The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

U2T ตำบลสถาน ebook ลอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natchaya.aurn24, 2021-12-16 04:18:31

U2T ตำบลสถาน ebook ลอง

U2T ตำบลสถาน ebook ลอง

สารบญั หน้า

1 สถานภาพตำบล
๑.๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน/ข้อมลู ท่ัวไป
๑.๒ สถานภาพดา้ นสขุ ภาพ
๑.๓ สถานภาพด้านความเป็นอยู่
๑.๔ สถานภาพด้านการศึกษา
๑.๕ สถานภาพดา้ นรายได้
๑.๖ สถานภาพด้านการเขา้ ถึงบริการรัฐ

2 ถอดบทเรยี น
1. ข้อมูลพ้ืนฐานตำบล
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการถอดบทเรียน
3. การเตรียมการและวิธีการถอดบทเรยี น
4. กระบวนการถอดบทเรยี น
5. สรปุ ผลการถอดบทเรียน

3 ภาพรวมกิจกรรม U2T ตำบลสถาน
ภาคผนวก

บทท่ี 1
๑ สถานภาพตำบล

๑.๑ ข้อมูลพ้ืนฐาน/ขอ้ มูลทั่วไป
๑.๑.๑ ท่ีตั้งและอาณาเขต

ตำบลสถานเป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเชียงของ ห่างจากท่วี ่าการอำเภอเชียงของลงมาทางทิศใต้เป็น
ระยะทางประมาณ ๗ กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดเชียงราย ประมาณ ๑๓๕ กิโลเมตร มีพื้นที่รวม ๑๐๑
ตารางกโิ ลเมตร จำนวน ๒๒,๘๙๕.๖๓ ไร่ โดยมอี าณาเขตตดิ ต่อดังน้ี

ทิศเหนือ ติดกบั ตำบลเวยี ง อำเชียงของ
ทิศตะวันออก ตดิ กบั ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ
ทิศตะวันตก ตดิ กบั ตำบลโชคชัย กิ่งอำเภอดอยหลวง และตำบลบา้ นแซว อำเภอเชียงแสน
ทิศใต้ ตดิ กบั ตำบลศรดี อนชัย อำเภอเชียงของ
๑.๑.๒ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของตำบลสถาน พื้นที่ทางด้านตะวันตกเป็นที่ราบสูงและภูเขา อยู่สูงกว่า
ระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ย ๙๐๐ เมตร มีภูเขาสูงสลับซับซ้อนวางตัวในแนวเหนือ-ใต้ ได้แก่ เทือกเขาดอย
หลวง พื้นที่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้แก่ ป่าน้ำม้า และป่าน้ำช้าง มีพื้นท่ี
ป่าร้อยละ ๖๐ ส่วน พื้นที่ทางตอนกลางและด้านตะวันออกเป็นพื้นที่อยู่อาศัย เป็นที่ราบเหมาะแก่การ
เพาะปลูก มีแม่น้ำองิ ไหลผ่านทางดา้ นตะวันออกของตำบลในแนวเหนือ-ใต้
๑.๑.๓ ลกั ษณะภูมิอากาศ
ตำบลสถานจดั อย่ใู นเขตทงุ่ หญ้าเมอื งรอ้ น มีลกั ษณะอากาศ ดงั น้ี
ฤดูร้อน ประมาณกลางเดอื นกุมภาพนั ธ์-กลางเดือนพฤษภาคม
ฤดูฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตลุ าคม
ฤดหู นาว ประมาณกลางเดอื นตลุ าคม-กลางเดือนกุมภาพนั ธ์
๑.๑.๔ ลกั ษณะของดิน
ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว มีพื้นที่ราบเหมาะแก่การเพาะปลูกข้าวและทำ
การเกษตรอ่นื ๆ เช่น ขา้ วโพดมนั สำปะหลงั และพชื ผัก
๑.๑.๕ ลักษณะของแหล่งน้ำ
แหลง่ นำ้ ธรรมชาติที่สำคัญ
- แม่น้ำทไ่ี หลผา่ นหม่บู า้ นในท้องท่ที เี่ ขตบรกิ าร มี ๑ สาย คือ แม่น้ำอิง
- ลำห้วยทีไ่ หลจากเทือกเขา ดอยหลวง และดอยขมน้ิ ๓ สายไดแ้ ก่ ห้วยนำ้ ม้า ห้วยน้ำชา้ ง ร่องแหยง่
- หนองน้ำสำคัญในพื้นที่จำนวน ๑๖ แห่ง ได้แก่ หนองยาว หนองงูเหลือม หนองน้ำสาธารณะบ้าน
แฟน สระสาธารณะบ้านใหม่ธาตทุ อง หนองหอย หนองประตูดงเวียง หนองบัว หนองเก้าห้า หนองหลง หนอง
ปลาเพี้ย หนองโคง้ หนองชา้ งตาย หนองปลาขาว หนองบัวลอย
แหล่งน้ำทส่ี รา้ งข้ึน
- อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ห่างเก็บน้ำห้วยน้ำช้าง อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำม้า และอ่าง
เกบ็ นำ้ หลง บ่อน้ำตน้ื ๑,๗๐๐ แหง่ บอ่ บาดาล ๑๐ แหง่ ฝาย ๑๑ แห่ง

๑.๑.๔ เขตการปกครอง
ตำบลสถาน มีเขตการปกครองท้องที่ จำนวน ๑๖ หมู่บ้าน และเป็นหมู่บ้านอาสาและพัฒนา

ป้องกันตนเอง (อพป.) ๒ หมู่บ้าน มีการปกครองในรูปแบบของคณะกรรมการหมู่บ้านตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองทอ้ งท่ี พ.ศ. ๒๔๗๕ ตำบลสถานแบง่ เขตการปกครองดงั นี้

หมทู่ ี่ หม่บู า้ น ผู้ใหญบ่ า้ น เบอร์โทร
087-4953296
๑ บา้ นสถาน นายกมล สวุ รรณทา 084-6095458
089-2638893
๒ บ้านทงุ่ งิ้ว นายณรงค์ เงนิ ยนื 089-4343685
092-4949521
๓ บา้ นนำ้ มา้ นายสุรทิน ตะ๊ ย่ี 085-0384728
093-1350551
๔ บา้ นเชยี งคาน นายณฐั กติ ติ์ งิมคำ 081-6201634
089-6695692
๕ บา้ นแฟน นายมติ รา ศรสี ุธรรม 082-8962763
085-0375136
๖ บ้านทงุ่ อ่าง นายประเสริฐ สมทะนะ 094-6378370
082-1717928
๗ บา้ นใหม่ทุ่งหมด นายวรี ะเดช รัตนประยรู 081-0296928
089-7597327
8 บ้านเต๋น นายประชญั วรรณรัตน์ 083-7645886

๙ บา้ นศรดี อนมลู นายชิษณุพงศ์ ธาตุอินจนั ทร์

๑๐ บ้านน้ำมา้ ใต้ นายนพิ ล อนิ ต๊ะจกั ร

๑๑ บ้านทงุ่ งวิ้ เหนอื นายประสงค์ วงคง์ าม

๑๒ บ้านสถานใต้ นายสากล พลธนู

๑๓ บา้ นนำ้ มา้ เหนือ นายเนรมติ เสนนะ

๑๔ บ้านเชียงคานใหม่ นายนิพล ยะนนั

๑๕ บ้านท่งุ อา่ งใหม่ นายสุทัศน์ อนิ โน

๑๖ บา้ นใหมธ่ าตทุ อง นายจันทรเ์ ปง็ ยะตัน

อ้างอิงข้อมลู จาก : เทศบาลตำบลสถาน ณ วันที่ 16 ธนั วาคม 2564

๑.๑.๕ ขอ้ มลู ประชากร
ตำบลสถาน แบ่งเขตการปกครองท้องที่ จำนวน ๑๖ หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกัน

ตนเอง (อพป.) จำนวน ๒ หมู่บ้าน มีการปกครองในรูปแบบของคณะกรรมการหมู่บ้านตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๗๕ จำนวนประชากรจากข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ทั้งสิ้นจำนวน ๙ ,๒17 คน
แยกเปน็ ชาย 4,448 คน หญิง 4,769 คน จำนวนครวั เรอื น 4,332 ครวั เรือน (สถิตปิ ระชากรทางการทะเบียน
ราษฎร (รายเดอื น) สำนกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันท่ี 15 ธันวาคม ๒๕๖๔)

สถติ จิ ำนวนประชากรจงั หวัดเชียงราย อำเชียงของ ตำบลสถาน ข้อมูลเดือน พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔

พ้ืนท่ี ชาย หญิง รวม จำนวนครัวเรือน

หมู่ 1 สถาน 325 338 663 263

หมู่ 2 ทงุ่ งิว้ 407 427 834 398

หมู่ 3 น้ำม้า 279 316 595 298

หมู่ 4 เชยี งคาน 295 316 611 301

หมู่ 5 แฟน 334 328 662 319

หมู่ 6 ทงุ่ อา่ ง 245 278 523 196

หมู่ ๗ ใหม่ท่งุ หมด 243 281 524 344

หมู่ ๘ เต๋น 135 136 271 90

หมู่ ๙ ศรีดอนมลู 212 211 423 225

หมู่ ๑๐ น้ำม้าใต้ 382 363 755 324

หมู่ ๑๑ ทงุ่ งิ้วเหนือ 298 336 634 370

หมู่ ๑๒ สถานใต้ 275 312 587 247

หมู่ ๑๓ น้ำมา้ เหนือ 311 336 647 253

หมู่ ๑๔ เชียงคานใหม่ 253 268 521 217

หมู่ ๑๕ ทงุ่ อ่างใหม่ 203 215 418 144

หมู่ ๑๖ ใหม่ธาตทุ อง 251 298 549 343

รวม 4,448 4,769 9,217 4,332

อ้างอิงข้อมูลจาก : สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร(รายเดือน) สำนักบริหารการทะเบียน กรมการ

ปกครอง

สถานศกึ ษา หมายเลขโทรศพั ท์
ที่ สถานศกึ ษา 053-655033
1 โรงเรียนชมุ ชนสถาน 053-195258
2 โรงเรียนบ้านเชียงคาน 053-160010
3 โรงเรยี นบา้ นทุง่ อา่ ง 053-195256
4 โรงเรยี นบ้านน้ำม้า 053-791358
5 โรงเรยี นบา้ นทุ่งง้ิว

อา้ งองิ ข้อมูลจาก : เทศบาลตำบลสถาน ณ วันท่ี 16 ธันวาคม 2564

ศาสนสถาน หมู่
ท่ี ศาสนสถาน หมู่ 5 บ้านแฟน
1 วัดแฟน หมู่ 4 บา้ นเชยี งคาน
2 วดั เชยี งคาน หมู่ 12 บ้านสถานใต้
3 วัดสถาน หมู่ 11 บ้านทงุ่ งิ้วเหนือ
4 วัดทงุ่ ง้วิ หมู่ 8 บา้ นเต๋น
5 วดั เต๋น หมู่ 15 บา้ นทงุ่ อา่ งใหม่
6 วดั ทุง่ อ่าง หมู่ 13 บ้านน้ำมา้ เหนือ
7 วัดน้ำม้า หมู่ 9 บ้านศรดี อนมูล
8 วัดศรดี อนมูล หมู่ 5 บ้านแฟน
9 สำนักสงฆ์ดอยเทวดา

