The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผล
การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย
Thailand Massive Open Online Course: ThaiMOOC
(การศึกษาแบบเปิด เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต) รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูปริชญา มาสินธุ์, 2019-12-11 10:31:32

การคิดสร้างสรรค์

รายงานผล
การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย
Thailand Massive Open Online Course: ThaiMOOC
(การศึกษาแบบเปิด เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต) รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking”

รายงานผล

การเรยี นร้ดู ้วยตนเองตามอัธยาศัย

Thailand Massive Open Online Course: ThaiMOOC
(การศกึ ษาแบบเปิด เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ )

รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking”

ของ
นางปริชญา มาสนิ ธ์ุ
ตาแหน่ง ครู อนั ดับ คศ.3
วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ

โรงเรยี นบ้านสุไหงโก-ลก
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

2:

คานา

เอกสารเล่มน้ีเป็นรายงานผลการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยโครงการ Thailand Massive
Open Online Course : ThaiMOOC (การศึกษาแบบเปิด เพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต) โดยความร่วมมือของ
สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking” จัดโดยคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั

หวงั ไว้เปน็ อย่างยงิ่ ว่ารายงานสรุปผลเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในการพฒั นางาน การปรบั ประยุกต์ใช้
ในการจัดการเรยี นการสอน หากมีข้อเสนอแนะหรอื ข้อแนะนาจักขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

นางปริชญา มาสินธุ์
ผ้รู ายงาน

สารบัญ 3:

คานา หนา้
สารบญั
บนั ทึกข้อความ 2
รายงานผลการอบรม 3
ภาคผนวก 4
5
สาเนาหนงั สอื รบั รองการผา่ นการอบรมหลักสตู ร 9
ตัวอย่างหลักสูตรอบรม 10
เนื้อหาเพ่ิมเตมิ 12
15

4:

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2
ท่ี วนั ท่ี 12 ธนั วาคม 2562
เร่ือง รายงานผลการเรียนรดู้ ้วยตนเองตามอธั ยาศัย รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking”

เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านสไุ หงโก-ลก

ตามท่ี ขา้ พเจ้า นางปรชิ ญา มาสนิ ธ์ุ ตาแหนง่ ครู อันดับ คศ.3 วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ ได้
ลงทะเบียนเข้ารับการอบรมรายงานผลการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยโครงการ Thailand Massive Open
Online Course : ThaiMOOC (การศึกษาแบบเปิด เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต) โดยความร่วมมือของสานักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกิจและสังคม รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking” จานวน 6 ช่ัวโมงการเรียนรู้ จัดโดย
คณะครุศาสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

ในการนี้ การอบรมตามโครงการดังกล่าวไดเ้ สร็จสิ้นเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการ
อบรม รายละเอยี ดตามเอกสารแนบ

จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ

ลงชอ่ื ..………………………….……………….ผูร้ ายงาน
(นางปริชญา มาสินธ)์ุ

5:

รายงานผลการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศยั

รายวิชา “การคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking”
จัดโดยคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
********************************************
จากการฝึกอบรมการอบรมตามโครงการ Thailand Massive Open Online Course : ThaiMOOC
รายวิชา “การคดิ สร้างสรรค์ Creative Thinking” จานวน 6 ชวั่ โมงการเรยี นรู้ สรุปสาระสาคญั ได้ดังนี้

ตอนท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกับความคิดสรา้ งสรรค์

ความหมายของความคดิ สรา้ งสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดหลายแง่มุม เช่ือมโยงความสัมพันธ์ของส่ิงต่าง ๆ ได้
โดยมีสิ่งเร้ากระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ต่อเนื่องกันทาให้ค้นพบสิ่งแปลกใหม่ ผ่านกระบวนการคิด ดัดแปรงปรุงแต่ง
จากของเดมิ ผสมผสานกันทาให้เกดิ ส่ิงใหม่ๆ ขึน้ ทงั้ ส่ิงท่เี ปน็ นามธรรม เช่น วธิ กี ารใหมๆ่ หรอื แสดงออกมาในรูปของ
วัตถุ เช่น สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ โดยมีส่วนของความคิดย่อยซ่ึงประกอบไปด้วยความคิดริเริ่ม (Originality) ความคิด
คล่อง (Fluency)และความคดิ ยืดหยุ่น (Flexibility) และความคิดละเอยี ดลออ (Elaboration)

ความสาคญั ของความคดิ สรา้ งสรรค์

ช่วยสร้างนิสัยและผ่อนคลายอารมณ์ให้กับเด็กเน่ืองจากความคิดสร้างสรรค์เป็นทั้งการคิดและออกแบบ
ส่ิงใหม่ๆ รวมไปถึงการคิดเชิงบวก ไม่คิดท าลายล้างท าให้เด็กคิดแต่ส่ิงใหม่ๆ ท้ังยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กชอบ
ค้นคว้าทดลอง สร้างสรรค์ให้เกิดส่ิงแปลกใหม่ขึ้นกับชีวิตของเด็กทาให้เด็กตระหนักเห็นความสาคัญในส่ิงที่ตนเอง
ประดิษฐ์คิดค้นขึ้น ซ่ึงสิ่งน้ันเกิดคุณค่ากับตัวเด็กเองและส่งผลต่อองค์รวมคือผู้ใหญ่หรือสังคมพิจารณา
เห็นความสาคัญจนเกิดเป็นคุณค่าต่อสังคมที่อยู่ ซ่ึงส่งผลทางจิตวิทยาให้กับตัวเด็กท่ีจะเกิดความม่ันใจในตนเองเพ่มิ
มากข้ึน กลา้ คิด กล้าทากลา้ ค้นควา้ กล้าทดลอง ไม่วา่ สิ่งนน้ั จะถกู ตอ้ งหรอื ผดิ ทาใหเ้ ปน็ เดก็ ทม่ี ีความกล้าคดิ สง่ิ ใหมๆ่

ลกั ษณะของความคดิ สร้างสรรค์

1. มีความเป็นกระบวนการ กล่าวคือ ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการทางความคิด โดยสามารถแตก
ความคิดจากของเดิมไปสู่ความคิดใหม่ที่ไม่ซ้ากับของเดิมที่มีอยู่ อาจเกิดจากการต่อยอดเพิ่มเติมจากของเดิมท่ีมีอยู่
หรือรายวิชา การคิดสร้างสรรค์ 4เกิดจากการคิดใหม่ท้ังหมดต้ังแต่ต้นกระบวนการผลิต ท้ังนี้ท้ังนั้นไม่ว่าจะเป็น
ของเดิมหรอื ของใหม่ตา่ งกต็ ้องมีขนั้ ตอนทีเ่ กดิ ข้ึนจากกระบวนการคดิ

6:

2. มคี วามเป็นปัจเจกบคุ คล กล่าวคอื บคุ คลทมี่ ีความคิดรเิ ร่ิมจะเป็นบุคคลท่ีมีเอกลักษณ์ของตนเอง มคี วาม
เชอ่ื มนั่ ในตนเองสูง กล้าคิด กลา้ ลองท าในส่งิ ใหม่ๆ กลา้ แสดงออก ไมก่ ลวั ที่จะท าสงิ่ ต่าง ๆ ทไี่ มม่ ีความแนน่ อนหรือ
ความคลุมเครือ หรือหากมีเรื่องไม่แน่ใจก็ยินดีที่จะเผชิญสิ่งต่างๆ อย่างเต็มใจและยินดีเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ กล้า
เสย่ี งกบั สภาพการณต์ า่ ง ๆ ดังนัน้ จึงสรปุ ไดว้ ่าบุคคลท่ีมคี วามคิดสรา้ งสรรคจ์ ะเปน็ คนทีม่ สี ขุ ภาพจติ ดีด้วย

3. ผลิตผลมีคุณภาพ ผลงานที่เกิดจากความริเริ่มสร้างสรรค์ท่ีแปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏขึ้นมาก่อน มีคุณค่า
ต่อตนเองและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คุณค่าของคนจึงมีต้ังแต่ระดับต้น เช่น เป็นผลงานที่เกิดจากความต้องการ
การแสดงความคิดอย่างอิสระที่เกิดจากแรงจูงใจของตนเอง ท าเพื่อสนองความต้องการ ความพอใจของตนเอง โดย
ไม่คานึงถึงคุณภาพของงาน และค่อยๆ พัฒนาขึ้น โดยเพิ่มทักษะบางประการ ต่อมาเป็นขั้นของงานประดิษฐ์คิดค้น
ซ่ึงเป็นสิ่งใหม่ ไม่ซ้าใคร จากนั้นพัฒนางานประดิษฐ์ให้ดีขึ้นกระท่ังเป็นข้ันสูงสุด คืองานที่เกิดจากความคิดสิ่งท่ีเป็น
นามธรรมข้นั สงู สดุ เป็นทฤษฎีหรอื หลักการใหม่ๆ

ตอนท่ี 2 องค์ประกอบและกระบวนการของความคดิ สรา้ งสรรค์

กิลฟอร์ด (Guilford, 1967 อ้างถึงใน ศิวนิต อรรถวุฒิกุล, 2554, หน้า 51-53) ได้ศึกษาวิจัยและได้ผลลัพธ์
เปน็ ทฤษฎโี ครงสร้างทางสติปัญญา (The Structure of Intellect Model: SI) และพบวา่ โครงสรา้ งของสมรรถภาพ
ทางสมองของมนุษย์ท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุมีผลและสามารถแก้ไขปัญหาได้ จะมีลักษณะแบ่งออกเป็น 3 มิติ
ได้แก่

มิตทิ ่ี 1 เนื้อหา (Contents) เป็นขอ้ มลู หรือสง่ิ เร้าที่เป็นส่อื ในการคิด
มติ ิที่ 2 วธิ ีคดิ (Operations) เป็นกระบวนการปฏิบตั ิงานหรอื กระบวนการคิดของสมอง
มิติท่ี 3 ผลของการคิด (Products) เป็นการแสดงผลที่เกิดขึ้นจากสมองปฏิบัติงานหรือเรียกว่าเป็น
กระบวนการคิดของสมอง

ตอนที่ 3 กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ประกอบไปด้วยข้นั ตอนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
1. รวบรวมข้อมลู เป็นการจดั เตรยี มข้อมลู จากหลายๆ แหลง่ ข้อมูล ท้งั ที่เก่ียวขอ้ งโดยตรงหรือเป็นข้อมูลที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องบางส่วน น ามาเป็นปัจจัยนาเข้าเพ่ือค้นควา้ หาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีต้องการ ทั้งน้ีจะต้องเป็นข้อมูลท่ีมีความ
นา่ เชือ่ ถอื
2. วิเคราะห์ปัญหา เป็นการพิจารณาส่ิงท่ีเกิดข้ึนว่าขณะน้ันมีปัญหาใดเกิดขึ้น เกิดข้ึนเพราะสาเหตุใดหรือ
ปัจจัยใดท่ีส่งผลทาให้เกิดขึ้น และจะแก้ไขปัญหานั้นไม่ให้เกิดขึ้นหรือจะพัฒนาสิ่งนั้นให้ดีข้ึนกว่าเดิมจะต้องทา
อย่างไร ต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน บุคคล หรือส่ิงใด จะต้องใช้ทรัพยากรใดเพ่ือเป็นส่วนชว่ ยแก้ไขปญั หา
ทเ่ี กดิ ขึ้นนนั้ ไดบ้ า้ ง ซง่ึ จะต้องใช้ความชานาญหรอื ประสบการณท์ ่ีมีอย่ผู นวกกบั ความรใู้ นศาสตร์ด้านนนั้ ๆ

7:

3. ทดลองปฏิบัติ เป็นข้ันตอนที่ต่อจากการวิเคราะห์ปัญหา เพราะเมื่อวิเคราะห์ได้สาเหตุ วิธีการแก้ไขแล้ว
ข้ันตอนนี้จะทดลองน าส่ิงที่วิเคราะห์ได้จากขั้นตอนท่ี 2 มาทดลองปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อปฏิบัติได้อย่างเป็น
รปู ธรรมในขน้ั ตอนนอี้ าจจะได้วธิ ีการท่ีหลากหลายจากการปฏิบัติ ซ่ึงได้ผลลพั ธไ์ ม่เทา่ กนั

4. ค้นหาคาตอบด้วยความคดิ เปน็ ขัน้ ตอนท่จี ะต้องสรปุ ว่าวธิ ีการใดที่ได้ทดลองปฏิบัติไปเป็นวิธีการท่ีดีท่ีสุด
คุม้ คา่ ทีส่ ดุ ใช้ระยะเวลานอ้ ยทสี่ ดุ เหมาะสมกับสถานการณม์ ากทสี่ ุด เปน็ การหาขอ้ สรปุ

5. นาไปใช้ในสถานการณ์จริง หลังจากที่ได้ทดลองทดสอบและได้ข้อสรุปแล้วว่าส่ิงใดหรอื ข้อมูลใดเป็นสิ่งท่ี
ท่ีสุด ในขั้นน้ีจะนาไปทดลองใช้กับสถานการณ์จริงอีกครั้งหนึ่ง เพ่ือเป็นการทดลองใช้งานสิ่งที่ได้รับรู้มาว่ามี
ประสทิ ธภิ าพมากรายวชิ า การคดิ สรา้ งสรรค์ น้อยเพียงใด ซง่ึ ตวั แปรที่แทรกซอ้ นอาจจะเกดิ ขนึ้ มากกว่าในข้ันทดลอง
ปฏิบัติ แต่ขั้นนี้จะทาให้ได้รู้ว่าเม่ือนาไปใช้ในสถานการณ์จริง ตามสภาพแวดล้อมธรรมชาติท่ีเป็น สิ่งๆ นั้น จะมี
ประสทิ ธภิ าพเพียงใด

6. ประเมินผล เปน็ ข้ันตอนสาหรบั สรุปว่าสิ่งท่ีได้คิดข้ึนมาจากข้อมูลต่าง ๆ ทรี่ วบรวมมานน้ั เป็นสิ่งท่ีทาาให้
เกิดความคิดสร้างสรรค์จริงหรือไม่ อยู่ในระดับใด หากประเมินผลแล้วได้ผลดีก็แสดงให้เห็นได้ว่าควร นาไปใช้ใน
กระบวนการคิดครั้งถัดไป หากประเมินผลแล้วเกิดปัญหาอาจต้องหาสาเหตุของปัญหาแล้วดาเนินการตามข้ันตอน
ดังกล่าวใหมอ่ กี คร้ังหน่ึง

ตอนท่ี 4 การวัดและประเมนิ ผลความคิดสรา้ งสรรค์

อารี พันธ์มณี (2537, หน้า 185-187) กล่าวถึง การวัดความคิดสร้างสรรค์ว่า ไม่ใช่เฉพาะทาให้รู้ถึงระดับ
ความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก และเป็นข้อมูลสาหรับครูผู้สอนน ำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
เน้ือหา ซ่ึงหากเป็นสิ่งท่ีสอดคล้องกันจะเป็นการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กให้สูงย่ิงขึ้น และท่ีสาคัญยังทาให้
สกัดก้ันอุปสรรคท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือท ำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
สรปุ ไดด้ ังตอ่ ไปนี้

1. สังเกต เป็นการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกเชิงสร้างสรรค์โดยเฝ้าดูหรือสังเกตความคิด
จินตนาการ

2. วาดภาพเป็นการให้เด็กฝึกวาดภาพจากสิ่งเร้าที่เรากาหนดข้ึน เป็นการถ่ายทอดความคิดเชิงสร้างสรรค์
ออกมาเป็นรูปธรรมและสื่อความหมายได้ ส่ิงเร้าท่ีกาหนดให้อาจจะมีลักษณะเป็นวงกลม สี่เหล่ียม แล้วให้เด็กวาด
ภาพต่อเตมิ

3. รอยหยดหมึก เป็นการให้เด็กได้ดูภาพรอยหมึกแล้วคิดคาตอบเพ่ือตอบคาถามจากภาพท่ีเห็น วิธีการน้ี
นิยมใช้กับเด็กระดับชั้นประถมศึกษา เนื่องจากอธิบายสิ่งที่เห็นได้เป็นอย่างดี บนจินตนาการของเด็กแต่ละคนท่ีมีไม่
เท่ากนั

8:

4. การเขยี นเรยี งความและงานศิลปะ เปน็ การให้เด็กเขยี นเรยี งความจากหวั ข้อที่กาหนด ประเมนิ งานศิลปะ
ของนกั เรยี น

5. แบบทดสอบ เป็นการให้เด็กทาแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ซ่ึงเป็นผลจากการวิเคราะห์เกี่ยวกับ
ธรรมชาติของความคิดสรา้ งสรรค์

ตอนท่ี 5 การประยุกต์ใช้ความคดิ สร้างสรรค์

กจิ กรรมที่จาเป็นต่อความคดิ สรา้ งสรรค์ ดังนี้
1. ฝกึ เสนอแนะความคิดเห็นเก่ยี วกับสาเหตแุ ละแนวทางแก้ปัญหาหลายๆ แนวทาง
2. ฝกึ มองข้อเสนอของบคุ คลหรอื กลมุ่ บุคคลจากหลายๆ มุมมอง
3. ฝกึ เสนอความคิดเห็นเพ่มิ เติมจากความคิดเห็นของคนอ่นื
4. ฝกึ เสนอความคดิ เห็นให้แตกต่างจากความคิดเห็นของคนอนื่
5. หาโอกาสเขา้ รว่ มกิจกรรมระดมสมอง
6. ฝึกมองหาและตรวจสอบอิทธิพลขององค์ประกอบหรือกิจกรรมย่อยท่ีมีผลต่อองค์ประกอบใหญ่หรือ
กจิ กรรมหลัก
7. ฝึกติดตามและหาขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ผลจากการตัดสินใจในเร่อื งสาคัญของบคุ คลสาคญั
8. ฝึกมองหาความสมั พนั ธ์ของเหตกุ ารณ์หลายๆ เหตุการณ์
9. ฝึกเสย่ี งเสนอความคิดเหน็
10. ฝกึ สร้างจินตนาการเก่ียวกับเร่อื งต่าง ๆ
11. ฝึกเปรยี บเทียบสง่ิ ของ เหตกุ ารณแ์ ละกจิ กรรม
12. ฝึกสรา้ งภาพ สร้างฝนั และสร้างความสาเร็จ
13. ฝึกสืบหารากเหงา้ ความเป็นมาและความเกีย่ วขอ้ งสัมพนั ธข์ องเหตุการณร์ ายวิชา การคิดสร้างสรรค์ 2
14. ฝกึ ถามค าถามหลายๆ ค าถาม โดยเฉพาะค าถามปลายเปดิ
15. ฝึกพูดและเขียนนวนิยาย
16. ฝึกคดิ หาทางเลือก แนวทางที่จะเปน็ ไปได้ และตัวเลอื กเพือ่ แก้ปญั หา เหตกุ ารณ์ และสถานการณ์ตา่ ง ๆ

9:

ภาคผนวก

1. สาเนาหนังสือรับรองการผา่ นการอบรมหลักสูตร
2. ตวั อย่างหลกั สูตรอบรม
3. เนื้อหาประกอบ

10:

สาเนาหนงั สือรบั รอง
การผา่ นการอบรมหลกั สตู ร

11:

12:

ตัวอยา่ ง
หลกั สตู รอบรม

13:

14:

15:

เนือ้ หาประกอบ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์

รายวิชา
การคิดสร้างสรรค์

ดร.ดรัณภพ เพียรจัด

ตอนท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั ความคิดสร้างสรรค์

ความหมายของความคิดสรา้ งสรรค์
กิลฟอร์ด (Guilford, 1959, หน้า 389) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นความสามารถทางสมอง

เป็นความสามารถให้คิดได้หลายทิศทาง หลายแง่มุม คิดได้กว้างไกล หรือเรียกว่าความคิดแบบอเนกนัย (Divergent
Thinking) เป็นความคิดท่ีนาไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ รวมถึงเกิดการค้นพบวิธีการแก้ไขปัญหาได้สาเร็จ ซึ่ง
ความคิดแบบอเนกนัยประกอบไปด้วยความคิดริเริ่ม (Originality) ความคิดคล่อง (Fluency) และความคิดยืดหยุ่น
(Flexibility) และความคิดละเอียดลออ (Elaboration) คนท่ีมีลักษณะบ่งบอกว่าเปน็ คนมีความคดิ สร้างสรรค์จะต้องเป็น
คนกลา้ คดิ ไมก่ ลัวถกู วิพากษ์วจิ ารณ์และมีอสิ ระในการคิด

ทอร์แรนซ์ (Torrance, 1972, หน้า 42) ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ว่าหมายถึง กระบวนการท่ีบุคคล
ไวต่อปัญหา ข้อบกพร่อง ช่องว่างในด้านความรู้ สิ่งท่ีขาดหายไป หรือสิ่งท่ีไม่ประสานกันและไวต่อการแยกแยะ ส่ิงต่างๆ
ไวต่อการค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหา ไวต่อการเดาหรือการต้ังสมมติฐานเก่ียวกับข้อบกพร่อง ทดสอบและทดสอบอีกคร้ัง
เก่ยี วกบั สมมติฐาน จนในทส่ี ดุ สามารถนาเอาผลทไี่ ดไ้ ปแสดงใหป้ รากฏแกผ่ อู้ ืน่ ได้

อารี พนั ธม์ ณี (2540, หนา้ 6) กล่าววา่ ความคดิ สรา้ งสรรค์หมายถึง ความสามารถในการคดิ หลายแงม่ ุม เชือ่ มโยง
ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ โดยมีส่ิงเร้าเป็นตัวกระตุ้นทาให้เกิดความคิดใหม่ต่อเนื่องกันไป ซ่ึงจะนาไปสู่การค้นพบสิ่ง
แปลกใหม่ ด้วยการคิดดัดแปลงปรุงแต่งความคิดเดิม ซ่ึงผสมผสานกันทาให้เกิดส่ิงใหม่ขึ้น ซ่ึงรวมทั้ง การประดิษฐ์คิดค้น
ส่ิงต่างๆ และค้นพบวิธีการแก้ปัญหาสิ่งใหม่ๆ ซ่ึงแต่ละคนมีระดับแตกต่างกัน แต่สามารถพัฒนาข้ึนได้ถ้าได้รับการจัด
ประสบการณ์ท่เี หมาะสม

เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ (2549, หน้า 14) กล่าวว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นการขยายขอบเขตความคิดออกไป
จากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคาตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาท่ีเกิดข้ึน การคิด

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 2

สรา้ งสรรคเ์ ปรยี บเหมือนกับการที่ถกู ล้อมไปด้วยกองทัพข้าศกึ แลว้ หาทางออกไม่ได้หากใชว้ ิธกี ารแก้ปัญหาแบบเดิมๆ เรา
จาเป็นต้องฝ่าวงล้อมออกไปหรืออีกนัยหน่ึงเป็นเหมือนการแหวกม่านประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติ กล้าท่ีจะเดินไปบนเส้นทาง
ใหม่ๆ ท่ีไมม่ ีใครเคยเดินผ่านมากอ่ น ผลผลิตของการคิดสรา้ งสรรค์จะนาไปสู่การประดิษฐส์ ิ่งแปลกใหม่ หรือการคน้ พบวิธี
แกป้ ัญหาในวถิ ีทางท่ีไมเ่ คยปฏบิ ัตมิ าก่อน

ดังน้ันความคิดสร้างสรรค์หมายถึง ความสามารถในการคิดหลายแง่มุม เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ ได้
โดยมีสิ่งเร้ากระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ต่อเน่ืองกันทาให้ค้นพบสิ่งแปลกใหม่ ผ่านกระบวนการคิด ดัดแปรงปรุงแต่งจาก
ของเดมิ ผสมผสานกันทาให้เกิดส่งิ ใหม่ๆ ข้ึน ทง้ั สิ่งที่เปน็ นามธรรม เช่น วิธกี ารใหม่ๆ หรอื แสดงออกมาในรูปของวัตถุ เช่น
ส่ิงประดิษฐ์ต่างๆ โดยมีส่วนของความคิดย่อยซ่ึงประกอบไปด้วยความคิดริเริ่ม (Originality) ความคิดคล่อง (Fluency)
และความคิดยดื หยนุ่ (Flexibility) และความคดิ ละเอียดลออ (Elaboration)

