The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงงานคุณธรรมของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ปีการศึกษา 2561
เรื่อง ถาดจ๋า จิตอาสา มาแล้วจ้ะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูปริชญา มาสินธุ์, 2019-06-10 04:59:16

รายงานโครงงานคุณธรรม

รายงานโครงงานคุณธรรมของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ปีการศึกษา 2561
เรื่อง ถาดจ๋า จิตอาสา มาแล้วจ้ะ

โครงงานคุณธรรม 3หมวด

ถาดจ๋า จติ อาสามาแลว้ จะ้ ลดเวเพลกม่ิาิจเเกวรลรียรานมรู้

จัดทาโดย 2561ปกี ารศึกษา
นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6
ครูที่ปรึกษา
ครปู รชิ ญา มาสนิ ธ์ุ
ครสู มพร ศรีวงั

โรงเรยี นบ้านสไุ หงโก-ลก

สังกัดเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนา้ ท่ี 1

โครงงานคุณธรรม

“ถาดจา๋ จติ อาสามาแลว้ จะ้ ”
จดั ทาโดย

นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6
ครทู ี่ปรกึ ษา

ครูปรชิ ญา มาสินธุ์
ครสู มพร ศรีวัง

โรงเรียนบา้ นสุไหงโก-ลก
สงั กดั เขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2562

หนา้ ท่ี 2

คานา

โครงงานคุณธรรม “ถาดจ๋า จิตอาสามาแล้วจ้ะ” จัดทาโดยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/6
โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก ท่ีเกิดจากการระดมความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ร่วมกับครู
ประจาช้ัน ครูปริชญา มาสินธุ์ และครูสมพร ศรวี ัง ซง่ึ ได้เล็งเห็นปัญหาท่เี กิดข้ึนในชั้นเรียนและต้องการ
พฒั นานกั เรยี นให้มีจติ อาสา มีปณธิ านความดี สอดคลอ้ งกับคุณธรรมพนื้ ฐาน 8 ประการ

โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ หมวดที่ 3
สรา้ งเสรมิ คณุ ลกั ษณะและค่านยิ ม

ขอขอบพระคุณ ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ที่ได้ร่วมกันตอบแบบสอบถาม
ออนไลน์เก่ียวกับมารยาทในการรับประทานอาหาร และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีได้เปิด
โอกาสใหก้ บั พวกเราในการจัดทาโครงงานในครง้ั นี้

นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4/6

สารบญั หน้าที่ 3

เรื่อง หนา้

คานา 2
สารบัญ 3
บทท่ี 1 ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน 4
บทท่ี 2 การดาเนินการโครงงาน 7
บทที่ 3 ผลการดาเนนิ โครงงาน 8
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ 16
บทที่ 5 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 18
ท่มี าและเอกสารอา้ งองิ 19
ภาคผนวก 20
21
ดา้ นความรู้ 26
ดา้ นทกั ษะปฏบิ ัติ 32
ด้านเจตคติ

หน้าที่ 4

บทท่ี 1
ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน

1. ที่มาและความสาคัญของปัญหา

จากการสังเกตการรับประทานอาหารกลางวัน พบว่านักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/6 ส่วน
ใหญ่ รบั ประทานอาหารกลางวันไม่หมด เศษอาหารหกเลอะเทอะ และถาดอาหารลม้

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/6 ได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดข้ึน จึงมีความสนใจท่ีจะทาโครงงาน
คณุ ธรรม เรื่อง ถาดจา๋ ...จิตอาสามาแล้วจ้ะ

2. วตั ถปุ ระสงค์

ดา้ นความรู้ :
1. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ของสานักงาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
2. เพ่ือใหน้ กั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ปณธิ านความดี ของ ยุวทตู ความดี
ดา้ นกระบวนการปฏิบัติ :
1. เพอื่ ใหน้ กั เรยี น รบั ประทานอาหารกลางวนั ให้หมด ตกั อาหารให้พอดี
2. เพื่อให้นักเรยี น เทเศษอาหารให้ลงภาชนะทเี่ ตรยี มไว้
3. เพ่อื ให้นกั เรียน วางถาดอาหารทีร่ ับประทานหมดแล้วใหเ้ ปน็ ระเบียบ

