำเร็จมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย
5.1 สำยสำมัญ หมำยถึง บุคคลที่
1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย
สำเร็จกำรศึกษำประเภทสำมัญศึกษำต้ังแต่ช้ัน ม.6
ครวั เรือนหน่ึงคน คือ บุคคลเดยี วซ่ึงหุงหำอำหำรและ ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมข้ึนไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
จัดหำส่ิงอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็นแก่กำรครองชีพโดย กำรศึกษำท่ีสูงกว่ำ
ไม่เก่ียวกับผู้ใดซึ่งอำจพำนักอยู่ในเคหสถำนเดียวกัน
5.2 อำชีวศึกษำ หมำยถึง บุคคลท่ี
หรือครัวเรือนที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนข้ึนไปร่วมกัน
จัดหำ และใช้สิ่งอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็นแก่กำรครอง สำเร็จกำรศึกษำประเภทอำชีวศึกษำหรือวิชำชีพท่ี
ชพี ร่วมกัน ครัวเรือนส่วนบุคคลอำจอำศยั อยใู่ นเคหะ เรียนต่อจำกระดับมัธยมศึกษำตอนต้นหรือเทียบเท่ำ
ท่ีเป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ห้องชุด เรือแพ โดยมีหลักสูตรไม่เกิน 3 ปี และไม่สำเร็จระดับ
เปน็ ต้น กำรศกึ ษำทีส่ ูงกวำ่

2. ครวั เรอื นกลุม่ บุคคล 5.3 วิชำกำรศึกษำ หมำยถึง บุคคลที่
2.1 ประเภทคนงำน ได้แก่ ครัวเรือน
สำเร็จกำรศึกษำประเภทวิชำกำรศึกษำ (กำรฝึกหัด
ซ่ึงประกอบดว้ ย บุคคลหลำยคนอยกู่ นิ ร่วมกนั ในทอี่ ยู่ ครู) ในระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยหรือเทียบเท่ำข้ึน
แหง่ หนึง่ เชน่ ทพ่ี ักคนงำน เปน็ ตน้ ไปแต่ไม่สำเรจ็ ระดับกำรศึกษำทส่ี งู กวำ่

2.2 ประเภท สถำบัน ซ่ึงหมำยถึง 6. อุดมศกึ ษำ
6.1 สำยวิชำกำร หมำยถึง บุคคลที่
บุคคลหลำยคนอยู่ร่วมกันในสถำนที่อย่แู ห่งหนึ่ง เช่น
สถำนท่ีกักกัน วัด กรมทหำร โดยไม่แยกที่อยู่เป็น ส ำ เร็ จ ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ป ร ะ เภ ท ส ำ มั ญ ศึ ก ษ ำ ห รื อ ส ำ ย
สัดส่วนเฉพำะคนหรือเฉพำะครัวเรือน นักเรียนท่ีอยู่ วิชำกำร โดยได้รับวุฒิ บัตรระดับอนุปริญ ญ ำ
ประจำที่โรงเรียนหรือในหอพักนักเรียน เป็นต้น ปริญญำตรี โท เอก

ไมอ่ ยใู่ นค้มุ รวมของกำรสำรวจน้ี

6

6.2 สำยวิชำชีพ หมำยถึง บุคคลที่ 7. อำชีวศึกษำระยะส้ัน หมำยถึง บุคคลที่

สำเร็จกำรศกึ ษำประเภทอำชวี ศกึ ษำ หรอื สำยวิชำชีพ สำเร็จก ำรศึ ก ษ ำห รือก ำรฝึ ก อ บ รม ป ระเภ ท

ที่ได้รับประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง หรือเทียบเท่ำ อำชีวศึกษำที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1 ปี และได้รับ

อนปุ ริญญำ ปริญญำตรี ประกำศนียบัตรหรือใบรับรองเม่ือสำเร็จกำรศึกษำ

6.3 สำยวิชำกำรศึกษำ หมำยถึง พื้นควำมรู้ของผู้เข้ำเรียนได้กำหนดให้แตกต่ำงตำม
วิชำเฉพำะแต่ละอย่ำงที่เรียน แต่อย่ำงต่ำต้องจบ
บุคคลท่ีสำเร็จกำรศึกษำประเภทวิชำกำรศึกษำ และ ประถมปที ่ี 4 หรอื เทยี บเท่ำ
ได้รับประกำศนียบัตรระดับอนปุ รญิ ญำและปรญิ ญำตรี
8. อ่ืน ๆ หมำยถึง บุคคลท่ีสำเร็จกำรศึกษำ

ท่ีไม่สำมำรถเทียบชั้นได้

บทท่ี 2
สรุปผลการสารวจ

1. ลักษณะของกาลงั แรงงาน ตาราง ข จานวนและอัตราการมสี ว่ นร่วมในกาลงั แรงงาน

ผลกำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกรใน จาแนกตามเพศ หนว่ ย : คน
ไตรมำสที่ 4 : ตุลำคม – ธันวำคม พ.ศ. 2561 พบว่ำ จังหวัด
อำนำจเจริญ มีจำนวนประชำกรอำยุ 15 ปีข้ึนไป เพศ ประชากร ผ้อู ยใู่ นกาลงั อตั ราการมีสว่ นร่าม
จำนวน 219,707 คน ซึ่งอยู่ในกำลังแรงงำนจำนวน อายุ 15 ปขี น้ึ ไป แรงงาน ในกาลังแรงงาน
145,479 คน คิดเป็นร้อยละ 66.2 ของประชำกรอำยุ
15 ปีขึ้นไป ผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน จำนวน 74,228 คน ยอดรวม 219,707 145,479 66.2
หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 33.8
ชำย 106,395 81,220 76.3
หญงิ 113,312 64,259 56.7