ความสาคัญของความคดิ สร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์จะให้ความสนุกสนาน ความสุข และความพึงพอใจเกิดขึ้นกับตัวของเด็ก ซึ่งจะส่งผลต่อ
บุคลิกภาพของเด็กเมื่อเติบโตขึ้น เด็กจะมีความรู้สึกทางลบ เช่น หดหู่ เศร้าใจ เมื่อความคิดสร้างสรรค์ท่ีเขาคิดข้ึนมาถูก
ตาหนิ ติเตียน หรือถูกดูถูกว่าส่ิงที่เขาสร้างข้ึนนั้นไม่มีคุณค่า ตรงกับข้ามเด็กจะเกิดความรู้สึกทางบวก เช่น ดีใจ ปลาบ
ปล้ืม เม่ือสิ่งท่ีเขาคิดข้ึนนั้นได้รับการยอมรับและชมเชย (Hurlock, 1972, หน้า 327-328 อ้างถึงใน วิจิตร วรุตบางกูร,
2531, หน้า 30) ผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากความคิดสร้างสรรคใ์ หเ้ กดิ ส่ิงต่างๆ เช่น กระบวนการหรือ วิธกี ารใหม่ๆ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ
มากมาย เกดิ เป็นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งาน

เจอร์ซิล (Jersild, 1972, หน้า 153-158 อ้างถึงในเยาวพา เดชะคุปต์, 2542, หน้า 23) กล่าวถึงความคิด
สร้างสรรคว์ า่ มสี ่วนชว่ ยส่งเสริมเดก็ ด้านต่างๆ ดังน้ี

1. ส่งเสริมให้เด็กเกิดสุนทรียภาพ รู้จักชื่นชมและมีทัศนคติที่ดีต่อส่ิงต่างๆ ท่ีผู้ใหญ่ทาให้ดูเป็นแบบอย่าง ผู้ใหญ่
พิจารณา ยอมรับ และช่ืนชมในผลงานของเด็ก การพัฒนาสุนทรียภาพโดยให้เด็กทุกคนเห็นว่าทุกอย่างมีความสาคัญ
สาหรับตัวเอง ดงั นน้ั จะต้องสอนให้สังเกตส่ิงรอบตัวที่แปลกจากสง่ิ ธรรมดาสามัญ ให้เห็นหรือได้ยินส่งิ ใหม่ๆ รอบตวั

2. ผ่อนคลายอารมณ์ ลดความกดดันที่เกิดขึ้น ลดความคับข้องใจและความก้าวร้าวลง เน่ืองจากโลกในยุค
ปัจจุบันมีการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา ท้ังการแข่งขันกับตนเองและแข่งกันกับผู้อ่ืนเพื่อให้ตัวเด็กมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
คณุ ภาพ ดังนัน้ การเกิดความคิดสร้างสรรคจ์ ะช่วยผ่อนคลายอารมณ์และลดความกดดนั จากสิง่ ตา่ งๆ

3. สร้างนิสัยที่ดีในการทางาน โดยขณะเด็กทางาน ครูผู้สอนหรือผู้ใหญ่ควรสอนให้เด็กมีระเบียบวินัยท่ีดีในการ
ทาส่งิ ตา่ งๆ ควบคกู่ นั ไป เชน่ การเกบ็ ของให้เปน็ ท่ี เป็นต้น

4. เป็นการพัฒนากล้ามเน้ือมือ เด็กจะพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่จากการเลน่ การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่างๆ และ
พัฒนากลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ จากการตัดกระดาษ ประดษิ ฐ์ภาพ วาดภาพ เป็นตน้

5. เปิดโอกาสให้เด็กได้สารวจ ค้นคว้า ทดลอง เพราะเด็กจะชอบทากิจกรรมและใช้วัสดุต่างๆ ซ้ากัน ดังน้ันเพื่อ
สร้างสงิ่ ตา่ งๆ ซึ่งเป็นโอกาสทเ่ี ดก็ ใช้ความคิดริเริ่มและจินตนาการสร้างสิ่งใหม่ ครูจึงควรหาวัสดุตา่ งๆ มาให้เดก็ ได้ทดลอง
ด้วยตนเองเพอื่ ใหเ้ กิดความคดิ สร้างสรรค์

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 3

ผสุ ดี กุฎอินทร์ (2526) กลา่ วว่าความคิดสรา้ งสรรค์มคี วามสาคัญคอื

1. มีคุณค่าต่อสังคม เพราะบุคคลได้คิดและสร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ เพ่ือประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของ
สงั คมหรอื หาวิธกี ารไขปญั หาจนประสบความสาเรจ็ และมปี ระโยชนต์ อ่ สงั คม

2. มีคุณค่าต่อตนเอง เพราะการสรา้ งสงิ่ ใหม่ๆ ชิ้นใดชิ้นหน่ึง ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์จะทาให้ผู้สรา้ งสรรค์มี
ความพงึ พอใจและมคี วามสขุ

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ (2549, หน้า 3-4) ได้กล่าวถึงความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ว่าความคิด
สรา้ งสรรค์นน้ั

1. ให้ความหมายถึงความคิดเชิงบวก (positive thinking) เป็นการคานึงถึงการพูดในแง่บวก ไม่ได้มีนัยที่
เก่ียวข้องกับความแตกต่างหรือความแปลกใหม่ ท้ังน้ีความคิดแง่บวกเป็นสิ่งท่ีเกี่ยวเนื่องกับลักษณะนิสัยมากกว่าวิธีคิด
ตรงข้ามกับการคิดแง่ลบซ่ึงหมายถึงความคิดท่ีไม่ดีงาม คิดไม่ดีต่อผู้อ่ืนหรือตนเอง เป็นการคิดที่ทาให้เกิดการบั่นทอน
จิตใจ เช่น พูดให้สร้างสรรค์ หากพูดแบบน้ีคนทะเลาะกัน เป็นการคานึงถึงการพูดในแง่บวกไม่ได้หมายความถึงความ
แตกตา่ งทางการพูด เปน็ ต้น

2. ให้ความหมายถึงการกระทาท่ีไม่ทาร้ายใคร (constructive thinking) เป็นการคิดไม่ทาลายล้าง คิดและ
กระทาในเชิงบวก มเี ป้าหมายเพื่อเสริมสร้างให้ดีขน้ึ ตรงข้ามกับการคิดและการกระทาในเชิงลบที่มุ่งทาลาย เป็นลกั ษณะ
การเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ สามารถนาไปใช้ได้ เช่น อ่านบทความชนิ้ หน่ึง แลว้ ประเมินว่าบทความสร้างสรรค์ดี คาว่า
สร้างสรรค์ในความหมายท่ีกล่าวถึงน้ี ให้ความรู้สึกว่าไม่ได้ให้ร้ายหรือทาร้ายใคร นาเสนอแนวคิดเชิงเสนอแนะมากกว่า
การตาหนิตเิ ตียน ซ่ึงไม่ได้หมายถงึ การคดิ เพ่ือสรา้ งสิ่งใหม่ๆ

3. ให้ความหมายถึงการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ (creative thinking) ซ่ึงเป็นความหมายทั่วไปในภาษาอังกฤษ เป็น
การสร้างสิ่งใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม และใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างเหมาะสม เช่น กระติกนา้ ร้อนสาหรับเดินทางที่มีระบบอุ่น
ในตัวถือเป็นส่ิงใหม่ น่าต่ืนตาต่ืนใจ ไม่เคยเห็นจากที่ใดมาก่อน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าส่ิงที่มีอยู่เดิม
เปน็ ตน้

ดังนั้นควรส่งเสริมและปลูกฝังให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์เพื่อช่วยสร้างนิสัยและผ่อนคลายอารมณ์ให้กับเด็ก
เนื่องจากความคิดสร้างสรรค์เป็นทั้งการคิดและออกแบบส่ิงใหม่ๆ รวมไปถึงการคิดเชิงบวก ไม่คิดทาลายล้างทาให้เด็กคิด
แต่สิ่งใหม่ๆ ทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กชอบค้นคว้าทดลอง สร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งแปลกใหม่ขึ้นกับชีวิตของเด็กทาให้เด็ก
ตระหนักเห็นความสาคัญในสิ่งทีต่ นเองประดิษฐ์คิดคน้ ขึ้น ซง่ึ สิ่งน้ันเกิดคณุ คา่ กบั ตัวเดก็ เองและส่งผลต่อองคร์ วมคือผู้ใหญ่
หรือสังคมพิจารณาเห็นความสาคัญจนเกิดเป็นคณุ ค่าต่อสังคมที่อยู่ ซ่ึงส่งผลทางจติ วิทยาให้กับตัวเด็กที่จะเกิดความมั่นใจ
ในตนเองเพิ่มมากข้ึน กล้าคิด กล้าทา กล้าค้นคว้า กล้าทดลอง ไม่ว่าส่ิงนั้นจะถูกต้องหรือผิด ทาให้เป็นเด็กท่ีมีความกล้า
คดิ ส่งิ ใหม่ๆ

ลกั ษณะของความคิดสร้างสรรค์

อารี พันธ์มณี (2544, หนา้ 25-26) ได้กลา่ วถึงลักษณะของความคิดสร้างสรรคท์ ี่จะมีลักษณะ 3 ประการที่สาคัญ
ได้แก่

1. มีความเป็นกระบวนการ กล่าวคือ ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการทางความคิด โดยสามารถแตก
ความคิดจากของเดิมไปสู่ความคิดใหม่ท่ีไม่ซ้ากับของเดิมท่ีมีอยู่ อาจเกิดจากการต่อยอดเพิ่มเติมจากของเดิมท่ีมีอยู่ หรือ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 4

เกิดจากการคิดใหม่ทั้งหมดตั้งแต่ต้นกระบวนการผลิต ทั้งนี้ท้ังน้ันไม่ว่าจะเป็นของเดิมหรือของใหม่ต่างก็ต้องมีข้ันตอนท่ี
เกิดขึน้ จากกระบวนการคดิ ไมว่ ่าจะมคี วามเปน็ รูปธรรมหรอื นามธรรมก็ตาม

2. มีความเป็นปัจเจกบุคคล กล่าวคือ บุคคลท่ีมีความคิดริเร่ิมจะเป็นบุคคลที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง มีความ
เช่อื ม่ันในตนเองสงู กล้าคิด กลา้ ลองทาในสิ่งใหม่ๆ กลา้ แสดงออก ไม่กลวั ที่จะทาสงิ่ ตา่ งๆ ท่ีไมม่ ีความแน่นอนหรือมคี วาม
คลุมเครือ หรือหากมีเรื่องไม่แน่ใจก็ยินดีท่ีจะเผชิญสิ่งต่างๆ อย่างเต็มใจและยินดีเผชิญกับปัญหาต่างๆ กล้าเสี่ยงกับ
สภาพการณต์ ่างๆ ดังนน้ั จงึ สรปุ ไดว้ า่ บุคคลทมี่ คี วามคิดสรา้ งสรรคจ์ ะเปน็ คนทีม่ ีสขุ ภาพจติ ดีด้วย

3. ผลิตผลมีคุณภาพ ผลงานท่ีเกิดจากความริเริ่มสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏข้ึนมาก่อน มีคุณค่าต่อ
ตนเองและเป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวม คณุ ค่าของคนจงึ มีตั้งแตร่ ะดับตน้ เช่น เป็นผลงานท่ีเกดิ จากความต้องการ การแสดง
ความคิดอย่างอิสระที่เกิดจากแรงจูงใจของตนเอง ทาเพ่ือสนองความต้องการ ความพอใจของตนเอง โดยไม่คานึงถึง
คุณภาพของงาน และค่อยๆ พฒั นาข้ึน โดยเพิ่มทักษะบางประการ ตอ่ มาเป็นขั้นของงานประดิษฐ์คิดคน้ ซง่ึ เป็นสิ่งใหม่ ไม่
ซา้ ใคร จากนั้นพัฒนางานประดิษฐ์ให้ดีขนึ้ กระท่ังเป็นขั้นสูงสดุ คืองานที่เกิดจากความคิดส่ิงท่ีเป็นนามธรรมขั้นสูงสุด เป็น
ทฤษฎหี รือหลักการใหม่ๆ

นอกจากน้ีความคิดสร้างสรรคจ์ าแนกตามลักษณะของการก่อเกิดความคดิ สรา้ งสรรค์ ดังนี้

1. การรับอิทธิพลความคิด ด้วยสังคมการเรียนรู้ของประเทศไทยไม่อาจละท้ิงความมีต้นแบบหรือความมีครูซ่ึง
เป็นผู้หล่อหลอมความรู้หรือความคิดของเด็กไปได้ ดังนั้นส่วนหน่ึงของความคิดสร้างสรรค์จึงเกิดจากต้นแบบท่ีสั่งสม
อิทธิพลมาถงึ ตัวเดก็

2. การโต้แย้งความคิด การโต้แย้งหรือคัดค้าน เป็นความคิดแบบสวนกระแส การโต้แย้งมักทาให้ผู้ฟังหรือผู้เรียน
ตอ้ งหาเหตผุ ลใหมๆ่ ท่ีเกดิ ข้ึนอย่างมีเหตุผลทีม่ ีความลมุ่ ลึกและแหลมคม มาโต้แย้งกับเจ้าของความคดิ นัน้

3. การคิดจากประสบการณ์ ผู้ท่ีมีประสบการณ์ชีวิตท่ีหล่อหลอมจนกระทั่งมีวิถีการดาเนินชีวิตเช่นที่เป็นอยู่ จะ
แสดงออกทางความคิดและการกระทาโดยใช้ประสบการณ์ตนเองที่เคยมี ซ่ึงการกระทาที่เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้นจากเคยผ่าน
ประสบการณ์นั้นมาโดยตรง หรือพัฒนาจากการคิดอีกหลายรูปแบบ (เช่น คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดประยุกต์ คิด
บรู ณาการ เปน็ ต้น) เพื่อทาใหเ้ กดิ เป็นความคดิ ใหม่

ลกั ษณะของคนทมี่ ีความคิดสร้างสรรค์

ความคิดสรา้ งสรรค์มอี ยู่ในตัวของมนษุ ยท์ กุ คน ทกุ เพศ ทกุ วัย แตจ่ ะมอี ยู่ในแต่ละบคุ คลมากหรือนอ้ ยแตกต่างกัน
ออกไปตามศักยภาพของแต่ละบุคคล แต่นักจิตวทิ ยาและนักการศึกษาได้ศึกษาถึงคุณลักษณะทีแ่ สดงออกมาของบุคคลที่
มีความคดิ สรา้ งสรรคส์ ูง จะมีลกั ษณะดงั ต่อไปนี้

มาสโลว์ (Maslow, 1954 อ้างถึงใน ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2546, หน้า 66) พบว่าลักษณะของผู้ที่มีความคิด
สร้างสรรค์เหนือกว่าบุคคลอื่นๆ นั้น จะมีความเป็นตัวของตัวเองสูง ไม่เกรงกลัวต่อสิ่งต่างๆ แม้กระท่ังสิ่งที่ลึกลับหรือน่า
สงสัย แต่จะมีความพอใจ พร้อมเผชิญหน้ากับความตื่นตัวต่างๆ ที่จะเกิดขน้ึ ในทุกสถานการณ์ มีท่าทีท่แี สดงออกทางกาย
ถงึ การยอมรับ พรอ้ มเผชญิ สงิ่ ต่างๆ อยา่ งไมเ่ กรงกลวั สงั เกตได้ทางสีหนา้ ทีแ่ สดงออกจะปราศจากความกังวลหรือตืน่ กลัว

แมคคินนอน (Mackinnon, 1962 อ้างถึงใน ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2546, หน้า 68) กล่าวถึงคุณลักษณะของผู้
ทมี่ ีความคิดสร้างสรรค์สูงพบว่า เป็นบุคคลที่มีความมานะ พยายาม มีความช่างคิดค้นส่ิงใหม่ๆ หรือต่อยอดสงิ่ ต่างๆ จาก
ของเดมิ มีความเปน็ อิสระ และเป็นตวั ของตัวเองในการตัดสนิ ใจทาในสิ่งตา่ งๆ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 5

กระทรวงศึกษาธิการ (2534, หน้า 15) ศึกษาพฤติกรรมหรือบุคลิกภาพของบุคคลท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ว่ามี
ลักษณะดังต่อไปนี้

1. เป็นตัวของตัวเอง มีอิสระ ไม่ชอบตามแบบใคร ไม่คล้อยตามความคิดเห็นของผู้อ่ืนง่ายๆ กล้าคิด กล้า
แสดงออก ชอบแสดงความเห็น ชอบคลกุ คลีในสังคม ถอื ตวั เองเป็นศนู ย์กลาง

2. วางแผนอนาคตไปข้างหน้า เต็มใจทางานหนักหรอื อุทศิ เวลาให้กับงานหรือส่ิงทีต่ นเองสนใจ มีความมานะทจี่ ะ
ทางานยากๆ ให้สาเรจ็ เปิดรบั ประสบการณใ์ หม่ๆ ไมห่ ลีกเลี่ยงงาน มีประสบการณก์ ารทางานอยา่ งกว้างขวาง

3. มีความตื่นตัวอยากรู้ อยากเห็น เต็มใจเสี่ยงในทุกสถานการณ์ ขยันหม่ันเพียร มีแรงจูงใจในการทาสิ่งต่างๆ มี
จินตนาการ

4. แก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดีและรวดเร็ว มองการณ์ไกล คิดได้หลายแง่หลายมุม สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้เป็น
อย่างดี คิดได้อย่างคล่องแคล่วและมีความยืดหยุ่นทางความคดิ พรอ้ มเปลี่ยนแปลงวิธีการใหม่ๆ เพ่ือให้ได้ผลท่ีดีกว่า ช่าง
สงสัยและชอบคิดหาคาตอบ

5. มีสมาธิ มีความสามารถในการคดิ พนิ จิ พเิ คราะหไ์ ด้อยา่ งถี่ถ้วน

6. ชอบคิดและทาส่ิงที่แปลกใหม่ สามารถคิดส่ิงท่ีซับซ้อนได้ ชอบความยุ่งยากเพราะมีความสุขกับการแก้ไข
ปัญหา มคี วามสามารถในการคดิ ข้อซักถามในสิง่ ท่ตี ้องการรู้

7. ยอมรับสิ่งท่ีไม่แน่นอน หรือส่ิงท่ีเป็นข้อขัดแย้ง มีความอดทนในสิ่งท่ีไม่แน่ชัด ไม่เกรงกลัวต่อส่ิงท่ีไม่เคยพบ
หรอื ส่ิงท่ีลึกลบั และนา่ สงสัย มคี วามรู้สกึ พอใจและตน่ื เต้น (ความรสู้ กึ ดา้ นบวก) ทจ่ี ะได้เผชญิ กบั สง่ิ เหลา่ นนั้

8. อดทนต่อความไม่เป็นระเบียบ ไม่ทาตามระเบียบหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ เพราะไม่ชอบถูกตี กรอบหรือถูก
กาหนดให้อยใู่ นกฎระเบียบต่างๆ เพราะมีความรู้สึกไม่ชอบถกู บงั คบั ชอบทาสง่ิ แปลกใหม่ไมช่ อบของเดิมๆ

9. เป็นคนมีความคดิ เชิงบวก อารมณ์ดี มจี ินตนาการในการสร้างสรรคส์ ง่ิ ตา่ งๆ

อุษณีย์ โพธิสุข (2545, หน้า 12-13) กล่าวถึงลักษณะของบุคคลท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ว่าจะต้องมีลักษณะ
เฉพาะท่แี ตกต่างไปจากบุคคลอื่นๆ ซึ่งมลี กั ษณะดังน้ี

1. ไมใ่ ห้ความร่วมมือ ถ้าไม่เหน็ ดว้ ยกบั สิ่งทเี่ กดิ ขน้ึ และจะไม่ยอมรว่ มกจิ กรรมทตี่ นเองไมช่ อบหรือไมถ่ ูกใจ
2. ชอบทางานคนเดียวเปน็ เวลานานๆ
3. มคี วามสุขกบั การได้คิดคน้ หาสงิ่ ใหมๆ่
4. มคี วามเป็นอิสระ ไมช่ อบทางานตามผอู้ น่ื
5. ชอบสร้างแลว้ รื้อ รอื้ แลว้ สรา้ งใหม่ เพอ่ื ให้ไดส้ ง่ิ ทดี่ ีท่สี ดุ
6. มคี วามสนใจในส่งิ ต่างๆ อย่างกว้างขวาง
7. ชอบค้นคว้าหาความรูไ้ ปเรอ่ื ยๆ ในเรอ่ื งที่ตนเองเกดิ ความสนใจ
8. ไมส่ นใจในส่ิงท่ไี มเ่ หน็ ด้วยและจะหมดความสนใจไปง่ายๆ
9. ชา่ งพูด ช่างซักถามในส่ิงทต่ี นเองสนใจหรืออยากรู้
10. แสดงความคิดไดอ้ ย่างหลากหลายในเรอื่ งๆ เดียว มคี าถามแปลกๆ ท้าทายให้คิดอยูต่ ลอดเวลา
11. ไม่ชอบความซ้าซาก จาเจ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 6

12. กล้าทดลอง กล้าทาเพ่ือพิสูจน์ในส่ิงท่ีตนเองสนใจหรือคิดค้นข้ึน ถึงแม้จะเกิดความไม่แน่ใจในส่ิงที่กาลังจะทา
กต็ าม

13. อารมณด์ ี มีอารมณ์ขัน
14. อารมณอ์ ่อนไหวง่าย
15. ซาบซง้ึ กับสุนทรยี ภาพ เชน่ ชอบฟงั ดนตรี ชอบเสพศิลปะต่างๆ ชอบเหมอ่ ลอย สรา้ งจินตนาการด้วยตนเอง
16. ไม่หงุดหงดิ กบั ความไมเ่ ป็นระเบียบหรือยุ่งเหยิงที่คนอน่ื ทาไว้
17. ไมก่ ลัววา่ ตนเองจะดแู ปลกหรอื ไมเ่ หมือนคนอ่นื ๆ
18. โต้แยง้ ถา้ ไม่เหน็ ดว้ ย และจะไมย่ อมรับในสงิ่ ทไี่ มเ่ ห็นดว้ ย
19. ชา่ งสงั เกตและจดจาส่งิ ต่างๆ อย่างละเอียดได้เปน็ อย่างดี
20. ไม่ชอบถกู บงั คับ ไมช่ อบทาตามกฎเกณฑ์ ไม่ชอบถกู ตกี รอบให้อยูใ่ นกตกิ า
21. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ืน่
22. ชอบคิดยืดหยุ่น คิดหลายทิศทาง เช่น คิดแก้ปัญหาในสถานการณ์เดียวแต่จะมีทางออกของปัญหาใน
หลากหลายทศิ ทาง
23. คดิ หรือกระทาหลายๆ อยา่ ง ได้ในเวลาเดยี วกนั
24. ชอบเป็นคนแรกในการคิดหรอื ทาสิ่งใหม่ๆ
25. ชอบความเปน็ อิสระทง้ั การกระทาและความคดิ
26. ในสายตาของคนทั่วไปจะดู “แปลก” กว่าคนอืน่
27. เห็นความเช่ือมโยงและความสัมพันธข์ องสิ่งตา่ งๆ ท่ีคนอื่นๆ มองไมเ่ ห็น ผสมผสานความคิดหรือสิ่งต่างๆ เข้า
ด้วยกนั โดยทไี่ ม่มใี ครเคยคิดมาก่อน
28. มคี วามวจิ ิตรพสิ ดารในการทาสิง่ ต่างๆ

สภาพแวดล้อมท่สี ่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์

การคิดสร้างสรรค์ส่งเสริมได้ด้วยการสอน ฝึกฝน อบรม โดยสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความ
เป็นอิสระในการเรียนรู้ (Torrance, 1962, อ้างถึงในชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2546, หน้า 80) กล่าวถึงสภาพแวดล้อมท่ี
ส่งเสรมิ ให้เกดิ ความคดิ สร้างสรรคว์ า่

1. บรรยากาศการเรียนรู้โดยเด็กต้องถามและให้ความสนใจต่อคาถาม โดยเฉพาะอย่างย่ิงคาถามแปลกๆ ของเด็ก
โดยท่ีพ่อแม่หรือครูไม่ควรมุ่งที่คาตอบท่ีถูกเพียงอย่างเดียว เพราะการแก้ปัญหาจะต้องใช้ทักษะหลายด้านของตัวเด็กเอง
เขา้ มาแกไ้ ข บางคร้งั เด็กอาจใช้วธิ ีการคาดเดาซ่ึงมีทง้ั ความเป็นจริงและเรือ่ งทค่ี าดเดาปะปนอยู่ พอ่ แมค่ วรยอมรับ และตัว
ของพ่อแม่เองจะต้องพยายามกระตุ้นให้เด็กได้วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ บนพื้นฐานของความเป็นจริง พยายามให้เด็กได้
ค้นหาเพื่อพิสูจน์ผลทเี่ กดิ ขน้ึ ตามประสบการณ์ของตัวเด็กท่มี ีอยู่