๑.๒ สถานภาพดา้ นสุขภาพ
๑.๒.๑ เด็กแรกเกิดมีนำ้ หนกั ๒,๕๐๐ กรมั ข้ึนไป

จำนวนเด็กแรกเกดิ ท่ีมีนำ้ หนัก ๒,๕๐๐ กรมั ขึ้นไป มีจำนวน ๔ คน
๑.๒.๒ เดก็ แรกเกิดไดก้ ินนมแม่อยา่ งเดยี วอย่างน้อย๖เดือนแรก ติดต่อกัน

จำนวนเดก็ แรกเกดิ ท่ที านนมแมอ่ ยา่ งเดยี วอยา่ งนอ้ ย๖เดอื นติดตอ่ กนั มจี ำนวนทง้ั หมด ๓๓ คน
๑.๒.๓ เด็กแรกเกดิ ถงึ ๑๒ ปี ได้รับวัคซนี ปอ้ งกันโรคครบตามตารางสรา้ งเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรค

จำนวนเดก็ แรกเกดิ ถงึ ๑๒ ปที ่ไี ด้รบั วัคซนี ปอ้ งกนั โรค มจี ำนวน ๕๒๒ คน
๑.๒.๔ ครวั เรอื นกนิ อาหารถกู สขุ ลักษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน

มีครัวเรือนที่กินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน มีจำนวน ๒,๓๒๒ ครัวเรือน จาก
ครวั เรอื นทัง้ หมด ๔,332 ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕3.60 จากครวั เรือนท้ังหมด
๑.๒.๕ ครวั เรือนมีการใช้ยาเพอื่ บำบดั บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบอ้ื งตน้ อย่างเหมาะ

มีครัวเรอื นที่มีการใช้ยาเพ่ือบำบัด บรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ยเบ้ืองต้นอย่างเหมาะสม มีจำนวน ๒,๖๓๒
ครัวเรอื น จากครัวเรือนทัง้ หมด ๔,332 ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖0.75 จากครวั เรือนท้งั หมด
๑.๒.๖ คนอายุ ๓๕ ปขี ้นึ ไป ไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจำปี

จำนวนคนอายุ ๓๕ ปขี นึ้ ไป ท่ไี ด้รบั การตรวจสุขภาพประจำปี มจี ำนวน ๔,๘๘๓ คน

๑.๒.๗ คนอายุ ๖ ปขี น้ึ ไป ออกกำลงั กายอยา่ งนอ้ ยสปั ดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที
จำนวนคนท่ีมอี ายุ ๖ ปขี ้ึนไปออกกำลงั กายสัปดาหล์ ะ ๓ วัน วนั ละ ๓๐ นาที มจี ำนวน ๖,๗๑๗ คน

๑.๓ สถานภาพด้านความเปน็ อยู่
๑.๓.๑ ครวั เรอื นมคี วามม่ันคงในที่อยู่อาศัย และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร

ครัวเรอื นท่มี ีความมน่ั คงในท่อี ยอู่ าศยั และบา้ นมีสภาพคงทนถาวร มีจำนวน ๒,๔๑๖ ครวั เรือน
๑.๓.๒ ครวั เรือนมีนำ้ สะอาดสำหรบั อปุ โภคและบริโภคเพยี งพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ ๕ ลิตรตอ่ วัน

เนื่องจากตำบลสถานสามารถใชน้ ้ำในการอุปโภคและบริโภคจากแหล่งกระจายนำ้ ได้ ๒ ที่ คือประปา
ส่วนภูมิภาค และ ประปาหมูบ่ ้าน ดงั น้ันในตำบลสถานทุกครัวเรอื นจะมนี ้ำใชใ้ นการอปุ โภคและบรโิ ภคเพียงพอ
ตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ ๕ ลิตร/วนั จำนวน ๔,332ครัวเรอื น
๑.๓.๓ ครวั เรอื นมนี ำ้ ใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ ๔๕ ลิตรต่อวนั

เนื่องจากตำบลสถานสามารถใช้นำ้ ในการอุปโภคและบรโิ ภคจากแหล่งกระจายน้ำได้ ๒ ท่ี คอื ประปา
ส่วนภูมิภาค และ ประปาหมู่บ้าน ดังนั้นในตำบลสถานทุกครัวเรือนจะมีน้ำใช้อย่างเพียงพอตลอดปีอย่างน้อย
คนละ ๔๕ ลติ รต่อวัน จำนวน ๔,332 ครัวเรอื น
๑.๓.๔ ครัวเรือนมกี ารจดั การบา้ นเรือนเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

จำนวนครัวเรือนที่มีการจัดเก็บบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถกู สุขลักษณะ มีจำนวน
๒,๖๓๓ ครัวเรือน
๑.๓.๕ ครวั เรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ

จำนวนครัวเรือนท่ีไม่ถกู รบกวนจากมลพษิ มีจำนวน ๒,๖๔๐ ครัวเรือน
๑.๓.๖ ครวั เรือนมกี ารป้องกันอุบตั ิภัยและภยั ธรรมชาตอิ ย่างถกู วธิ ี

มีครัวเรือนที่มีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี มีจำนวน ๒ ,๖๓๒ ครัวเรือน
จากทงั้ หมด ๔,332 ครวั เรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ ๖0.76 ของจำนวนครวั เรือนทงั้ หมด
๑.๓.๗ ครวั เรอื นมีความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สนิ

ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ นิ จำนวน ๒,๖๔๑ ครัวเรอื น
๑.๔ สถานภาพดา้ นการศึกษา
๑.๔.๑ เด็กอายุ ๓-๕ ปี ได้รับบริการเลยี้ งดเู ตรียมความพร้อมกอ่ นวยั เรยี น

มีเด็กในชว่ งอายุ ๓-๕ ปี ทไ่ี ดร้ บั บริการเล้ยี งดูเตรียมความพรอ้ มก่อนวัยเรียน จำนวน ๑๒๗ คน
๑.๔.๒ เด็กอายุ ๖-๑๔ ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบังคับ ๙ ปี

มีเด็กในช่วงอายุ ๖-๑๔ ไดร้ บั การศกึ ษาภาคบังคับ จำนวน ๕๑๖ คน
๑.๔.๓ เดก็ จบช้นั ม.๓ ได้เรียนต่อช้ัน ม.๔ หรอื เทียบเทา่

มจี ำนวนเดก็ ที่จบชั้น ม.๓ ได้เรียนตอ่ ชน้ั ม.๔ หรอื เทียบเทา่ จำนวน ๑๖ คน
๑.๔.๔ คนในครัวเรอื นทจ่ี บการศึกษาภาคบงั คบั ๙ ปี ท่ีไม่ได้เรยี นตอ่ และยังไมม่ งี านทำ ได้รบั การฝกึ อบรมด้าน
อาชพี

มีจำนวนคนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการ
ฝึกอบรมดา้ นอาชีพ มจี ำนวน ๔๒ คน
๑.๔.๕ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งง่ายได้

มีคนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขียน และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ มีจำนวน ๔,๘๘๑ บาท

๑.๕ สถานภาพดา้ นรายได้
๑.๕.๑ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี มอี าชพี และรายได้

คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี มอี าชีพและรายได้ ๔,๓๖๙ คน
๑.๕.๒ คนอายุ ๖๐ ปีข้ึนไป มีอาชพี และรายได้

คนอายุ๖๐ ปีข้ึนไป มอี าชพี และรายได้ จำนวน ๑,๙๕๔ บาท
๑.๕.๓ รายไดเ้ ฉลย่ี ของคนในครวั เรือนต่อปี

โดยมีรายได้ต่ำสดุ อย่ทู ี่ 60,000 บาท/ปี และมรี ายได้สงู สดุ อยู่ที่ ๔,๙๔๔,๐๐๐ บาท/ปี
๑.๕.๔ ครัวเรือนมีการเกบ็ ออม

ครัวเรือนที่มีการเก็บออม มีจำนวน ๒,๔๐๒ ครัวเรือน จากครัวเรือนทั้งหมด ๔,332 ครัวเรือน คิด
เป็นร้อยละ ๕5.45 ของครัวเรอื นท้ังหมด
๑.๕.๕ คนในครัวเรอื นไมด่ ื่มสรุ า

จำนวนคนในครวั เรอื นไม่ดื่มสรุ า มจี ำนวน ๕,๔๘๔ คน
๑.๕.๖ คนในครวั เรือนไม่สบู บหุ ร่ี

คนในครวั เรอื นในตำบลสถานทไี่ ม่สบู บหุ ร่ี มีจำนวน ๗,๐๐๔ คน
๑.๕.๗ คนอายุ ๖ ปีขนึ้ ไป ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครง้ั

จำนวนคนอายุ ๖ ปขี ึ้นไป ปฏิบตั ิกจิ กรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ ๑ ครั้ง จำนวน ๖,๗๘๓ คน

๑.๖ สถานภาพด้านการเข้าถงึ บรกิ ารรฐั
๑.๖.๑ ผสู้ งู อายุ ได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน

ผ้สู ูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน จำนวน 2,143 คน
๑.๖.๒ ผู้พกิ าร ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน

ผู้พกิ ารไดร้ บั การดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือ ภาคเอกชน จำนวน 267 คน
๑.๖.๓ ผปู้ ่วยเรือ้ รัง ไดร้ ับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรือ ภาคเอกชน

มจี ำนวนผู้ป่วยเรอื้ รัง 1,151 คน
๑.๖.๔ ครัวเรือนมีสว่ นร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพือ่ ประโยชนข์ องชมุ ชนหรือทอ้ งถิน่

มีจำนวนครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถิ่น จำนวน
๒,๖๔๐ คน
๑.๖.๕ ครอบครัวมีความอบอุ่น