ตาราง ก จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตาม หมำยเหตุ : อัตรำกำรมีส่วนรว่ มในกำลังแรงงำน = กำลงั แรงงำน X 100
ประชำกรทีม่ ีอำยุ 15 ปขี น้ึ ไป

สถานภาพแรงงาน และเพศ หนว่ ย : คน 3. ผมู้ งี านทา
3.1 อาชีพ
สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญงิ
ประชำกรของจังหวัดอำนำจเจริญที่มีงำนทำ
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
จำนวน 145,285 คน นั้น พบว่ำเป็นชำยจำนวน 81,027 คน
ผมู้ ีอายุ 15 ปขี ึน้ ไป 219,707 100.0 106,395 100.0 113,312 100.0
และหญิงจำนวน 64,259 คน คิดเป็นร้อยละ 55.8 และ
1. ผอู้ ยู่ในกำลังแรงงำน 145,479 66.2 81,220 76.3 64,259 56.7
44.2 ของจำนวนผู้มีงำนทำ
1.1กำลงั แรงงำนปจั จุบนั 145,479 66.2 81,220 76.3 64,259 56.7
สำหรับอำชีพของผู้มีงำนทำ ผลกำรสำรวจ
1.1.1 ผ้มู ีงำนทำ 145,285 66.1 81,027 76.1 64,259 56.7 ป รำก ฎ ว่ำส่ว น ให ญ่ เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ งำน ที่ มี ฝี มื อ ใน
ด้ำนกำรเกษตรและกำรประมง จำนวน 92,065 คน หรือ
1.1.2 ผวู้ ำ่ งงำน 193 0.1 193 0.2 -- คิดเป็นร้อยละ 63.4 โดยชำยมีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ
ชำยร้อยละ 68.3 หญิงร้อยละ 57.2 รองลงมำเป็น
1.2 ผู้ที่รอฤดกู ำล -- -- -- พนักงำนบริกำรและพนักงำนในร้ำนค้ำและตลำด มี
จำนวน 18,078 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 12.4 โดยหญิงมี
2.ผไู้ มอ่ ยใู่ นกำลงั แรงงำน 74,228 33.8 25,175 23.7 49,053 43.3 สัดส่วนสูงกว่ำชำย คอื หญงิ รอ้ ยละ 17.4 และชำยรอ้ ยละ
8.5 ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนควำมสำมำรถทำงฝีมือและธุรกิจ
2.1 ทำงำนบำ้ น 20,383 9.3 521 0.5 19,862 17.5 อ่นื ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีจำนวน 7,174 คน หรือคิดเป็นร้อยละ
4.9 โดยชำยมีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ ชำยร้อยละ 7.2
2.2 เรียนหนงั สอื 18,038 8.2 8,306 7.8 9,732 8.6 และหญิงร้อยละ 2.0 ที่เหลือเป็นผู้ประกอบอำชีพอื่นๆ
ได้แก่ ผู้ประกอบอำชีพขั้นพื้นฐำนต่ำงๆ ในด้ำนกำรขำย
2.3 อื่นๆ 35,808 16.3 16,348 15.4 19,459 17.2 และกำรให้บรกิ ำร ผปู้ ฏิบตั ิกำรโรงงำนและเครอื่ งจักรและ
ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนกำรประกอบ ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำน
2. การมีส่วนรว่ มในกาลังแรงงาน ต่ำงๆ ผู้บัญญัติกฎหมำย ข้ำรำชกำรระดับอำวุโสและ
ผู้จัดกำร ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนเทคนิคสำขำต่ำงๆ และ
ประชำกรของจังหวัดอำนำจเจริญอยู่ในกำลัง อำชพี ที่เก่ยี วขอ้ งและเสมยี น

แรงงำนท้ังสิ้น จำนวน 145,479 คน เป็นชำยจำนวน

81,220 คน และหญิงจำนวน 64,259 คน หรือคิดเป็น

ร้อยละ 55.8 และ 44.2 ของจำนวนผู้อยู่ในกำลังแรงงำน

ตำมลำดบั

สำหรับอัตรำกำรมีส่วนร่วมในกำลังแรงงำน
ซ่ึงหมำยถึง ร้อยละของประชำกรท่ีอยู่ในกำลังแรงงำน
(ประกอบด้วยผู้มีงำนทำ ผู้ว่ำงงำน และผู้ที่รอฤดูกำล)
ต่อประชำกรท่ีมีอำยุ 15 ปีขึ้นไป พบว่ำ จังหวัดอำนำจเจริญ
มีอัตรำกำรมีส่วนร่วมในกำลังแรงงำน ร้อยละ 66.2
โดยชำยมีอัตรำกำรมีส่วนร่วมในกำลังแรงงำนสูงกว่ำ
หญิง คอื ชำยร้อยละ 76.3 และหญงิ รอ้ ยละ 56.7