ดา้ นเจตคติ :
1. เพอื่ ให้นกั เรยี นเห็นความสาคญั ในการนาคุณธรรม จรยิ ธรรมไปใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวัน
2. เพอื่ ให้นกั เรยี นปฏิบัติตนอย่างมมี ารยาทในการทางาน

3. ปัญหา

1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 รับประทานอาหารกลางวนั ไม่หมด
2. นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6 เศษอาหารหกเลอะเทอะ
3. นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/6 ถาดอาหารลม้

4. สาเหตขุ องปญั หา

1. ตักอาหารมากเกนิ
2. มเี ศษอาหารในถาดอาหาร
3. วางถาดอาหารไม่เปน็ ระเบียบ

หนา้ ที่ 5

5. กลุ่มเป้าหมาย

เชิงปรมิ าณ :
นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4/6 จานวน 41 คน

เชิงคณุ ภาพ :
นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4/6
1. มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับคุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ และปณิธานความดีของโครงการ
ยวุ ทตู ความดี
2. นกั เรียนรับประทานอาหารกลางวันหมด เทเศษอาหารให้ลงภาชนะทเ่ี ตรียมไว้
และวางถาดอาหารที่รบั ประทานหมดแล้วใหเ้ ปน็ ระเบียบ
3. นกั เรยี น มคี ณุ ธรรม จริยธรรมทดี่ ี มปี ณิธานความดใี นการรบั ประทานอาหารกลางวัน

6. ระยะเวลาในการดาเนินการ

ระหว่างเดือน กนั ยายน 2561 – มกราคม 2562

7. หลักธรรมที่นามาใช้

1. คุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่
ประหยดั มวี นิ ยั ความสะอาด สุภาพ มนี ้าใจ ความซื่อสตั ย์ ความสามคั คี รับผดิ ชอบ

2. ปณิธานความดี ตามโครงการยุวทตู ความดี
3. จิตอาสา

หนา้ ท่ี 6

8. วิธีการวดั และประเมนิ ผล

ท่ี ตวั ชีว้ ดั เครอ่ื งมือ ช่วงเวลา

1 ด้านความรู้

1.1 ยกตัวอยา่ งจรยิ ธรรมที่สอดคลอ้ งกับ 1. แผนผัง  กจิ กรรมลด

คุณธรรมพนื้ ฐาน 8 ประการ ของสพฐ.ได้ ความคิด เวลาเรียน

1.2 กาหนดปณิธานความดี เพ่ือแก้ไขปัญหาการ 2. บตั รคา เพ่มิ เวลารู้

รับประทานอาหารกลางวันที่สอดคล้องกับ คุณธรรม (หมวด 2)

คณุ ธรรมพน้ื ฐาน 8 ประการ 3. บตั รปณธิ าน  กิจกรรมแนะ

ความดี แนว

2 ด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิ

3.1 รับประทานอาหารกลางวันใหห้ มด แบบบนั ทึกการ เวลา

3.2 เทเศษอาหารใหล้ งภาชนะทเ่ี ตรียมไว้ ตรวจสอบการ 11.30-12.00 น.

3.3 วางถาดอาหารที่รับประทานหมดแล้วให้เป็น รบั ประทานอาหาร

ระเบียบ กลางวนั

3 ด้านเจตคติ :

3.1 เห็นความสาคัญในการนาคุณธรรม จริยธรรม 1. นิทานสร้างสาน ชว่ งพักกลางวัน

ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน สามารถ คณุ ธรรม วชิ าการงานฯ

นาไปเผยแพร่เพ่ือเป็นแนวทางให้กับบุคคล 2. แบบสารวจและ

ใกล้ชิด เช่น เพื่อน ผู้ปกครอง บุคคลใน วเิ คราะหต์ นเอง

ครอบครัว เกีย่ วกบั การมี

3.2 ปฏิบัติตนอยา่ งมมี ารยาทในการทางาน มารยาท

(Google

form)

หน้าที่ 7

บทท่ี 2
การดาเนนิ การโครงงาน

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/6 ได้เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้
5 ขัน้ ตอน (5STEPs) ตามแนวทางการจดั การเรียนรโู้ รงเรียนมาตรฐานสากล (IS) ดังแผนภาพ