มีครอบครวั มีความอบอนุ่ จำนวน ๒,๖๔๒ ครวั เรอื น

ตารางท่ี ๒ ข้อมลู จาการใช้ TPMAP หรือ ข้อมูลกรงุ เทพมหานคร

ตวั ชวี้ ัดท่ี คำอธิบาย จำนวน (คน) สถานท่ี

๑ เด็กแรกเกดิ มีนำ้ หนัก ๒,๕๐๐ กรมั ข้นึ ไป ๓๓

๒ เดก็ แรกเกดิ ได้กินนมแม่อยา่ งเดียวอย่างนอ้ ย๖เดือนแรกติดตอ่ กัน ๕๒๒
๒,๓๒๒
๓ เด็กแรกเกิดถึง ๑๒ ปี ไดร้ ับวัคซนี ป้องกนั โรคครบตามตารางเสริมภมู คิ ุ้มกนั โรค ๒,๖๓๒
๔,๘๘๓
๔ ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน ๖,๗๑๗
๒,๔๑๖
๕ ครวั เรอื นมีการใชย้ าเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบอื้ งตน้ อย่างเหมาะสม 4,332
4,332
๖ คนอายุ ๓๕ ปขี ึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
2,633
๗ คนอายุ ๖ ปีข้ึนไปออกกำลงั กายอย่างน้อยสปั ดาห์ละ ๓ วัน วนั ละ ๓๐ นาที
๒,๖๔๐
๘ ครัวเรอื นมคี วามม่ันคงในที่อยู่อาศยั และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร ๒,๖๓๒
๒,๖๔๑
๙ ครวั เรือนมีน้ำสะอาดสำหรบั ด่ืมและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ ๕ ลิตรตอ่ วัน
๑๒๗
๑๐ ครัวเรอื นมีนำ้ ใชเ้ พยี งพอ อยา่ งนอ้ ยคนละตลอดปี ๔๕ ลติ รตอ่ วัน ๕๑๖
๑๖
๑๑ ครวั เรือนมีการจดั การบา้ นเรือนเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย สะอาด และถกู สุขลกั ษณะ
๔๒
๑๒ ครวั เรอื นไม่ถกู รบกวนจากมลพิษ
๔,๘๘๑
๑๓ ครวั เรอื นมกี ารปอ้ งกนั อุบัตภิ ยั และภัยธรรมชาตอิ ย่างถกู วิธี ๔,๓๖๙
๑,๙๕๔
๑๔ ครัวเรอื นมคี วามปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส์ นิ 60,000
๒,๔o๒
๑๕ เดก็ อายุ ๓-๕ ปีไดร้ บั บริการเล้ียงดเู ตรยี มความพรอ้ มก่อนวัยเรียน ๕,๔๘๔
๗,๐๐๔
๑๖ เด็กอายุ ๖-๑๔ ปีไดร้ บั การศึกษาภาคบงั คับ ๙ ปี ๖,๗๘๓
2,143
๑๗ เดก็ จบชน้ั ม.๓ ไดเ้ รียนตอ่ ชัน้ ม.๔ หรือเทียบเทา่
267
๑๘ คนในครวั เรอื นที่จบการศกึ ษาภาคบังคบั ๙ปีที่ไม่ไดเ้ รยี นต่อและ 1,151
ยงั ไมม่ ีงานทำ ไดร้ ับการฝึกอบรมดา้ นอาชีพ ๒,๖๔o
๒,๖๔๒
๑๙ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งง่าย

๒๐ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี มอี าชพี และรายได้

๒๑ คนอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้

๒๒ รายไดเ้ ฉล่ียของคนในครัวเรือนต่อปี

๒๓ ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงิน

๒๔ คนในครวั เรือนไมด่ ่ืมสรุ า

๒๕ คนในครวั เรือนไม่สบู บหุ รี่

๒๖ คนอายุ ๖ ปขี ้นึ ไปปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครง้ั

๒๗ ผู้สูงอายุ ได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน

๒๘ ผู้พกิ าร ได้รบั การดแู ลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน

๒๙ ผูป้ ่วยเรื้อไดร้ ับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน

๓๐ ครวั เรือนมสี ่วนร่วมทำกจิ กรรมสาธารณะเพื่อประโยชนข์ องชมุ ชนหรอื ทอ้ งถนิ่

๓๑ ครอบครัวมีความอบอนุ่

ตารางที่ ๓ การประเมินศักยภาพตำบลตามเป้าหมาย ๑๖ ประการ โดยใช้ TPMAP หรือ
ขอ้ มลู กรงุ เทพมหานคร

ข้อที่ เป้าหมาย ๑๖ ประการ ตำบลมุง่ สู่ ตำบลมงุ่ ตำบลที่ สภาพปัญหา
ความย่ังยืน ความพอเพียง อยูร่ อด
(๑๔ – ๑๖ (๑๑ – ๑๓ (๘ – ๑๐
เป้าหมาย) เป้าหมาย) เป้าหมาย)

๑ องคก์ รชุมชน ตำบล มีสมรรถนะ ✓ ✓
การจดั การสงู

๒ การจัดสรรทรัพยากรอยา่ งเป็น
ระบบ

๓ ความสามารถวิเคราะห์ รายรับ-รายจา่ ย

๔ สัมมาชพี เตม็ พื้นท่ี

๕ เกษตรทฤษฎใี หม่

๖ สระนำ้ ประจำครอบครัว

๗ การจัดการวิสาหกจิ

๘ การฝึกอบรมดา้ นสงั คม

๙ การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน

๑๐ ตำบลปลอดภยั

๑๑ พัฒนาคุณภาพกลมุ่ เปราะบาง

๑๒ ระบบสขุ ภาพตำบล

๑๓ ศูนยเ์ รยี นรู้ตำบล

๑๔ ระบบความยุติธรรมชุมชน

๑๕ ระบบสือ่ สารชมุ ชน + สื่อดิจทิ ัล

๑๖ ตำบลทำความดี

เปน็ ไปตามเปา้ หมาย

ตารางที่ ๔ โครงการ/กิจกรรมการพัฒนามิติต่างๆ มอี ย่หู รอื กำลงั ดำเนินการในตำบล

ดา้ น แผน/โครงการ/กจิ กรรม หนว่ ยงานภายใน อว. หนว่ ยงานภายนอก
อว. รวมภาคเอกชน
1) โครงการเผยแพร่ความร้ดู ้านสุขาภบิ าลและ 1) ....................................
1) เทศบาลตำบลสถาน
คุมครองโรค 2) .................................... 2) เทศบาลตำบลสถาน
3) ....................................
2) โครงการอบรมความรโู้ รคเอดส์แก่เยาวชน 3) โครงการ 1 ตำบล 1 4) ....................................

3) กิจกรรมทดสอบความปลอดภัยในอาหาร มหาวทิ ยาลัย 1) เทศบาลตำบลสถาน
2) ....................................
สุขภาพ 4) กิจกรรมให้ความรเู้ รอ่ื งอาหารปลอดภัย 4) โครงการ 1 ตำบล 1 3) ....................................
4) ....................................
ความ 5) กิจกรรม Show and Share อาหาร มหาวทิ ยาลัย
เปน็ อยู่
ปลอดภัย 5) โครงการ 1 ตำบล 1

6) กิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพถ้วนหนา้ มหาวทิ ยาลยั

6) โครงการ 1 ตำบล 1

มหาวิทยาลยั

1) โครงการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและ 1) ....................................

ปรับปรงุ คุณภาพชีวิตผดู้ อ้ ยโอกาสและผู้ยากไร้ 2) โครงการ 1 ตำบล 1

2) กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์ มหาวทิ ยาลยั

ยุตธิ รรมชุมชน 3) ....................................

3) .................................... 4) ....................................

4) ....................................

๑) โครงการพัฒนาผู้ประกอบอาชีพครูที่สังกัด 1) .................................... 1) เทศบาลตำบลสถาน
2) เทศบาลตำบลสถาน
ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก 2) .................................... 3) เทศบาลตำบลสถาน
4) ....................................
๒) อุดหนุนโรงเรียนในตำบลตามโครงการ 3) ....................................
1) เทศบาลตำบลสถาน
ส่งเสริมการเรียนรูภ้ าษาจนี 4) โครงการ 1 ตำบล 1 2) เทศบาลตำบลสถาน
3) ....................................
๓) โครงการกอ่ สรา้ งสนามเด็กเล่นตามโครงการ มหาวทิ ยาลยั 4) ....................................

การศกึ ษา ส่งเสริมการเรียนรู้เด็กปฐมวัยท้องถิ่นผ่านการ 5) โครงการ 1 ตำบล 1

เลน่ (สนามเดก็ เลน่ สร้างปญั ญา) มหาวิทยาลยั

4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างแบ 6) โครงการ 1 ตำบล 1

รนด์ มหาวิทยาลยั

5) กิจกรรมออกแบบตราสนิ ค้า

6) กิจกรรมการจดทะเบียนเคร่ืองหมายการคา้

๑) โครงการส่งเสริมอาชีพการทำข้าวแต๋นน้ำ 1) ....................................

รายได้ แตงโมและข้าวหนา้ ตัง้ 2) ....................................

๒) โครงการสง่ เสริมอาชพี แกผ่ ดู้ ้อยโอกาสและผู้ 3) โครงการ 1 ตำบล 1

ว่างงาน มหาวทิ ยาลยั

ดา้ น แผน/โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยงานภายใน อว. หน่วยงานภายนอก
อว. รวมภาคเอกชน
3) กจิ กรรมการจัดทำมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ 4) ....................................
1) เทศบาลตำบลสถาน
สนิ ค้าเกษตรของชุมชนตำบลสถาน 2) เทศบาลตำบลสถาน
3) ....................................
4) .................................... 4) ....................................

๑) โครงการสนับสนุนสวัสดิการทางสังคมแก่ผู้ 1) ....................................

พิการ (เบยี้ ยังชพี ผู้พกิ าร) 2) ....................................

การ ๒) โครงการสนับสนุนสวัสดิการทางสังคมแก่ 3) ....................................

เขา้ ถงึ ผูส้ งู อายุ (เบ้ยี ยงั ชีพคนชรา) 4) ....................................

บริการรฐั 3) ....................................

4) ....................................

ตารางที่ ๕ Checklist โจทย์การพัฒนาเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาความยากจนภายใต้ ๑๖ เป้าหมาย
มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง จำนวนกิจกรรม (โครงการยอ่ ย) ทีด่ ำเนนิ การ 9 กจิ กรรม

กิจกรรม กจิ กรรม

ประเภทกจิ กรรม ๒. ใหค้ วามรู้เรอื่ งอาหาร

๑. ทดสอบความปลอดภยั ในอาหาร ปลอดภยั

ก. การพัฒนาสมั มาชีพและสรา้ งอาชีพใหม่ เช่น การ  
ยกระดับOTOPและอาชพี อน่ื ๆ

ข. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การ

ยกระดบั การท่องเทีย่ ว) 

ค. การนำองค์ความรู้ไปชว่ ยบรกิ ารชมุ ชน Healthcare( / ✓ ✓
เทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ)

ง. การสง่ เสรมิ ดา้ นสง่ิ แวดล้อม Circular/ Economy

(การเพม่ิ รายได้หมุนเวยี นใหแ้ ก่ชุมชน) 

จ. อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ

กิจกรรม กิจกรรม

หลักงาน ๑๖ เป้าหมาย ๒. ใหค้ วามรู้เรือ่ งอาหาร

๑. ทดสอบความปลอดภัยในอาหาร ปลอดภัย

๑. พัฒนาชมุ ชนใหม้ ีสมรรถนะในการจัดการสูง  

๒. ช่วยใหเ้ กิดการจดั การทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ  

๓. ชว่ ยใหส้ ามารถวเิ คราะห์วิสาหกิจชุมชนและสถาบนั  
การเงินชมุ ชน  
๔. ช่วยในการสร้างสัมมาชีพในพ้ืนท่ี
✓ ✓
๕. ส่งเสรมิ เกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภัย  
 
๖. ชว่ ยให้มีแหล่งน้ำประจำครอบครวั  
 
๗. ช่วยจดั การวิสาหกจิ ชุมชน
✓ ✓
๘. ฝึกอบรมทกั ษะอาชพี ✓ ✓
๙. มกี ารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานภาพกายสิ่งแวดลอ้ ม ✓ ✓
พลังงาน  
๑๐. สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในพน้ื ท่ี  
๑๑. พฒั นาคณุ ภาพกลุม่ เปราะบาง  
๑๒. พัฒนาระบบสขุ ภาพคนในพ้ืนที่  