8

ตาราง ค จานวนและรอ้ ยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตาม ตาราง ง จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตาม

อาชพี และเพศ หน่วย : คน อุตสาหกรรมและเพศ หนว่ ย : คน

อำชีพ รวม ชำย หญงิ อุตสาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

100ย.0อดรวม 314475,0,2985 110000.0 18913,0,9207 100.0 15634,12599 110000.0 ยอดรวม 13457,20895 100.0 8119,30,2970 100.0 6154,32,1591001.00.0
1 6,060 4.2 4,2354 5.3 0 1,826 2.8 ภาคเกษตร 93,703 64.5 56,4195 69.6 37,2804 58.0

2 6,459 4.4 2,120 2.6 4,340 6.8 1 93,703 64.5 56,419 69.6 37,284 58.0

3 2,464 1.7 1,491 1.8 973 1.5 นอกภาคเกษตร 51,582 35.5 24,608 30.4 26,975 42.0

4 3,752 2.6 678 0.8 3,075 4.8 2 6,546 4.5 2,997 3.7 3,549 5.6

5 18,078 12.4 6,915 8.5 11,163 17.4 3 3,687 2.5 3,544 4.4 144 0.2

6 92,065 63.4 55,323 68.3 36,742 57.2 4 13,257 9.1 5,197 6.4 8,060 12.5

7 7,174 4.9 5,860 7.2 1,314 2.0 5 7,270 5.0 2,759 3.4 4,511 7.0

8 4,631 3.2 2,326 2.9 2,305 3.6 6 9,225 6.4 5,208 6.4 4,017 6.3

9 4,602 3.2 2,080 2.6 2,521 3.9 7 5,564 3.9 2,252 2.8 3,312 5.2

หมายเหตุ : อาชีพ 8 1,473 1.0 225 0.3 1,248 1.9

1. ผูบ้ ญั ญตั กิ ฎหมำย ขำ้ รำชกำรระดบั อำวุโส และผจู้ ัดกำร 9 4,560 3.1 2,426 3.0 2,134 3.3

2. ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนต่ำงๆ หมายเหตุ : อุตสาหกรรม

3. ผปู้ ระกอบวชิ ำชีพด้ำนเทคนคิ สำขำตำ่ งๆ และอำชพี ท่ีเก่ยี วข้อง 1. เกษตรกรรม กำรป่ำไม้และกำรประมง
2. กำรผลติ
4. เสมียน 3. กำรกอ่ สรำ้ ง

5. พนกั งำนบรกิ ำรและพนกั งำนในร้ำนคำ้ และตลำด 4 กำรขำยส่ง กำรขำยปลีก กำรซ่อมยำนยนตแ์ ละรถจักรยำนยนต์
5. ทพี่ ักแรมและกำรบริกำรด้ำนอำหำร
6. ผู้ปฏิบตั ิงำนท่มี ีฝมี อื ในดำ้ นกำรเกษตร และกำรประมง

7. ผปู้ ฏิบตั งิ ำนด้ำนควำมสำมำรถทำงฝมี ือ และธุรกจิ อืน่ ๆที่เก่ียวขอ้ ง 6. กำรบรหิ ำรรำชกำร กำรปอ้ งกนั ประเทศ และกำรประกันสงั คมภำคบังคบั

8. ผปู้ ฏิบัตกิ ำรโรงงำนและเครอื่ งจกั ร และผ้ปู ฏบิ ตั ิงำนด้ำนกำรประกอบ 7. กำรศกึ ษำ
8. กจิ กรรมดำ้ นสุขภำพและงำนสงั คมสงเครำะห์
9. อำชีพขนั้ พน้ื ฐำนต่ำงๆ ในดำ้ นกำรขำย และกำรใหบ้ ริกำร 9. อ่ืนๆ ได้แก่ ศลิ ปะ ควำมบนั เทงิ และนนั ทนำกำร กิจกรรมบรกิ ำร