ขั้นตอนที่ 2 ขน้ั ตอนที่ 3 ขนั้ ตอนที่ 4 ขั้นตอนท่ี 5
• การเรยี นรู้ • การเรยี นรู้ • การเรยี นรู้ • การเรยี นรู้

แสวงหา เพือ่ สร้าง เพ่ือการ เพ่ือตอบ
สารสนเทศ องคค์ วามรู้ ส่อื สาร แทนสังคม

ข้นั ตอนที่ 1
• การเรียนรู้

ตั้งคาถาม

ขน้ั ตอนที่ 1 การเรยี นรตู้ ัง้ คาถาม หรือขน้ั ตั้งคาถาม
เป็นทใี่ ห้นกั เรยี นฝกึ สงั เกตสถานการณ์ ปรากฏการณต์ ่างๆ จนเกิดความสงสัย จากน้นั ฝึกใหเ้ ด็ก
ต้ังคาถามสาคัญ รวมทั้งการคาดคะเนคาตอบ ด้วยการสืบค้นความรู้จากแหล่งต่างๆ และสรุปคาตอบ
ชว่ั คราว

ขนั้ ตอนที่ 2 การเรยี นรู้แสวงหาสารสนเทศ
เป็นข้ันตอนการออกแบบ/วางแผนเพื่อรวบรวมข้อมูล สารสนเทศ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
รวมทง้ั การทดลองเปน็ ข้นั ทเ่ี ด็กใช้หลกั การนริ ภัย (Deduction reasoning) เพอื่ การออกแบบข้อมลู

ขั้นตอนที่ 3 การเรียนรูเ้ พ่อื สรา้ งองค์ความรู้
เป็นข้ันตอนท่ีเดก็ มีการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การสอ่ื ความหมายขอ้ มูล
ดว้ ยแบบต่างๆ หรือด้วยผงั กราฟกิ การแปรผล จนถงึ การสรุปผล หรือการสร้างคาอธิบาย เปน็ การสร้าง
องคค์ วามรู้ ซงึ่ เปน็ แก่นความรู้ประเภท ข้อเทจ็ จริง คานยิ าม มโนทัศน์ หลกั การ กฎ ทฤษฏี

ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรเู้ พ่ือการสอ่ื สาร
คือ ขั้นนาเสนอความรู้ด้วยการมใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจน และเป็นที่เข้าใจ อาจเป็นการ
นาเสนอภาษา และนาเสนอด้วยวาจา

ขน้ั ตอนที่ 5 การเรยี นรู้เพอ่ื ตอบแทนสังคม
เป็นขั้นตอนการฝึกเด็กให้นาความรู้ท่ีเข้าใจ นาการเรียนรไู้ ปใช้ประโยชนเ์ พ่อื ส่วนรวม หรือเห็น
ต่อประโยชน์ส่วนรวมด้วยการทางานเป็นกลุ่ม ร่วมสร้างผลงานท่ีได้จากการแก้ปัญหาสังคมอย่าง
สร้างสรรค์ ซงึ่ อาจเป็นความรู้ แนวทางสง่ิ ประดิษฐ์ ซ่ึงอาจเป็นนวัตกรรม ด้วยความรับผดิ ชอบต่อสังคม
อนั เป็นการแสดงออกของการเกือ้ กลู และแบง่ ปนั ให้สงั คมมีสนั ตอิ ย่างยัง่ ยนื

หน้าที่ 8

บทที่ 3
ผลการดาเนินการโครงงาน

จากการดาเนินการโครงงานคุณธรรม ถาดจ๋า...จิตอาสามาแล้วจ้ะ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้
5 ขั้นตอน (5STEPs) ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้โรงเรียนมาตรฐานสากล (IS) มีผลการดาเนินการ
ตามขน้ั ตอน โครงงาน ดงั นี้

ข้ันตอนที่ 1 การเรยี นรตู้ ั้งคาถาม หรือขัน้ ตั้งคาถาม

 ร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั หวั ข้อของคุณธรรมพ้นื ฐาน 8 ประการว่ามีอะไรบ้าง
 ยกตวั อย่างจรยิ ธรรมทเ่ี กิดจากคุณธรรมพ้นื ฐานแต่ละขอ้
 รว่ มกันอภปิ รายประเด็นปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ จากกิจกรรมในโรงเรยี น เช่น