๑๓. ส่งเสรมิ ศนู ย์เรยี นรตู้ ำบล

๑๔. สง่ เสริมระบบยตุ ิธรรมในชมุ ชน

๑๕. ส่งเสรมิ ระบบการสอื่ สารชุมชน

๑๖. ส่งเสรมิ ตำบลทำความดี

ประเภทกจิ กรรม กิจกรรม กิจกรรม
3. Show and Share อาหาร 4. ใหค้ วามร้เู รอื่ งการ
ก. การพฒั นาสัมมาชีพและสรา้ งอาชีพใหม่ เชน่ การ
ยกระดับOTOPและอาชพี อ่ืน ๆ ปลอดภยั สร้างแบรนด์
ข. การสร้างและพฒั นา Creative Economy (การ  ✓
ยกระดับการท่องเท่ียว)
ค. การนำองค์ความรู้ไปชว่ ยบริการชุมชน Healthcare( /  
เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ) ✓
ง. การสง่ เสริมดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม Circular/ Economy ✓
(การเพิม่ รายได้หมุนเวยี นให้แก่ชมุ ชน) 


จ. อ่ืน ๆ (โปรดระบ)ุ กิจกรรม กิจกรรม
3. Show and Share อาหาร 4. ใหค้ วามรเู้ ร่อื งการ
หลักงาน ๑๖ เปา้ หมาย
ปลอดภยั สร้างแบรนด์
๑. พัฒนาชุมชนให้มีสมรรถนะในการจดั การสูง  
๒. ช่วยใหเ้ กิดการจดั การทรัพยากรอยา่ งเปน็ ระบบ  
๓. ช่วยให้สามารถวเิ คราะห์วิสาหกจิ ชุมชนและสถาบนั
การเงินชุมชน  
๔. ช่วยในการสร้างสมั มาชพี ในพ้นื ที่
๕. ส่งเสริมเกษตรพอเพียงและอาหารปลอดภัย  
 
๖. ชว่ ยใหม้ ีแหลง่ นำ้ ประจำครอบครวั
 
๗. ช่วยจดั การวิสาหกิจชุมชน
๘. ฝึกอบรมทักษะอาชพี  
๙. มีการจัดการโครงสรา้ งพืน้ ฐานภาพกายส่งิ แวดลอ้ ม
พลงั งาน ✓ ✓
๑๐. สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในพน้ื ท่ี  
๑๑. พฒั นาคณุ ภาพกลุ่มเปราะบาง  
๑๒. พฒั นาระบบสขุ ภาพคนในพน้ื ท่ี  
๑๓. ส่งเสรมิ ศนู ย์เรียนรู้ตำบล
๑๔. สง่ เสริมระบบยตุ ธิ รรมในชุมชน ✓ ✓
๑๕. ส่งเสรมิ ระบบการส่ือสารชมุ ชน  
๑๖. ส่งเสริมตำบลทำความดี  
 
ประเภทกิจกรรม  

กิจกรรม กจิ กรรม

ก. การพฒั นาสมั มาชีพและสร้างอาชีพใหม่ เช่น การ 5. ออกแบบตราสนิ ค้า 6. การจัดทำมาตรฐาน
ยกระดบั OTOPและอาชพี อนื่ ๆ ผลติ ภัณฑเ์ กษตรของ
ข. การสรา้ งและพัฒนา Creative Economy (การ ✓ ชุมชนตำบลสถาน
ยกระดับการท่องเท่ียว) 
ค. การนำองค์ความรู้ไปชว่ ยบริการชมุ ชน Healthcare( / ✓ ✓
เทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ) 
ง. การสง่ เสริมด้านสง่ิ แวดล้อม Circular/ Economy 
(การเพ่มิ รายได้หมุนเวียนให้แก่ชมุ ชน) กิจกรรม
จ. อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ 5. ออกแบบตราสินคา้ ✓

หลักงาน ๑๖ เปา้ หมาย  

๑. พฒั นาชมุ ชนใหม้ ีสมรรถนะในการจดั การสงู  กจิ กรรม
6. การจัดทำมาตรฐาน
๒. ชว่ ยใหเ้ กดิ การจัดการทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ ✓ ผลิตภัณฑ์เกษตรของ
๓. ช่วยให้สามารถวเิ คราะห์วสิ าหกจิ ชมุ ชนและสถาบัน 
การเงินชุมชน  ชุมชนตำบลสถาน
๔. ชว่ ยในการสรา้ งสมั มาชีพในพน้ื ท่ี  
✓ 
๕. สง่ เสรมิ เกษตรพอเพียงและอาหารปลอดภยั 
 
๖. ช่วยให้มแี หลง่ น้ำประจำครอบครัว 

๗. ช่วยจัดการวิสาหกิจชมุ ชน 

๘. ฝึกอบรมทกั ษะอาชพี 
๙. มีการจดั การโครงสรา้ งพ้นื ฐานภาพกายสงิ่ แวดลอ้ ม
พลงั งาน 
๑๐. ส่งเสริมความปลอดภยั ในพืน้ ท่ี
๑๑. พฒั นาคณุ ภาพกลุม่ เปราะบาง ✓




๑๒. พัฒนาระบบสุขภาพคนในพ้ืนท่ี 
๑๓. สง่ เสรมิ ศูนย์เรียนรูต้ ำบล 
๑๔. ส่งเสรมิ ระบบยตุ ธิ รรมในชุมชน 
๑๕. ส่งเสรมิ ระบบการสอ่ื สารชมุ ชน 
๑๖. สง่ เสรมิ ตำบลทำความดี 

ประเภทกจิ กรรม กจิ กรรม กจิ กรรม
7. การจดทะเบียนเครื่องหมาย 8. พัฒนาศักยภาพ
ก. การพัฒนาสัมมาชพี และสรา้ งอาชีพใหม่ เชน่ การ คณะกรรมการศนู ย์
ยกระดับOTOPและอาชพี อนื่ ๆ การคา้
ข. การสรา้ งและพฒั นา Creative Economy (การ ✓ ยุตธิ รรมชมุ ชน
ยกระดบั การท่องเทย่ี ว)  
ค. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบรกิ ารชมุ ชน Healthcare( / ✓
เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ)  
ง. การสง่ เสรมิ ด้านส่ิงแวดล้อม Circular/ Economy
(การเพ่ิมรายไดห้ มุนเวียนใหแ้ ก่ชุมชน) กิจกรรม 
จ. อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ 7. การจดทะเบียนเครือ่ งหมาย

หลกั งาน ๑๖ เปา้ หมาย การคา้
 กจิ กรรม
๑. พัฒนาชุมชนให้มสี มรรถนะในการจดั การสูง  8. พฒั นาศกั ยภาพ
 คณะกรรมการศนู ย์
๒. ช่วยใหเ้ กิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นระบบ
๓. ชว่ ยให้สามารถวเิ คราะหว์ สิ าหกิจชมุ ชนและสถาบนั ✓ ยุตธิ รรมชุมชน
การเงินชุมชน 
๔. ช่วยในการสรา้ งสมั มาชพี ในพ้นื ท่ี






๕. สง่ เสริมเกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภยั  
 
๖. ชว่ ยใหม้ ีแหล่งน้ำประจำครอบครัว  

๗. ชว่ ยจดั การวสิ าหกจิ ชุมชน ✓ 

๘. ฝึกอบรมทกั ษะอาชพี  ✓
๙. มีการจัดการโครงสรา้ งพน้ื ฐานภาพกายสิ่งแวดล้อม  
พลงั งาน  
๑๐. ส่งเสริมความปลอดภยั ในพ้ืนท่ี  
๑๑. พัฒนาคณุ ภาพกลุ่มเปราะบาง 
๑๒. พัฒนาระบบสขุ ภาพคนในพื้นที่  ✓
 ✓
๑๓. สง่ เสรมิ ศนู ย์เรียนรู้ตำบล 

๑๔. สง่ เสรมิ ระบบยตุ ิธรรมในชุมชน

๑๕. สง่ เสรมิ ระบบการสอ่ื สารชุมชน

๑๖. สง่ เสริมตำบลทำความดี

ประเภทกจิ กรรม กจิ กรรม
ก. การพัฒนาสัมมาชพี และสรา้ งอาชพี ใหม่ เช่น การยกระดับOTOPและอาชพี อน่ื ๆ 9. ส่งเสริมสขุ ภาพถ้วนหนา้



ข. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) 

ค. การนำองค์ความรู้ไปชว่ ยบรกิ ารชุมชน Healthcare( / เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ) ✓

ง. การสง่ เสริมดา้ นส่ิงแวดล้อม Circular/ Economy (การเพิ่มรายได้หมนุ เวยี นใหแ้ ก่ชุมชน) 

จ. อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ

หลกั งาน ๑๖ เปา้ หมาย กจิ กรรม
9. สง่ เสริมสขุ ภาพถ้วนหนา้

๑. พัฒนาชมุ ชนใหม้ ีสมรรถนะในการจัดการสูง 
๒. ช่วยใหเ้ กิดการจดั การทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ 
๓. ชว่ ยใหส้ ามารถวเิ คราะห์วสิ าหกิจชมุ ชนและสถาบนั การเงินชุมชน 
๔. ช่วยในการสร้างสมั มาชีพในพื้นท่ี 
๕. ส่งเสริมเกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภยั 

๖. ช่วยใหม้ แี หลง่ น้ำประจำครอบครัว 

๗. ชว่ ยจัดการวิสาหกิจชุมชน 
๘. ฝกึ อบรมทักษะอาชีพ 
๙. มกี ารจดั การโครงสรา้ งพ้ืนฐานภาพกายส่งิ แวดล้อม พลงั งาน 
๑๐. สง่ เสรมิ ความปลอดภัยในพ้ืนที่ 
๑๑. พฒั นาคณุ ภาพกลุ่มเปราะบาง ✓
๑๒. พัฒนาระบบสุขภาพคนในพนื้ ที่ ✓
๑๓. ส่งเสริมศูนยเ์ รยี นรตู้ ำบล 
๑๔. สง่ เสริมระบบยตุ ิธรรมในชมุ ชน 
๑๕. สง่ เสรมิ ระบบการสือ่ สารชุมชน 
๑๖. ส่งเสรมิ ตำบลทำความดี 

หมายเหตุ ๑) แต่ละกจิ กรรมไมจ่ ำเปน็ ต้องมคี รบทุกด้าน แต่ภาพรวมขอใหม้ ีครบทุกดา้ น
๒) หากในการสำรวจข้อมูลในตำบลพบว่าในตำบลมีบางหลักงานแลว้ ให้ระบุดว้ ย

บทที่ 2
2 ถอดบทเรียนแนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยแบบมีส่วนร่วม
เอสที พลัส (ST+)

1. ความเปน็ มาและความสำคญั ของการถอดบทเรยี น
ยาฆ่าแมลงในภาคการเกษตรซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในน้ำ ดิน และอากาศ เกิดความ