3.2 อุตสาหกรรม ด้ำนอน่ื ๆ กำรจัดหำน้ำ กำรจัดกำร และกำรบำบัดนำ้ เสีย ของเสีย และสง่ิ
ปฏิกลู กำรขนส่งและสถำนทเ่ี กบ็ สินคำ้ กิจกรรมทำงกำรเงินและกำร
เม่ื อ พิ จ ำ ร ณ ำถึ งป ร ะ เภ ท อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม ห รื อ ประกันภยั ข้อมลู ขำ่ วสำรและกำรส่ือสำร กิจกรรมกำรจำ้ งงำนในครัวเรือน
ลักษณะของกำรประกอบกิจกรรม ของผู้มงี ำนทำในเชิง สว่ นบุคคลกจิ กรรมผลติ สินคำ้ และบรกิ ำร
เศรษฐกิจ จำกผู้มีงำนทำทั้งสิ้น 145,285 คน พบว่ำ
เป็นผู้มีงำนทำในภำคเกษตรกรรม จำนวน 93,703 คน 3.3 สถานภาพการทางาน
หรือคิดเป็นร้อยละ 64.5 ของผู้มีงำนทำ โดยชำย
มีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ ชำยร้อยละ69.6หญิงร้อยละ58.0 เมื่อพิจำรณำสถำนภำพกำรทำงำนของผมู้ ีงำนทำ
สำหรับผู้มีงำนทำนอกภำคเกษตรกรรม จำนวน ในไตรมำสนี้ พบว่ำ ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีทำงำนส่วนตัว
51,582 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 35.5 ส่วนใหญ่เป็น มีจำนวน 65,731 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 โดยชำย
ผู้ทำงำนในสำขำกำรขำยส่งและกำรขำยปลีก กำรซ่อม มีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ ชำยร้อยละ 54.7 และหญิง
ยำนยนต์และจักรยำนยนต์ มีจำนวน 13,257 คน ร้อยละ 33.2 รองลงมำคือ ช่วยธุรกิจครัวเรือน มีจำนวน
คิดเป็นร้อยละ 9.1 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่ำชำย คือ 42,792 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 29.4 โดยหญิงมีสัดส่วน
หญิงร้อยละ 12.5 และชำยร้อยละ 6.4 รองลงมำเป็น สูงกว่ำชำย คือ หญิงร้อยละ 39.0 ชำยร้อยละ 21.9
กำรบริหำรรำชกำร กำรป้องกันประเทศ และกำร ลูกจ้ำงรัฐบำล มจี ำนวน 17,559 คน คิดเป็นร้อยละ 12.1
ประกันสังคมภำคบังคับ มีจำนวน 9,225 คนคิดเป็น โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่ำชำย คือ หญิงร้อยละ 13.8 ชำย
ร้อยละ 6.4 โดยชำยมีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ ชำยร้อยละ ร้อยละ 10.7 ลูกจ้ำงเอกชน มีจำนวน 17,380 คน หรือ
6.4 และหญิง ร้อยละ 6.3 ท่ีพักแรมและบริกำรด้ำน คิดเป็นร้อยละ 12.0 โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่ำชำย คือ
อำหำร มีจำนวน 7,270 คน คิดเป็นร้อยละ 5.0 โดย หญิงร้อยละ 13.7 ชำยร้อยละ 10.6 นำยจ้ำง มีจำนวน
หญงิ มีสดั ส่วนสงู กวำ่ ชำย คือ หญิงรอ้ ยละ 7.0 และชำย 1,683 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.2 และกำรรวมกลุ่ม มี
ร้อยละ 3.4 ส่วนที่เหลือกระจำยอยู่ในอุตสำหกรรม จำนวน 141 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.1
ประเภทอ่นื ๆ

9

ตาราง จ จานวนและรอ้ ยละของผ้มู งี านทา จาแนกตาม โดยหญิงมีสัดส่วนสูงกว่ำชำย คือ หญิงร้อยละ 74.9 ชำย
ร้อยละ 67.4 รองลงมำ คือ ผู้ที่ทำงำน 50 ช่ัวโมงข้ึนไป
สถานภาพการทางานและเพศ หนว่ ย : คน มีจำนวน 25,768 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.7 โดยชำย
มสี ัดสว่ นสงู กวำ่ หญิง คอื ชำยร้อยละ19.4หญงิ ร้อยละ 15.7
สถานภาพการ รวม ชาย หญงิ ผมู้ ีช่วั โมงกำรทำงำน 10-34 ช่วั โมง มีจำนวน 16,416 คน
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 11.3 โดยชำยมีสัดส่วนสูงกว่ำหญิง คือ
ทางาน จานวน รอ้ ยละ ชำยร้อยละ 12.9 หญิงรอ้ ยละ 9.3

ยอดรวม 145,285 100.0 81,027 100.0 64,259 100.0
1.2 1,471 1.9 212 0.3
1.นำยจำ้ ง 1,683 12.1 8,702 10.7 13.8
12.0 8,605 10.6 8,857 13.7
2.ลกู จำ้ งรัฐบำล 17,559 45.2 44,352 54.7 8,775 33.2
29.4 17,757 21.9 21,379 39.0
3.ลกู จ้ำงเอกชน 17,380 0.1 0.2 25,035 - ตาราง ช จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตาม
141 ชัว่ โมงการทางานตอ่ สปั ดาห์ และเพศ หน่วย : คน
4.ทำงำนสว่ นตวั 65,731 -

5.ชว่ ยธุรกิจครัวเรือน 42,792

6. กำรรวมกลมุ่ 141 ช่ัวโมงการทางาน รวม ชาย หญิง

3.4 การศกึ ษา ตอ่ สปั ดาห์ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

เม่ือพิจำรณำระดับกำรศึกษำที่สำเร็จของผู้มี ยอดรวม 145,285 100.0 81,027 100.0 64,259 100.0
งำนทำในไตรมำสน้ี พบว่ำ ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีสำเร็จ
กำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำศึกษำ มีจำนวน 47,538 คน 1. 0 ชว่ั โมง1/ 246 0.2 246 0.3 --
หรือคิดเป็นร้อยละ 32.7 โดยสัดส่วนของชำยสูงกว่ำหญิง
คือ ชำยร้อยละ 34.9 หญิงร้อยละ 30.0 รองลงมำคือ 2. 1-9 ช่วั โมง 66 0.0 - - 66 0.1
ผู้ที่สำเร็จกำรศึกษำระดับต่ำกว่ำประถมศึกษำ จำนวน 3. 10-34 ช่ัวโมง 16,416 11.3
42,132 คน คิดเป็นร้อยละ 29.0 ผู้ที่สำเร็จกำรศึกษำ 4. 35-49 ชวั่ โมง 102,790 70.8 10,462 12.9 5,954 9.3
ระดับประถมศึกษำ มีจำนวน 37,095 คน คิดเป็น 8. 50ชัว่ โมงข้ึนไป 25,768 17.7 54,617 67.4 48,172 74.9
ร้อยละ 25.5 ผู้ท่ีสำเร็จกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ มี 15,701 19.4 10,067 15.7
จำนวน 17,382 คน คิดเป็นร้อยละ 12.0 และไม่มีกำรศึกษำ
1,139คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.8 หมำยเหตุ : 1/ ผไู้ มไ่ ดท้ ำงำนในสปั ดำห์กำรสำรวจ แต่มีงำนประจำ