2. ให้ความสาคัญและเอาใจใส่ต่อความคิดที่แปลกๆ ของเด็กด้วยใจเป็นกลาง เม่ือเด็กจะแสดงความคิดเห็น
ออกมาในลักษณะใด หรืออย่างไร แม้เปน็ ความคิดที่ไม่เคยเกิดขึน้ มาก่อน ตวั ผู้ใหญ่เองไม่ควรตัดสินวา่ ความคิดน้ันถูกหรือ
ผิด ควรฟังเหตุผลและการอธิบายของเด็กก่อน เพราะการรับรู้ของเด็กท่ีมีประสบการณ์การใช้ชีวิตน้อยอาจจะมีความ
แตกต่างจากผู้ใหญ่

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 7

3. เอาใจใส่หรือแสดงท่าทีกระตือรือร้นต่อคาถามแปลกๆ ของเด็ก ด้วยการตอบอย่างใส่ใจ มชี ีวิตชวี า คล้อยตาม
คาถาม หรือชี้แนะให้เด็กหาคาตอบด้วยแหล่งข้อมูลต่างๆ ด้วยตนเอง พร้อมทั้งต้องให้ความสาคัญโดยการแสดงออกให้
เห็นว่าความคิดท่ีเด็กแสดงออกมาน้ันมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ที่สาคัญ หากแสดงออกในลักษณะการปฏิบัติออกมาให้
เห็นเป็นรูปธรรมจะทาให้เดก็ เกิดความภาคภมู ใิ จและมนี ิสยั ชอบคดิ กลา้ คิดในสง่ิ ท่ีแปลกใหม่

เกรยี งศักดิ์ เจรญิ วงศ์ศักดิ์ (2549, หน้า 24-26) กล่าวว่าคนท่ีจะคิดสร้างสรรค์ได้จะต้องพิจารณาสภาพแวดล้อม
เป็นส่งิ สาคัญด้วย คนท่ีมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์มักถกู กระตุน้ และไดร้ บั การส่งเสริม สนับสนนุ โดยการสรา้ งบรรยากาศท่ีไม่มี
การสร้างกรอบหรือมาตรฐานต่างๆ มาบีบรัด เช่น สังคมที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก สังคมที่ส่งเสริมความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม สังคมท่ีมีแบบอย่างคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ สังคมที่ให้รางวัลและการสนับสนุนคนท่ีมี
ความคิดแตกตา่ ง สังคมท่ีมีการส่งเสรมิ แข่งขันทางธุรกิจอยา่ งเสรี ซ่ึงบรบิ ทสังคมที่ได้กล่าวไปหลายประการจะส่งเสรมิ ให้
คนที่อาศัยอยู่ในสังคมนั้นมีความคิดสร้างสรรค์ หากพิจารณาในบริบทของการจัดการเรยี นการสอนจะมีสภาพแวดล้อมที่
ให้อสิ ระกบั ผู้เรียนได้คิดออกแบบกิจกรรมการเรยี นรตู้ ่างๆ ดว้ ยตนเองอย่างสรา้ งสรรค์

ตรงข้ามกับผู้ที่อยู่ในสังคมที่ขาดความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงจะมีสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านความคิด
สร้างสรรค์ให้ชะงักลง ยกตัวอย่างเช่น สังคมที่ยึดมั่นในการดาเนินชีวิตตามขนบธรรมเนียมประเพณี สังคมท่ีมีลักษณะ
เผด็จการทาให้คนที่อาศัยอยู่ในสังคมไม่กล้าคดิ นอกกรอบ สังคมท่ีไม่กลา้ ยอมรับสิ่งใหม่ๆ ท่จี ะเกิดขึ้น หากพิจารณาในแง่
ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจะพบว่าการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการท่องจา จะทาให้ผู้เรียนไม่เกิดความคิด
สร้างสรรค์เพราะไม่ได้คิดต่อยอดให้เกิดส่ิงใหม่ๆ หรือไม่ได้คิดริเร่ิมให้เกิดส่ิงใหม่ๆ สังเกตจากสภาพของโรงเรียนจะไม่มี
บรรยากาศทส่ี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ดิ อย่างอสิ ระ

รายการอา้ งอิง
เกรยี งศักด์ิ เจริญวงศศ์ ักด.ิ์ (2549). การคิดเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE THINKING. กรงุ เทพฯ:

บรษิ ทั ซคั เซสมีเดยี จากดั .
ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน์. (2546). ความคดิ สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
เยาวพา เดชุคปุ ต์. (2542). กิจกรรมสาหรบั เด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แม็ค.
วจิ ติ ร วรุตบางกูร. (2531). ความคิดสร้างสรรค.์ กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ ส.ส.ท.
อารี พนั ธ์มณ.ี (2540). คิดอย่างสรา้ งสรรค์. กรงุ เทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี จากดั .
อารี พันธม์ ณี. (2544). การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคส์ ู่ความเป็นเลิศ. กรงุ เทพฯ: พัฒนาศึกษา.
Torrance, E. Paul. (1962). Education and the Creative Potential Minneapolis.

The L und Press. Inc.

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์

รายวิชา
การคิดสร้างสรรค์

ดร.ดรัณภพ เพียรจัด

ตอนที่ 2 องค์ประกอบและกระบวนการของความคิดสร้างสรรค์

องคป์ ระกอบของความคดิ สร้างสรรค์
กิลฟอร์ด (Guilford, 1967 อ้างถึงใน ศิวนิต อรรถวุฒิกุล, 2554, หน้า 51-53) ได้ศึกษาวิจัยและได้ผลลัพธ์

เป็นทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญา (The Structure of Intellect Model: SI) และพบว่าโครงสร้างของสมรรถภาพทาง
สมองของมนุษยท์ ีม่ ีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีเหตมุ ีผลและสามารถแก้ไขปญั หาได้ จะมีลักษณะแบ่งออกเปน็ 3 มิติ ได้แก่

มติ ทิ ี่ 1 เน้อื หา (Contents) เป็นขอ้ มูลหรือสิ่งเร้าที่เปน็ สอื่ ในการคิด อยูใ่ นรูปแบบของ
1. ภาษา (Semantic) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปถ้อยคาหรือตัวอักษรที่มีความหมายในลักษณะต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลาย
ภาษาที่จะแตกต่างกันออกไปตามเช้ือชาติที่อยู่ เป็นสิ่งสาคัญท่ีใช้ในการสื่อสารทาให้เกิดความเข้าใจระหว่างผู้ส่งสารและ
ผรู้ ับสาร นอกจากน้ีภาษาในที่น้ียังหมายรวมถึงภาษาที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของถ้อยคาหรอื ตัวอักษร แต่อาจอยู่ในลักษณะ
อ่ืนๆ เช่น ภาษาใบ้ซ่ึงเป็นการใช้ท่าทางแสดงสิ่งท่ีต้องการส่ือสารออกมา หรือภาษาท่าทาง ท่ีเกิดขึ้นจากการสังเกต
ลักษณะบนใบหน้าที่ต้องการส่ือความหมายออกมาให้ผู้รับสารทราบว่าจะต้องทาสิ่งใดจึงจะเป็นการตอบสนอง
สถานการณ์ท่เี กดิ ข้นึ จากผสู้ ง่ สาร
2. ภาพ (Figural) เป็นข้อมูลท่ีเป็นรูปธรรมท่ีทาให้เด็กรับรู้และระลึกได้เมื่อเห็นภาพนั้นจะมีการนึกคิดผ่าน
ประสบการณ์เดิมที่มี ภาพสามารถส่ือความหมายต่างๆ ออกมาได้ดว้ ยตวั มันเอง เปน็ ส่ิงท่ีใช้ท้ังความคิดและความรู้สึกที่มี
ในการมองเห็นและทาให้เกิดความซึมซาบเป็นการเข้าใจด้วยความสามารถในการรับรู้ เช่น ภาพน่ิง ภาพกราฟิก เป็นต้น
เปน็ การใชก้ ารส่ือสารเพ่ือสอ่ื ความหมายเพยี งข้อเดียว
3. สัญลักษณ์ (Symbolic) เป็นข้อมูลท่ีอยใู่ นรูปของเคร่ืองหมายต่างๆ หรือแสดงใหเ้ ห็นในสัญรูปท่ีมคี วามหมาย
เฉพาะตัวของภาพนั้นๆ ทาให้ไม่ต้องสื่อความหมายหลายต่อเหมือนการอ่านข้อความหรือตัวอักษร เช่น เมื่อคนมองเห็น

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 2

เส้นขาวสลับกับเส้นแดงบนฟุตบาทข้างถนน จะทาให้รู้ทันทีว่าเป็นเขตห้ามจอด หากจอดจะผิดกฎหมาย ซ่ึงผู้ขับรถจะ
ทราบกันดี เมอ่ื มองเห็นเส้นขาวแดงจะสานึกและระลกึ ได้เองโดยอัตโนมตั ิว่าจอดรถในบรเิ วณนัน้ ๆ ไม่ได้ แตห่ ากแทนทจ่ี ะ
ทาเสน้ สีขาวแดงแต่กลับเขียนว่า “ห้ามจอด” ต้ังไว้บริเวณเดียวกัน จะทาให้สมองทมี่ องเห็นตัวอักษรวา่ “ห้ามจอด” ต้อง
คิดกล่ันกรองแปลผลจากคาว่า “ห้ามจอด” ให้เป็นภาพในสมองว่าจอดรถไม่ได้ จากนั้นจึงจะตัดสินใจไม่จอดรถ ซึ่งเป็น
การแปลความหมายหลายต่อ อาจทาให้เกิดความผิดพลาดของการสื่อความหมายได้ ดังนั้นการใช้สัญลักษณ์จะทาให้คน
เกิดความเข้าใจได้ตรงกัน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องเป็นสัญลักษณ์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายเท่าน้ัน เพราะสัญลักษณ์
บางอย่างรกู้ ันอยูใ่ นวงจากัดเฉพาะกลมุ่ ทาใหไ้ ม่สามารถนาไปใช้ในโอกาสอ่ืนๆ ได้

4. พฤติกรรม (Behavior) เป็นการแสดงออกของกิริยาอาการทางร่างกายของมนุษย์ท่ีแสดงออกมาในลักษณะ
ตา่ งๆ ผสมผสานกับกระบวนการทางความคดิ ทัศนคติ การรับรู้ในลักษณะต่างๆ ผ่านผัสสะท้ังห้า เพื่อส่ือความหมายให้คู่
สนทนาหรือผู้ที่เป็นเป้าหมายของการสนทนารับทราบได้ว่าผู้ส่งสารต้องการให้เกิดอะไรข้ึน เช่น หาวหมายถึงง่วงนอน
ขยบิ ตาเพ่อื เปน็ การรกู้ ัน ปิดจมูกเพื่อใหอ้ กี ฝา่ ยรูว้ า่ ทาสงิ่ ที่ทาให้เกิดกลนิ่ ไม่พึงประสงค์ เปน็ ต้น

ซ่ึงบุคคลสามารถรับรู้ ใช้ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ พฤติกรรมเหล่านี้เพื่อใช้ใน การติดต่อสื่อสารและทาให้เกิด
ความร้สู ึกนึกคดิ ได้

มิติท่ี 2 วิธคี ิด (Operations) เปน็ กระบวนการปฏิบตั งิ านหรอื กระบวนการคดิ ของสมอง ที่ประกอบไปด้วย

1. การรู้จักและเข้าใจ (Cognition) เป็นความสามารถทางสมองของบุคคลท่ีรู้จักและเข้าใจในสิ่งต่างๆ ได้อย่าง
ทันทที นั ใด เช่น เมอ่ื สมั ผัสและเห็นวัตถมุ ขี นยาวๆ ผลสแี ดง ผวิ หยาบๆ ก็รูไ้ ด้วา่ เปน็ เงาะ

2. การจา (Memory) เป็นความสามารถทางสมองท่ีเก็บสะสมข้อมูลต่างๆ และระลึกข้อมูลเดิมน้ันออกมาในรูป
แบบเดิมได้ตามตอ้ งการ เชน่ การจาค่าอาหารทีจ่ ่ายไปได้ การทอ่ งจาสูตรคณู

3. การคิดแบบอเนกนัย (Divergent thinking) ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้หลายแง่หลายมุม
หลายทิศทาง คิดหาคาตอบได้โดยไม่จากัดจานวนจากส่ิงเร้า กาหนดให้ในเวลาที่จากัด เช่น ให้บอกสิ่งท่ีขึ้นต้นด้วยคาว่า
“ขา้ ว” ใหม้ ากท่สี ดุ

4. การคิดแบบเอกนัย (Convergent thinking) เป็นความสามารถทางสมองของบุคคลในการสรุปผลข้อมูลท่ีดี
ที่สุด หลังจากได้รับรู้ข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลาย หรือสถานการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งในการสรุปผลข้อมูลแบบ
การคิดเอกนัยน้ีจะต้องสรุปผลเป็นคาตอบเพียงคาตอบเดียวเท่าน้ัน เพ่ือเป็นการยืนยันคาตอบที่ดีที่สุด เช่น การเลือก
คาตอบเดยี วจากขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ ซง่ึ จะเปน็ ส่งิ ทีถ่ ูกทสี่ ุด

5. การประเมินค่า (Evaluation) เป็นความสามารถของบุคคลท่ีหาเกณฑ์ท่ีสมเหตุสมผลเกี่ยวกับความดี ความ
งาม ความเหมาะสมจากขอ้ มูลทก่ี าหนดให้

มิติที่ 3 ผลของการคิด (Products) เป็นการแสดงผลท่ีเกิดข้ึนจากสมองปฏิบัติงานหรือเรียกว่าเป็น
กระบวนการคดิ ของสมอง ซงึ่ เกิดจากการผสมผสานมติ ดิ ้านเน้ือหาและดา้ นปฏิบตั กิ ารเข้าด้วยกนั แบ่งออกเปน็

1. หน่วย (Unit) เป็นส่วนย่อยๆ ท่ีถูกแยกออกมาจากส่วนใหญ่ แต่ละหน่วยย่อยจะมีคุณสมบัติเฉพาะของตัว
ระบบเองที่แตกตา่ งไปจากส่ิงอ่ืนๆ เชน่ ลิง สุนัข แมว เปน็ ตน้

2. จานวน (Class) เป็นกลุ่มของส่ิงมีชีวิตท่ีมีคุณสมบัติบางประการร่วมกัน เช่น คน สุนัข แมว เป็นส่ิงมีชีวิตที่
เลีย้ งลกู ดว้ ยนม

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 3

3. ความสัมพันธ์ (Relation) เป็นผลของความเชื่อมโยงของความคิดแบบต่างๆ ต้ังแต่ 2 หน่วย เข้าด้วยกัน โดย
อาศัยลักษณะบางประการเป็นเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบของหน่วยกับหน่วย ระบบกับระบบ เช่น ฉลามกับเหาฉลาม นก
เอ้ยี งกับควาย เปน็ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสงิ่ มีชวี ติ กบั ทีอ่ ยอู่ าศัย เป็นต้น

4. ระบบ (System) เป็นการเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของผลท่ีไดห้ ลายๆ คู่ เขา้ ด้วยกันอย่างมีระบบ เช่น 2 4 6 8
10 เปน็ ระบบเลขจานวนคู่

5. การแปลงรูป (Transformation) เป็นการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง การให้นิยามใหม่ การตีความหมาย การ
ขยายความหรือการจัดองค์ประกอบของข้อมูลที่กาหนดขึ้นมา ให้อยู่ในรูปแบบใหม่ เพ่ือนาไปใช้ในวัตถุประสงค์อ่ืน เช่น
การเปล่ยี นแปลงรปู ภาพ เป็นตน้

6. การประยุกต์ (Implications) เป็นการคาดหวังหรือทานายเร่ืองบางเร่ืองจากข้อมูลท่ีกาหนดให้โดยมีข้อมูล
เพ่ิมข้ึนจากแนวคิดเดิมทาให้เกิดความแตกต่างไปจากเดิม เช่น เมื่อเห็นเครื่องหมายบวก สีขาว จะนึกถึงสัญลักษณ์ของ
กาชาด เป็นต้น

โดยบุคคลท่ีมีความคิดสร้างสรรค์จะมีลักษณะแตกต่างไปจากบุคคลท่ัวไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงลักษณะ การคิด
แบบอเนกนัย ท่เี ปน็ การคดิ สรา้ งสรรค์ทป่ี ระกอบไปด้วยลกั ษณะความคิดย่อย 3 ประการ ไดแ้ ก่

1. ความคิดริเริ่ม (Originality) เป็นความคิดแปลกใหม่ซ่ึงแตกต่างไปจากความคุ้นเคยเดิมๆ ท่ีมีอยู่ สามารถ
ค้นหาแนวทางใหม่ๆ แตกต่างจากความคิดธรรมดาหรือความคิดเรียบง่ายแบบเดิมๆ ไม่ซ้ากับสิ่งที่มีอยู่ และอาจไม่เคยมี
ใครคิดมาก่อน เรียกว่า Wild Idea ความคิดริเริ่มไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งใหม่ซ่ึงไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่อาศัยการสะสม
และรวบรวมความรู้เดิมมาดัดแปลงหรอื ประยุกต์ให้ดีขน้ึ มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่ิงประดษิ ฐ์ส่วนใหญ่ล้วนอาศัยแนว
ทางการพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง ความคิดรเิ รม่ิ ต้องอาศยั ความกล้าคิด กล้าทดลอง เพื่อทดสอบความคิดของตนเอง และอาจ
ต้องอาศัยจินตนาการหรือเรียกว่าจินตนาการประยุกต์ อาจแสดงออกมาในรูปลักษณะทางผลผลิตหรือกระบวนการคิด
เช่น การตีความรับรู้เนื้อหาต่างๆ ท่ีผ่านเข้ามา สู่ประสาทสัมผัส ตัวอย่างเช่น เม่ือเห็นรูป  จะบอกว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยม
แต่ถ้าพยายามคิดให้ต่างออกไปจะมองเห็นเป็นมุมฉากส่ีมุมต่อกัน หรือมองเห็นเป็นเส้นตรงส่ีเส้น ซ่ึงเป็นการมองเห็น
ความสัมพนั ธ์ใหม่

บุคลิกภาพของผู้ท่ีมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จะเป็นผู้เปิดกว้าง ยอมรับความคิดและประสบการณ์แปลกใหม่
กลา้ คิด กล้าแสดงออก กล้าทดลอง มีความเช่ือม่ันในแนวคดิ ใหม่ๆ ของตนเอง มีความอยากรู้อยากเห็นและมีอสิ ระในการ
คดิ และการกระทาโดยไม่ยดึ มัน่ กับกฎเกณฑ์ใดๆ ทม่ี ากเกนิ ไป

คะแนนของความคิดริเริ่มพิจารณาจากความถ่ีของคาตอบของสมาชิกท้ังหมดที่เป็นความคิดแปลก และแตกต่าง
ไปจากสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่ม โดยกาหนดให้คะแนนความคิดรเิ ร่มิ คือคาตอบทสี่ มาชิกในกลุ่มตอบซ้ากันมากๆ ให้คะแนน
น้อยหรือไม่ให้คะแนนเลย แต่ถ้าคาตอบซ้ากับสมาชิกคนอ่ืนๆ น้อย หรือไม่ซ้ากับสมาชิกคนอ่ืนๆ ย่อมจะได้คะแนน
มากกวา่

2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) เป็นความสามารถในการผลิตความคิดที่แตกต่างและหลากหลายภายใต้
กรอบจากัดของเวลา การคิดคล่องแคล่วจะต้องตอบสนองสิ่งเร้าให้ได้มากที่สุดเท่าท่ีจะสามารถทาได้ หรือความสามารถ
คดิ หาคาตอบท่ีเด่นชัดและตรงประเด็นให้มากที่สดุ โดยพร่ังพรูออกมาไม่ซ้ากันในเร่ืองเดียวกัน และใช้เวลาทร่ี วดเร็วหรือ
ภายใต้กรอบจากัดของเวลา แล้วนาความคิดท่ีได้ท้ังหมดมาพิจารณาเพื่อเลือกแนวคิดที่ดีท่ีสุด และเหมาะสมมาใช้ในการ
แก้ไขปัญหา เพราะการแก้ไขปัญหาต้องหาคาตอบหรอื วิธีการแก้ไขปญั หาที่หลากหลาย และตอ้ งนาวธิ ีเหล่านั้นมาทดลอง
จนได้วิธีการท่ีถูกต้อง เป็นความสามารถเบ้ืองต้นท่ีนาไปสู่ การคิดอย่างมีคุณภาพ และการคิดเพ่ือแก้ปัญหาอย่างมี
ประสิทธิภาพต่อไป โดยแบ่งเป็น

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 4

2.1 ความคล่องแคล่วด้านการใช้ถ้อยคา (Word Fluency) เป็นความสามารถในการใช้การพูดหรือถ้อยคาได้
อย่างรวดเร็ว ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้รับสารได้รับสารและแสดงพฤติกรรมตอบสนองตรงกับความต้องการของผู้
ส่งสารภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ผู้ที่มีความคล่องแคล่วด้านการใช้ถ้อยคาจะเป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับว่ามีไหวพริบ
ปฏิภาณดี เนื่องจากมีความสามารถในการส่ือสารโต้ตอบและทาให้คู่สนทนาด้วยมอบส่ิงที่ตนเองต้องการออกไปภายใน
ระยะเวลาทีจ่ ากัด ซึ่งสิง่ นน้ั อาจเป็นรปู ธรรมหรอื เปน็ นามธรรม ก็ได้ ข้ึนอยกู่ บั วตั ถปุ ระสงค์ท่ผี ูส้ ง่ สารต้องการให้เกดิ ขนึ้

2.2 ความคล่องแคล่วด้านการโยงความสัมพันธ์ (Associational Fluency) เป็นความสามารถหาถ้อยคาท่ีมี
ความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกันได้อย่างรวดเร็ว และมากท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด เกิดจาก
ความสามารถเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธส์ ่ิงต่างๆ รอบตัวได้อยา่ งรวดเรว็ ทาให้บคุ คลผู้น้สี ามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เป็นประเด็นใน
การวิเคราะห์และสังเคราะห์ เกิดเป็นทักษะการเรียนรู้ขั้นสูงต่อไปได้ในท่ีสุด สามารถจัดหรือจาแนกประเภทหมวดหมู่
ต่างๆ ได้

2.3 ความคล่องแคล่วด้านการแสดงออก (Expressional Fluency) เป็นความสามารถในการนาคามาเรียง
เป็นวลีและประโยค เพ่ือแสดงจุดหมายที่ต้องการได้อย่างเหมาะสม สังเกตเห็นได้ชัดเจนจากการแสดงออกทางด้านการ
พูดออกมา ซึ่งบางครั้งผู้ฟังจะรู้สึกว่าพูดตอบโต้ออกมาได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากการแสดงออกน้ันจะทาให้คู่สนทนา ซ่ึง
เป็นผู้รับสาร สังเกตเห็นได้อย่างทันทีทันใด ทาให้ผู้รับสารสามารถทราบถึงสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องทา และสามารถโต้ตอบด้วย
พฤตกิ รรมต่างๆ ไดอ้ ย่างตรงวัตถุประสงคท์ ่ีฝัง่ ผู้ส่งสารสอื่ สารออกมาได้อยา่ งทนั ทที นั ใด

2.4 ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational Fluency) เป็นความสามารถในการคิดส่ิงท่ีต้องการ โดยผลิต
ความคิดได้อย่างหลากหลายรูปแบบ จะมีลักษณะเป็นภาพที่มีความเป็นรูปธรรมสูง หรือไม่ใช่ภาพแต่เป็นข้ันตอนหรือ
กระบวนการหรือสิ่งทเ่ี ปน็ นามธรรมสงู กต็ าม ผลที่เกิดข้นึ จะทาใหเ้ กิดทางเลือกทีเ่ ป็นผลจากความคดิ ท่ีหลากหลายรูปแบบ
เป็นประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการทางานหรือการผลิตวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาได้อย่างหลากหลาย