เปล่ยี นแปลงเมื่อร่างกายได้สัมผัสโดยตรงหรือทางอ้อมซ่ึงเป็นต้นเหตุของโรคต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนมากมาย
ทำให้เกิดการเจ็บป่วยแบบเรื้อรังโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น โรคภูมิแพ้ โรคผิวหนัง โรคระบบทางเดิน
อาหาร โรคมะเร็ง และอื่น ๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ดังน้ัน
ทางทีมสถานพลัส อยากให้คนชุมชนตำบลสถานได้ตระหนักถงึ ความสำคัญของปญั หาสุขภาพท่ีพบใน
ปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการ “เอสที พลัส (ST+)” ขึ้นมา เพื่อส่งเสริมการสร้างตลาดสีเขียวหรือ
ส่งเสริมหลักสูตรให้กับชาวเกษตรในเรื่องของการทำการเกษตรแบบธรรมชาติลดการใช้สารเคมี เพื่อ
สุขภาวะท่ดี ขี องคนในชมุ ชน และเพือ่ เขา้ ถึงแหล่งอาหารทีป่ ลอดภยั

1. ขอ้ มูลพน้ื ฐานตำบล
๑.๑ ทต่ี ้ังและอาณาเขต

ตำบลสถานเป็นตำบลหนึง่ ในเขตอำเภอเชียงของ ห่างจากที่ว่าการอำเภอเชียงของลงมาทาง
ทิศใต้เป็น ระยะทางประมาณ๗ กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดเชียงราย ประมาณ ๑๓๕ กิโลเมตร มี
พนื้ ที่รวม ๑๐๑ ตารางกโิ ลเมตร จำนวน ๒๒,๘๙๕.๖๓ ไร่

๑.๒ ลักษณะภมู ิประเทศ
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของตำบลสถาน พืน้ ท่ที างดา้ นตะวันตกเปน็ ทีร่ าบสูงและภเู ขา อยู่สูงกว่า

ระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ย ๙๐๐ เมตร มีภูเขาสูงสลับซับซ้อนวางตัวในแนวเหนือ -ใต้ ได้แก่
เทือกเขาดอยหลวง พื้นที่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้แก่ ป่าน้ำม้า
และป่าน้ำช้าง มีพื้นที่ป่าร้อยละ ๖๐ ส่วน พื้นที่ทางตอนกลางและด้านตะวันออกเป็นพื้นที่อยู่อาศัย
เปน็ ทีร่ าบเหมาะแกก่ ารเพาะปลกู มแี ม่นำ้ องิ ไหลผา่ นทางดา้ นตะวนั ออกของตำบลในแนวเหนือ-ใต้

๑.๓ ลักษณะภมู อิ ากาศ
ตำบลสถานจดั อย่ใู นเขตทุง่ หญ้าเมืองรอ้ น มลี ักษณะอากาศ ดงั นี้
ฤดรู ้อน ประมาณกลางเดือนกุมภาพนั ธ์-กลางเดือนพฤษภาคม
ฤดฝู น ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตลุ าคม
ฤดหู นาว ประมาณกลางเดอื นตุลาคม-กลางเดอื นกุมภาพันธ์

๑.๔ ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว มีพื้นที่ราบเหมาะแก่การเพาะปลูกข้าวและทำ

การเกษตรอื่นๆ เชน่ ขา้ วโพดมันสำปะหลังและพืชผัก

๑.๕ ลักษณะของแหล่งน้ำ
แหลง่ นำ้ ธรรมชาติท่ีสำคัญ
- แม่นำ้ ทไ่ี หลผา่ นหมู่บ้านในทอ้ งท่ที ่เี ขตบริการ มี ๑ สาย คอื แมน่ ำ้ องิ
- ลำห้วยที่ไหลจากเทือกเขา ดอยหลวง และดอยขมิ้น ๓ สายได้แก่ ห้วยน้ำม้า ห้วยน้ำช้าง

รอ่ งแหย่ง
- หนองน้ำสำคญั ในพื้นทีจ่ ำนวน ๑๖ แหง่ ไดแ้ ก่ หนองยาว หนองงูเหลือม หนองนำ้ สาธารณะ

บ้านแฟน สระสาธารณะบ้านใหม่ธาตุทอง หนองหอย หนองประตูดงเวียง หนองบัว หนองเก้าห้า
หนองหลง หนองปลาเพ้ยี หนองโคง้ หนองช้างตาย หนองปลาขาว หนองบวั ลอย
แหลง่ น้ำทีส่ รา้ งขึน้

- อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ห่างเก็บน้ำห้วยน้ำช้าง อ่างเก็บน้ำห้วยน้ำม้า
และอ่างเก็บน้ำหลง บอ่ นำ้ ต้นื ๑,๗๐๐ แห่ง บอ่ บาดาล ๑๐ แห่ง ฝาย ๑๑ แห่ง

๑.๖ เขตการปกครอง
ตำบลสถาน มีเขตการปกครองทอ้ งที่ จำนวน ๑๖ หมู่บา้ น และเป็นหมบู่ ้านอาสาและ

พัฒนาป้องกันตนเอง (อพป.) ๒ หมู่บ้าน มีการปกครองในรูปแบบของคณะกรรมการหมู่บ้านตาม
พระราชบญั ญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ตำบลสถานแบง่ เขตการปกครองดังน้ี

หมูท่ ่ี ช่ือหมบู่ า้ น หมทู่ ี่ ชอื่ หมู่บา้ น
๑ บ้านสถาน ๙ บ้านศรดี อนมลู
๒ บ้านทุ่งงวิ้ ๑๐ บา้ นนำ้ ม้าใต้
๓ บา้ นนำ้ มา้ ๑๑ บา้ นทุ่งงิ้วเหนือ
๔ บ้านเชยี งคาน ๑๒ บา้ นสถานใต้
๕ บ้านแฟน ๑๓ บา้ นน้ำมา้ เหนือ
๖ บ้านทุ่งอ่าง ๑๔ บ้านเชียงคานใหม่
๗ บ้านใหมท่ ุ่งหมด ๑๕ บา้ นทุ่งอ่างใหม่
๘ บ้านเต๋น ๑๖ บ้านใหมธ่ าตทุ อง

๑.๗ ข้อมูลประชากร
ตำบลสถาน แบ่งเขตการปกครองท้องที่ จำนวน ๑๖ หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านอาสาพัฒนาและ

ป้องกันตนเอง (อพป.) จำนวน ๒ หมู่บ้าน มีการปกครองในรูปแบบของคณะกรรมการหมู่บ้านตาม
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๗๕ จำนวนประชากรจากข้อมูลทะเบียนราษฎร์
ทั้งสิ้นจำนวน ๙,๒17 คน แยกเป็นชาย 4,448 คน หญิง 4,769 คน จำนวนครัวเรือน 4,332
ครัวเรือน (สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร (รายเดือน) สำนักบริหารการทะเบียน กรมการ
ปกครอง ณ วันท่ี 15 ธันวาคม ๒๕๖๔)

สถิตจิ ำนวนประชากรจังหวัดเชียงราย อำเชยี งของ ตำบลสถาน ขอ้ มูลเดอื น พฤศจิกายน ๒๕๖๔

พ้นื ท่ี ชาย หญงิ รวม จำนวนครัวเรอื น

หมู่ 1 สถาน 325 338 663 263

หมู่ 2 ทุ่งงวิ้ 407 427 834 398

หมู่ 3 นำ้ มา้ 279 316 595 298

หมู่ 4 เชยี งคาน 295 316 611 301

หมู่ 5 แฟน 334 328 662 319

หมู่ 6 ท่งุ อ่าง 245 278 523 196

หมู่ ๗ ใหม่ทุ่งหมด 243 281 524 344

หมู่ ๘ เต๋น 135 136 271 90

หมู่ ๙ ศรดี อนมลู 212 211 423 225

หมู่ ๑๐ นำ้ มา้ ใต้ 382 363 755 324

หมู่ ๑๑ ทุ่งงว้ิ เหนือ 298 336 634 370

หมู่ ๑๒ สถานใต้ 275 312 587 247

หมู่ ๑๓ น้ำมา้ เหนือ 311 336 647 253

หมู่ ๑๔ เชียงคานใหม่ 253 268 521 217

หมู่ ๑๕ ทงุ่ อา่ งใหม่ 203 215 418 144

หมู่ ๑๖ ใหมธ่ าตุทอง 251 298 549 343

รวม 4,448 4,769 9,217 4,332

อ้างอิงข้อมูลจาก : สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร(รายเดือน) สำนักบริหารการทะเบียน

กรมการ ปกครอง

๒. สถานภาพด้านสขุ ภาพ
๒.๑ เดก็ แรกเกดิ มีนำ้ หนกั ๒,๕๐๐ กรมั ขึน้ ไป

จำนวนเด็กแรกเกดิ ที่มีนำ้ หนัก ๒,๕๐๐ กรมั ขึ้นไป มจี ำนวน ๔ คน
๒.๒ เดก็ แรกเกิดได้กินนมแมอ่ ยา่ งเดยี วอยา่ งน้อย๖เดอื นแรก ติดต่อกัน

จำนวนเด็กแรกเกิดทีท่ านนมแม่อย่างเดียวอย่างนอ้ ย๖เดือนตดิ ตอ่ กัน มีจำนวนทั้งหมด ๓๓
คน
๒.๓ เด็กแรกเกดิ ถงึ ๑๒ ปี ไดร้ บั วัคซนี ปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสร้างเสรมิ ภมู ิคมุ้ กันโรค

จำนวนเดก็ แรกเกดิ ถึง ๑๒ ปีที่ได้รับวัคซีนปอ้ งกนั โรค มีจำนวน ๕๒๒ คน
๒.๔ ครวั เรอื นกนิ อาหารถกู สขุ ลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน

มีครัวเรือนที่กินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน มีจำนวน ๒,๓๒๒
ครัวเรอื น จากครัวเรือนทง้ั หมด ๔,332 ครวั เรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕3.60 จากครวั เรอื นทั้งหมด
๒.๕ ครัวเรอื นมีการใชย้ าเพอ่ื บำบัด บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบอ้ื งตน้ อยา่ งเหมาะ

มีครวั เรือนทม่ี กี ารใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ยเบ้อื งต้นอยา่ งเหมาะสม มีจำนวน
๒,๖๓๒ ครัวเรือน จากครัวเรือนทั้งหมด ๔,332 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๖0.75 จากครัวเรือน
ทั้งหมด
๒.๖ คนอายุ ๓๕ ปขี ้นึ ไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจำปี

จำนวนคนอายุ ๓๕ ปีขึน้ ไป ท่ไี ดร้ บั การตรวจสขุ ภาพประจำปี มจี ำนวน ๔,๘๘๓ คน
๒.๗ คนอายุ ๖ ปขี ้ึนไป ออกกำลังกายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ ๓ วนั วนั ละ ๓๐ นาที

จำนวนคนที่มอี ายุ ๖ ปีขึน้ ไปออกกำลังกายสัปดาหล์ ะ ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที มีจำนวน ๖,๗๑๗
คน

๓. สถานภาพดา้ นความเปน็ อยู่
๓.๑ ครัวเรือนมคี วามมนั่ คงในทอี่ ยอู่ าศยั และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร

ครัวเรือนที่มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร มีจำนวน ๒ ,๔๑๖
ครัวเรอื น
๓.๒ ครวั เรือนมีนำ้ สะอาดสำหรบั อปุ โภคและบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ ๕ ลิตรต่อวนั