การรบั ประทานอาหาร การเดินขนึ้ ลงบนั ได การทาความเคารพ ฯลฯ

หนา้ ที่ 9

ข้นั ตอนที่ 2 การเรยี นรแู้ สวงหาสารสนเทศ

 คน้ หาขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ เช่น ทางอนิ เทอรเ์ น็ต
(หาข้อมูลเกี่ยวกับปณธิ านความดี ของโครงการยุวทูตความดี)

 ศึกษาขอ้ มลู จากเอกสารเผยแพร่ในห้องสมดุ คอื สมดุ เล่มเลก็ ของร่นุ พ่ี

หนา้ ท่ี 10
ขัน้ ตอนที่ 3 การเรยี นรู้เพ่ือสร้างองคค์ วามรู้

 นาความรู้ทไ่ี ดร้ ว่ มกันแลกเปล่ียนเรยี นรู้ มาจัดทาเป็นแผนผงั ความคิด
คณุ ธรรมพื้นฐาน 8 ประการ โดยแบ่งออกเปน็ 8 กลุม่ และใหแ้ ต่ละกลุม่
รว่ มกันยกตวั อย่างจรยิ ธรรม จากนั้นให้นาเสนอต่อเพือ่ นๆ หนา้ ชัน้ เรยี น

 จัดทาบตั รคณุ ธรรม นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ใน 5 ประเดน็ คอื ความซ่อื สัตย์
ความรบั ผิดชอบ ความพอเพียง ความกตญั ญู และอดุ มการณค์ วามดี

หนา้ ท่ี 11

 ทาบตั รปณิธานความดี โดยให้ตั้งคณุ ธรรมพืน้ ฐานเป็นหลัก
และกาหนดปณิธานความดีของตนเอง

หนา้ ที่ 12

 ทานิทานสรา้ งสานความดี โดยนาความรู้ทไ่ี ดเ้ รยี นรผู้ ่านการทาโครงงาน
ออกแบบและแต่งนทิ านท่สี อดคล้องกับคณุ ธรรมพน้ื ฐาน 8 ประการ

หนา้ ท่ี 13

ขนั้ ตอนท่ี 4 การเรียนรูเ้ พ่อื การส่อื สาร

 นาเสนอ แลกเปลย่ี นเรียนรหู้ นา้ ชั้นเรยี น
 เขียนรายงานโครงงานรว่ มกนั การจัดทาแผงโครงงาน

หนา้ ที่ 14

ขั้นตอนที่ 5 การเรียนร้เู พ่อื ตอบแทนสังคม

 จติ อาสา ดแู ล ตรวจสอบ และสงั เกตพฤตกิ รรมการทานอาหารกลางวนั ของเพื่อนๆ ในหอ้ งเรียน
อย่างเปน็ มิตร เช่น ตักอาหารแตพ่ อดี เมื่อเพ่ือนทานอาหารไมห่ มด ก็ได้บอกให้ไปทานใหห้ มด ,
เม่ือเพื่อนเทเศษอาหารไม่ลงภาชนะ ได้บอกให้เก็บให้เรียบร้อย , ดูแลการวางถาดอาหารให้
เรยี บร้อย และจดบันทกึ การสงั เกตพฤติกรรม

หน้าที่ 15

 การนาความรู้ที่ไดเ้ รียนรู้ ไปบอกต่อผูป้ กครองเกีย่ วกบั มารยาทในการรับประทานอาหาร
 การให้ นกั เรยี น และผปู้ กครองได้สารวจและวิเคราะห์ตนเองเก่ยี วกบั มารยาท

ผา่ นแบบสอบถามออนไลน์

หน้าที่ 16

บทที่ 4
การวเิ คราะห์และสรุปผลการดาเนินการโครงงาน

1. ปญั หา

1. นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/6 รับประทานอาหารกลางวันไม่หมด
2. นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6 เศษอาหารหกเลอะเทอะ
3. นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4/6 ถาดอาหารลม้