ตาราง ฉ จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตาม 4. การว่างงาน

ระดับการศกึ ษาท่สี าเร็จ และเพศ หนว่ ย : คน ประชำกรของจงั หวดั อำนำจเจริญว่ำงงำนจำนวน
ทง้ั ส้ิน 193 คน เป็นชำย จำนวน 193 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ระดบั การศึกษา รวม ชาย หญิง 100.0 โดยไตรมำสนีไ้ ม่มผี ู้ว่ำงงำนเพศหญิง

ส ำ ห รั บ อั ต ร ำ ก ำ ร ว่ ำ ง ง ำ น ข อ ง ป ร ะ ช ำ ก ร ซ่ึ ง
หมำยถึง สัดส่วนของผู้ว่ำงงำนต่อจำนวนประชำกรที่อยู่
ในกำลังแรงงำนรวม พบว่ำ จังหวัดอำนำจเจริญมีอัตรำ
กำรวำ่ งงำน รอ้ ยละ 0.1

ท่ีสาเรจ็ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ตาราง ซ จานวนและอตั ราการว่างงาน จาแนกตามเพศ
หน่วย : คน
ยอดรวม 145,285 100.0 81,027 100.0 64,259 100.0
ผอู้ ยใู่ นกาลงั ผู้ว่างงาน
1.ไม่มีกำรศกึ ษำ 1,139 0.8 406 0.5 733 1.2 เพศ แรงงาน จานวน ร้อยละ

2.ตำ่ กวำ่ ประถมศกึ ษำ 42,132 29.0 23,538 29.1 18,593 28.9

3.ประถมศกึ ษำ 37,095 25.5 20,983 25.8 16,112 25.1 ยอดรวม 145,479 193 0.1

4.มัธยมศกึ ษำ 47,538 32.7 28,255 34.9 19,283 30.0 ชำย 81,220 193 0.2

5.อดุ มศึกษำ 17,382 12.0 7,845 9.7 9,537 14.8 หญิง 64,259 --

3.5 ชั่วโมงการทางาน หมำยเหตุ : อตั รำกำรว่ำงงำน = ผูว้ ำ่ งงำน 100
ผูอ้ ยูใ่ นกำลังแรงงำนรวม
ในจำนวนผู้มีงำนทำ 145,285 คนน้ัน เป็นผู้ท่ี
ทำงำนต่อสัปดำห์ต้ังแต่ 1 ชั่วโมงข้ึนไป มีจำนวน
145,039 คน มีผไู้ ม่ไดท้ ำงำนในสัปดำห์กำรสำรวจแต่มี
งำนประจำ (ช่ัวโมงทำงำนเป็น “0”) จำนวน 246 คน
ในกำรสำรวจรอบนี้ พบวำ่ ส่วนใหญ่เป็นผ้ทู ีท่ ำงำน 35-

49 ช่ัวโมง มีจำนวน 102,790 คน คิดเป็นร้อยละ 70.8



ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี

ภาคผนวก ก
ระเบยี บวิธี

1. วธิ ีการสารวจ

การสารวจน้ปี ระชากรเปา้ หมาย ได้แก่ ครัวเรอื นส่วนบคุ คลและครัวเรือนกลมุ่ บุคคลประเภทครัวเรือน
คนงานที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทุกจังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้น ครัวเรือนชาวต่างชาติที่
ทางานในสถานทูตหรือองคก์ ารระหว่างประเทศท่ีมีเอกสิทธิ์ทางการทูต

การสารวจแต่ละเดือน สานักงานสถิติแห่งชาติได้ดาเนินการสารวจในทุกจังหวัดท่ัวประเทศ แผนการ
เลือกตัวอย่างท่ีใช้เป็นแบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างข้ันท่ีหนึ่ง คือ เขตแจงนับ
(Enumeration Area : EA) จานวน 1,990 EA ตัวอย่าง จากทง้ั สิ้นจานวน 127,460 EA และหน่วยตวั อย่างข้ัน
ที่สอง คอื ครวั เรือนส่วนบุคคลและสมาชิกในทุกครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครวั เรือนคนงาน จานวน 27,960
ครัวเรือนตัวอย่าง หรือคิดเป็นจานวนประชาชนตัวอย่างประมาณ 95,000 คน ซึ่งขนาดตัวอย่างในแต่ละเดือน
สามารถนาเสนอผลการสารวจในระดับภาค (กรุงเทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจาแนกตาม
เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แต่ไม่เพียงพอสาหรับนาเสนอผลการสารวจใน
ระดับจังหวัดหรือพื้นที่ย่อยกว่านี้ สาหรับการนาเสนอผลการสารวจในระดับจังหวัดได้ใช้ข้อมูลของการสารวจ
จานวน 3 เดือน เพอื่ ให้ไดข้ นาดตวั อย่างเพียงพอ เชน่ กรณีสรปุ รายงานผลการสารวจระดบั จังหวัดในไตรมาสท่ี
4 ของปี พ.ศ. 2561 ก็ไดน้ าขอ้ มูลของเดอื นตลุ าคม พฤศจกิ ายน และธันวาคม 2561 มารวมกนั เปน็ ตน้