เนอ่ื งจากตำบลสถานสามารถใช้นำ้ ในการอุปโภคและบริโภคจากแหลง่ กระจายน้ำได้ ๒ ที่ คือ
ประปาส่วนภูมิภาค และ ประปาหมู่บ้าน ดังนั้นในตำบลสถานทุกครัวเรือนจะมีน้ำใช้ในการอุปโภค
และบริโภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ ๕ ลติ ร/วนั จำนวน ๔,332ครัวเรือน
๓.๓ ครัวเรอื นมีนำ้ ใช้เพียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ ๔๕ ลิตรต่อวนั

เนื่องจากตำบลสถานสามารถใช้น้ำในการอปุ โภคและบรโิ ภคจากแหลง่ กระจายนำ้ ได้ ๒ ท่ี คือ
ประปาส่วนภูมิภาค และ ประปาหมู่บ้าน ดังนั้นในตำบลสถานทุกครัวเรือนจะมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ
ตลอดปอี ยา่ งน้อยคนละ ๔๕ ลิตรต่อวัน จำนวน ๔,332 ครัวเรือน
๓.๔ ครัวเรอื นมีการจดั การบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสขุ ลกั ษณะ

จำนวนครัวเรือนที่มีการจัดเก็บบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ
มจี ำนวน ๒,๖๓๓ ครัวเรอื น
๓.๕ ครวั เรอื นไมถ่ ูกรบกวนจากมลพษิ

จำนวนครวั เรอื นทไ่ี มถ่ กู รบกวนจากมลพิษ มจี ำนวน ๒,๖๔๐ ครัวเรอื น
๓.๖ ครัวเรอื นมกี ารปอ้ งกันอบุ ตั ิภยั และภยั ธรรมชาติอย่างถูกวิธี

มีครัวเรือนที่มีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี มีจำนวน ๒,๖๓๒ ครัวเรือน
จากท้งั หมด ๔,332 ครัวเรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖0.76 ของจำนวนครวั เรือนท้งั หมด
๓.๗ ครัวเรือนมีความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน

ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ ิน จำนวน ๒,๖๔๑ ครวั เรือน

๑.๔ สถานภาพดา้ นการศกึ ษา
๑.๔.๑ เด็กอายุ ๓-๕ ปี ไดร้ ับบริการเลยี้ งดเู ตรยี มความพร้อมก่อนวยั เรียน

มีเด็กในช่วงอายุ ๓-๕ ปี ที่ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน จำนวน ๑๒๗
คน

๑.๔.๒ เด็กอายุ ๖-๑๔ ปี ได้รับการศึกษาภาคบงั คับ ๙ ปี
มเี ดก็ ในช่วงอายุ ๖-๑๔ ไดร้ ับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ๕๑๖ คน

๑.๔.๓ เด็กจบชัน้ ม.๓ ได้เรียนต่อชนั้ ม.๔ หรอื เทยี บเท่า
มีจำนวนเด็กทจี่ บช้นั ม.๓ ได้เรียนต่อชั้น ม.๔ หรือเทียบเท่า จำนวน ๑๖ คน

๑.๔.๔ คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการ
ฝกึ อบรมดา้ นอาชพี

มีจำนวนคนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ
ได้รบั การฝกึ อบรมดา้ นอาชพี มีจำนวน ๔๒ คน
๑.๔.๕ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งง่ายได้

มีคนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขยี น และคิดเลขอยา่ งง่ายได้ มจี ำนวน ๔,๘๘๑ บาท

๔. สถานภาพด้านการศึกษา
๔.๑ เด็กอายุ ๓-๕ ปี ได้รบั บริการเลี้ยงดเู ตรยี มความพร้อมก่อนวัยเรียน

มีเด็กในช่วงอายุ ๓-๕ ปี ที่ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน จำนวน ๑๒๗
คน๑.๔.๒ เดก็ อายุ ๖-๑๔ ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบงั คับ ๙ ปี

มเี ดก็ ในช่วงอายุ ๖-๑๔ ไดร้ บั การศกึ ษาภาคบงั คบั จำนวน ๕๑๖ คน
๔.๓ เด็กจบชัน้ ม.๓ ได้เรยี นตอ่ ช้นั ม.๔ หรือเทียบเทา่

มีจำนวนเด็กที่จบชน้ั ม.๓ ได้เรยี นต่อชน้ั ม.๔ หรอื เทียบเท่า จำนวน ๑๖ คน
๔.๔ คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการ
ฝกึ อบรมด้านอาชพี

มีจำนวนคนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ
ไดร้ บั การฝกึ อบรมด้านอาชีพ มจี ำนวน ๔๒ คน
๔.๕ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งงา่ ยได้

มคี นอายุ ๑๕-๕๙ ปี อ่าน เขียน และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ มีจำนวน ๔,๘๘๑ บาท

๕. สถานภาพดา้ นรายได้
๕.๑ คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี มอี าชีพและรายได้

คนอายุ ๑๕-๕๙ ปี มอี าชีพและรายได้ ๔,๓๖๙ คน
๕.๒ คนอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มอี าชีพและรายได้

คนอายุ๖๐ ปขี นึ้ ไป มอี าชพี และรายได้ จำนวน ๑,๙๕๔ บาท
๕.๓ รายได้เฉล่ยี ของคนในครัวเรอื นตอ่ ปี

โดยมีรายไดต้ ำ่ สดุ อย่ทู ี่ 60,000 บาท/ปี และมรี ายไดส้ งู สดุ อยูท่ ี่ ๔,๙๔๔,๐๐๐ บาท/ปี
๕.๔ ครัวเรอื นมกี ารเกบ็ ออม

ครัวเรือนที่มีการเก็บออม มีจำนวน ๒,๔๐๒ ครัวเรือน จากครัวเรือนทั้งหมด ๔,332
ครวั เรือน คิดเปน็ ร้อยละ ๕5.45 ของครัวเรือนทงั้ หมด
๕.๕ คนในครัวเรือนไมด่ ่มื สรุ า

จำนวนคนในครวั เรือนไม่ด่ืมสุรา มจี ำนวน ๕,๔๘๔ คน
๕.๖ คนในครัวเรือนไมส่ บู บหุ ร่ี

คนในครัวเรอื นในตำบลสถานท่ไี ม่สบู บหุ รี่ มีจำนวน ๗,๐๐๔ คน
๕.๗ คนอายุ ๖ ปีขน้ึ ไป ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ ๑ คร้ัง

จำนวนคนอายุ ๖ ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง จำนวน
๖,๗๘๓ คน

๖. สภาพปัญหาในตำบล
พื้นที่ของตำบลสถาน อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในการทำ

การเกษตร ประชาชนในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและนำผลผลิตที่ได้ส่งขายตามท้องตลาดใน
เมืองและตลาดชุมชน และเพื่อให้ทันต่อความต้องการของตลาด ที่เน้นปริมาณและความสวยงามของ
ผลผลิตทางการเกษตร เกษตรกรจึงเลือกทำการเกษตรแบบใช้สารเคมี ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของตลาด อย่างไรก็ตาม พบว่าสถานการณ์ดังกล่าวทำให้เกษตรกรมีต้นทุนในการผลิตเพิ่ม
มากขึ้น มีการกู้ยืมเงินเพื่อมาลงทุนหรือใช้จ่ายในระหว่างรอผลผลิตออกสู่ตลาด เกษตรกรประสบ
ปัญหาหนี้สิน รายได้ ไม่เพียงพอกับรายจ่ายที่เพิ่มมากข้ึน ทำให้เกิดเป็นปัญหาสะสมกันมายาวนาน
นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้ว พบว่ายังมีอีกปัจจัยหนึ่งในประเด็นปัญหาสุขภาพของผู้บริโภคและ
เกษตรกรในพื้นที่ โดยพบว่าคนในชุมชนมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น จากข้อมูลการตรวจสารเคมีในเลือด
(ตรวจในวันที่ 5 เมษายน 2564) ในกลุ่ม อสม.จำนวน 230 คน พบว่า ผลการตรวจเลือก ปกติ
จำนวน 1 คน (ร้อยละ 0.43) ปลอดภัย จำนวน 104 คน (ร้อยละ 45.21) มีความเสี่ยง จำนวน
83 คน (ร้อยละ 36.08) และ ไม่ปลอดภัย จำนวน 42 คน (ร้อยละ 18.26 คน) จากผลดังกล่าว
พบว่ากลมุ่ เส่ียงและกลุม่ ที่ไมป่ ลอดภยั มีมากถึง 125 คน หรอื กวา่ ร้อยละ 54.34 ของผทู้ ่ีเข้ารับการ
ตรวจทั้งหมด ซึ่งอาจอนุมานได้ว่าคนในชุมชนบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารเคมีตกค้างในเลือด
ซง่ึ สง่ ผลด้านสุขภาพของคนในชุมชนโดยตรง

จากปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ทีมสถานพลัส ได้เห็นถึงประเด็นปัญหาที่จะนำไปออกแบบ
กิจกรรมเพื่อแก้ไข โดยมุ่งหวังให้คนในตำบลได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและเข้าถึงแหล่ง
อาหารปลอดภัย และยกระดบั เปน็ พน้ื ท่ีการเรียนรกู้ ารเสริมสร้างสขุ ภาวะทดี่ ี

จากการดำเนินงานของทีม U2T ตำบลสถาน โดยมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ตลอดปี 2564

จงึ ไดด้ ำเนินการถอดบทเรยี นเพอ่ื ใหเ้ กษตรกรในพ้นื ทีห่ ันมาใชแ้ นวปฏิบัติการใชม้ าตรฐานสนิ ค้าเกษตร
ปลอดภัยแบบมีส่วนร่วม เอสที พลัส (ST+) โดยเลือกเทคนิคการถอดบทเรียนหลังปฏิบัติการ (After
Action Review) เพือ่ เปน็ การปรบั ปรงุ และพัฒนางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ ต่อไป

2. วตั ถปุ ระสงค์ของการถอดบทเรยี น
2.1 เพื่อทบทวนและสรุปการทำงานทีผ่ ่านมา เกี่ยวกับรายละเอียดและปัจจัยทั้งภายในและ

ภายนอก ซงึ่ ทำใหเ้ กดิ ผลทัง้ ทีส่ ำเร็จและลม้ เหลว
2.2 เพื่อเสนอข้อมูลเหตุปัจจัยของความสำเร็จและล้มเหลว ให้ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนิน

กจิ กรรมไดใ้ ช้ประโยชนใ์ นการพฒั นารูปแบบการทำงาน

3. การเตรยี มการและวิธกี ารถอดบทเรยี น
การถอดบทเรียน (Lesson Distilled) คือ การทบทวนหรือสรุปการทำงานทีผ่ า่ นมาในแง่มุม