2. สาเหตุของปญั หา

1. ตักอาหารมากเกิน
2. มีเศษอาหารในถาดอาหาร
3. วางถาดอาหารไม่เปน็ ระเบียบ

3. หลกั ธรรมทน่ี ามาใช้

1. คุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่
ประหยัด มีวนิ ัย ความสะอาด สภุ าพ มีนา้ ใจ ความซ่ือสตั ย์ ความสามคั คี รบั ผดิ ชอบ

2. ปณธิ านความดี ของโครงการยวุ ทูตความดี
3. นกั เรยี นจิตอาสา

4. ชนิ้ งาน ผลงาน

ความรู้ (K) การปฏิบัติ (P) เจตคติ (A)

แผนผังความคิด นกั เรยี นจิตอาสา นิทาน
คณุ ธรรมพื้นฐาน แบบบนั ทึก สรา้ งสานคุณธรรม
บตั รคาคณุ ธรรม ผลการสารวจและ
1. การรับประทาน วิเคราะห์ตนเอง
บตั รปณิธานความดี อาหารกลางวนั เกีย่ วกับการมีมารยาท
(Google form)
2. การเทเศษอาหาร
ภาชนะท่เี ตรียมไว้

3. การวางถาดอาหาร
เปน็ ระเบียบ

หน้าที่ 17

ด้านความรู้
1. นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6 มีความรูเ้ กี่ยวกบั คุณธรรมพนื้ ฐาน 8 ประการ
สามารถจดั ทาแผนผังความคดิ เป็นกลุ่ม 8 กลุ่มได้
2. นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4/6 สามารถยกตัวอย่างคณุ ธรรมจริยธรรม และนามา
จัดทาบัตรคาคณุ ธรรมรว่ มกันได้อยา่ งหลากหลาย
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 มีความรู้เกี่ยวกับโครงการยุวทูตความดีเบ้ืองต้น และสนใจ
เน้ือหาของปณิธานความดี สามารถกาหนดคณุ ธรรมพ้ืนฐาน และปณิธานความดีที่เกีย่ วกบั การ
แก้ปัญหาการรบั ประทานอาหารกลางวัน โดย จดั ทาเป็นบตั รปณิธานความดี

ด้านทักษะปฏบิ ัติ
ตวั แทนนกั เรยี นจติ อาสาดาเนนิ การดูแล ตรวจสอบ และบนั ทึกผลการปฏบิ ัติ
ระหว่างเดอื นสิงหาคม 2561 – มกราคม 2562 รวมเปน็ จานวน ........... วนั สรปุ ได้ดังนี้
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ร้อยละ 99.25 รับประทานอาหารกลางวันหมด ตักข้าวและ
อาหารแตพ่ อดี
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/6 ร้อยละ 100 เทเศษอาหารให้ลงภาชนะท่ีเตรียมไว้ เข้าแถว
เปน็ ระเบียบ
3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4/6 ร้อยละ 99.15 วางถาดอาหารที่รับประทานหมดแล้วเป็น
ระเบียบ โดยมจี ติ อาสาคอยดูแล ช่วยเหลือกนั

ดา้ นเจตคติ
1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/6 เห็นความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม สามารถนาไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ โดยสะท้อนผา่ นนทิ านสร้างสานคุณธรรม
2. นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4/6 พร้อมทัง้ ผู้ปกครองร่วมกันสะท้อนความรู้เกี่ยวกับมารยาทใน
การรบั ประทานอาหาร ในแบบสอบถามออนไลน์จานวน 10 ขอ้ ผ่านเกณฑท์ ง้ั 41 คน
 ตอบถกู 10 ขอ้ คิดเปน็ ร้อยละ 83
 ตอบถกู 9 ขอ้ คิดเป็นรอ้ ยละ 10
 ตอบถกู 8 ข้อ คิดเปน็ รอ้ ยละ 7

หน้าท่ี 18

บทที่ 5
บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

บทสรุป

จากปัญหาการรับประทานอาหารกลางวันที่นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ได้สังเกตเห็น
บ่อยครั้ง คือ นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันไม่หมด เศษอาหารหกเลอะเทอะ และถาดอาหารล้ม
จึงระดมความคดิ และวธิ ี ที่จะแก้ปัญหาดังกลา่ วโดยได้ท้งั ความรู้ ทักษะปฏบิ ัตแิ ละเจตคตทิ ด่ี ีไปพร้อมกัน

โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูท่ีปรึกษา การกาหนดนักเรียนจิตอาสาเพ่ือช่วยเหลือดูแล
ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎกติกาท่ีวางไว้ร่วมกัน สามารถนาความรู้และทักษะปฏิบัติท่ีได้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เผยแพร่บอกต่อให้แก่บุคคลใกล้ชิดเกี่ยวกับมารยาทในการรับประทาน
อาหารได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

ขอ้ เสนอแนะ

การมจี ิตอาสา คอยดูแล ช่วยเหลือกันและกัน เหมือนเปน็ การควบคุม ตรวจสอบพฤติกรรมการ
อยู่ร่วมกันอีกทางหน่ึง ในระยะแรกๆ นักเรียนบางคนต้องมีการปรับตัว ทาตาม กฎ กติกา ท่ีได้กาหนด
ไว้ร่วมกัน แต่เม่ือผ่านสักระยะ นักเรียนปฏิบัติจนเกิดจิตสานึก รู้รับผิดชอบต่อหน้าท่ีของตนเองทาให้
ปัญหาทเี่ กิดจากการรับประทานอาหารกลางวันลดน้อยลง

หน้าท่ี 19

ท่ีมาและเอกสารอ้างองิ

วรพจน์ วงศ์กิจรุง่ เรอื ง และอธปิ จิตตฤกษ์. ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ : การศกึ ษาเพ่ือศตวรรษท่ี 21.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ open worlds, 2554.

สถาพร พฤฑฒกิ ลุ . เอกสารประกอบการฝึกอบรม “คณุ ภาพผเู้ รียนเกดิ จากกระบวนการเรียนรู้”.
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยบูรพาวทิ ยาเขตสระแกว้ , 2558

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด, 2553.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ. คูม่ ือบริหารจัดการเวลาเรยี น ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ ุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2558.

http://www.teachersaslearners.com/front/blog_one/81

หนา้ ที่ 20

ภาคผนวก

หนา้ ท่ี 21

ด้านความรู้

 แผนผังความคดิ
 บตั รคาคณุ ธรรม
 บตั รปณธิ านความดี

หนา้ ท่ี 22

ช้นิ งานแผนผงั ความคดิ คุณธรรมพืน้ ฐาน 8 ประการ

หนา้ ท่ี 23

ชน้ิ งานบตั รคาคณุ ธรรม

หนา้ ท่ี 24

ชิน้ งานบตั รปณธิ านความดี

หนา้ ท่ี 25

ช้นิ งานบัตรปณธิ านความดี (ตอ่ )

หนา้ ที่ 26

ดา้ นทกั ษะปฏบิ ัติ

 แบบบันทกึ มารยาท
การรับประทานอาหาร
กลางวัน

หนา้ ท่ี 27

เดอื นกันยายน

หนา้ ท่ี 28

เดอื นกันยายน

หนา้ ท่ี 29

เดอื นกันยายน

หนา้ ท่ี 30

เดอื นกันยายน

หนา้ ท่ี 31

เดอื นกันยายน

หน้าที่ 32

ด้านเจตคติ

 นิทานสร้างสานความดี
 แบบสอบถามออนไลน์

หนา้ ท่ี 33

ช้ินงานการออกแบบนิทานสรา้ งสานความดี

หนา้ ท่ี 34

จดั พมิ พน์ ิทานสร้างสานความดี

หนา้ ท่ี 35

ตวั อยา่ งนิทานสร้างสานความดี

หนา้ ท่ี 36

หนา้ ท่ี 37

หนา้ ท่ี 38

หนา้ ท่ี 39

หนา้ ท่ี 40

หนา้ ท่ี 41

หนา้ ท่ี 42

แบบสารวจและวิเคราะห์ตนเองเกยี่ วกับการมีมารยาท
ผา่ นแบบสอบถามออนไลน์ (google form) ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4/6