สาหรับขนาดตัวอย่างของจังหวัดอานาจเจริญ ใช้หน่วยตัวอย่างข้ันที่หน่ึง จานวน 60 EA ตัวอย่าง
หนว่ ยตวั อย่างข้ันที่สอง จานวน 840 ครวั เรอื นตวั อย่าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง
โดยเจ้าหน้าที่ของสานักงานสถิติแห่งชาติ/สานักงานสถิติจังหวัด โดยผู้ทาการสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือ
การปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอ้ มูลสาหรบั ใช้ในการปฏิบัติงาน ท้งั น้เี พื่อให้ทกุ คนปฏิบัตงิ านไปในทางเดียวกนั

ส่วนการประมวลผลข้อมูลนั้นดาเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาการสถิติ โดยนาข้อมูลที่ได้จาก
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยมีการถ่วงน้าหนัก (Weighty) ซึ่งค่าถ่วงน้าหนักคานวณได้จากสูตรการประมาณค่า
ทส่ี อดคล้องกับวิธกี ารเลือกตวั อย่าง เพื่อให้ไดค้ ่าประมาณประชากรใกลเ้ คยี งกบั คา่ ท่ีแทจ้ ริง

2. คาบการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

การสารวจได้ดาเนนิ การพรอ้ มกนั ท่ัวประเทศ ในระหว่างวนั ที่ 1 – 12 ของเดือน ตุลาคม – ธนั วาคม
พ.ศ. 2561

3. การปัดตัวเลข

ข้อมูลในตารางสถิติท่ีนาเสนอในรายงานฉบับน้ี เป็นค่าประมาณที่ได้จากการถ่วงน้าหนัก
ซ่ึงผลรวมจากยอดย่อยในแต่ละรายการอาจไม่เท่ากับยอดรวม ท้งั นเ้ี นื่องจากการปัดเศษทศนยิ มโดยอิสระจากกนั

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถติ ิ หนา้
15
ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 16
ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดบั การศึกษาท่ีสาเร็จและเพศ 17
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผ้มู งี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 18
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผมู้ งี านทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 19
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ 20
ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามช่วั โมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ 21
ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาท่ีสาเรจ็ และเพศ

15
ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง

ผู้มีอายุ 15 ปีข้ึนไป 219,707 จานวน 113,312
1. ผู้อยใู่ นกำลังแรงงำน 145,479 64,259
145,479 106,395 64,259
1.1 กำลังแรงงำนปจั จุบนั 145,285 81,220 64,259
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 81,220
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 193 81,027 -
- -
1.2 ผู้ท่ีรอฤดกู ำล 193 49,053
2. ผู้ไม่อยูใ่ นกำลังแรงงำน 74,228 - 19,862
2.1 ทำงำนบำ้ น 20,383 9,732
2.2 เรียนหนังสือ 18,038 25,175 19,459
2.3 อ่ืนๆ 35,808 521
100.0
8,306 56.7
16,348 56.7
56.7
ผมู้ อี ายุ 15 ปขี นึ้ ไป 100.0 100.0
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 66.2 76.3 -
66.2 76.3 -
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบนั 66.1 76.1 43.3
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 0.1 0.2 17.5
1.1.2 ผู้วำ่ งงำน 8.6
-- 17.2
1.2 ผู้ที่รอฤดกู ำล 33.8 23.7
2. ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงำน 9.3 0.5
2.1 ทำงำนบำ้ น 8.2 7.8
2.2 เรียนหนังสือ 16.3 15.4
2.3 อ่ืนๆ

16

ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของประชากรอาย1ุ 5 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศกึ ษาที่สาเรจ็ และเพศ

ระดับการศกึ ษาท่ีสาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 219,707 จานวน 113,312
1. ไม่มีการศึกษา 2,557 106,395 1,821
2. ตา่ กว่าประถมศึกษา 75,364 42,243
3. ประถมศึกษา 48,814 736 23,699
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 41,859 33,121 16,599
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 30,434 25,115 17,157
25,153 25,261 14,061
5.1 สายสามัญ 5,281 13,277 3,096
5.2 สายอาชีวศึกษา - 11,092 -
5.3 สายวิชาการศึกษา 20,678 2,185 11,793
6. มหาวิทยาลัย 9,427 5,487
6.1 สายวิชาการ 6,082 - 2,785
6.2 สายวิชาชีพ 5,169 8,886 3,521
6.3 สายวิชาการศึกษา - 3,940 -
7. อืนๆ - 3,298 -
8. ไม่ทราบ 1,648
100.0 100.0
ยอดรวม 1.2 - 1.7
1. ไม่มีการศึกษา 34.3 - 37.3
2. ตา่ กวา่ ประถมศึกษา 22.2 20.9
3. ประถมศึกษา 19.1 ร้อยละ 14.6
4. มัธยมศึกษาตอนตน้ 13.8 15.1
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 11.4 100.0 12.4
2.4 2.7
5.1 สายสามัญ - 0.7 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 9.4 31.1 10.4
5.3 สายวิชาการศึกษา 4.3 23.6 4.8
6. มหาวทิ ยาลัย 2.7 23.7 2.5
6.1 สายวิชาการ 2.4 12.5 3.1
6.2 สายวชิ าชีพ - 10.4 -
6.3 สายวชิ าการศึกษา - 2.1 -
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ -
8.4
3.7
3.1
1.6