ต่าง ๆ เพื่อให้เห็นถึงรายระเอียดของทั้งปัจจัยภายในและภายนอก เป็นเครื่องมือพัฒนาการ
กระบวนการทำงาน เพื่อทำให้เกิดผลอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันทั้งสำเร็จและล้มเหลว หรือเพื่อสืบค้น
ความรู้จากการปฏิบัติงานโดยสกัดความรแู้ ละประสบการณจ์ ากกลุ่มเป้าหมายทีร่ ่วมปฏิบตั ิงาน พร้อม
ทั้งบันทึกรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงานและความรู้ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่าง
ปฏบิ ัติงานทง้ั ทสี่ ำเรจ็ และลม้ เหลว เพ่อื เป็นแนวทางในการปรับปรงุ พฒั นาความรู้ ต่อยอดความสำเร็จ
และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้การปฏบิ ตั ิงานให้บรรลุเป้าหมายและสามารถเผยแพร่ศกึ ษาเรียนร้ตู ่อไป

การถอดบทเรียนครั้งนี้ เป็นการถอดบทเรียนที่เน้นให้เกษตรกรในพื้นที่หันมาใช้แนว
ปฏิบัตกิ ารใชม้ าตรฐานสินคา้ เกษตรปลอดภยั แบบมสี ว่ นร่วม เอสที พลัส (ST+) โดยใชเ้ ทคนิคการถอด
บทเรียนหลังปฏิบัติการ (After Action Review) โดย

• กำหนดเวลา
• ระบุผเู้ ขา้ รว่ มในกระบวนการ
• สรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้
• กำหนดประเด็น ถอดบทเรยี น 4 คำถาม

- อะไร คือสิ่งท่คี าดหวงั จากการทำงานในครงั้ น้ี
- อะไร คอื ส่ิงทเี่ กิดข้นึ จรงิ
- ทำไม ถงึ เปน็ เช่นน้นั
- จะทำอยา่ งไร เพ่ือปรับปรุงและพฒั นาให้ดีขนึ้ ในครั้งต่อไป
• ทบทวนการดำเนินงานตามวตั ถุประสงค์
• เลา่ ประสบการณ์
• วเิ คราะห์แสวงหาสิ่งทจี่ ะทำตอ่ ไปใหด้ ขี น้ึ อยา่ งไร
• สรปุ ได้ชุดขอ้ เสนอแนะ และนำไปปฏบิ ตั ิ
การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการของโครงการแนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร
ปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมเอสที พลัส (ST+) โดยผู้เข้าร่วมกระบวนการจะมีการสรุปผลการดำเนินงาน
ของการจดั กิจกรรมเชิงปฏิบตั ิการในแต่ละครั้งเพ่ือช่วยกระตนุ้ ให้เกิดการคิดวเิ คราะห์และแลกเปล่ียน
กันอย่างเต็มที่

4. กระบวนการถอดบทเรยี น
การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการของโครงการแนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร

ปลอดภัยแบบมีส่วนรว่ ม เอสที พลสั (ST+) โดยแต่ละกจิ กรรมมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

4.1 กจิ กรรมใหค้ วามรูเ้ ร่ืองอาหารปลอดภยั
• ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม 60 คน
ประกอบด้วย
1. คณะวิทยากร จาก มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง
2. เจ้าหน้าทโี่ ครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวิทยาลยั ตำบลสถาน
3. กล่มุ แมบ่ า้ นครวั สะอาด ตำบลสถาน
4. กลมุ่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหม่บู ้าน ตำบลสถาน

• เนือ้ หา / สง่ิ ท่เี รยี นรู้
1. สขุ ลักษณะของการประกอบอาหาร
2. อนั ตรายจากสารพิษในผัก และผลไม้
3. วธิ ีการล้างผกั ผลไมใ้ หส้ ะอาด และปลอดภยั

• ผลการดำเนินกจิ กรรม
มผี เู้ ข้าร่วมกจิ กรรมอบรมครบตามจำนวนเป้าหมายที่กำหนด โดยหัวขอ้ การ

อบรมคือ การให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย โดยแยกหัวข้อการอบรมดังต่อไปนี้
สุขลกั ษณะของการประกอบอาหาร อันตรายจากสารพิษในผัก และผกั ผลไม้ วิธีการ
ล้างผัก ผลไม้ให้สะอาด และปลอดภัย โดยได้รับวิทยากรจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า
หลวง มาเป็นผู้ให้ความรู้ในหัวข้อดังกล่าว ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ให้ความสนใจ
ตลอดการเข้ารับการอบรม

• ขอ้ เสนอแนะ
-

4.2 กจิ กรรมทดสอบความปลอดภัยในอาหาร
• ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม 60 คน
ประกอบด้วย
1. คณะวิทยากร จาก มหาวิทยาลยั แม่ฟ้าหลวง
2. เจา้ หน้าทโี่ ครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวิทยาลัย ตำบลสถาน
3. กลมุ่ เกษตรกร ตำบลสถาน

• เน้อื หา / สิ่งท่เี รียนรู้
1. วธิ ที ดสอบหาสารยาฆา่ แมลงด้วยชดุ ทดสอบ MJPK

• ผลการดำเนินกจิ กรรม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมครบตามจำนวนเป้าหมายที่กำหนด โดยหัวข้อกิจกรรม

คือ “ตรวจหาสารเคมีในผัก ผลไม้” โดยได้รับเกียรติจากอาจารย์ของ
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อ.ดร.วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยแมฟ่ ้าหลวงมาเปน็ วิทยากรในครัง้ นี้
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในการจัดกิจกรรมดังกล่าว อาจสืบเนื่องจากใน
ปัจจุบันสารเคมีกำจัดแมลงถูกใช้มากที่สุดในการเพาะปลูกจึงทำให้สารพิษ
ตกคา้ งท้งั ในดนิ และสภาพอากาศ ซ่งึ การตรวจหายาฆา่ แมลงในผกั ผลไมใ้ นคร้ัง
นี้ คนในชมุ ชนจงึ ให้ความสนใจในจำนวนมาก

• ขอ้ เสนอแนะ

-

4.3 กจิ กรรม Show & Share อาหารปลอดภัย
• ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม 60 คน
ประกอบด้วย
1. คณะวทิ ยากร จาก มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2. เจ้าหนา้ ที่โครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวทิ ยาลยั ตำบลสถาน
3. กลมุ่ เกษตรกร ตำบลสถาน

• เน้อื หา / สิ่งทเี่ รยี นรู้
1. ปจั จยั ทีท่ ำให้พชื ผลทางการเกษตรปนเปื้อนสารยาฆ่าแมลง
2. วธิ ีทดสอบหาสารยาฆา่ แมลงด้วยชดุ ทดสอบ MJPK

• ผลการดำเนินกิจกรรม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกินจากจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 5 คน โดย

หัวข้ออบรมคือ “Show and Share อาหารปลอดภัย” โดยได้รับเกียรติท่าน
วิทยากร อ.ดร.วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อมสำนักวิชา
วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มาเป็นผู้ให้ความรู้ในหัวข้อการ
จัดกจิ กรรมดงั กลา่ ว ซงึ่ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามสนใจในกิจกรรมทไี่ ดจ้ ดั ขน้ึ ซึ่ง
เป็นประโยชน์ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการได้รู้ และเข้าใจเกี่ยวกับการ
ปนเปื้อนของสารยาฆา่ เมลงในพชื ผัก

• ข้อเสนอแนะ
-

4.4 กจิ กรรมอบรมให้ความรู้เร่ืองการสร้างแบรนด์
• ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 60 คน
ประกอบดว้ ย
1. คณะวิทยากร จาก มหาวทิ ยาลัยแมฟ่ ้าหลวง
2. เจา้ หนา้ ที่โครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวิทยาลยั ตำบลสถาน
3. กลุ่มเกษตรกร ตำบลสถาน

• เนอื้ หา / สิง่ ท่ีเรยี นรู้
1. ให้ความร้เู ร่อื งการสร้างแบรนด์

• ผลการดำเนนิ กิจกรรม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมครบตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด โดยหัวข้ออบรมคือ

“การให้ความรู้เรื่องการสร้างแบรนด์” โดยได้รับเกียรติท่านวิทยากร จาก
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มาเป็นผู้ให้ความรู้ในหัวข้อการจัดกิจกรรมดังกล่าว
ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในกิจกรรมที่ได้จัดขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ให้กับ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการได้รู้ และเข้าใจเกี่ยวกับการการสร้างแบรนด์ เพื่อนำ
ความรู้ทไี่ ด้ไปตอ่ ยอดเป็นลำดบั ตอ่ ไปการในการทำการเกษตร

• ขอ้ เสนอแนะ
-

4.5 กจิ กรรมออกแบบตราสินคา้
• ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 60 คน
ประกอบด้วย
1. คณะวิทยากร จาก มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง
2. เจ้าหน้าทีโ่ ครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวทิ ยาลัย ตำบลสถาน
3. กลุม่ เกษตรกร ตำบลสถาน

• เนือ้ หา / สง่ิ ท่เี รยี นรู้
1. ลกั ษณะของตราสนิ ค้าท่ดี ี
2. ตราสินค้าทีส่ ามารถนำมาใช้ได้
3. การให้คำนิยามกบั ตราสนิ คา้

• ผลการดำเนนิ กิจกรรม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมครบตามจำนวนเป้าหมายที่กำหนด โดยหัวข้ออบรม

คือ “ออกแบบตราสินค้า” โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรจากทางมหาวิทยาลยั แม่ฟา้
หลวงมาเป็นผู้ให้ความรู้ในหัวข้อการจัดกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมมี
ความสนใจในกิจกรรมดังกล่าว อีกทั้งเพื่อเป็นการช่วยกันออกแบบ และแก้ไขตรา
สินค้าให้เป็นมาตรฐานที่สุด และให้คำนิยามให้กับสัญลักษณ์ที่ทุกคนได้ช่วยกัน
ออกแบบขึ้น ซึ่งเป็นการออกความเห็นมาจากคนในชุมชน เพื่อให้ได้ตราสินค้าที่
ออกแบบมานน้ั เปน็ หน่งึ เดยี วกัน

• ขอ้ เสนอแนะ
-

4.6 กจิ กรรมจัดทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์สนิ ค้าทางการเกษตรของชุมชนสถาน
• ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 14 แปลง
ประกอบด้วย
1. คณะวทิ ยากร จากมหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย
2. เจ้าหน้าทโี่ ครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวทิ ยาลัย ตำบลสถาน
3. กลมุ่ เกษตรกร ตำบลสถาน

• เนอื้ หา / สง่ิ ทเี่ รียนรู้
1. การเตรยี มแปลง และดูแลแปลงให้ได้มาตรฐานตามมาตรฐาน PGS
2. การใหค้ วามรู้ในการเข้าร่วมรบั มาตรฐาน เอสที พลัส (ST+)

• ผลการดำเนนิ กิจกรรม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมครบตามจำนวนเป้าหมายที่กำหนด โดยการลงพื้นที่ครั้งนี้

ได้รับทีมลงพื้นที่ตรวจแปลงผักจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นางสาวเพ็ญพรรณ
โกมลมิศร์ และ ดร.ทัศนีย์ ธรรมดิน สำนักนวัตกรรมและการศึกษาต่อเนื่อง
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในการลงพื้นที่ตรวจ
แปลงเกษตรครั้งนี้ อาจเนื่องจากคนในชุมชนสนใจที่อยากเข้าร่วมเป็นเกษตรกรที่มี
พืชผลทางการเกษตรที่ได้รบั มาตรฐาน เพอ่ื หาแหล่งรบั ซ้อื ผลผลิตเมื่อถึงฤดูการเก็บ
เกี่ยว