บุคลิกภาพของผู้ท่ีมีความคิดคล่องแคล่วจะคิดสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว อาจแสดงออกทางร่างกาย เช่น การพูด
การแสดงทัศนะหรืออธิบายเช่ือมโยงสิ่งต่างๆ หรืออาจกระทาพฤติกรรมต่างๆ ออกมาทันทีทันใด หรือแม้กระทั่งวาง
แผนการคิด ซึ่งส่ิงเหล่านี้จะทาได้ภายในระยะเวลารวดเร็ว (ไม่ต้องระลึกนาน) ทาให้ดูเหมือนไม่ใช้เวลาในการคิด เพราะ
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด บ้างก็เรียกว่าเร็วปานเกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีจะเกิดขึ้นได้จะต้องอาศัย
ระยะเวลาและความชานาญ รวมถึงเป็นความสามารถพิเศษท่ีแต่ละคนมีติดตัวมาไม่เท่ากัน ดังน้ันจึงเป็นลักษณะเฉพาะ
บุคคลในแต่ละคนที่มีอยู่แตกต่างกัน ฝาแฝดบางคู่มีสภาพแวดล้อมที่เหมือนกัน แต่มีลักษณะความคล่องแคล่วในการ
แสดงออกทง้ั ทางด้านการพูด การเชอื่ มโยงส่ิงต่างๆ รอบตวั ความคิด และพฤติกรรมที่แตกตา่ งกนั ออกไป

คะแนนความคล่องแคล่ว จะมีวิธีการคิดโดยพิจารณาจากจานวนคาตอบทั้งหมดที่เป็นไปได้ ตามเงื่อนไขของ
คาถามท่ีได้กาหนดขึ้น มีวิธีคิดโดยผู้ตรวจคะแนนจะต้องให้คะแนนคาตอบที่เป็นไปได้คาตอบละ 1 คะแนน ไม่ว่าคาตอบ
นั้นจะซ้ากับคาตอบของผู้อ่นื หรอื ไม่ก็สามารถให้คะแนนได้ แต่ส่งิ สาคัญคือคาตอบทไี่ ด้น้ีจะต้องไม่ซ้ากับคาตอบของตนเอง
ท่ีเคยดาเนินการคดิ มากอ่ นหนา้ น้ี

3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นความสามารถในการปรับสภาพความคิดในสถานการณ์ต่างๆ ในลักษณะ
การคิดนอกกรอบ ไม่ตกอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์หรือความคุ้นเคย ความยืดหยุ่นทาให้มองเห็นส่ิงต่างๆ ในแง่มุมใหม่ เป็นการ
คิดหาคาตอบได้หลายประเภท หลีกเลี่ยงการซา้ ซ้อน ช่วยใหม้ องเห็นสงิ่ ต่างๆ ในแง่มมุ ใหม่ๆ เน้นทั้งปริมาณท่ีหลากหลาย
และประเภทท่ีหลากหลาย (หรือหลากหลายหมวดหมู่) ซ่ึงมีประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาและเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิด
ความคิดคล่องแคล่วให้พัฒนาความคิดแตกแขนงในทิศทางท่ีแตกต่าง ไม่ซ้าซ้อน นาไปสู่ความคิดอย่างมีคุณภาพและเกิด
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ความยืดหยุ่นมีความสัมพันธ์กับความคิดดัดแปลงและความเป็นอิสระในการคิด กล่าวคือ ผู้ที่

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 5

สามารถคิดดัดแปลงสูง ย่อมแสดงความสามารถในการคิดยืดหยุ่นสูงด้วย และผู้ท่ีมีอิสระในการคิดและการกระทา จะมี
ปฏกิ ิริยาแปลกใหมใ่ นการตอบสนองต่อสิง่ เรา้ โดยความยืดหยุน่ ในการคดิ แบ่งออกเปน็

3.1 ความยืดหยุ่นท่ีเกิดขึ้นในทันทีทันใด (Spontaneous Flexibility) เป็นความสามารถในการคิดได้หลาย
ทิศทางที่เกิดข้ึนทันทีทันใด หลังจากมีปัญหาหรือสิ่งเร้ามากระตุ้นให้ต้องเกิดความคิดทาให้ได้แนวทางการแก้ไขปัญหา
หรือภาพทางความคิดท่ีเป็นผลที่เกิดข้ึนจากการคิดน้ันหลายแนวทาง ส่งผลให้มีรูปแบบแนวความคิดที่หลากหลายใน
ระยะเวลาอนั รวดเร็ว ความคิดยืดหยุ่นท่ีเกดิ ขึ้นทันทที ันใดอาจเป็นผลสบื เน่ืองจากสภาพแวดล้อม ประสบการณ์เดิม ของ
ตัวผู้คิด สั่งสมมาเร่ือยๆ ผนวกกับความสามารถทางสมองของแตล่ ะบุคคลท่ีเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด เมอ่ื ทั้งสองส่ิงรวมกัน
จนกระท่ังเป็นความสามารถเฉพาะตัวทาใหผ้ ู้เรียนคดิ ได้อยา่ งทนั ทีทันใด

3.2 ความคิดยืดหยุ่นทางการดัดแปลง (Adapture Flexibility) เป็นความสามารถที่เกิดขึ้นจากการดัดแปลง
ความรู้หรือประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม ต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้คิดผนวกกับอาศัยความสามารถทางการคิดของแต่ละ
คนทีต่ ้องนาความรู้ท่มี ีมาปรุงแต่งทาให้เกิดความรู้ใหม่ นามาคิดใหม่เพอื่ ให้เกดิ ประโยชน์ท่ีหลากหลายในหลายๆ ด้าน ทา
ให้เกิดประโยชน์ทด่ี ีทสี่ ุดขนึ้ มาและสามารถนาไปใช้ในการแกไ้ ขปัญหาท่ีมอี ยู่หรือพัฒนาสง่ิ ทีเ่ ป็นอยไู่ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

คะแนนความยืดหยุ่นในการคิดพิจารณาจากจานวนกลุ่มหรือจานวนทิศทางของคาตอบ โดยนาคาตอบท่ีให้
คะแนนความคิดคล่องไปแล้วมาจัดกลุ่มหรือทิศทาง คาตอบใดเป็นคาตอบท่ีอยู่ในกลุ่มหรือทิศทางเดียวกันหรือ
ความหมายเดียวกัน ให้จัดเข้าเป็นกลุ่มเดียวกัน แล้วตรวจนับให้คะแนนตามจานวนกลุ่มท่ีจัดไว้ โดยให้คะแนนกลุ่มละ 1
คะแนน

4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) เป็นความสามารถมองเห็นรายละเอียดท่ีคนอื่นมองไม่เห็น และ
เช่ือมโยงความสัมพันธ์ส่ิงต่างๆ อย่างมีความหมาย เป็นลักษณะการคิดตกแต่งรายละเอียดเพ่ือขยายความคิดหลักให้
สมบูรณ์ มีความสัมพันธ์ กับความสามารถในการสังเกต ใสใ่ จในรายละเอียดเล็กน้อย เพื่อสร้างผลงานให้มีความแปลกใหม่
ให้สาเร็จ ความคิดลักษณะนี้จะขึ้นอยู่กับพัฒนาการตามอายุ และเพศ กล่าวคือ คนที่มีอายุมากจะมีความสามารถคิด
ละเอียดลออได้มากกว่าคนท่ีมีอายุน้อย เพศหญิงจะมีความคิดละเอียดลออมากกว่าเพศชาย ความคิดละเอียดลออเป็น
ความคิดในรายละเอยี ดเป็นขนั้ ตอน สามารถอธิบายใหเ้ หน็ ภาพชัดเจนหรือเป็นแผนงานท่ีสมบรู ณข์ ึ้น จดั เปน็ รายละเอยี ด
ทน่ี ามาตกแตง่ ขยายความคิดริเรม่ิ ให้สมบูรณย์ ง่ิ ขึน้ ได้แก่

4.1 ความไวต่อปัญหา (Sensitivity to Problem) เป็นการใช้สมองท่ีใช้คิดเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน
ระยะเวลาอันรวดเร็ว ซ่ึงเป็นการทาความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจะแสวงหาวิธีการแก้ไขปัญหาหรือไม่ขึ้นอยู่กับ
สถานการณ์

4.2 ความสามารถในการให้นิยามใหม่ (Redefinition) เป็นการใช้สมองคิดรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม
ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่เคยมีมาอยู่ก่อน คิดทบทวน ครุ่นคิด จากน้ันสามารถบอกคานิยามของสิ่งต่างๆ ที่เกิด
จากการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ จนเกิดเปน็ นยิ ามใหม่ข้นึ

4.3 ความซึมซาบ (Permeation) เปน็ ความรู้สกึ ทีเ่ กดิ ข้ึนจากการเกดิ ความเขา้ ใจแทรกเข้าไปในจิตใจหลงั จาก
ได้ใช้สมองครนุ่ คดิ ทบทวน ทาใหผ้ ้คู ดิ เกดิ ความเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้ในปัญหาหรอื สถานการณ์ตา่ งๆ ท่เี กดิ ขึน้

4.4 ความสามารถในการทานาย (Prediction) เป็นการนาประสบการณ์เดิมท่ีมีอยู่ท้ังที่เป็นความรู้ หรือ
สถานการณ์ท่ีคงค้างอยู่ในความทรงจา นามาวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่างๆ จากน้ันอธิบายคาดการณ์บนพ้ืนฐานของความ
เป็นไปได้ ทาให้ได้ส่ิงใหม่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของสิ่งประดิษฐ์หรือรูปแบบของวิธีการหรือกระบวนการต่างๆ ที่
เกิดขน้ึ บนพนื้ ฐานของความเป็นไปได้

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 6

4.5 การมีอารมณ์ขัน (Humor) เป็นการสร้างตัวตนให้ไม่เกิดความเครียด ผ่อนคลายทางความคิดด้วย
ความคิดเชิงบวกต่อจิตใจ พฤติกรรมการมีอารมณ์ขันเป็นส่ิงท่ีทาให้เกิดขึ้นได้ยาก เนอื่ งจากต้องส่งั สมจากการสั่งสอนของ
ครอบครัวและสงั คมรอบข้าง ใหเ้ ป็นผู้มคี วามคดิ เชงิ บวก ไม่ยอ่ ทอ้ คดิ สู้กับปัญหาในทุกรปู แบบบนจติ ใจและอารมณ์ที่ดี

4.6 ความมุ่งมั่น (Intention) เป็นความคิดที่ไม่ย่อท้อต่อทุกอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นในทุกช่วงสถานการณ์ ต้องการ
เอาชนะอปุ สรรคตา่ งๆ ให้ได้ โดยใชก้ ระบวนความคิดทีต่ นเองมอี ย่นู ามาสรา้ งวธิ กี ารเพ่อื ใหช้ นะอุปสรรคตา่ งๆ ไปให้ได้

คะแนนความคิดละเอียดลออ พิจารณาจากรายละเอียดทางความคิดอ่ืน ที่นามาตกแต่งความคดิ แรกท่ีคิดขึ้น ให้
เกิดความสมบูรณ์มากที่สุด อาจเป็นการคิดกลับไปกลับมาหลายๆ ครั้ง เพ่ือสนับสนุนให้ความคิดแรกมีคุณภาพมากท่ีสุด
ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจะทาให้ความคิดเดิมที่เกิดข้ึนในคร้ังแรกเกิดความชัดเจนและมีความหมายมากกว่าการคิดเพียงแค่คร้ัง
เดียวที่คิดข้ึน โดยการให้คะแนนจะพิจารณาท่ีรายละเอียดการต่อเติม (จากความคิดเดิม) โดยต่อเติมในความคิดแต่ละ
ส่วน ไม่ว่าจะต่อเติมตัวสิ่งเร้าหรือปัญหาท่ีเกิดขึ้นในครั้งแรก หรือเป็นการต่อเติมสถานการณ์ใหม่ๆ เพิ่มข้ึนจาก
สถานการณ์เดิมเป็นชั้นที่สองหรือช้ันท่ีสาม หรือเป็นการต่อเติมส่วนท่ีว่างของส่ิงที่กาหนดให้ทุกตาแหน่งท่ีมีความหมาย
แต่ถา้ ซา้ กนั จะได้ 1 คะแนน เท่านัน้

รายการอา้ งอิง
Torrance, E. P. (1962). Guiding Creative Talent. Englewood Cliffs, N.J: Prentice-Hall, Inc.
ศิวนิต อรรถวฒุ ิกุล. (2554). การผลติ สื่อการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 468 213.

ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์.
อารี พันธ์มณี. 2537. ความคิดสรา้ งสรรค์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ 1412.

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์

รายวิชา
การคิดสร้างสรรค์

ดร.ดรัณภพ เพียรจัด

ตอนท่ี 3 กระบวนการของความคิดสรา้ งสรรค์

กระบวนการคิดสรา้ งสรรค์
กระบวนการคิดสร้างสรรค์เปน็ วิธีการคิดอย่างเป็นข้นั ตอน เพ่ือไปสู่จุดมุ่งหมาย โดยเร่ิมจากการเกิด ความสับสน

วุ่นวาย หรือมีปัญหาเกิดข้ึน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาขนาดใด หากเราประยุกต์นาปัญหาน้ันมาคิดโดยตัดความสับสน วุ่นวาย
หรือเกิดปัญหาท้งิ ไป และดาเนนิ การรวบรวมขอ้ มูล เกิดความคิดนาไปทดลองใช้ ปรับปรุง และนาไปใช้เป็นข้ันสุดทา้ ย จะ
ทาใหก้ ลายเป็นผมู้ คี วามคดิ สร้างสรรค์

กระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Creative Process) เป็นวิธีการคิดหรือกระบวนการทางานของสมองอย่างเป็น
ขน้ั ตอน ตลอดจนกระทั่งคิดแก้ไขปัญหาไดส้ าเร็จ กล่าวได้ว่ากระบวนการคิดสรา้ งสรรค์เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ซ่งึ มนี กั การศกึ ษามากมายต่างกล่าวถึงกระบวนการคิดสร้างสรรคไ์ ว้ดังน้ี

ทอร์แรนซ์ ได้กลา่ วถึงกระบวนการคิดสร้างสรรค์เปน็ กระบวนการของความไวตอ่ ปัญหาหรือส่ิงท่ีบกพรอ่ งหายไป
แล้วจึงรวบรวมความคิดต้ังเป็นสมมติฐาน เพ่ือเป็นแนวคิดและแนวทางใหม่ตอ่ ไป (Torrance, 1965 อา้ งถึงในชาญณรงค์
พรรุ่งโรจน์, 2546, หน้า 50) โดยกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving) แบ่งออกเป็น
ขนั้ ตอนตา่ งๆ ดังนี้

ข้ันท่ี 1 พบความจริง (Fact Finding) โดยเร่ิมตั้งแต่เกิดความรู้สึกสงสัยหรือกังวลใจ มีความสับสน วุ่นวาย
(Mess) เกิดข้ึนในจิตใจแต่ไมส่ ามารถบอกได้ว่าเป็นอะไร ซ่ึงจะต้องพยายามต้ังสติ และพิจารณาดูว่าความยุ่งยาก วุ่นวาย
สบั สน หรือสิ่งท่ีทาให้กังวลใจนั้นคืออะไร พิจารณาจากหลากหลายสาเหตุหรือหลากหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อความกังวลใจ
นน้ั

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 2

ข้ันท่ี 2 พบปัญหา (Problem Finding) เมื่อได้พิจารณาอย่างรอบคอบแล้ว พิจารณาอย่างถ่ีถ้วนในข้ันตอนท่ี 1
เสร็จเรียบร้อยแล้ว ในข้ันตอนน้ีจะต้องสรุปว่าความกังวลใจ สับสน วุ่นวายใจนั้นคือ การมีปัญหาเกิดข้ึน เป็นการค้นพบ
ปัญหาท่ีแทจ้ รงิ วา่ คืออะไร อาจต้องจดั ลาดับความสาคญั ของปญั หา และเลือกปญั หาที่สาคญั มาพจิ ารณา

ข้ันท่ี 3 ต้ังสมมติฐาน (Idea Finding) เม่ือรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้นจะต้องพยายามคิดตั้งสมมติฐานเพื่อแก้ไขปัญหา
โดยรวมรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อนาไปใช้ในการทดสอบสมมติฐานข้ันต่อไป ในการตั้งสมมติฐานจะต้องคิดทบทวน
เพ่ือให้ได้แนวทางแก้ไขปัญหาไว้หลายๆ แนวทาง ดังนั้นจึงต้องรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อนามาใช้เรียบ
เรยี ง พินิจพิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น สมมติฐานน้ตี ้องอยบู่ นพ้ืนฐานของความเป็นไปได้ในการใช้สภาพแวดล้อม
ดา้ นต่างๆ เพ่อื จดั การใหป้ ัญหาถูกขจัดออกไป

ขน้ั ท่ี 4 พบคาตอบ (Solution Finding) เป็นการพบคาตอบจากการทดสอบสมมติฐานท่ีได้หลากหลายแนวทาง
โดยขั้นตอนนี้จะต้องพิจารณาแนวทางท่ีดีที่สุดเพียงแนวทางเดียว หรืออาจพิจารณาหลากหลายแนวทางแล้วจัดลาดับ
ความสมั พันธ์และความสาคัญ ใช้วิธีการทด่ี ที ่ีสดุ แกไ้ ขไปก่อนในลาดับแรก และค่อยๆ พิจารณาหลากหลายวิธีการที่สาคัญ
หรอื สัมพนั ธ์ลาดับรองลงมา

ข้ันที่ 5 ยอมรบั ผลจากการคน้ พบ (Acceptance Finding) เป็นการยอมรับคาตอบท่ีได้จาก การพสิ ูจน์เรียบร้อย
แล้ววา่ เป็นการแก้ไขปัญหาให้สาเร็จได้อย่างไร และต่อจากจุดน้ีไป การแก้ปัญหาหรือ การค้นพบยังไม่จบลง แต่ท่ีได้จาก
การคน้ พบน้จี ะนาไปสู่วถิ ที างท่ีทาใหเ้ กดิ แนวคดิ ใหม่ต่อไป (New Challenge)

ไวแกนด์ (Weigand, 1971, หน้า 208 อ้างถึงใน ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2546, หน้า 12) ได้เสนอแนวคิด
กระบวนการสร้างสรรค์ไม่จาเป็นต้องดาเนินทีละขั้นตอน โดยท่ัวไปแล้วจะเป็นไปตามลาดับขั้นและกระบวนการ
สร้างสรรค์ ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนตา่ งๆ 5 ขนั้ ตอน ดงั นี้

1. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา เป็นการทาความเข้าใจกับปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น หาสาเหตุและปัจจัยของปัญหาว่าเกิด
จากส่งิ ใด เพื่อต่อไปจะเช่ือมโยงสกู่ ระบวนการแก้ไข

2. ขั้นการปฏิบัติ เป็นกระบวนการคิดทดลองแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนด้วยแนวทางท่ีได้หาไว้ บนพื้นฐานของ
ทฤษฎีหรือหลักการต่างๆ มารองรบั เพอ่ื เชื่อมโยงสกู่ ระบวนการแก้ไขปัญหา

3. ขั้นความคิดติดชั้น เป็นการหาข้อสรุปทางความคิดว่าจากผลที่ได้ปฏิบัติไปแล้วน้ัน ได้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
หรอื ไม่ อยา่ งไร มปี จั จยั นาเข้าใดทส่ี ่งผลตอ่ กระบวนการ ปญั หา หรอื กรณีศกึ ษา แล้วทา้ ยท่สี ดุ จะสง่ ผลอย่างไร

4. ข้ันเกิดความกระจ่าง เป็นการตกผลึกทางความคิด และสรุปตัดสินใจอย่างแน่นอนแล้วว่าจะดาเนินการ
อยา่ งไรเพ่ือแกไ้ ขปัญหา เป็นข้นั ทีไ่ ด้ภาพของความสาเร็จออกมา

5. ขั้นพิสูจน์ เป็นการดาเนินการตามสิ่งท่ีได้วางแผนไว้ เพื่อให้ได้ผลการปฏิบัติออกมาอย่างที่วางแผนไว้ใน
ตอนตน้ และพิสูจนว์ า่ ความคดิ ทีไ่ ดว้ างแผนไวน้ ้นั สามารถเปน็ จรงิ ได้

วอลลาช (Wallach, 1962 อ้างถึงใน สุวิทย์ มูลคา, 2547, หน้า 23) กล่าวว่ากระบวนการคิดสร้างสรรค์เป็น
กระบวนการทางสมองท่ีคานึงถงึ ความคิดในส่ิงใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการทางร่างกายลองผิดลองถูกตามความคิดนั้น โดย
แบง่ เปน็ ข้นั ตอนของกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ไวด้ ังนี้

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 3

1. ขั้นเตรียมข้อมูล เป็นการคานึงถึงข้อมูลท่ีเป็นทฤษฎี หลักการ หรือความคิดท่ีเก่ียวข้องกับกรณีหรือปัญหาท่ี
เกิดข้ึน เป็นการจัดเตรียมข้อมูลท่ีสามารถหามาได้ในทุกช่องทางและทุกรูปแบบเพื่อให้ได้ปัจจัยนาเข้าท่ีจะนาเข้าสู่
กระบวนการคดิ ในขนั้ ตอนถดั ไป

ผลลัพธ์ท่ีได้จากขั้นเตรียมข้อมูลจะได้เป็นข้อมูล (Data) ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล (Information) ทาให้เกิด
เป็นแหล่งคลังข้อมูลจานวนมากที่เก่ียวข้องกับปัญหาและวิธีการแก้ไขต่อไป สามารถหยิบหรือนามาใช้ได้ทันทีทันใด ไม่
ตอ้ งค้นคว้าหาเพมิ่ เตมิ

2. ข้ันความคิดคุกรุ่นหรือระยะฟักตัว เป็นการทบทวนข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนท่ี 1 ซ้าไปซ้ามาหลายๆ รอบ และ
คิดค้นหาข้อมูลท่ีจะสนบั สนุนหรอื มีส่วนเก่ียวข้องกับปัญหาหรอื กรณีศึกษาน้ัน เป็นการลองผดิ ลองถูกทางความคิดวา่ สิ่งท่ี
คิดน้ันเป็นไปตามอดตี ที่เคยเกิดขนึ้ หรอื ไม่ และเกิดการคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆ ลว่ งหน้าเพอื่ แก้ไขปัญหา

ผลลัพธ์ท่ีได้จากขั้นความคิดคุกรุ่นหรือระยะฟักตัว จะได้เป็นสารสนเทศ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการ
ครุ่นคิดอย่างถ่ีถ้วนและรอบคอบดีแล้ว ทาให้มั่นใจได้ว่าได้สารสนเทศท่ีดีท่ีสุด ที่จะนาไปใช้ในข้ันตอนต่อไปน้ันเป็น
สารสนเทศอะไร และสารสนเทศที่ไมด่ ีสง่ ผลใหก้ ระบวนการคิดนนั้ ไร้คณุ ภาพ กจ็ ะพจิ ารณาไม่นามาใช้ในครงั้ น้ี

3. ข้ันความคิดกระจ่าง เป็นการตกผลึกทางความคิดว่าส่ิงที่ได้คิดไปแล้วน้ันเกิดผลท่ีได้วิเคราะห์แล้วว่าเป็นผลท่ี
เกิดขน้ึ ท่ีดีท่ีสุด เหตุผลในข้ออ่ืนๆ หรือกรณีอื่นๆ ไมต่ รงกบั เหตุผลนี้ท่ีคดิ ข้ึน ดังน้ันจึงเรียกได้ว่าความคิดที่ครุ่นคิดมานาน
ไดถ้ กู ไขความกระจ่าง ผ้คู ิดได้วิธกี ารหรือแนวทางทจ่ี ะเกดิ ผลในทางบวกกบั สถานการณ์ท่ีกาลังจะเกิดขน้ึ