-
-

17 ชาย
ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามอาชีพและเพศ จานวน

อาชีพ รวม 81,027
4,234
ยอดรวม 145,285 2,120
1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดบั อาวุโส และผู้จัดการ 6,060 1,491
2. ผู้ประกอบวชิ าชีพดา้ นต่างๆ 6,459
3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนคิ สาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 2,464 678
4. เสมียน 3,752 6,915
5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 18,078 55,323
6. ผู้ปฏิบตั ิงานท่มี ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 92,065 5,860
7. ผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้อง 7,174 2,326
8. ผู้ปฏบิ ัติการโรงงานและเครอื่ งจักร และผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นการประกอบ 4,631 2,080
9. อาชีพขน้ั พ้ืนฐานต่างๆ ในดา้ นการขาย และการให้บริการ 4,602
10. คนงานซึ่งมิได้จาแนกไว้ในหมวดอื่น - -
ร้อยละ
ยอดรวม 100.0 100.0
1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมาย ข้าราชการระดับอาวโุ ส และผู้จัดการ 4.2
2. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ 4.4 5.3
3. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นเทคนคิ สาขาตา่ งๆ และอาชีพที่เก่ียวข้อง 1.7 2.6
4. เสมียน 2.6 1.8
5. พนกั งานบริการและพนกั งานในร้านค้า และตลาด 12.4 0.8
6. ผู้ปฏิบตั งิ านทีม่ ีฝีมือในด้านการเกษตร และการประมง 63.4 8.5
7. ผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นความสามารถทางฝีมือ และธรุ กิจอ่ืนๆท่เี ก่ียวข้อง 4.9 68.3
8. ผู้ปฏิบตั ิการโรงงานและเครอ่ื งจักร และผู้ปฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 3.2 7.2
9. อาชีพขั้นพื้นฐานตา่ งๆ ในด้านการขาย และการใหบ้ ริการ 3.2 2.9
10. คนงานซึ่งมิไดจ้ าแนกไวใ้ นหมวดอ่ืน - 2.6

-

17

หญิง

64,259
1,826
4,340

973
3,075
11,163
36,742
1,314
2,305
2,521

-

100.0
2.8
6.8
1.5
4.8
17.4
57.2
2.0
3.6
3.9
-

18

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญิง
จานวน
ยอดรวม 145,285 81,027 64,259
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 93,703 37,284
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน 56,419
3. การผลิต - -
4. ไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 6,546 - 3,549
5. การจัดหานา การจดั การ และการบาบัดนาเสยี ของเสีย และสิง่ ปฏกิ ูล 2,997
6. การกอ่ สรา้ ง 360 150
7. การขายส่งและการขายปลกี การซอ่ มยานยนตแ์ ละจักรยานยนต์ 213 210 73
8. การขนสง่ และสถานท่ีเก็บสินค้า 3,687 139 144
9. ท่ีพักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 13,257 3,544 8,060
10. ข้อมูลข่าวสารและการสือ่ สาร 260 5,197 139
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกนั ภยั 7,270 121 4,511
12. กิจกรรมอสังหารมิ ทรัพย์ 433 2,759
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 789 433 -
14. กจิ กรรมการบรหิ ารและการบริการสนับสนุน 322 468
15. การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ -
16. การศึกษา 407 - -
17. กิจกรรมดา้ นสุขภาพและงานสงั คมสงเคราะห์ 70 337
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ -
19. กจิ กรรมบรกิ ารดา้ นอนื่ ๆ 9,225 - -
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครวั เรือนส่วนบุคคล กิจกรรมผลติ สนิ ค้าและบริการ 5,564 5,208 4,017
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก 1,473 2,252 3,312
22. ไม่ทราบ 1,248
722 225
1,376 402 320
729 647
-
- - -
- - -
- -
ยอดรวม 100.0
1. เกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง 64.5 ร้อยละ 100.0
2. การทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน - 100.0 58.0
3. การผลติ 4.5 -
4. ไฟฟ้า กา๊ ซ ไอนา และระบบปรบั อากาศ 0.2 69.6 5.6
5. การจัดหานา การจัดการ และการบาบัดนาเสีย ของเสีย และสิ่งปฏกิ ลู 0.1 - 0.2
6. การกอ่ สร้าง 2.5 0.1
7. การขายสง่ และการขายปลีก การซอ่ มยานยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ 9.1 3.7 0.2
8. การขนส่งและสถานท่ีเก็บสนิ ค้า 0.2 0.3 12.5
9. ท่ีพักแรมและบริการดา้ นอาหาร 5.0 0.2 0.2
10. ข้อมูลข่าวสารและการสือ่ สาร 0.3 4.4 7.0
11. กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภยั 0.5 6.4 -
12. กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ - 0.1 0.8
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 0.3 3.4 -
14. กจิ กรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน - 0.5 0.5
15. การบรหิ ารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการประกนั สังคมภาคบังคับ 6.4 0.4 -
16. การศึกษา 3.9 6.3
17. กิจกรรมดา้ นสุขภาพและงานสงั คมสงเคราะห์ 1.0 - 5.2
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 0.5 0.1 1.9
19. กิจกรรมบรกิ ารดา้ นอน่ื ๆ 1.0 0.5
20. กจิ กรรมการจา้ งงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมผลติ สนิ ค้าและบริการ - - 1.0
21. กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศและภาคีสมาชิก - 6.4 -
22. ไม่ทราบ - 2.8 -
0.3 -
0.5
0.9