• ข้อเสนอแนะ
-

5. สรุปผลการถอดบทเรยี น
1. เกิดแนวปฏิบตั ิในการใช้มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั แบบมีส่วนรว่ ม เอสที พลัส (ST+)
ตำบลสถาน เพื่อยกระดบั พชื ผลทางการเกษตรของชมุ ชน
2. คนในชมุ ชนได้เรียนรู้ และเขา้ ใจถึงเรือ่ งอาหารปลอดภัย
3. เกิดการพฒั นาตามปัญหาและความตอ้ งการของชมุ ชน

แนวปฏิบัตใิ นการใช้มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยแบบมสี ว่ นรว่ ม เอสที พลัส (ST+)

ขอบข่าย
1. แนวปฏิบัตินี้เป็นข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับการรับรองสินค้าเกษตรปลอดภัยโดยโดยกลุ่ม
เกษตรกรตำบลสถาน (เอสที พลัส) โดยมุ่งเน้นตลาดภายในประเทศ ได้แก่ การผลิต แปรรูป
แสดงฉลาก และจำหนา่ ย ผลติ ผลและผลติ ภัณฑเ์ กษตรปลอดภยั
2. ผลผลิตที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัตินี้สามารถใช้คำว่า “เอสที พลัส (ST+)” และใช้สัญลักษณ์
ติดท่ีบรรจภุ ณั ฑ์หรอื การโฆษณาไดต้ ามเง่อื นไขท่ีระบแุ นบทา้ ย
3. เกษตรกรที่ใช้แนวปฏิบัตินี้ใหห้ ลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์เคมตี ลอดกระบวนการผลิต เพื่อ
ป้องกนั ผลกระทบเชิงสุขภาพต่อผู้ผลติ และผูบ้ รโิ ภค
4. แนวปฏิบัตินี้เป็นขั้นต่ำในการปฏิบัติ โดยประยุกต์จากการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม PGS จังหวัดเชียงราย และได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการบริหารจัดการแนวปฏิบตั ิในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยแบบมี
สว่ นรว่ ม เอสที พลัส (ST+)

สสี ญั ลกั ษณน์ ำ้ ตาล เหลอื ง เขยี ว
คำนิยาม

แนวปฏิบตั ิ หมายถึง ขอ้ กําหนดในรูปของเอกสารวัตถทุ ี่แพร่หลายแก่บุคคลท่ัวไป กําหนดขึ้น
โดยความร่วมมือ การยอมรับร่วมกันของผู้มีส่วนได้เสีย และผูม้ ีประโยชน์เกย่ี วข้อง ซ่ึงเป็นผลจากการ
พจิ ารณาร่วมกันโดยมงุ่ ประโยชนส์ ูงสดุ ของกลมุ่ เกษตรกรตำบลสถาน (เอสที พลัส)

เกษตรปลอดภัยแบบมีส่วนร่วม หมายถึง ผลผลิตสินค้าเกษตรที่หลีกเลี่ยงการใช้สาร
สังเคราะหเ์ คมี แต่ควบคมุ ปริมาณสารสังเคราะหเ์ คมตี กค้างใหอ้ ยูใ่ นเกณฑ์ที่ยอมรบั ได้ว่าปลอดภัยต่อ
การบริโภค โดยคำนึงถึง ระบบการผลิตการเกษตรผสมผสานที่มีวิธีการจัดการภายใต้ระบบนิเวศ
เกษตรองคร์ วม

ผู้ผลิต หมายถึง เกษตรกรรายย่อยที่มีความมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนวิถีการปฏิบัติเข้าสู่
มาตรฐานเกษตรปลอดภัย

วัตถุประสงค์ในการกาํ หนดแนวปฏิบัตใิ นการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภยั แบบมีส่วนรว่ ม
เอสที พลัส (ST+)

1. เพ่ือเปน็ แนวทางในการควบคุมและสง่ เสรมิ การผลติ สินค้าเกษตรใหม้ ีคุณภาพ พร้อมเขา้ สู่
มาตรฐานเกษตรปลอดภัย

2. เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการบริโภคผลผลิตจากกลุ่มเกษตรกรตำบลสถาน
(เอสที พลสั )

ประโยชนท์ กี่ ลุ่มเกษตรกรตำบลสถาน (เอสที พลัส) จะได้รบั จากการกำหนดแนวปฏิบัตใิ นการใช้
มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรปลอดภยั แบบมสี ่วนร่วม เอสที พลัส (ST+)

1. เกษตรกรมีความร้แู ละเข้าใจการผลติ สนิ ค้าเกษตรอยา่ งเปน็ ระบบ
2. เกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละร่วมกนั แกไ้ ขปญั หาในกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร
3. ได้สินคา้ เกษตรท่ีมีคณุ ภาพเทยี บเคยี งกับมาตรฐานปลอดภัย
4. ลดการใชส้ ารสงั เคราะห์เคมี เพอื่ ป้องกนั และฟ้ืนฟูระบบนิเวศในพ้ืนทีผ่ ลติ สินคา้ เกษตร
5. เพอ่ื เตรยี มความพร้อมให้เกษตรกรผผู้ ลิตเข้าสู่มาตรฐานเกษตรปลอดภยั
6. เกิดความเชื่อมั่นระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ในการผลิตและบริโภคสินค้าเกษตร

ปลอดภัยโดยกลุ่มเกษตรกรตำบลสถาน (เอสที พลัส)
7. ตน้ ทุนการผลิตลดลง ผลผลิตท่ีได้มคี ุณภาพเพิม่ ข้นึ
8. กลุ่มเกษตรกรตำบลสถาน (เอสที พลัส) สามารถตอ่ รองราคาสนิ ค้าเกษตรในระบบตลาด

ได้

1. ข้อกำหนดทั่วไปตามปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยแบบมีส่วนร่วม เอสที
พลัส (ST+)

1.1. การจัดการพน้ื ท่เี กษตร
1.1.1 พ้ืนทป่ี ลูก
1. เป็นพ้นื ที่ทไ่ี มเ่ สี่ยงต่อการปนเปื้อนวัตถุอนั ตราย สารเคมีท่ีก่อให้เกิดการ
ตกคา้ งหรือปนเป้อื นในผลิตผล
2. ไม่เคยเป็นที่ตั้งของโรงพยาบาล / คอกปศุสัตว์ / สถานที่ทิ้งขยะ /
สารเคมี

1.1.2 แหลง่ น้ำ
1. ใชน้ ำ้ จากแหลง่ น้ำที่สะอาด ไมม่ ีการปนเปอ้ื นจากสารพษิ หรอื โลหะหนัก

1.1.3 การใช้วัตถอุ ันตรายทางการเกษตร
1. การจัดเก็บสารเคมีให้แยกออกจากที่พักอาศัย และให้ป้องกันการ

ปนเป้อื นสู่ดินน้ำ และอากาศ
2. การใช้สารเคมใี ห้เป็นไปตามฉลากแนะนําทข่ี น้ึ ทะเบียนอย่างเครง่ ครัด
3. เกษตรกรที่ฉีดพ่นสารเคมีต้องสวมเครื่องป้องกันและทําความสะอาด

รา่ งกายและอปุ กรณ์ทุกคร้ังหลังฉีดพ่นสารเคมีทุกครัง้
4. ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิตให้งดการให้ปุ๋ยและการฉีดพ่นสารเคมีอย่าง

น้อย 15 วนั

1.1.4 สขุ ภาพผปู้ ฏิบตั ิ
1. มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างเพียงพอและมีมาตรการป้องกันอย่าง
เหมาะสม
2. หลีกเล่ยี งและปอ้ งกนั การสัมผัสสารเคมีโดยตรง

1.1.5 การเกบ็ เกีย่ วและการจัดการผลผลิต
1. มีระบบการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ภาชนะ
บรรจุและวิธีการเก็บเกี่ยวต้องสะอาด เพื่อลดการปนเปื้อนและคง
คณุ ภาพของผลผลิต
2. เก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะที่เหมาะสมตามเกณฑ์ในแผนการควบคุมการ
ผลติ
3. สถานท่เี ก็บรักษาตอ้ งสะอาด อากาศถา่ ยเทดี
4. การขนย้ายผลิตผลต้องระมัดระวัง โดยพาหนะขนส่งต้องสะอาด ไม่มี
สง่ิ แปลกปลอม หรือปนเปือ้ นวัตถุอันตราย

1.1.6 การบนั ทกึ ข้อมูล
1. ต้องบันทึกข้อมูลการปฏิบตั ิจริง จํานวนพื้นที่ปลูก วันที่ปลูก การปฏิบัติ

ในการเพาะปลูก การบํารุงรักษาดิน การป้องกันและกําจัดศัตรูพืช วันที่เก็บเกี่ยว
ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ ขอ้ มูลผู้รับซ้ือผลผลิตหรอื แหล่งที่นาํ ผลผลติ ไปจําหน่าย

2. การเก็บรักษาบันทกึ ขอ้ มลู การผลิตอยา่ งนอ้ ย 2 ปี

1.2 ระยะปรบั เปลีย่ น
1.2.1 ระยะปรับเปลี่ยน หมายถึง ระยะเวลาหลังจากการลดการใช้สารสังเคราะห์

เคมี และมีการจัดการพืชจนกระทั่งได้รับการรับรองตามแนวปฏิบัติในการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร
ปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมเอสที พลัส (ST+)

1.2.2 ระยะปรับเปลี่ยนสำหรับการผลิตสินค้าเกษตร โดยกำหนดสัญลักษณ์เอสที
พลสั 3 สี ดังน้ี

1.2.2.1 เอสที พลัส สนี ้ำตาล เมอ่ื สมัครเป็นสมาชกิ กลุ่มเอสที พลัส
1.2.2.2 เอสที พลัส สีเหลือง นับจากวันสมัครเป็นสมาชิกกลุ่มเอสที พลัส
กำหนดระยะปรับเปลี่ยน 6 เดือน นับจากวันที่เลิกใช้สารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตรใน
พนื้ ท่ที ่ีขอการรับรอง
1.2.2.3 เอสที พลัส สีเขียว นับจากวันที่ได้รับการรับรองเป็นเอสที พลัส สีเหลือง กำหนดระยะ
ปรับเปลีย่ น 12 เดอื น โดยนับจากวนั ทเ่ี ลิกใช้สารเคมีสังเคราะหท์ ุกชนดิ ในพนื้ ทีท่ ขี่ อรับรอง

แหลง่ ขอ้ มูล : - www.doa.go.th
- www.acfs.go.th

- กลุ่มเกษตรอินทรยี แ์ บบมีส่วนร่วม พี จี เอส จงั หวดั เชยี งราย

บทที่ 3

3. ภาพรวมกจิ กรรม U2T ตำบลสถาน

ภาคผนวก

กจิ กรรมใหค้ วามรู้เร่อื งอาหารปลอดภยั





กจิ กรรมทดสอบความปลอดภยั ในอาหาร



กจิ กรรม Show & Share อาหารปลอดภยั





กจิ กรรมอบรมให้ความรู้เร่อื งการสรา้ งแบรนด์





กจิ กรรมออกแบบตราสินคา้


Click to View FlipBook Version