ผลลัพธ์ที่ได้จากข้ันความคิดกระจ่างคือ ได้ข้อสรุปสารสนเทศท่ีดีที่สุด อันเกิดจากความคิดถ่ีถ้วนจนกระท่ังตก
ผลึกเป็นความคิดที่ดีที่สุด ซึ่งในขั้นนี้จะทาให้ทราบได้อีกว่าปัจจัยนาเข้าหรือปัจจัยส่งออกปัจจัยใดที่เมื่อดาเนินการตาม
ความคิดน้ันแล้ว เกิดความผิดพลาดหรือเกิดข้อเสียหายไม่ดีเกิดข้ึน จะทาให้เลือกตัดสิ่งที่เป็นปัจจัยนาเข้ าออกได้
ขณะเดียวกันปัจจัยส่งออกที่เป็นแนวทางท่ีไม่ดี ไม่สมควร ก็สามารถคาดคะเนได้จากผลการดาเนินการ ซึ่งหากมี
กระบวนการในขนั้ นี้จะทาให้เกิดการประหยัดพลังงานหรือประหยัดความคิด เน่ืองจากไม่ต้องสูญเสียทรพั ยากรมาลองผิด
ลองถูก

4. ข้ันทดสอบความคิดและพิสูจน์ให้เห็นจริง ขั้นนี้จะเน้นการทดสอบโดยปฏิบัติพฤติกรรมต่างๆ ตาม
กระบวนการท่ีได้วางแผนการคิดไวล้ ่วงหน้าก่อนหน้าน้ีแล้ว ผลท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติจะเป็นข้อพิสูจน์ได้ว่ากระบวนการ
ทไี่ ดค้ ิดไปน้ันมปี ระโยชนห์ รอื สง่ เสริมกระบวนการคิดให้ไดค้ ณุ ภาพได้อยา่ งไร

ผลลัพธ์ของขั้นทดสอบความคิดและพิสูจน์ใหเ้ ห็นจรงิ จะได้เป็นผลผลิตในข้ันตอนท้ายที่สุด ไมว่ ่าจะออกมาอยู่ใน
รูปแบบของวัตถุหรือกระบวนการ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีผ่านการทดลองใช้งานมาแล้ว หากเป็นสภาพในทางบวกถือได้ว่าประสบ
ความสาเร็จในการทดลอง แต่หากไม่ประสบความสาเร็จหรือเกิดข้อผิดพลาดจนส่งผลต่อตัวบุคคลแล้ว ทาให้เข้าใจได้ว่า
ผลลพั ธท์ ี่ไดม้ านี้ไม่ใชก่ ระบวนการหรอื ไม่เกย่ี วข้องกบั สิ่งที่ออกแบบ เนื่องจากเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดท่ีส่งผลต่อบุคคล

ออสบอร์น (Osborn, 1975 อ้างถึงใน สุวิทย์ มูลคา, 2547, หน้า 23) กล่าวถึงกระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์
จะตอ้ งดาเนินการดังขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้

1. การชถ้ี ึงปัญหา เป็นการระบุปัญหาที่เกิดข้นึ ว่าเกดิ จากสาเหตุใด หรือเกิดจากปัจจัยใดท่ีส่งผลทาให้เกิดปัญหา
ต่างๆ และปัญหาที่เกิดขึ้นมีระดบั ของปัญหามากหรือน้อยอย่างไร ส่งผลกระทบต่ออะไรบา้ ง ผลท่ีเกิดขึ้นจากปัญหาจะทา
ให้ผู้ใดหรือส่ิงใดต้องเดือดร้อนบ้าง ดังนั้นต้องคิดอย่างถี่ถ้วนถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึน บนพ้ืนฐานของสถานการณ์จริง สิ่งสาคัญ
ที่สุดของข้ันตอนน้ีคือต้องพิจารณาปัญหาที่เกดิ ขึ้นว่าเป็นปัญหาท่ีแท้จริง ไม่ใช่ปัญหาเทียม เช่น พบว่าเด็กไม่อ่านหนังสือ
เพราะคิดว่าเด็กไม่ชอบอ่านหนังสือ ไมช่ อบรับความรู้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วลืมคานึงไปว่าบคุ ลิกลกั ษณะของแต่ละคนมี

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 4

ความช่ืนชอบในการรับความรทู้ ่ีแตกต่างกัน เด็กไม่ชอบอ่านหนังสือแตอ่ าจจะชอบรับความรูโ้ ดยการให้ผูอ้ ่ืนอ่านแล้วนามา
เล่าต่อให้ตนเองฟัง เป็นต้น สถานการณ์ดังกล่าวทาให้เห็นว่า ปัญหาหนังสือไม่ใช่ปัญหาท่ีแท้จริงเพราะการรับความรู้ที่
ถกู ต้องของเด็กคนนั้นคือการฟังจากเรื่องท่ีผู้อื่นเล่า ดังนั้นภายหลังจะต้องใช้วิธีการอ่านเนื้อหาแล้วมาเล่าให้เด็กฟังอีกต่อ
หน่ึง

2. การเตรียมและรวบรวมข้อมูล เป็นการค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ทั้งแหล่งข้อมูลจากเทคโนโลยี
สารสนเทศและเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อมูลจากหนังสือหรอื แหลง่ ความรู้ที่เปน็ ตัวอกั ษร หรือขอ้ มลู จากการบอกเล่า จาก
ประสบการณ์ของผมู้ ีประสบการณต์ ่างๆ หากขอ้ มลู ใดมาเกีย่ วข้องกบั ปญั หาจะต้องเก็บรวบรวมไว้ เพอื่ จัดเตรียมข้อมูลนั้น
ให้พร้อมใช้งานในข้ันตอนถัดไป ซึ่งในปัจจุบันส่ิงที่ต้องระวังคือการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ท่ีมีอยู่อย่าง
มากมายในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องค้นคว้าหาขอ้ มูลจากแหล่งอา้ งอิงที่มีความ
นา่ เชื่อถือ เนื่องจากในข้อมูลบนระบบดังกล่าวจะมีผู้เขียนจานวนมาก ซ่งึ เป็นข้อมูลท่ีแท้จริงบ้างหรือเป็นการแสดงทัศนะ
ทาให้อาจไม่ได้ข้อมูลที่แท้จริง ดังนั้นต้องพิจารณาแหล่งข้อมูลที่มีน้าหนัก น่าเชื่อถือ เช่น แหล่งข้อมูลแหล่งแรกจาก
หนงั สอื ทผ่ี ้นู ้นั เขียนข้ึนเอง หรอื เป็นแหล่งขอ้ มูลท่เี ป็นหน่วยงานทงั้ ราชการและเอกชนทมี่ ีความนา่ เชอื่ ถอื เป็นตน้

3. การวิเคราะห์ เป็นการนาข้อมูลในขั้นท่ีรวบรวมไว้มาวิเคราะห์ โดยแยกประเด็นในข้อมูลน้ันออกจากกันให้ได้
หลายๆ ประเด็น รวมถึงวิเคราะห์ถึงความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆ ในหลายๆ ประเด็นที่เก่ียวข้องกันอย่างจรงิ จัง ในการ
วิเคราะห์อาจจะต้องหาประเด็นเพิ่มเติมซึ่งเกิดจากประเด็นย่อยท่ีวิเคราะห์ข้ึนในครั้งน้ี ส่ิงสาคัญคือผู้วิเคราะห์จะต้องมี
ความรู้ในเรื่องท่ีวิเคราะห์ และต้องมีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลในเรื่องน้ันๆ อย่างแท้จริง เพราะเร่ืองที่จะวิเคราะห์นั้ น
จะต้องใช้ทัง้ องค์ความรูแ้ ละประสบการณท์ ่มี ีอยมู่ าจัดการวเิ คราะห์ เพ่อื ให้ได้ประเดน็ การวเิ คราะห์ที่สมบูรณแ์ บบ

4. การใช้ความคิด เป็นการคานึงว่าจะต้องใช้ความคิดในรูปแบบใดเพ่ือไตร่ตรองประเด็นท่ีเกิดข้ึนจากการ
วิเคราะห์ เนื่องจากลักษณะของกระบวนการใช้ความคิดมีความแตกต่างกัน ทั้งความคิดเบื้องต้นและความคิดข้ันสูง เช่น
บางประเด็นต้องใช้วิธีการคิดแบบแกป้ ัญหา บางประเดน็ ต้องใชว้ ิธีการคิดแบบมีวิจารณญาณ บางครั้งต้องอาศัยความคิด
เชิงบวกเข้ามาช่วย บางสถานการณ์เพียงแค่คิดวิเคราะห์ คิดประเมินค่า ก็อาจจะเพียงพอสาหรับเหตุการ ณ์น้ันๆ ซึ่ง
กระบวนการคิดแต่ละรูปแบบจะมีขั้นตอนในการดาเนินการให้ได้มาซ่ึงผลลัพธ์ที่แตกต่างกันออกไป มีความเฉพาะตัวที่ไม่
เหมือนกัน ดงั น้นั การใชค้ วามคิดจะตอ้ งใช้ประสบการณ์ในการวิเคราะห์วา่ จะใช้ความคดิ รูปแบบใด

5. การคิด เป็นการไตร่ตรองประเด็นย่อยๆ ท่ีได้จากการวิเคราะห์หรือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลที่แท้จริง เป็นการคิด
ทบทวนประเดน็ ที่ไดว้ ิเคราะหไ์ ปแล้วอีกคร้ังหน่งึ หลายๆ รอบ เพื่อให้เกดิ ความมนั่ ใจในสารสนเทศที่เกิดข้ึน โดยอาศัยการ
ใช้ความคิดเข้ามาช่วยคิดให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา บางคร้ังอาจต้องใช้กระบวนการคิดในข้ันการใช้ความคิดหลายๆ
รูปแบบมาผสมผสานกัน ยกตัวอย่างเช่น การจัดการเรียนการสอนเกิดปัญหาอาจใช้วิธีการคิดแบบแก้ปัญหาเข้าไปใช้ใน
การแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน เมื่อวิธีการคิดแก้ปัญหาได้พิจารณาร่วมกันกับข้อมูลหรือสารสนเทศท่ีได้รวบรวมไว้ อาจทาให้
ผลลัพธ์ท่ีได้ เกิดเป็นทัศนคติทางลบข้ึน ดังนั้นอาจต้องอาศัยกระบวนการคิดเชิงบวกเข้ามาผสมผสานกับการคิดแบบ
แกป้ ญั หา เพอ่ื ทาให้ไดผ้ ลลัพธท์ ่มี ีทศั นะเชงิ บวกขณะเดยี วกันนนั้ สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ไดด้ ้วย

6. การสังเคราะห์ เป็นการนาข้อมูลหรือสารสนเทศท่ีได้ผลลัพธ์เกิดจากขั้นการคิด มารวมกัน แล้วเช่ือมโยงให้
เหลือเพียงสถานการณ์สาคัญสถานการณ์เดียว เพ่ือให้ได้ข้อสรุปของข้อมูลหรอื สารสนเทศท่ีแท้จริง การสังเคราะห์จะทา
ให้ขอ้ มูลหรือสารสนเทศที่ได้มคี วามน่าเชอ่ื ถือ เนื่องจากเกดิ จากผู้ร้หู ลายคนหรือขอ้ มูลที่เก่ยี วข้องหลายๆ ข้อมูล เกิดจาก
กระบวนการท่ีมีหลักการ น่าเชื่อถือ จากหลายๆ แหล่งข้อมูลมารวมกัน ผนวกกับใช้กระบวนการคิดสังเคราะห์รวบรวม
ข้อมลู ตา่ งๆ เขา้ ด้วยกัน เป็นการใชท้ ฤษฎี กฎเกณฑ์ ในการสังเคราะห์ขอ้ มลู ทาให้ได้ขอ้ มลู ดีๆ ทแี่ ท้จรงิ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 5

นอกจากนี้การสังเคราะห์ยังช่วยจัดประเภทของหมวดหมู่ส่ิงที่สังเคราะห์ได้ ทาให้เห็น การแบ่งแยกหมวดหมู่
อยา่ งชดั เจน และนาข้อมลู ไปใชง้ านได้อยา่ งงา่ ยดาย

7. การประเมนิ ผลเปน็ ท้ังการวดั ผลและการประเมินผล โดย

การวัดผล หมายถึง การเทียบเคยี งค่าที่ได้วา่ มีความเหมาะสมหรอื ไม่ การวัดผลความคดิ สร้างสรรค์จะมีลักษณะ
บ่งบอกออกมาเป็นค่าตัวเลขท่ีต้องมีการตีความเทียบเคียงกับสิ่งต่างๆ เพ่ือให้ได้ค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขออกมาอย่าง
ชดั เจน ยกตัวอยา่ งเช่น ประเมินวา่ ผู้เรยี นเป็นคนมีความคดิ สรา้ งสรรค์หรือไม่ สามารถนาแบบทดสอบความคิดสรา้ งสรรค์
มาใหผ้ ้เู รียนทดลองทาขอ้ สอบดู ผตู้ รวจจะทราบวา่ ตรวจอย่างไรถงึ จะได้คะแนนเทา่ ไร

การประเมินผลน้ัน หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหรือขั้นตอนการสังเคราะห์ เม่ือนาไปใช้งานแล้ว
ได้ผลดีหรือไม่ดีเพียงใด จาเป็นต้องนากลับมาเร่ิมต้นกระบวนการใหม่หรือไม่ หรือดาเนินการดังท่ีได้กระทาเป็นส่ิงที่ดีอยู่
แลว้ หรอื ดาเนนิ การโดยพัฒนาเพียงบางสว่ นเพม่ิ เติมจากของเดิม และสิ่งสาคัญท่ีสดุ จะต้องสรุปวา่ ดีหรือไมด่ ี อยา่ งไร

แอนเดอร์สัน (Anderson, 1957 อ้างถึงใน สุวิทย์ มูลคา, 2547, หน้า 23) กล่าวถึงข้ันตอนของการคิด
สรา้ งสรรค์วา่ ประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ดงั นีค้ อื

1. มีความสนใจ ในที่นี้หมายถึง บุคคลที่จะเกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ จะต้องสนใจจดจ่ออยู่กับเร่ืองท่ีต้องการให้
เกิดความคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยใจจริง ไมใ่ ช่ถูกบังคับให้ตอ้ งสนใจกบั สง่ิ น้ันๆ ยกตัวอย่างเช่น นักฝกึ หดั แต่งเพลงหากถูกบังคับ
อาจไม่สนใจในการแต่งเพลงทาให้ได้ผลลัพธ์คือเนื้อเพลงท่ีไม่มีคุณภาพ แต่งเสร็จแล้วคนไม่อยากฟัง เน่ืองจากถูกบังคับ
ขณะทผี่ ูท้ ส่ี นใจในการแตง่ เพลงหรือมีใจรกั ในการแต่งเพลง จะแตง่ เพลงได้ออกมาน่าชนื่ ชมมากกว่า เปน็ ต้น

ดังนั้นจึงต้องเกิดความสนใจเป็นลาดับแรก เพื่อจิตใจจะได้จดจ่ออยู่กับสิ่งน้ันๆ ให้มากท่ีสุด เมื่อเกิดความสนใจ
แลว้ จะทาใหร้ กั ทีจ่ ะทาอย่างตั้งใจ

2. รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ เปน็ การรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วข้อง ซ่งึ มีลกั ษณะดังขน้ั ตอนการเตรียมและ
รวบรวมข้อมูลของออสบอร์นท่ีกล่าวไว้ข้างต้น เพียงแต่จะไม่เน้นการจัดเตรียมข้อมูล แต่เน้นท่ีการรวบรวมข้อมูลให้มี
ความหลากหลาย และตรงกบั สิ่งที่ต้องการ

3. ไตร่ตรองถึงการวางแผน เป็นการคิดใคร่ครวญอย่างถ่ีถ้วน คิดซ้าไปซ้ามา ว่าข้อมูลที่ได้มาน้ันจะต้องนามาทา
อะไรต่อไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้คือได้ผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการเพ่ิมความคิดสร้างสรรค์ลงไป ท้ังนี้จะต้องมีขั้นตอน
อยา่ งชัดเจน

4. เกิดจินตนาการ เป็นการเพ่ิมเติมความคิดเพ้อฝันบนพื้นฐานของความเป็นไปได้ลงไปในแผนการท่ีได้วางไว้ใน
ขน้ั ตอนกอ่ นนี้ การเพ่ิมความคิดท่ีเปน็ ไปไดแ้ ละไม่ได้ลงไปจะช่วยทาให้กระบวนการออกนอกกรอบท่ีเรากาหนดข้นึ ในตอน
แรก หลายสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นจากการเติมจินตนาการลงไป จะทาให้ได้ผลลัพธ์ใหม่ๆ ท่ีคาดการณ์ไม่ถึง ดังน้ันการคิด
เพิ่มเติมจินตนาการลงไปในกระบวนการทากิจกรรมใดๆ จะส่งผลดีต่อผลลัพธ์ แต่ทั้งนี้ต้องตั้งอยู่บนความปลอดภัยไม่ทา
ใหเ้ กิดความเสยี หายหรอื เดือดร้อนตนเองและผูอ้ น่ื

ข้ันตอนนี้อาจกระทาได้หลายๆ รูปแบบ หรือหลายๆ แนวคิด เพราะเป็นเพียงแนวคิดท่ีออกแบบไว้ในระบบ
ความคิดเท่านั้น อาจร่างออกมาในกระดาษหรือโครงร่างท่ีเกิดจากการวาดเพื่อให้ได้รปู ที่มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งหรือเหมอื นกับ
ความคิด ซึ่งสามารถร่างออกมาได้หลากหลาย เพราะเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีให้อยู่ในลักษณะของจินตนาการ เพ่ือ
คัดเลือกในขัน้ ตอนตอ่ ไป

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 6

5. สร้างจินตนาการออกมาให้เห็นจริง เป็นการนาจินตนาการที่ได้ร่างขึ้นในข้ันตอนก่อนนี้ มาจัดกระทาให้เกิด
เป็นชิ้นงานจริง หรือเกิดเป็นกระบวนการหรือข้ันตอนจริง ท้ังน้ีต้องประเมินถึงความคุ้มค่าในการคิดค้น ประดิษฐ์ขึ้นด้วย
วา่ มีจดุ คุม้ ทนุ กบั การเสียแรงคดิ หรอื ไม่

6. รวบรวมความคิด เป็นการนาสิ่งที่ทาได้ มารวบรวมเป็นคลังผลลัพธ์ผนวกความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือในอนาคต
ใครต้องการข้อมลู สามารถนาไปใชไ้ ด้ในทนั ที

จุงส์ (Jungs, 1963, อ้างถึงใน สุวิทย์ มูลคา, 2547, หน้า 23) กล่าวถึงกระบวนการคิดสร้างสรรค์ว่าจะต้อง
ประกอบไปดว้ ย

1. คดิ รวบรวมข้อมลู เป็นการพิจารณารวบรวมข้อมลู ท้ังทเี่ ก่ียวข้องและไม่เกี่ยวข้องจากแหลง่ ข้อมูลต่างๆ ท้งั จาก
เทคโนโลยีสารสนเทศและจากแหลง่ การเรยี นร้อู น่ื ๆ

2. กระบวนการใชว้ ัตถุดิบ เปน็ การนาข้อมูลที่รวบรวมมา นามาเรยี บเรียง เพือ่ ให้ได้กระบวนการที่เหมาะสมและ
คิดคน้ กระบวนการใหมๆ่ หรอื คดิ ค้นเพือ่ ให้ได้ส่งิ ใหมๆ่ เพ่ือนามาใชใ้ นการดาเนนิ การในกจิ กรรมทก่ี าลังจะต้องปฏบิ ตั ิ

3. ทาใจให้ว่าง ขณะดาเนินการในข้ันกระบวนการใช้วัตถุดิบ จะต้องมีสติและสมาธิกับ การดาเนินการ รวมถึง
พิจารณากระบวนการใชว้ ัตถดุ บิ ใหเ้ ป็นไปตามข้นั ตอน

4. ยูรีกาเป็นข้ันสรุป สิ่งที่ดาเนินการว่าวิธีการใดมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพ่ือสุดท้ายได้ข้อสรุปที่แท้จริงท่ี
สามารถนาไปเลา่ หรอื บอกตอ่ ให้เกิดการยอมรับได้

5. วิพากษว์ ิจารณ์ เป็นการนาข้ันตอนต่างๆ ท่ีมีประสทิ ธิภาพไปใชป้ ฏิบัติจรงิ ท้งั น้ีต้องยอมรบั กับผลสะท้อนกลับ
จากผ้นู าไปใชห้ รือผู้เกีย่ วข้องวา่ มผี ลเปน็ เชน่ ไร ทัง้ ดา้ นปรมิ าณและคุณภาพ

สรปุ แล้วกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ ได้แก่

1. รวบรวมข้อมูล เป็นการจัดเตรยี มข้อมูลจากหลายๆ แหล่งขอ้ มูล ท้ังท่ีเกีย่ วขอ้ งโดยตรงหรือเป็นขอ้ มูลทม่ี ีส่วน
เกีย่ วข้องบางส่วน นามาเป็นปัจจยั นาเข้าเพือ่ ค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ ทต่ี ้องการ ทั้งนี้จะตอ้ งเปน็ ขอ้ มูลทีม่ ีความนา่ เชอื่ ถอื

2. วิเคราะห์ปัญหา เป็นการพิจารณาส่ิงที่เกิดขึ้นว่าขณะนั้นมีปัญหาใดเกิดข้ึน เกิดข้ึนเพราะสาเหตุใดหรือปัจจัย
ใดที่ส่งผลทาให้เกิดขึ้น และจะแก้ไขปัญหาน้ันไม่ให้เกิดขึ้นหรือจะพัฒนาส่ิงน้ันให้ดีขึ้นกว่าเดิมจะต้องทาอย่างไร ต้องขอ
ความชว่ ยเหลอื จากหน่วยงาน บุคคล หรือสิ่งใด จะตอ้ งใชท้ รัพยากรใดเพื่อเป็นสว่ นชว่ ยแก้ไขปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ นั้นได้บา้ ง ซ่ึง
จะต้องใช้ความชานาญหรือประสบการณ์ท่ีมีอยู่ผนวกกับความรู้ในศาสตร์ด้านน้ันๆ ช่วยแก้ไขปัญหา ขั้นน้ีเปรียบเสมือน
กับการวางแผน การวาดภาพสงิ่ ที่จะทาและลองใช้ความคิดใคร่ครวญอยา่ งถี่ถว้ นว่าหากทาแลว้ จะไดผ้ ลเป็นอยา่ งไร

3. ทดลองปฏิบัติ เป็นขั้นตอนที่ต่อจากการวิเคราะห์ปัญหา เพราะเม่ือวิเคราะห์ได้สาเหตุ วิธีการแก้ไขแล้ว
ขั้นตอนน้ีจะทดลองนาส่ิงท่ีวิเคราะห์ได้จากขั้นตอนท่ี 2 มาทดลองปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อปฏิบัติได้อย่างเป็น
รูปธรรมในข้ันตอนนอ้ี าจจะไดว้ ธิ ีการทหี่ ลากหลายจากการปฏิบตั ิ ซึง่ ไดผ้ ลลัพธไ์ มเ่ ท่ากัน

4. ค้นหาคาตอบด้วยความคิด เป็นขั้นตอนท่ีจะต้องสรุปว่าวิธีการใดที่ได้ทดลองปฏิบัติไปเป็นวิธีการท่ีดีท่ีสุด
คมุ้ ค่าที่สุด ใช้ระยะเวลาน้อยทสี่ ุด เหมาะสมกับสถานการณ์มากท่ีสดุ เป็นการหาข้อสรุป

5. นาไปใช้ในสถานการณ์จริง หลงั จากท่ีไดท้ ดลองทดสอบและไดข้ ้อสรุปแลว้ ว่าสงิ่ ใดหรือขอ้ มูลใดเป็นสิ่งที่ดที สี่ ุด
ในขั้นน้ีจะนาไปทดลองใช้กับสถานการณ์จริงอีกคร้ังหน่ึง เพื่อเป็นการทดลองใช้งานส่ิงท่ีได้รับรู้มาว่ามีประสิทธิภาพมาก

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 7

น้อยเพียงใด ซึ่งตัวแปรที่แทรกซ้อนอาจจะเกิดขึ้นมากกว่าในข้ันทดลองปฏิบัติ แต่ข้ันน้ีจะทาให้ได้รู้ว่าเม่ือนาไปใช้ใน
สถานการณ์จรงิ ตามสภาพแวดลอ้ มธรรมชาติท่ีเปน็ สงิ่ ๆ นน้ั จะมปี ระสทิ ธภิ าพเพียงใด