หน้าที่ 43

การตอบแบบสารวจและวิเคราะหต์ นเองเก่ยี วกบั การมีมารยาท
ผา่ นแบบสอบถามออนไลน์ (google form) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4/6

คะแนน เลขที่ ชอื่ นามสกุล ขอ้ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10

10 / 10 1 รัชตะ กาลยม ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 2 ธนกร เนตรสาย ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 3 ภมู นิ ทร์ สอกนิ ุลดี ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 4 เนตธิ ร ทองดณา ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 5 ทศพร เรจักมิ ษข์ วัญ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 6 ศวิ พล ปุญุ ญาฦ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 7 ศิรสิทธิ์ หทนธิกทู ลุ อง ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 8 ปรมะ จันทร์ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 9 ฟูดัย หแกะว้ยีปะจู ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 10 อนาวิล ดอื เระ๊ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

8 / 10 11 อัยกา อากาจิ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ

8 / 10 12 อาสือมงิ ยูนุ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 13 พัชร ยหี รมี ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 14 อภินันต์ อาหะมะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 15 ฮาซนั มะนอร์ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

9 / 10 16 ณัฐกร เจ๊ะมะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 17 ซอลาฮุด ซงตายา ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 18 มดนีฮู าหมัด ยะโกะ๊ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 19 ภอาทั นรัสา ชมุ เลศิ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 20 อารรี ตั น์ ลอื เดช ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 21 ฐิตารีย์ พวฒุ รมิไกร ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 22 รุ่งฟ้า โจคิรตภราพง ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 23 ชนิดา พกลัน้าธห์ าญ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

9 / 10 24 เบญญา อินทรัตน์ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 25 ธภญัา ญ ทองจีน ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 26 ลบกัณุ ษยณาพ์ ร เหลา่ สงิ ห์ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 27 ดวง ดาแกว้ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 28 อชนนังคธ์ร กุลทวี ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 29 ยสั มนี ปโู ปะ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 30 นูรดาเนีย สถาวรณ์ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 31 เก็จมณี เสมอภพ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 32 ซาฟรี ่า สัน ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

9 / 10 33 โซฟนี า แโตกะ๊ ว้ เสีน็ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 34 ลวี า ทหะอเงเว ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 35 อโนลุ รน์ สั รี ยะโกะ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 36 นฮาบตบีาชี า เจะ๊ ปอ ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

8 / 10 37 นาเดีย สนิบากอ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 38 ชัฟฟรนี า เจะ๊ มามะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

10 / 10 39 เอลเี ซีย ต่วนจอ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไมเ่ หมาะ เหมาะ

10 / 10 40 อรสิ สา หตาลเงละ๊ ไม่เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไมเ่ หมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

9 / 10 41 ฮมั ดาน เจ๊ะอบุ ง ไม่เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ เหมาะ ไม่เหมาะ ไม่เหมาะ เหมาะ

ตอบถูก 39 39 38 41 40 41 40 41 40 41

ตอบผดิ 2 2 3 0 1 0 1 0 1 0

ข้อท่ี ขอ้ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10

รอ้ ยละ 95.12 95.12 92.68 100.00 97.56 100 97.56 100.00 97.56 100

หนา้ ท่ี 44

สรุปผลการตอบแบบสารวจและวเิ คราะห์ตนเองเกี่ยวกบั การมีมารยาท
ผา่ นแบบสอบถามออนไลน์ (google form)
ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/6

7%
10%

83%

10 คะแนน 9 คะแนน 8 คะแนน

100.00 รอ้ ยละการตอบแบบสารวจและวิเคราะห์ตนเองเกย่ี วกบั การมีมารยาท ขอ้ 1
90.00 ผา่ นแบบสอบถามออนไลน์ (google form) รายขอ้ ข้อ 2
80.00 ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4/6 ข้อ 3
70.00 ข้อ 4
60.00 รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นท่ีตอบถูก (จานวนเตม็ 41 คน) ข้อ 5
50.00 ข้อ 6
40.00 ข้อ 7
30.00 ขอ้ 8
20.00 ขอ้ 9
10.00 ข้อ 10
0.00

โครงงานคุณธรรม

ถาดจา๋ จติ อาสามาแล้วจ้ะ
นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4/6


Click to View FlipBook Version