-
-
-

19
ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง

จานวน 64,259
212
ยอดรวม 145,285 81,027
1. นายจ้าง 1,683 1,471 8,857
2. ลูกจ้างรัฐบาล 17,559 8,702 8,775
3. ลูกจ้างเอกชน 17,380 8,605 21,379
4. ทางานส่วนตัว 65,731 44,352 25,035
5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 42,792 17,757
6. การรวมกลุ่ม 141 -
141
ร้อยละ 100.0
0.3
ยอดรวม 100.0 100.0 13.8
13.7
1. นายจ้าง 1.2 1.9 33.2
39.0
2. ลูกจ้างรัฐบาล 12.1 10.7 -

3. ลูกจ้างเอกชน 12.0 10.6

4. ทางานส่วนตัว 45.2 54.7

5. ช่วยธุรกิจครัวเรือน 29.4 21.9

6. การรวมกลุ่ม 0.1 0.2

20
ตารางท่ี 6 จานวนและรอ้ ยละของผู้มงี านทา จาแนกตามชั่วโมงการทางานต่อสัปดาห์และเพศ

ชวั่ โมงการทางาน รวม ชาย

ยอดรวม 145,285 จานวน
246
1. 0 ชั่วโมง1/ 66 81,027
2. 1-9 ชั่วโมง 246
3. 10-19 ชั่วโมง 2,047 -
4. 20-29 ช่ัวโมง 11,907
5. 30-34 ช่ัวโมง 2,462 1,394
6. 35-39 ช่ัวโมง 38,779 7,220
7. 40-49 ชั่วโมง 64,011 1,848
8. 50 ช่ัวโมงข้นึ ไป 25,768 19,822
34,795
ยอดรวม 100.0 15,701
1. 0 ช่ัวโมง 1/ 0.2 ร้อยละ
2. 1-9 ช่ัวโมง 0.0 100.0
3. 10-19 ช่ัวโมง 1.4
4. 20-29 ชั่วโมง 8.2 0.3
5. 30-34 ชั่วโมง 1.7 -
6. 35-39 ชั่วโมง 26.7
7. 40-49 ชั่วโมง 44.1 1.7
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 17.7 8.9
หมายเหตุ : 1/ ผู้ไม่ไดท้ างานในสัปดาหก์ ารสารวจ แต่มีงานประจา 2.3
24.5
42.9
19.4

20

ทางานต่อสัปดาห์และเพศ

หญิง

64,259
-
66

653
4,687

614
18,957
29,215
10,067

100.0
-

0.1
1.0
7.3
1.0
29.5
45.4
15.7

21

ตารางท่ี 7 จานวนและร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาท่ีสาเร็จและเพศ

ระดับการศกึ ษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง

ยอดรวม 145,285 จานวน 64,259
1. ไม่มีการศึกษา 1,139 733
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 42,132 81,027
3. ประถมศึกษา 37,095 406 18,593
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 24,503 16,112
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 23,035 23,538 7,269
19,931 20,983 12,014
5.1 สายสามัญ 3,104 17,234 10,505
5.2 สายอาชีวศึกษา - 11,020 1,509
5.3 สายวชิ าการศึกษา 17,382 9,425
6. มหาวิทยาลัย 8,700 1,595 -
6.1 สายวิชาการ 3,971 9,537
6.2 สายวชิ าชีพ 4,711 - 5,033
6.3 สายวชิ าการศึกษา - 7,845 1,375
7. อืนๆ - 3,667 3,129
8. ไม่ทราบ 2,596
100.0 1,582 -
ยอดรวม 0.8 -
1. ไม่มีการศึกษา 29.0 -
2. ต่ากว่าประถมศึกษา 25.5 - 100.0
3. ประถมศึกษา 16.9 ร้อยละ 1.2
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 15.8 100.0 28.9
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 13.7 0.5 25.1
2.1 29.1 11.3
5.1 สายสามัญ - 25.8 18.7
5.2 สายอาชีวศึกษา 12.0 21.3 16.4
5.3 สายวิชาการศึกษา 6.0 13.6 2.3
6. มหาวทิ ยาลัย 2.8 11.6 -
6.1 สายวิชาการ 3.2 2.0 14.8
6.2 สายวชิ าชีพ - - 7.8
6.3 สายวิชาการศึกษา - 9.7 2.1
7. อืนๆ 4.5 4.9
8. ไม่ทราบ 3.2 -
2.0 -
-
-


Click to View FlipBook Version