6. ประเมินผล เป็นขั้นตอนสาหรับสรุปว่าส่ิงที่ได้คิดข้ึนมาจากข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมมาน้ัน เป็นส่ิงท่ีทาให้เกิด
ความคิดสร้างสรรค์จริงหรือไม่ อยู่ในระดับใด หากประเมินผลแลว้ ได้ผลดีก็แสดงให้เห็นได้ว่าควรนาไปใช้ในกระบวนการ
คดิ คร้ังถดั ไป หากประเมินผลแล้วเกดิ ปัญหาอาจตอ้ งหาสาเหตุของปัญหาแล้วดาเนินการตามข้ันตอนดังกล่าวใหม่อีกคร้ัง
หนงึ่

รายการอ้างอิง
ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน์. (2546). ความคิดสรา้ งสรรค.์ กรุงเทพฯ: บริษัทดา่ นสุธาการพมิ พ์ จากัด.
สุวทิ ย์ มูลคา. (2547). กลยุทธ์การสอนคิดสร้างสรรค์. พิมพค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: ภาพพิมพ.์

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์

รายวิชา
การคิดสร้างสรรค์

ดร.ดรัณภพ เพียรจัด

ตอนท่ี 4 การวดั และประเมินผลความคดิ สรา้ งสรรค์

เมื่อดำเนินตำมกระบวนกำรควำมคิดสร้ำงสรรค์เสร็จสน้ิ จนกระท่ังได้ผลลัพธ์ออกมำ อำจจะอยู่ในรูปแบบของสิ่ง
ท่ีเป็นรูปธรรม เช่น ชิ้นงำน อุปกรณ์ วัสดุ ต่ำงๆ หรืออำจจะอยู่ในรูปแบบที่เป็นนำมธรรม เช่น วิธีกำรหรือกระบวนกำร
ซ่งึ ท้ัง 2 ประเภทที่กล่ำวไป ล้วนแต่สร้ำงควำมแปลกใหม่ให้กับสังคมท่ีอยู่ท้ังส้ิน และเมื่อสร้ำงเสร็จจะต้องมีกระบวนกำร
วัดและประเมินผลควำมคิดสร้ำงสรรค์ที่ได้สร้ำงข้ึน ซ่ึงมีนักกำรศึกษำได้กล่ำวถึงรูปแบบของกำรวัดผลและประเมินผล
ควำมคดิ สรำ้ งสรรคไ์ วจ้ ำนวนมำก ยกตวั อย่ำงเช่น

อำรี พันธ์มณี (2537, หน้ำ 185-187) กล่ำวถึงกำรวัดควำมคิดสร้ำงสรรค์ว่ำไม่ใช่เฉพำะทำให้รู้ถึงระดับควำมคิด
สร้ำงสรรค์ของเด็กและเปน็ ขอ้ มลู สำหรับครูผสู้ อนนำไปใช้ในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเนอื้ หำ ซึ่งหำกเป็น
สิ่งท่ีสอดคล้องกันจะเป็นกำรพัฒนำควำมคิดสร้ำงสรรค์ของเด็กให้สูงยิ่งข้ึน และท่ีสำคัญยังทำให้สกัดกั้นอุปสรรค์ท่ีจะ
สง่ ผลต่อกำรพัฒนำควำมคิดสร้ำงสรรค์ เพื่อทำให้เดก็ เกดิ ควำมคดิ สร้ำงสรรคท์ ่ีสมบูรณ์ยิง่ ขึน้ ซึง่ สรปุ ได้ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. สังเกต เป็นกำรเฝ้ำสังเกตพฤติกรรมของบุคคลท่ีแสดงออกเชิงสร้ำงสรรค์ โดยเฝ้ำดูหรือสังเกตควำมคิด
จินตนำกำร เช่น กำรเฝ้ำดูกำรเล่นของเด็กและกำรทำกิจกรรม สังเกตจำกพฤติกรรมเลียนแบบ ทดลอง ปรับปรุงและ
ตกแต่งสิ่งต่ำงๆ แสดงละคร ใช้คำอธิบำย และบรรยำยให้เกิดภำพพจน์ชัดเจน ตลอดจนเล่ำนิทำน แต่งเร่ืองใหม่ เล่นและ
คิดเกมใหมๆ่ รวมถึงพฤตกิ รรมที่แสดงควำมรู้สึกซำบซงึ้ ตอ่ ควำมสวยงำม เปน็ ต้น นอกจำกน้ีอำจสังเกตจำกพฤติกรรมกำร
ทำงำนในชวี ติ ประจำวัน เชน่ เลน่ เกม กำรทำกำรบ้ำน กำรตง้ั ชือ่ แปลกๆ ลักษณะของควำมเปน็ ผ้นู ำ กำรสังเกตพฤติกรรม
เด็กเล็กสรำ้ งหรอื ต่อไมบ้ ล็อก

2. วำดภำพ เปน็ กำรใหเ้ ดก็ ฝกึ วำดภำพจำกสง่ิ เรำ้ ทก่ี ำหนดข้ึน เป็นกำรถ่ำยทอดควำมคดิ เชิงสรำ้ งสรรคใ์ ห้ออกมำ
เป็นรูปธรรมและสื่อควำมหมำยได้ ส่ิงเร้ำที่กำหนดให้อำจจะมีลักษณะเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม แล้วให้เด็กวำดภำพต่อเติม
เป็นภำพ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 2

3. รอยหยดหมกึ เป็นกำรให้เดก็ ได้ดูภำพรอยหมึกแล้วคิดคำตอบเพ่ือตอบคำถำมจำกภำพที่เห็น วิธกี ำรน้ีนิยมใช้
กับเด็กระดบั ช้นั ประถมศึกษำ เนื่องจำกอธิบำยส่งิ ที่เห็นได้เปน็ อย่ำงดี บนจนิ ตนำกำรของเดก็ แต่ละคนทีม่ ไี ม่เทำ่ กัน

4. กำรเขียนเรียงควำมและงำนศิลปะ เป็นกำรให้เด็กเขียนเรียงควำมจำกหัวขอ้ ท่ีกำหนด ประเมินงำนศิลปะของ
นักเรียน โดยมีนักจิตวิทยำท่ีมีควำมเห็นสอดคล้องกันว่ำเด็กระดับประถมศึกษำมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งที่จะต้องปลูกฝัง
ควำมมีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ซึ่งเด็กวัยนี้อำจเป็นจุดวิกฤติของกำรพัฒนำควำมคิดสร้ำงสรรค์ เด็กท่ีมีควำมสนใจกำรเขียน
สร้ำงสรรค์และแสดงออกเชิงสร้ำงสรรค์ในงำนศิลปะจำกกำรศึกษำประวัติบุคคลสำคัญ เช่น นักวิทยำศำสตร์ที่มีชื่อเสียง
ระดับโลก เช่น นิวตัน ปำสคำร์ล พบว่ำบุคคลเหล่ำน้ีมีแววสร้ำงสรรค์จำกกำรประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งเด็กจะสร้ำงผลงำนช้ิ น
แรกขณะเรียนอย่ใู นระดับประถมศึกษำ

5. แบบทดสอบ เปน็ กำรให้เด็กทำแบบทดสอบควำมคดิ สร้ำงสรรค์มำตรฐำนซงึ่ เปน็ ผลจำก กำรวเิ ครำะหเ์ ก่ยี วกับ
ธรรมชำติของควำมคิดสรำ้ งสรรค์ ซ่ึงแบบทดสอบมีท้ังทีต่ ้องใช้ภำษำเปน็ สื่อกำรสอน และที่ใชภ้ ำพเป็นส่อื กำรสอนเพื่อให้
เด็กแสดงออกเชิงสร้ำงสรรค์ แบบทดสอบจะมีกำรกำหนดเวลำ ซ่ึงแบบทดสอบท่ีปัจจุบันนิยมใช้กันมำกขึ้นคือ
แบบทดสอบควำมคดิ สร้ำงสรรคข์ องกลิ ฟอร์ด แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรคข์ องทอแรนซ์

ศำสตรำจำรย์ ดร.อี พอล ทอร์แรนซ์ สหรัฐอเมริกำ เป็นผู้พัฒนำเคร่ืองมือวัดควำมคิดสร้ำงสรรค์ มีท้ังแบบ
สำรวจและแบบทดสอบหลำกหลำยรูปแบบ สำหรับแบบทดสอบน้ัน ทอร์แรนซ์ได้พัฒนำข้ึนภำยในขอบเขตและเน้ือหำ
ทำงกำรศึกษำ ซ่ึงเป็นโปรแกรมกำรวิจัยระยะยำวท่ีสำมำรถนำไปใช้กับประสบกำรณ์ในห้องเรียนที่สนับสนุนและกระตุ้น
ให้ผู้เรียนเกิดควำมคิดสร้ำงสรรค์ โดยแบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์ของ ทอแรนซ์ (Torrance Test of Creative
Thinking) เป็นแบบวัดควำมคิดสร้ำงสรรค์ที่ทอร์แรนซ์ (Torrance, 1964) ได้สร้ำงข้ึน ใช้วัดควำมคิดสร้ำงสรรค์ให้กับ
บคุ คลในทุกระดบั อำยุและทุกระดับกำรศึกษำ หำกเป็นเด็กเล็กท่ียังไม่มีควำมพรอ้ มดำ้ นกำรเขียน จะใช้วธิ ีกำรเล่ำเร่ืองให้
เด็กได้มีโอกำสถำม-ตอบ แทนกำรเขียน ซึ่งแบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์ของทอร์แรนซ์ ประกอบด้วยกำรวัด 3
กจิ กรรม คือ

1. กิจกรรมไม่ใช้ภำษำ (Non-verbal Tasks) เช่น กำรต่อเติมรูปภำพที่ยังไม่สมบูรณ์ให้เกิด ควำมสมบูรณ์ กำร
สร้ำงรปู ภำพจำกรูปวงกลมและส่เี หล่ียมทกี่ ำหนดให้เป็นภำพตำ่ งๆ พร้อมกบั ต้งั ช่อื ภำพน้ัน

2. กิจกรรมทำงภำษำโดยใช้ส่ิงเร้ำที่ไม่ใช้ภำษำ (Verbal Tasks Using Non-verbal Stimuli) เช่น กำรให้ดูชุด
รปู ภำพแลว้ ใหเ้ ล่ำเรื่องทเี่ กิดขนึ้ จำกภำพ และกำรออกแบบจำกส่ิงของท่ีกำหนดขน้ึ ใหใ้ ช้ประโยชนไ์ ด้ดีขนึ้ เปน็ ต้น

3. กิจกรรมทำงภำษำโดยใช้ส่ิงเร้ำท่ีใช้ภำษำ (Verbal Tasks Using Verbal Stimuli) เช่น กำรให้บอกถึง
ประโยชน์ของสิ่งของ เช่น กระดำษหนังสือพิมพ์ กล่องกระดำษ กระป๋อง หรือหนังสือมำให้มำกท่ีสุด กำรตอบว่ำจะมี
เหตุกำรณ์อะไรเกิดข้ึนถ้ำเหตุกำรณ์สมมติบำงอย่ำงเป็นจริง เช่น สมมติว่ำเมฆมีเชือกผูกและปลำยเชือกตรึงกับพ้ืนจะเกิด
อะไรขน้ึ บำ้ ง ใหผ้ ทู้ ดสอบเขียนสิง่ ทค่ี ิดหรือเดำว่ำจะเกิดขนึ้ ถำ้ รูปภำพทว่ี ำดนน้ั สำมำรถเปน็ จรงิ ได้

ทอร์แรนซ์เป็นนักจิตวิทยำ ผู้ค้นคว้ำเกี่ยวกับควำมคิดสร้ำงสรรค์มำเป็นเวลำนำน ดังนั้นแบบทดสอบที่เป็น
มำตรฐำนและชุดกำรสอนของเขำได้รบั ควำมนิยมอย่ำงมำก และมีผู้นำไปใช้ในกำรวิจัยเก่ียวกับควำมคิดสร้ำงสรรค์อย่ำง
แพร่หลำย แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์ของทอร์แรนซ์จะเน้นกำรวัดในด้ำนกำรเช่ือมโยงควำมคิด ส่วนเกณฑ์กำรให้
คะแนนจะพิจำรณำดูที่ควำมแปลกใหม่เม่ือเทียบกับผู้ทดสอบรำยอื่นๆ ที่เข้ำทดสอบด้วยกัน ซึ่งแบบทดสอบควำมคิด
สรำ้ งสรรค์ของทอแรนซ์ มดี งั นี้

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 3

1. แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัยรูปภำพเป็นสื่อ (Thinking Creatively with Figural) มี 2 แบบ
คือ แบบ ก และ แบบ ข

2. แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัยภำษำเป็นสื่อ (Thinking Creatively with Words) มี 2 แบบคือ
แบบ ก และ แบบ ข

3. แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยใช้เสียงและภำษำเป็นส่ือ (Thinking Creatively with Sounds and
Words: Sounds and Images) มี 2 แบบคือ แบบ ก และ แบบ ข

4. แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัยกำรปฏิบัติและกำรเคล่ือนไหว (Thinking Creatively in Action
and Movement)

การทดสอบความคิดสร้างสรรคโ์ ดยอาศยั รูปภาพเป็นส่ือ

แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัยรูปภำพเป็นส่ือ มี 2 แบบ คือ แบบ ก และ แบบ ข ซ่ึงเป็น
แบบทดสอบคู่ขนำน เป็นแบบทดสอบทีเ่ ลือกใช้เพียงแบบใดแบบหนงึ่ ซ่ึงท้ัง 2 แบบ มีวัตถุประสงค์ เป้ำหมำยและข้อสรุป
ทีเ่ หมอื นกนั ทอรแ์ รนซ์ได้กำหนดให้มีจุดมุ่งหมำยเดยี วกนั ตำ่ งกนั เพียงสิง่ เร้ำที่กำหนดข้ึน ซ่ึงทั้ง 2 แบบ ใช้ได้กับผู้ทดสอบ
ท่มี กี ำรศึกษำตง้ั แต่ระดับอนุบำลจนกระทั่งระดบั อุดมศึกษำ

ตวั อยำ่ งแบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัยรปู ภำพแบบ ก จะมแี บบทดสอบย่อย 3 ชดุ ซง่ึ ทอรแ์ รนซเ์ รียก
แบบทดสอบย่อยวำ่ กิจกรรม ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย 3 กิจกรรม ดงั น้ี

กิจกรรมชุดที่ 1 กำรวำดภำพ (Picture Construction) ผู้ทดสอบจะเริ่มต่อเติมภำพจำกสิ่งเร้ำที่กำหนด โดยผู้
ทดสอบจะตอ้ งตอ่ เติมภำพให้แปลกใหม่และนำ่ สนใจท่ีสดุ เท่ำท่ีจะเปน็ ไปได้ พรอ้ มกบั ต้งั ชอ่ื ภำพให้แปลกและนำ่ สนใจ

กิจกรรมชุดท่ี 2 กำรต่อเติมภำพให้สมบูรณ์ (Picture completion) โดยให้ผู้ทดสอบต่อเติมภำพจำกสิ่งเร้ำท่ี
กำหนดเป็นเส้นในลักษณะต่ำงๆ มีจำนวน 10 ภำพ เป็นกำรต่อเติมภำพให้แปลกใหม่ น่ำสนใจ และน่ำตื่นเต้นท่ีสุดเท่ำท่ี
จะเป็นไปได้ พร้อมตง้ั ช่ือภำพทีต่ ่อเตมิ เสร็จแล้วให้แปลกและน่ำสนใจทสี่ ุด

กิจกรรมชุมท่ี 3 กำรใช้เส้นคู่ขนำน (Paralleled Line) โดยให้ผู้ทดสอบต่อเติมภำพจำกเส้นคู่ขนำน จำนวน 30
คู่ เน้นกำรประกอบภำพโดยใช้เส้นคู่ขนำนเป็นส่วนสำคัญของภำพ และต่อเติมภำพให้แปลกใหม่ แตกต่ำงและไม่ซ้ำกัน
พรอ้ มตั้งชอ่ื ภำพให้แปลกและน่ำสนใจ

กำรทำแบบทดสอบทั้ง 3 กิจกรรม เน้นกำรวำดภำพใหแ้ ปลก น่ำสนใจ นำ่ ตื่นเต้น และวำดจำกควำมนึกคิดของผู้
ทดสอบเอง หรือแสดงเอกลักษณ์ของภำพ กิจกรรมทั้ง 3 ชุด ใช้เวลำทดสอบชุดละ 10 นำที เม่ือหมดเวลำก็ต้องเร่ิมทำ
กิจกรรมชุดถัดไปทันที กิจกรรมท้ัง 3 ชุด จึงใช้เวลำรวม 30 นำที สำหรับแบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยอำศัย
รูปภำพเป็นสื่อแบบ ข เป็นแบบทดสอบคู่ขนำนกับแบบ ก แตกต่ำงกันเฉพำะสิ่งเร้ำท่ีกำหนด ซึ่งในกำรทดสอบสำมำรถ
เลือกทำเฉพำะแบบใดแบบหนึ่ง และในกำรทดสอบผู้ควบคุมควรสร้ำงบรรยำกำศในกำรทดสอบให้เกิดควำมเป็นกันเอง
ไมใ่ ห้เกิดกำรต่ืนเตน้ หวำดกลวั กำรใช้คำพูดเพอ่ื กระตุน้ และสรำ้ งแรงจูงใจให้ผ้ทู ดสอบเป็นส่ิงจำเป็นในกำรทำแบบทดสอบ
เช่นพูดว่ำ แบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์ฉบับน้ีเป็นแบบทดสอบท่ีต้องกำรคำตอบโดยอำศัยกำรวำดภำพตำมท่ีท่ำนคิด
ว่ำแปลกใหม่ที่สุด ซ่ึงไม่เคยมใี ครวำดมำก่อน พยำยำมวำดภำพให้แตกต่ำงจำกผู้อ่ืน และขอให้ทุกท่ำนเพลิดเพลินกับกำร
วำดภำพในครั้งนี้ กำรพูดลักษณะดังกล่ำวจะมุ่งขจัดควำมหวำดกลัว และพยำยำมให้ผู้ทดสอบเกิดควำมสะดวกสบำย
กระตุน้ ให้เกดิ ควำมอบอุ่นทำงจติ ใจ ซึ่งแบบทดสอบน้จี ะทดสอบเป็นกลุม่ หรอื รำยบุคคล แตต่ ้องมกี ำรจำกัดเวลำ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 4

การตรวจใหค้ ะแนน

กำรตรวจใหค้ ะแนนควำมคิดสร้ำงสรรค์ แบ่งเปน็ 4 ด้ำน ดังนี้

1. ควำมคิดคล่องตัว (Fluency) เป็นควำมสำมำรถในกำรคิดหำคำตอบได้อย่ำงคล่องแคล่ว รวดเร็ว และมี
ปริมำณกำรตอบสนองได้มำกในเวลำจำกัด คะแนนควำมคิดคล่องตัวคือคะแนนท่ีได้จำกกำรวำดภำพที่ชัดเจน ส่ือ
ควำมหมำยได้ในแต่ละกิจกรรม น กิจกรรมชุดที่ 2 คะแนนควำมคิดคล่องตัวสูงสุด 10 คะแนน และกิจกรรมชุดท่ี 3
คะแนนควำมคิดคล่องตัวสงู สุด 30 คะแนน

2. ควำมคิดยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นควำมสำมำรถในกำรคิดหลำยทิศทำง เป็นลักษณะของควำมคิดท่ีช้ีให้เห็น
ถึงกำรคิดหลำยมุมมอง คะแนนควำมคิดยืดหยุ่นคือคะแนนที่ได้จำกกำรจัดประเภทของผลงำนท่ีผู้ทดสอบทำได้ในแต่ละ
กิจกรรม ว่ำมปี ระเภทของผลงำนทซี่ ำ้ กนั เทำ่ ไร โดยจะให้คะแนนเฉพำะประเภทของผลงำน

3. ควำมคิดริเร่ิม (Originality) เป็นควำมสำมำรถของบุคคลในกำรคิดส่ิงแปลกใหม่ ไม่ซ้ำกับผู้อ่ืน โดยใช้เกณฑ์
คำตอบของกลุ่มต้งั แต่ 1-5 เปอร์เซน็ ต์ กำรใหค้ ะแนนในส่วนน้จี ัดวำ่ เปน็ กำรใหค้ ะแนนทม่ี ำกท่ีสดุ

4. ควำมคิดละเอียดลออ (Elaboration) เป็นควำมคิดในรำยละเอียดท่ีนำมำตกแตง่ ควำมคดิ คร้ังแรกให้สมบูรณ์
แลว้ ทำใหไ้ ด้ภำพชดั เจนและไดค้ วำมหมำยสมบรู ณ์ ดังในภำพทม่ี ีรำยละเอียดแต่ละส่วน ใหค้ ะแนนสว่ นละ 1 คะแนน กำร
คิดคะแนนควำมคิดละเอียดลออใชช้ ว่ งคะแนน เช่น จำก 1-5 = 1 คะแนน เปน็ ตน้

นอกจำกแบบทดสอบควำมคิดสร้ำงสรรค์ตำมแนวคิดของทอร์แรนซ์แล้ว ยังมีแนวคิดสร้ำงสรรค์ตำมแนวคิดของ
กิลฟอร์ด ซง่ึ เป็นนกั กำรศึกษำอกี คนที่ศึกษำค้นคว้ำเก่ยี วกับกำรประเมินควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยมีรำยละเอียดกำรประเมิน
ดงั แบบประเมินทกั ษะกำรคิดสร้ำงสรรค์(ตำมแนวคิดของ Guilford) ในตำรำงต่อไปน้ี

รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
1.คิดคล่องแคลว่
2.คิดยดื หยนุ่ 4 32 1
3.คิดรเิ รมิ่ ดีมาก ปรับปรุง
ตอบไดต้ รงประเดน็ ดี พอใช้ ตอบไดต้ รงประเดน็
4.คิดละเอยี ดลออ ถกู ตอ้ ง 90% ขึน้ ไปใน ถูกต้องตำ่ กว่ำ 50% ขน้ึ
เวลำทกี่ ำหนด ตอบไดต้ รงประเด็น ตอบไดต้ รงประเด็น ไปในเวลำทก่ี ำหนด
จดั ลกั ษณะ/ ประเภท/ จัดลักษณะ/ประเภท/
กลุ่มของคำตอบได้อย่ำง ถูกตอ้ งได้ 70% ข้ึนไป ถูกตอ้ งได้ 50% ข้นึ ไป กลมุ่ ของคำตอบได้ไม่
หลำกหลำย หลำกหลำย
ในเวลำท่กี ำหนด ในเวลำท่ีกำหนด
คดิ แปลกใหม่ แตกต่ำง คดิ แปลกใหม่ แตกตำ่ ง
จำกเดิม/ ดดั แปลง/ จดั ลักษณะ/ประเภท/ จัดลักษณะ/ประเภท/ จำกเดมิ /ดดั แปลง/
ประยกุ ตแ์ ละสำมำรถ ประยุกต์และสำมำรถ
นำไปใช้ไดอ้ ย่ำงถูกตอ้ ง กลมุ่ ของคำตอบได้ กลุ่มของคำตอบได้ นำไปใช้ได้อย่ำงถกู ตอ้ ง
เป็นสว่ นนอ้ ย
บอกรำยละเอียด อยำ่ งหลำกหลำย ได้เป็น อย่ำงหลำกหลำย ไดเ้ ปน็ บอกรำยละเอียด
เกย่ี วกับคำตอบและ เกีย่ วกบั คำตอบและ
เช่อื มโยงสมั พันธส์ ิง่ สว่ นใหญ่ บำงส่วน เชอื่ มโยงสมั พันธส์ ่ิง
ตำ่ งๆ ไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง ตำ่ งๆ ไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง
คดิ แปลกใหม่แตกตำ่ งจำก คดิ แปลกใหมแ่ ตกตำ่ ง เป็นส่วนนอ้ ย

เดมิ /ดัดแปลง/ประยุกต์ จำกเดิม/ดดั แปลง/

และสำมำรถนำไปใชไ้ ด้ ประยุกตแ์ ละสำมำรถ

อยำ่ งถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ นำไปใช้ไดเ้ ปน็ บำงสว่ น

บอกรำยละเอยี ด บอกรำยละเอยี ด
เกย่ี วกบั คำตอบและ เก่ยี วกับคำตอบและ
เชอื่ มโยงสัมพันธส์ งิ่ เชือ่ มโยงสมั พนั ธส์ ิง่
ต่ำงๆ ได้อยำ่ งถกู ต้อง ต่ำงๆ ไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง
เปน็ ส่วนใหญ่ เป็นบำงสว่ น

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 5

ระดบั คณุ ภาพ 4 (ดมี ำก) 13-16 คะแนน

3 (ดี) 9-12 คะแนน

2 (พอใช)้ 5-8 คะแนน

1 (ปรับปรุง) 1-4 คะแนน

เกณฑ์กำรผ่ำนระดบั คณุ ภำพ 2 ขนึ้ ไปถือวำ่ ผ่ำน

นอกนอกจำกนี้หน่วยงำนต่ำงๆ ได้นำหลักเกณฑ์ของกำรวัดและประเมินผลควำมคิดสร้ำงสรรค์ท่ีมีนักวิชำกำร
ต่ำงๆ คิดข้ึน และนำไปพัฒนำเป็นแบบวัดควำมคิดสร้ำงสรรค์เฉพำะทำง ดังเช่นกรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณะสุข
(มปป.) ได้จัดทำแบบประเมินควำมคิดสร้ำงสรรค์ด้ำนวิทยำศำสตร์ แบบ T-Score ขึ้น โดยมีลักษณะแบบประเมินดัง
รำยละเอยี ดต่อไปนี้

ประเดน็ ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ด้ำนวทิ ยำศำสตร์ ตรงกับ ัตวเรำ
ีมส่วนใหญ่ ่ีทตรง ักบตัวเรำ
1. ฉนั ชอบศกึ ษำค้นคว้ำหำหนงั สือมำอำ่ น ตรงกับ ัตวเรำ ้บำงบำงค ั้รง
2. ฉันชอบพูดคุยกับผู้รู้ ชอบกำรประชุมสัมมนำ ชอบเดินทำงท่องเที่ยว เพ่ือเก็บเก่ียว ตรง ักบตัวเรำ ้นอยมำก
ประสบกำรณ์ ไ ่มตรงกับตัวเรำ
3. ฉันชอบตง้ั คำถำมในใจเสมอกบั ส่งิ ท่ีพบเห็น
4. เม่ือมีขอ้ สงสยั ฉันจะซกั ถำม หรือ ทดลองทำ หรือค้นหำขอ้ มลู เพ่ือหำคำตอบเสมอ
5. บำงทีฉันคิดจนลมื กนิ ลมื นอนเมอ่ื คดิ ในเรอ่ื งทีส่ นใจ
6. ฉนั ชอบนำเรอื่ งท่ีฉันสงสยั มำคดิ
7. เมอื่ มีข้อสงสัยเกิดขึน้ ฉันจะคิดถึงแตเ่ ร่อื งที่สงสัยจนกว่ำจะไดค้ ำตอบ เช่น คิดขณะอยู่
ในรถ ขณะอยู่ในห้องน้ำ ขณะทำนขำ้ ว
8. ฉันมักใส่ใจสงั เกตรำยละเอียดสิ่งท่สี นใจรอบๆ ตัว
9. ทุกครัง้ ท่ีฉันได้เดนิ ทำง ฉนั มักจะคน้ หำโอกำสท่ีจะเรียนร้สู ่งิ ใหม่ๆ
10. ฉนั ชอบคิดในมุมท่ีแตกตำ่ งจำกคนอ่นื เพอ่ื ค้นหำคำตอบ
11. ส่ิงแวดล้อมรอบตวั มักกระตนุ้ ควำมอยำกรู้ในตัวฉนั เสมอ
12. ฉนั มกั ตงั้ คำถำมวำ่ ทำไมถึงเป็นเชน่ น้ันแทบทกุ เร่ือง
13. ฉันสนกุ และชอบที่จะทดลองทำในสิ่งทคี่ ดิ แมว้ ่ำจะเปน็ กำรลองผิดลองถูกก็ตำม
14. เมื่อเกิดข้อสงสยั ฉนั จะต้องหำคำตอบใหก้ บั ขอ้ สงสยั โดยไมป่ ล่อยให้ผำ่ นเลยไป
15. เมอ่ื มคี วำมคดิ แวบ๊ เข้ำมำ ฉนั จะจดบนั ทกึ ไว้ทันทเี พอื่ นำไปคิดต่อ
16. เมื่อได้รับคำอธิบำย แมไ้ ม่เขำ้ ใจ แตฉ่ ันกจ็ ะไม่ถำมซ้ำ
...
73. ฉนั ไม่หยดุ อยู่กับสิง่ ทีฉ่ นั ทำไดส้ ำเรจ็ เพรำะฉนั เชอ่ื ว่ำ สิ่งทดี่ กี ว่ำมีโอกำสเกดิ ข้นึ ได้
74. ฉันชอบทำในสิง่ ท่ีสนใจ แมจ้ ะไม่ไดร้ ับกำรสนับสนนุ ก็ตำม
75. ฉนั มีควำมสุขอยูก่ ับกำรทำงำนที่ชอบ แม้วำ่ จะประสบควำมสำเร็จหรือไม่ก็ตำม

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 6

ประเดน็ ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ ตรงกับ ัตวเรำ
ีมส่วนให ่ญ ่ีทตรงกับตัวเรำ
ตรงกับ ัตวเรำบ้ำงบำงครั้ง
ตรง ักบตัวเรำ ้นอยมำก
ไ ่มตรงกับตัวเรำ

76. ในกำรทำงำน ถ้ำยังคดิ ไม่ออก ฉนั จะค่อยๆ คิด คอ่ ยๆ หำทำง

77. เวลำทำอะไร ฉันมกั จะจดจอ่ อยูก่ บั สิ่งที่ทำจนสำเรจ็

คะแนนรวมทัง้ หมด =

กำรให้คะแนน

ตรงกับตัวเรำ = 5 คะแนน,

มสี ว่ นใหญท่ ต่ี รงกับตวั เรำ = 4 คะแนน,

ตรงกับตวั เรำบำ้ งบำงคร้งั = 3 คะแนน,

ตรงกบั ตัวเรำน้อยมำก = 2 คะแนน,

ไม่ตรงกบั ตวั เรำ = 1 คะแนน

ยกเวน้ ข้อ 16 46 48 58 60 61 63

รวมคะแนนทั้งหมดแล้ว ให้เทียบคะแนนกับตำรำง คะแนนมำตรฐำน T ตำมช่วงอำยุ และดูกำรแปลผล จำกน้ัน

ใหร้ วมคะแนน ขอ้ 1-18 ข้อ 19-37 ข้อ 38-49 และขอ้ 50-77 ซง่ึ เปน็ คะแนนด้ำนตำ่ งๆ ดังน้ี

ข้อ 1-18 ด้ำนควำมอยำกรู้อยำกเหน็ (คะแนนสูงสดุ 90 คะแนน)

ข้อ 19-37 ดำ้ นจนิ ตนำกำรประสำนควำมคิด (คะแนนสูงสุด 95 คะแนน)

ข้อ 38-49 ดำ้ นชอบแกป้ ัญหำ (คะแนนสูงสุด 60 คะแนน)

ขอ้ 50-77 ดำ้ นควำมมงุ่ ม่นั พยำยำม (คะแนนสงู สุด 140 คะแนน)

ตัวอย่ำง ตำรำงคะแนนดิบ คะแนนมำตรฐำน T กำรให้เกรดของคะแนนควำมคิดสร้ำงสรรค์ด้ำนวิทยำศำสตร์

จำแนกตำมช่วงอำยุ อำยุ 15-25 ปี

เกณฑป์ กติความคดิ สร้างสรรค์ เกณฑป์ กติความคดิ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์ปกตคิ วามคดิ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์ปกติความคดิ สรา้ งสรรค์

ช่วงอายุ 15-25 ปี ชว่ งอายุ 15-25 ปี ช่วงอายุ 15-25 ปี ชว่ งอายุ 15-25 ปี

คะแนนดบิ คะแนน T คะแนนดบิ คะแนน T คะแนนดิบ คะแนน T คะแนนดบิ คะแนน T

133 คะแนน 8 188 คะแนน 27 243 คะแนน 45 298 คะแนน 64

134 คะแนน 8 189 คะแนน 27 244 คะแนน 46 299 คะแนน 64

135 คะแนน 9 190 คะแนน 27 245 คะแนน 46 300 คะแนน 65

... ... … ... ... ... ...

186 คะแนน 26 241 คะแนน 45 296 คะแนน 63 352 คะแนน 82

187 คะแนน 26 242 คะแนน 45 297 คะแนน 64 353 คะแนน 83

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 7

ตัวอย่ำง ตำรำงคะแนนดิบ คะแนนมำตรฐำน T กำรให้เกรดของคะแนนควำมคิดสร้ำงสรรค์ด้ำนวิทยำศำสตร์

จำแนกตำมชว่ งอำยุ อำยุ 26-40 ปี

เกณฑป์ กตคิ วามคิดสร้างสรรค์ เกณฑ์ปกตคิ วามคดิ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์ปกตคิ วามคดิ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์ปกติความคดิ สร้างสรรค์

ชว่ งอายุ 26-40 ปี ช่วงอายุ 26-40 ปี ช่วงอายุ 26-40 ปี ชว่ งอายุ 26-40 ปี

คะแนนดบิ คะแนน T คะแนนดบิ คะแนน T คะแนนดบิ คะแนน T คะแนนดิบ คะแนน T

131 คะแนน 12 185 คะแนน 29 239 คะแนน 46 293 คะแนน 62

132 คะแนน 13 186 คะแนน 29 240 คะแนน 46 294 คะแนน 63

133 คะแนน 13 187 คะแนน 30 241 คะแนน 46 295 คะแนน 63

... ... … ... ... ... ...

183 คะแนน 28 237 คะแนน 45 291 คะแนน 62 345คะแนน 78

184 คะแนน 29 238 คะแนน 45 292 คะแนน 62 346 คะแนน 79

ในกำรแปลผลคะแนนมำตรฐำน T(T-Score) อำจกำหนดระดบั คุณภำพเป็น 5 ระดับ ดังน้ี

ตั้งแต่ T67 ขึน้ ไป แปลว่ำ มีควำมคิดสรำ้ งสรรค์ด้ำนวทิ ยำศำสตรอ์ ย่ใู นระดบั ดเี ยยี่ ม

ตง้ั แต่ T53-66 แปลว่ำ มีควำมคิดสรำ้ งสรรค์ด้ำนวิทยำศำสตร์อยู่ในระดบั ดี

ต้ังแต่ T39-52 แปลวำ่ มีควำมคิดสรำ้ งสรรค์ด้ำนวทิ ยำศำสตร์อยู่ในระดบั ปำนกลำง

ตั้งแต่ T25-38 แปลวำ่ มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ด้ำนวทิ ยำศำสตรอ์ ยู่ในระดับคอ่ นข้ำงนอ้ ย

ตำ่ กว่ำ T25 แปลวำ่ มคี วำมคิดสรำ้ งสรรค์ด้ำนวทิ ยำศำสตร์อยู่ในระดบั น้อย

ถ้ำท่ำนได้คะแนนรวมข้อ 1-18 มำก คือได้เกิน 60 คะแนน ข้ึนไป (คะแนนเฉล่ียเท่ำกับ 60.06 คะแนน คะแนน
สูงสุด 90 คะแนน) แสดงว่ำท่ำนเป็นคนที่มีควำมอยำกรู้อยำกเห็นสูง ซ่ึงนำไปสู่กำรสังเกต ค้นคว้ำ แสวงหำและทดลอง
เพือ่ หำคำตอบที่สงสยั

ถำ้ ท่ำนได้คะแนนรวมข้อ 19-37 มำก คือได้เกิน 58 คะแนน ขึ้นไป (คะแนนเฉลี่ยเท่ำกบั 58.24 คะแนน คะแนน
สูงสุด 95 คะแนน) แสดงว่ำท่ำนเป็นคนที่มีจินตนำกำรและมีควำมคิดริเร่ิม คิดเชื่อมโยง ต่อยอด คิดหลำกหลำย และคิด
นอกกรอบสูง

ถ้ำท่ำนได้คะแนนรวมขอ้ 38-49 มำก คือได้เกิน 40 คะแนน ข้ึนไป (คะแนนเฉลย่ี เท่ำกับ 40.74 คะแนน คะแนน
สูงสดุ 60 คะแนน) แสดงว่ำท่ำนเปน็ คนท่ีมองปัญหำเปน็ เรือ่ งทำ้ ทำย ชอบและสนุกกบั กำรแกป้ ญั หำ

ถ้ำท่ำนไดค้ ะแนนรวมขอ้ 50-77 มำก คือได้เกิน 92 คะแนน ข้ึนไป (คะแนนเฉลี่ยเท่ำกับ 92.85 คะแนน คะแนน
สงู สดุ 140 คะแนน) แสดงว่ำท่ำนเปน็ คนมีควำมมงุ่ มนั่ พยำยำมสูง

คนท่ีมีควำมคิดสร้ำงสรรค์ด้ำนวิทยำศำสตร์ จะมีคุณลักษณะเด่นคือ เป็นคนที่มีจินตนำกำร และสนุกกับกำรคิด
มีควำมคดิ รเิ ริ่ม คิดเช่อื มโยง ตอ่ ยอด คดิ หลำกหลำย และคดิ นอกกรอบสงู

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 8

รายการอา้ งอิง
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล. (2554). กำรผลติ สือ่ กำรศกึ ษำเชงิ สรำ้ งสรรค.์ เอกสำรประกอบกำรสอน รำยวชิ ำ 468 213.

ภำควิชำเทคโนโลยีกำรศกึ ษำ คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศลิ ปำกร วิทยำเขตพระรำชวังสนำมจันทร์.
สำนกั ส่งเสริมและพัฒนำสขุ ภำพจิต กรมสขุ ภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข. (2558). แบบประเมินควำมคดิ

สร้ำงสรรคด์ ้ำนวิทยำศำสตร.์ [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงข้อมูลวันท่ี 3 มิถุนำยน 2560.
จำก http://www.sorporsor.com/ดูสอ่ื -เทคโนโลยี-วยั รุ่น-15-21ปี-ท้งั หมด/421-ประเมนิ ควำมคดิ
สร้ำงสรรคด์ ำ้ นวิทยำศำสตร์.html
อำรี พันธ์มณี. (2537). ควำมคดิ สรำ้ งสรรค์. กรงุ เทพฯ: ตน้ อ้อ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์

รายวิชา
การคิดสร้างสรรค์

ดร.ดรัณภพ เพียรจัด

ตอนที่ 5 การประยุกต์ใช้ความคดิ สร้างสรรค์

กจิ กรรมท่จี าเป็นตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์
อรพรรณ พรสมี า (2543, หน้า 42-43) ได้เสนอกจิ กรรมทจี่ าเปน็ ต่อการคิดสรา้ งสรรค์ ดงั นี้
1. ฝกึ เสนอแนะความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั สาเหตแุ ละแนวทางแก้ปัญหาหลายๆ แนวทาง
2. ฝึกมองข้อเสนอของบุคคลหรอื กล่มุ บุคคลจากหลายๆ มุมมอง
3. ฝึกเสนอความคิดเห็นเพ่ิมเติมจากความคดิ เหน็ ของคนอ่ืน
4. ฝึกเสนอความคิดเห็นให้แตกต่างจากความคิดเหน็ ของคนอ่ืน
5. หาโอกาสเข้ารว่ มกจิ กรรมระดมสมอง
6. ฝึกมองหาและตรวจสอบอิทธิพลขององค์ประกอบหรือกิจกรรมย่อยท่ีมีผลต่อองค์ประกอบใหญ่หรือกิจกรรม

หลกั
7. ฝกึ ติดตามและหาข้อมูลทีเ่ ปน็ ผลจากการตดั สนิ ใจในเรื่องสาคัญของบคุ คลสาคัญ
8. ฝึกมองหาความสัมพันธ์ของเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์
9. ฝึกเสย่ี งเสนอความคิดเห็น
10. ฝกึ สร้างจินตนาการเกีย่ วกับเรือ่ งต่างๆ
11. ฝกึ เปรยี บเทยี บสิง่ ของ เหตุการณ์และกจิ กรรม
12. ฝึกสร้างภาพ สรา้ งฝัน และสร้างความสาเรจ็
13. ฝึกสบื หารากเหง้า ความเป็นมาและความเกย่ี วข้องสมั พนั ธ์ของเหตกุ ารณ์

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 2

14. ฝึกถามคาถามหลายๆ คาถาม โดยเฉพาะคาถามปลายเปดิ
15. ฝึกพูดและเขยี นนวนิยาย
16. ฝกึ คดิ หาทางเลอื ก แนวทางที่จะเป็นไปได้ และตวั เลือกเพือ่ แกป้ ญั หา เหตุการณ์ และสถานการณต์ ่างๆ

คุณสมบัติสาคัญอย่างหน่ึงของการเป็นคนฉลาดคิดคือควรมีโลกทัศน์ท่ีกว้างไกล พร้อมเปิดรับความคิดใหม่ๆ
อย่างไม่มอี คติ ดงั น้ันเราจึงควรพัฒนาการรบั รู้อย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือเปดิ กว้างทางความคิดดว้ ยกิจกรรมต่างๆ เช่น

1. เล่นอย่างสร้างสรรค์

สงิ่ ท่ีสาคัญที่จะนาไปสู่ความคิดสรา้ งสรรค์คือการปล่อยความคิดและพยายามคิดนอกกรอบในพฤติกรรมท่ีเป็นท่ี
ยอมรับของคนท่ัวไป ลองปล่อยตัวเองให้คิดหรือทาส่ิงท่ีดู “เหลวไหล” บ้าง และสังเกตว่ามี ความหรือรู้สึกเป็นอิสระ
หรือไม่ เช่น ออกไปเล่นกับเด็กที่สนามเด็กเล่น โดยไม่ต้องคดิ ว่าตนเองอายุเท่าไร ลองเปิดเพลงที่ฟังดูสนุกๆ แล้วทากริ ิยา
ทา่ ทางใหเ้ ขา้ กับจงั หวะดนตรี ซึ่งความเป็นเดก็ ในตวั เราจะจดุ ประกายความคดิ สรา้ งสรรค์

2. มีอารมณ์ดี

การมีอารมณ์ดีเป็นผลมาจากการเล่นในรูปแบบต่างๆ อารมณ์ท่ีดีช่วยให้เรามองดูผู้คนและสถานการณ์ในแบบท่ี
แปลกไปจากปกติ และแตกตา่ งไปจากเดิม ทาใหท้ ้งั ตนเองและบคุ คลรอบข้างมคี วามรู้สึกผ่อนคลายมากขึน้

3. พยายามทาตัวเป็นศิลปนิ ใหม้ ากข้ึน

ทุกคนมีความเป็นศิลปินอยู่ในตัวอยู่แล้ว ไม่ใช่เพียงแต่เฉพาะศิลปินเท่านั้น เพราะธรรมชาติของมนุษย์นอกจาก
ความมีระเบียบ มีกฎเกณฑ์ จะต้องมีเวลาท่ีจะต้องอยู่นอกกรอบหรือกฎเกณฑ์เช่นกัน ซ่ึงทาให้เห็นว่ามนุษย์ทุกคนมี
ความสัมพันธ์กับความคิดสร้างสรรค์มาก ดังน้ันควรทาตัวให้เป็นศิลปิน เช่น วาดรูป ร้องเพลง เล่นดนตรี ถ่ายภาพ หรือ
ทางานอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานประจาที่ทาเผ่ือผ่อนคลาย และจะต้องแสดงผลงานที่ได้ทาให้เห็นเป็นท่ีประจักษ์อย่าง
ชัดเจนดว้ ย

4. หาเวลาอยคู่ นเดียวบ้าง

การอยคู่ นเดยี วจะทาใหเ้ กิดสมาธิมากขน้ึ เป็นการทากจิ กรรมตามลาพังดว้ ยตวั เองโดยมีการต้งั เป้าหมายทชี่ ัดเจน
เพือ่ ให้ไดผ้ ลสาเร็จของกิจกรรม ซึ่งทาให้เปน็ การปลดปล่อยตัวเองมากข้ึน

5. กลา้ ท่ีจะแตกตา่ ง

ลองทากิจกรรมร่วมกับคนที่มีทัศนะแตกต่างจากเรา และทดลองสมมติตนเองว่าเป็นผู้อื่น เพ่ือมองโลกในแบบท่ี
เขาเปน็

6. คานงึ ถงึ ความสัมพันธข์ องร่างกาย ความคดิ และอารมณ์

เป็นระบบการทางานท่สี ัมพนั ธ์กันซ่ึงบุคคลแต่ละคนมลี ักษณะพฤตกิ รรมทจี่ ะต้องใช้ความคดิ ที่แตกต่างกันบางคน
ต้องเดินหรือเคล่ือนไหวร่างกายไปพร้อมกับคิด บางคนน่ังหมุนปากกาไปพร้อมกับคิด บางคนต้องทากิจกรรมอย่างอ่ืน
พรอ้ มกับคิดกิจกรรมอีกอย่างหนง่ึ เมอ่ื ไดล้ องกระทาพฤตกิ รรมดงั กลา่ วแล้วจะทาให้ความคดิ แล่นอยา่ งรวดเร็ว

7. สารวจความเปน็ ตัวของตัวเอง

พิจารณาตนเองว่ามีลักษณะนิสัยแบบไหน มีทัศนคติอย่างไรต่อโลกและผู้คนรอบข้าง การรู้จักตนเองจะทาให้
พิจารณาบริบทที่จะส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงได้ง่ายมากข้ึน เช่น ดูว่าเรามีความคิดอย่างไรต่อการวิ่งที่นิยมจัดในปัจจุบัน
หากคดิ วา่ เป็นเรื่องส้ินเปลอื งในคา่ ใช้จ่ายต่างๆ เป็นส่ิงทางลบ ตนเองสามารถวิ่งในสวนสาธารณะท่ัวไปได้ และมองว่าเป็น

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 3

การเสียเวลา ก็จะทาให้การเลือกคบคนแคบลง ด้วยการปฏิเสธคนท่ีชวนเราไปว่ิง แล้วถ้าจะลองเปล่ียนทัศนะเพ่ือให้
สามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมน้ันไดอ้ ย่างไม่มีอคติ จะดหี รือไม่

8. ฝึกคิดสร้างสรรค์

เป็นการฝึกคิดสร้างสรรค์ด้วยเทคนิคต่างๆ ที่ได้กล่าวไปแล้ว โดยเปิดกว้างทางความคิด เปิดโอกาสให้ทุกสิ่งเข้า
มา และพัฒนา สรา้ งสรรค์ ต่อยอด ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและผอู้ ่ืน

9. จดบันทึก

เป็นการจดบันทึกความคิด ประสบการณ์ต่างๆ เร่ืองขาขัน หรือคาพูดสาคัญๆ ท่ีน่าประทับใจไว้ทุกคร้ัง ซึ่งจะ
ชว่ ยพฒั นาการจาและเพิ่มขอ้ มูลสาหรับนาไปใชใ้ นการคดิ ครั้งต่อไปด้วย

10. ทาแฟ้มความรู้

เปน็ การจดั ทาแฟ้มสะสมความรู้รายสัปดาห์หรือรายเดอื น โดยตัดข่าวขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจหรอื พมิ พจ์ ากเว็บไซตต์ ่างๆ
เก็บรวบรวมใส่แฟ้มสะสมผลงานไว้ โดยไม่ต้องอ่านรายละเอียด เม่ือครบสัปดาห์หรือครบรอบเดือนก็นาแฟ้มออกมาจัด
กลุ่ม ซ่ึงจะทาให้พบว่ามีข้อมูลที่ซ้ากันหลายๆ ข้อมูล และจะเสียเวลามากถ้าต้องอ่านข้อมูลเหล่านี้ทุกๆ วัน เพ่ือให้ได้รับ
ข้อมลู ทงั้ หมด เพราะปจั จุบันเป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและข่าวสารท่ีมขี ้อมูลสารสนเทศจานวนมหาศาล ดังนั้นการทา
แฟ้มความรูจ้ ะชว่ ยใหเ้ ราทราบความเปน็ ไปของโลกได้โดยไม่ส้ินเปลืองเวลามากนกั

แนวทางในการสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์

ความคิดสรา้ งสรรคส์ ่งเสรมิ ได้ดว้ ยการสอน การฝึกฝน อบรม และสรา้ งบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีส่ ง่ เสรมิ
ความเปน็ อิสระในการเรยี นรู้ ซงึ่ ทอร์แรนซ์ (Torrance, 1962 อา้ งถึงใน ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน,์ 2546, หนา้ 80) ได้
กลา่ วถึงการส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ไว้ดงั นี้

1. การสง่ เสริมให้เดก็ ถามและใหค้ วามสนใจตอ่ คาถาม และคาถามแปลกๆ ของเด็ก โดยพอ่ แม่หรอื ครูไม่ควรมงุ่
แสวงหาเฉพาะคาถามที่ถูกแต่เพยี งอย่างเดยี ว เพราะในการแก้ไขปญั หาหากเด็กจะเดาปัญหาตา่ งๆ กส็ ามารถทาได้และ
ผ้ใู หญ่ควรรบั ฟงั ควรกระตุ้นให้เด็กไดว้ เิ คราะห์ คน้ หาเพื่อพิสูจนก์ ารเดา โดยใช้การสงั เกตและจากประสบการณข์ องเด็ก
เอง

2. ตั้งใจและเอาใจใส่ต่อความคดิ ทแี่ ปลกๆ ของเด็กด้วยใจเปน็ กลาง เม่อื เด็กแสดงความคิดเห็นเรือ่ งใด แม้จะเป็น
ความคดิ ที่ไม่เคยได้ยินมา ผ้ใู หญก่ ็จะต้องไม่ตดั สินและลิดรอนความคดิ นัน้ ไปในทันทีทันใด แต่ควรรบั ฟงั ความคิดเหน็ และ
เหตผุ ลกอ่ น

3. กระตือรือร้นต่อคาถามแปลกๆ ของเดก็ ด้วยการตอบคาถามอย่างมีชีวติ ชีวาหรอื ชีแ้ นะให้เด็กหาคาตอบจาก
แหล่งตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง

4. แสดงพฤติกรรมกรรมใหเ้ ด็กเห็นวา่ ความคิดของเขามีคณุ คา่ เปน็ ความคิดท่ีเกิดประโยชน์ และหากเป็นไปได้
ถ้าความคิดของเขาสามารถนาไปปฏิบตั แิ ล้วเห็นผลจริงจะทาใหเ้ ด็กเกิดความภาคภูมใิ จและกลา้ คิดกล้าทาในสิง่ ทีแ่ ปลก
ใหม่อยตู่ ลอดเวลา

5. กระต้นุ และส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ควรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนเตรียมการใหเ้ ขาไดเ้ รียนรูด้ ้วยตนเอง
ยกย่องเด็กท่ีมีการเรยี นรดู้ ้วยตนเองโดยครเู ปลยี่ นบทบาทตนเองเปน็ เพียงผชู้ ี้แนะ ลดการอธิบายและบรรยายลงบ้าง แต่
เพม่ิ การให้นักเรียนมีสว่ นร่วมจริง รเิ ร่ิมกจิ กรรมด้วยตนเองให้มากขน้ึ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 4

6. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนรู้ ค้นคว้าอยา่ งต่อเน่ืองอยู่เสมอโดยไม่ต้องใชว้ ิธีขู่ด้วยคะแนน หรือการสอบ การ
ตรวจสอบ เปน็ ตน้

7. พงึ ระลึกว่าการพฒั นาความคดิ สร้างสรรคใ์ นเดก็ จะต้องใชเ้ วลาพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป

8. สง่ เสริมให้เด็กใช้จนิ ตนาการของตนเอง และยกย่องชมเชยเมอ่ื เด็กมจี ินตนาการทแี่ ปลกและมีคุณค่า

การฝึกใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการฝกึ คดิ สร้างสรรค์เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพทางความคิด สามารถฝกึ ได้โดย (เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศ์ ักด์ิ
, 2549, หนา้ 78-90)

1. ฝึกมองต่างมุม การมองสิ่งเดียวกันแต่แตกต่างไปจากเดิม ทาให้ค้นพบส่ิงใหม่ๆ ในสิ่งเดียวกัน ซึ่งนิสัยของนัก
คิดสร้างสรรค์ จะมองตรงข้ามจากเดิมเพื่อหามุมมองใหม่ๆ ท่ีต่างไปจากความเคยชินเดิมๆ การฝึกมองแบบมีมิติจะขยาย
ขอบเขตความคิดให้หลุดพ้นจากกรอบแนวคิดเดิมๆ ซึ่งเป็นประโยชน์เมื่อนาไปใช้ในการคิดแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น
ในภาพดา้ นลา่ งหากมองในมมุ มองท่ัวไปจะเห็นเป็นภาพถนน

แต่หากพิจารณาโดยกลับภาพจะมองเห็นเป็นตัว “H” ซ่ึงจะมองเห็นเป็นตัวอักษร H ได้ จะต้องมีมุมมองในการ
มองภาพที่แตกต่างจากภาพเดมิ ๆ ทต่ี ิดอยู่ในความคดิ ตนเองออกไป

2. ฝึกสร้างจินตนาการอิสระ โดยลองฝึกสร้างจินตนาการให้กับสิ่งท่ีเราไม่เคยพบเห็น ไม่เคยได้ยิน สิ่งท่ีเป็นไป
ไมไ่ ด้ ไม่เคยมีใครทา หากเราลองสรา้ งภาพขนึ้ แลว้ คน้ หาวา่ จินตนาการน้ันมปี ระโยชน์หรอื ไม่ เป็นไปได้หรอื ไม่ในโลกแห่ง
ความจริง เช่น กาหนดหัวข้อการเขียนเรียงความแปลกๆ เช่น “เม่ือฉันได้เป็นรัฐมนตรีศึกษาฯ” หรือ “ตี 2 ของคืนวันที่
31 พ.ค.” โดยตั้งเวลาเขียนสักประมาณ 1 ชั่วโมง การต้ังเวลาจะช่วยบังคับให้จดจ่อกับการคิดและเขยี นให้เสร็จตามเวลา
แล้วให้ลองตอบว่า “คุณได้อะไรจากส่ิงที่เขียนบ้าง” จะพบว่าสิ่งท่ีได้รับจะพบจินตนาการท่ีไม่เคยคิดมาก่อน หรือ/และ
การเช่ือมโยงเหตุผลท่ีดูไม่น่าจะเป็นไปได้ หรือ/และ ต่ืนเต้นเมื่อคิดสิ่งใหม่ๆ ได้ หรือ/และ เพิ่งรู้ว่าเราเองก็มีความคิดดีๆ
เหมือนกนั ซ่ึงหากลองฝึกเขยี นพรอ้ มกับเพื่อนจะพบวา่ แต่ละคนจะมีจินตนาการเป็นของตนเอง แต่ละเรอ่ื งจะมีเอกลักษณ์
ไม่เหมอื นใคร เพราะเรอ่ื งท่เี ขยี นนั้นคดิ ข้นึ เองยอ่ มจะไม่ซ้าในเนอ้ื หากบั อีกหลายคนทเี่ ขียนในเรอื่ งเดยี วกัน

3. ฝกึ ขยายขอบเขตของความเปน็ ไปได้ โดยการฝึกจินตนาการเพอ่ื ขยายขอบเขตความเป็นไปได้ของสงิ่ น้นั ๆ ช่วย
ให้ความคิดของเราไม่ยึดติดกับการตีความส่ิงน้ันเพียงมุมมองเดียว ตามประสบการณ์ ความรู้ หรือความเคยชิน แต่เกิด
ความพยายาม ออกแรงคิด เพ่งพินิจในส่ิงเดียวกันนั้นให้เห็นความเป็นไปได้ใหม่ๆ ที่หลากหลายและไม่เคยคิดมาก่อน
หลายคนแก้ปัญหาได้ดีกว่าบุคคลอื่นในสถานการณ์ต่างๆ เพราะเขามีทางออกที่หลากหลายมากกว่า เพราะท่ามกลาง

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 5

ความจากัดของปัญหาท่ีเหมือนไม่มีทางออก นักคิดสรา้ งสรรค์จะพยายามใช้อุปกรณ์หรือทรัพยากรท่มี ีอยู่เพือ่ แก้ไขปญั หา
ให้หมดไป โดยมองนอกกรอบความจากัดเดมิ ทมี่ เี พ่ือความเป็นไปได้อนื่ ๆ หรือทางเลอื กใหม่ๆ ที่ไม่เคยทามากอ่ น แต่คิดว่า
น่าจะรับมอื กับสถานการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ได้ ดงั นั้นต้องลองฝึกขยายขอบเขตความเป็นไปได้ เช่น ถามเด็กว่ากล่องที่ใสก่ ระดาษ
A4 กาลังจะทิ้ง จะสามารถนาไปใช้ทาอะไรได้บ้าง เด็กอาจจะให้คาตอบว่า สามารถนาไปใส่ของเล่นได้ สามารถนามาทา
เป็นบ้านพักได้ สามารถนามาคลุมกันหัวเปียกเวลาฝนตกได้ สามารถนาไปเป็นเก้าอ้ีน่ังได้ สามารถนาไปทาเป็นเสื้อใส่ได้
สามารถตอ่ เปน็ รถไฟได้ สามารถนาไปใชเ้ ปน็ ตะกรา้ ได้

4. ฝึกต้ังคาถามแบบมองต่างมุม ซ่ึงเม่ือพบปัญหาให้ลองต้ังคาถามว่า เร่ืองน้ีมองได้กี่มุมมอง มีความเป็นไปได้กี่
หนทาง มีมุมมองที่แตกต่างกันมากน้อยเพียงใด การมองต่างมุมควรเร่ิมตั้งแต่การต้ังคาถามของปัญหาที่เราคิดว่าเป็น
ปญั หา ก่อนที่เราจะพยายามคิดหาคาตอบ เราควรต้ังคาถามเพื่อให้ตัวเราเองแนใ่ จว่าสงิ่ ๆ น้ัน เปน็ ปญั หาจริงๆ อาจทาให้
ค้นพบว่าเราค้นพบปญั หาทีแ่ ท้จริง ทาใหเ้ ราเห็นปัญหาท่ีสรา้ งสรรค์กว่า ยกตวั อย่างเช่น เราอย่ใู นห้องพักท่ีอากาศร้อนจะ
ทาอย่างไรให้เยน็ สบาย ซงึ่ ตอ้ งตงั้ คาถามวา่ “ปัญหาทีแ่ ทจ้ ริงอยตู่ รงไหน” หากคดิ ว่าอากาศในห้องร้อน มกั จะคิดต่อไปว่า
เม่ือห้องร้อนจะหาทางออกคือทาอย่างไรให้ห้องเย็น ดังนั้นทางออกที่ทาให้ห้องเย็น เช่น ติดแอร์ เปิดพัดลม ติดฉนวนกัน
ความรอ้ น ปลูกตน้ ไมไ้ ว้รอบบา้ น ในอีกมมุ หนึ่ง หากเรามองต่างมมุ โดยมองกลับกันว่าปญั หาที่แท้จรงิ นนั้ อยทู่ ่ีตวั เรา หาก
เราหันมาแก้ปัญหาท่ีตัวเราเองคือทาอย่างไรให้ตัวเราเย็น เราจะคิดทางออกในอีกมุมมองหน่ึง เช่น อาบน้า ทาแป้งเย็น
ดื่มน้าเย็น ซ่ึงเป็นการปรับทัศนคติพยายามมองมุมใหม่แม้ร้อนเรายังทนได้ คิดในมุมบวก และค่อยๆ พิจารณาประเด็นที่
ตรงประเดน็ มากทสี่ ดุ

5. ฝึกเป็นคนไม่พอใจอะไรง่ายๆ โดยต้ังคาถามว่า “ทาไม” เพราะคนเรามีแนวโน้มที่จะยึดติดกับการตอบสนอง
ส่ิงต่างๆ ตามความเคยชิน ในการแก้ปัญหาก็เช่นกัน เรามักใช้วิธีการเดิมๆ ท่ีเคยทาแล้วประสบความสาเร็จหรือ
ลอกเลียนแบบผอู้ ืน่ ยงิ่ เรามีประสบการณ์มากครั้งเทา่ ไรว่าแนวทางนน้ั ใช้ได้ดี เรายง่ิ ยดึ ติดอยู่กับความคิดนั้นอยู่รา่ ไป ทัง้ ๆ
ทม่ี ันอาจจะมีคาตอบท่ีดีกว่า ทางออกของปัญหาน้ีอาจมีหลากหลายทาง คาตอบท่ีได้ในครั้งแรกอาจไม่ใชค่ าตอบที่ดีท่ีสุด
นักคิดสร้างสรรค์จึงมีแนวโน้มท่ีจะมีความคิดวิพากษ์ ที่ไม่ยอมรับส่ิงต่างๆ เช่นท่ีเคยเป็นมาว่าดีที่สุดเสมอ จึงมองหา
คาตอบที่ไม่ธรรมดาและมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นกว่า เป็นผลผลิตทางความคิดใหม่ล่าสุดที่ตนเองคิดออกมาได้ ดังน้ันเราจึง
ไม่ควรพึงพอใจในคาตอบที่คิดว่าดีแล้วหรือดีกว่าเดิม แต่ให้คิดว่า “ทาไมต้องเป็นเช่นน้ัน” “ทาไมต้องเป็นทางเลือกนี้
อาจมีคาตอบท่ีดีกวา่ น้ี”

6. ฝึกกระตุ้นความคิดด้วยคาถามว่า “อะไรจะเกิดขึ้น ถ้า...” ซ่ึงคาถามน้ีจะช่วยให้เราสามารถมองข้ามกฎ หรือ
สมมติฐานบางข้อท่ีเราเชื่อว่าเป็นจริง ทาให้ไม่ยึดติดกับสิ่งท่ีเคยรู้มาก่อน กระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ๆ และถ้าเราคิดหา
คาตอบด้วย เราคงต้องประหลาดใจกับส่ิงที่เราคิดอาจไปเก่ียวข้องกับสภาพแวดล้อมมากมายท่ีจาเป็นต้องได้รับการ
เปล่ียนแปลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จะเห็นว่าคาถามดังกล่าวไม่ได้ทาให้เราได้ความคิดสร้างสรรค์ในทันทีทันใด แต่คาถาม
จะช่วยเป็นสิ่งท่ีทาให้เราไดร้ ับความคิดใหม่ๆ ในท่ีสุด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง การต้ังคาถามถึงส่งิ ที่อาจเกิดขึน้ ได้ในอนาคต จะ
ช่วยให้เราแสวงหาหนทางใหม่ๆ ในการรับมือกับสิ่งที่อาจเกิดขึ้น ตัวอย่างสถานการณ์เช่น สมมติว่ าเราเป็นผู้บริหาร
หน่วยงานราชการแห่งหน่ึง เราอาจตั้งคาถามว่า “อะไรจะเกิดข้ึนถ้าเราเปล่ียนระบบการประเมินผลงานของข้าราชการ
ใหม่ โดยให้ประชาชนเป็นผู้ประเมินผลแทน” ซ่ึงคาถามแบบน้ีช่วยทาให้เราได้ความคิดใหม่ๆ นอกกรอบความคิดเดิมๆ
ออกไปสู่ความเปน็ ไปได้ จะชว่ ยทาให้เราสามารถเตรียมความพร้อมในการปฏบิ ตั ิการในอนาคต

7. ฝึกมองมุมตรงข้าม ต้ังคาถามและหาคาตอบ การมองมุมใหม่ในทางตรงข้าม เช่น เปลี่ยนจาก มีเป็นไม่มี
เปล่ียนจากซ้ายเป็นขวา แล้วลองตั้งคาถามแปลกๆ เช่น ทาไมนาฬิกาเดินวนขวา จะเป็นอย่างไรถ้าโลกนี้ไม่มีไฟฟ้า
คาถามเหล่าน้ีโดยปกติคนเรามักยอมรับสภาพที่เป็นอยู่โดยไม่คิดต้ังคาถามให้กับความธรรมดาท่ีเกิดขึ้น ดังนั้นถ้าเราคิด
คาถามท่ีไมค่ ุ้นเคย คาถามท่ดี ูเหมอื นไม่นา่ จะเป็นไปได้ ซึ่งจะชว่ ยกระตุ้นใหเ้ กิดการทา้ ทายกรอบความคิดหรือกรอบความ

รายวชิ า การคดิ สร้างสรรค์ 6

เช่ือของเราท่ีคิดว่าจะต้องเป็นเช่นนั้น ไปสู่การมองในมุมใหม่ จากนั้นท้าทายตนเองให้หาคาตอบ คาถามเหล่าน้ันจะ
นาไปสู่การสืบค้น หรือการเห็นภาพใหม่ๆ จากสิ่งเดิมๆ ในเรื่องปกติท่ีไม่เคยคิดว่าจะมีความเป็นไปได้ คาถามของเราจะ
นาไปสู่การสืบค้นความจริง และนาไปสู่การพัฒนาด้วยวิธีการคิดสร้างสรรค์เพ่ือใช้ประโยชน์จากมุมมองใหม่ของเรา เช่น
เราจะรู้สึกว่านาฬิกาเดินถอยหลัง ท้ังๆ ท่ีมันเคล่ือนไปข้างหน้า ซ่ึงเราอาจจะประดิษฐ์นาฬิกาดังกล่าวไปให้สาหรับผู้ท่ี
ประกอบอาชีพท่ตี ้องมองกระจกอยูเ่ สมอ เป็นตน้

8. ฝกึ เช่ือมโยงสง่ิ ท่ีไม่คนุ้ เคย ผู้ท่ีมีความคดิ สรา้ งสรรค์จะไม่จากดั ความคิดไว้ที่ความจรงิ ท่ัวไปหรือสง่ิ ทีเ่ รายอมรับ
กัน แต่จะพยายามผสมผสานเชอ่ื มโยงในสง่ิ ที่ดูเหมือนเป็นไปไมไ่ ด้ ไมเ่ คยมีใครทาเชน่ นั้นมาก่อน หรือกระทาในส่ิงทคี่ นอ่ืน
บอกว่าเป็นสิ่งท่ีผิดเพ้ียน โดยนามาคิดต่อ ซึ่งอาจทาให้ได้สิ่งประดษิ ฐ์ใหม่ท่ีไม่มีใครเคยได้คิดมาก่อน เช่น ผ้าใช้หนุนนอน
หากพิจารณาผ้าจะไม่มีรูปทรงที่นามาใช้หนุนได้ แต่ปัจจุบันมีคนนาผ้านามาม้วนแล้วจัดเก็บให้เป็นหมอนหนุนนอนได้ใน
ท่สี ุด เป็นตน้ ซึ่งหากเป็นคนปกติจะคิดเพียงแค่วา่ ผ้าก็นามาใชเ้ ช็ดตัวหรือห่มนอน ไม่นยิ มนาผ้ามาใช้หนนุ นอน แต่พอเดิน
ทางไกลๆ การผลิตหมอนผ้าทาให้ตอบโจทย์นักท่องเทีย่ วไดเ้ ปน็ อย่างดี ดังนั้นถา้ เราเป็นนักเชื่อมโยงที่เก่งจะสามารถทาให้
ได้ผลิตภณั ฑท์ ่แี ปลกใหม่

9. ฝึกคิดทางลัด เป็นการฝึกมองภาพรวมแล้วมุ่งผลไปที่เป้าหมายท่ีต้องการได้มาโดยเฉพาะ ดังเช่นการเล่มเกม
ใช้ดินสอขดี หาเส้นทางในเขาวงกต คนที่มีความคดิ สร้างสรรคจ์ ะพยายามหาทางลัดสู่เปา้ หมาย โดยมองภาพทั้งภาพพร้อม
กัน และดูเฉพาะเส้นทางว่าช่องไหนเส้นทางปิด ถ้าปิดแสดงว่าไม่สามารถเดินต่อไปได้ ถ้าเปิดแสดงว่าเป็นเส้นทางที่
ถูกต้อง ซึ่งจะมีเส้นทางเดียว ทาให้เราได้คาตอบที่เร็วกว่าที่จะต้องเดินจากทางเริ่มต้นท่ีกาหนดให้ การคิดตามกรอบท่ี
เป็นมาท่ีผู้คนทัว่ ไปยอมรับตามปกติ แมว้ ่าจะทาใหส้ ามารถดาเนนิ ชีวติ ไดต้ ามปกติ แตส่ ว่ นหน่งึ จะปดิ ก้ัน

10. ฝึกค้นหาข้อบกพร่องเพ่ือพัฒนา เพราะเมื่อเรามีปัญหาเกิดข้ึนไม่ว่าจะเป็นปัญหาใดก็ตาม คนท่ีไม่คิด
สร้างสรรค์จะตอบสนองปัญหาไปตามความเคยชินหรือใช้วิธีแก้ปัญหาในรูปแบบเดิมๆ ที่เคยเป็นมา หรืออาจจะปิดกั้น
ความคดิ สรา้ งสรรค์ของตนเองดว้ ยการใชอ้ ารมณ์ หรอื ตอบโต้ด้วยความรุนแรงเพื่อเอาชนะ โดยไม่ได้ย้ังคิด แตต่ รงกันข้าม
คนที่คิดสร้างสรรค์น้ันจะพยายามหาทางเลือกใหม่ๆ แม้ในขณะท่ีไม่เกิดปัญหาก็จะพยายามค้นหาข้อบกพร่อง จุดอ่อน
ข้อจากัด ของสง่ิ ต่างๆ แม้กระท่ังตนเอง เพ่ือนาไปสกู่ ารพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดน่งิ อยู่กบั ที่โดยไม่คิดอะไร ผู้ที่มีความคิด
สร้างสรรค์จะตั้งเป้าหมายสูงกว่าความสามารถท่ีจะทาได้ และตั้งใจทาสิ่งที่เกินกว่าความสามารถที่จะทาได้จริง ซ่ึงเป็น
ตัวกระตุ้นให้เราต้องใช้จินตนาการและออกแรงคิดสร้างสรรค์มากข้ึนไปอีก ดังน้ันเราควรพัฒนาตนเองและงานที่ทาอยู่
เสมอ อย่ายอมให้เรามาถึงจุดท่ีรู้สึกว่าทาตามเป้าหมายทุกอย่างครบถ้วนแล้ว เราไม่มีอะไรที่จะทาอีกแล้ว เรามีเพียงพอ
แล้ว เราตอ้ งตระหนักเสมอวา่ สิ่งที่เราควรเป็นนนั้ ต้องอยสู่ ูงกวา่ ส่ิงทเ่ี ราเป็นอยู่ในปจั จุบนั อาจเรมิ่ ต้นดว้ ยการตั้งคาถามว่า
“งานท่ีทาอยู่มีปัญหาอะไรบ้าง” “จุดอ่อนของตัวเราอยู่ตรงไหน” จากนั้นจดรายการปัญหาหรือจุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง
หรือสิ่งที่ต้องการพัฒนาออกมาให้หมด แต่ถ้าเราได้คาตอบว่า “มันดีอยู่แล้ว” เราจะต้องถามตัวเองว่า “มันดีจริงๆ ใช่
หรือไม่ และจะดีได้กว่าน้ีอีกหรือไม่” ซ่ึงคาถามน้ีอาจกระตุ้นให้เราหาข้อบกพร่องได้ แต่ถ้าหาไม่พบอีก ให้เราลองสวม
บทบาทของผู้ที่เก่ียวข้องกับเรา ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า คนไข้ เพื่อนร่วมงาน หัวหน้า หรอื ใครก็ตาม เขาเหลา่ น้ีคิดอยา่ งไรบ้าง
กับส่ิงที่เราทา เคยบ่นหรือไม่พอใจอะไรหรือไม่ หรือคิดดูว่าเขาน่าจะไม่พอใจอะไรบ้าง แล้วเราจะสามารถค้นหา
ขอ้ บกพรอ่ งเพื่อพฒั นาได้

11. ฝึกคิดเองทาเอง โดยลองจดปัญหาของตัวเองออกมาให้มากที่สุด แล้วลองคิดดูว่าคุณจะแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน
เหล่าน้ันได้อย่างไร ซึ่งจะทาให้เห็นได้ว่ามีปัญหาจานวนมากท่ีสามารถหาทางออกด้วยตนเองได้ แต่จะมีคาถามเกิดขึ้นว่า
ทาไมเราไม่สามารถแก้ไขปญั หาน้ันได้ สาเหตุเกิดจากหลายครั้งท่ีปญั หาเกดิ ขนึ้ กับเรา เราจะไมค่ ิดแก้ไขอย่างจริงจงั ว่าเรา
สามารถทาอะไรได้บ้าง ซึ่งปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันและยังคงเป็นปัญหาอยู่นั้น แท้จริงแล้วหลายปัญหา
สามารถแก้ไขไดด้ ้วยตนเอง เพียงแต่เราปรับทศั นคตใิ หเ้ ป็นเชงิ บวก กล้าเผชิญหน้ากับปัญหา


Click to View FlipBook Version