The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Management

Management

วิชาการจดั การธุรกิจเกษตร

ใบความรู้ เรืองหน้าทีขันพืนฐานและกระบวนการจัดการ

พิมลรัตน์ ติณสริ ิสุข

ใบความรู
วิชาการจดั การธรุ กจิ เกษตร รหสั วิชา 3500 – 0102
หนวยท่ี 3 เรื่อง หนาทข่ี นั้ พ้ืนฐานและกระบวนการจดั การธรุ กจิ เกษตร

สาระการเรียนรู
1..หนาทขี่ น้ั พืน้ ฐานในการจดั การธรุ กจิ เกษตร
2. กระบวนการจัดการธรุ กจิ เกษตร

จดุ ประสงคการเรียนรู
1. มคี วามรูค วามเขา ใจเกย่ี วกบั หนา ทข่ี ัน้ พนื้ ฐานในการจัดการธรุ กิจเกษตร
2. มีความรูความเขา ใจเกยี่ วกับกระบวนการจัดการธรุ กจิ เกษตรได

จุดประสงคเ ชงิ พฤติกรรม
1..อธิบายหนา ท่ขี ้ันพ้นื ฐานในการจัดการธุรกิจเกษตรได
2. อธิบายกระบวนการจัดการธุรกจิ เกษตรได

เนื้อหาสาระ

1. หนา ท่ีขั้นพ้ืนฐานในการจดั การธุรกิจเกษตร
1.1 การหาปจจัยการผลิต เปนการจดั หาปจจยั การผลิตทั้งหลายทนี่ ํามาใชใ นการผลิตสินคาและบรกิ ารทาง

การเกษตรท่ีมมี ากมายขนึ้ อยูกบั ความตองการการผลติ ของธุรกิจการผลิตสนิ คาเกษตร ไดแก พันธพุ ชื พนั ธสุ ัตว
ปุย อาหารสัตว สารปองกนั และกาํ จดั ศัตรูพชื เครือ่ งมอื เครื่องจักรกลเกษตร เปนตน

1.2 การผลติ สนิ คาเกษตร เปน การทีผ่ ูผลิตสินคา เกษตรนาํ ปจจัยการผลิตตางๆ มาผลติ เปนสินคาเกษตร
เพอ่ื ตอบสนองความตองของผูบริโภค ทงั้ การผลติ ผลเกษตรโดยทวั่ ไปและผลติ ผลเกษตรเพ่ือการแปรรปู

1.3 การจดั หาผลผลิต เพือ่ รวบรวมสินคาเกษตรจากเกษตรกรในแหลง ผลติ ตา งๆ ไปสตู ลาดทองถน่ิ และ
ตลาดปลายทาง เพื่อใหค นกลางประเภทผูข ายสง โรงงานแปรรูปหรอื ผูสง ออกดาํ เนนิ งานตอไป

1.4 การจดั การดานการตลาด การตลาดสนิ คา เกษตรเปน กระบวนการเคล่ือนยา ยสนิ คาเกษตรจากแหลง
ผลติ ของสินคา ไปสผู ูบริโภคโดยมีกจิ กรรมตา งๆ ในระบบตลาด ซึ่งสินคาเกษตรหรือผลติ ภณั ฑจะตอ งมคี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานท่ีผูบรโิ ภคตอ งการ

1.5 การจัดการดา นการบรกิ ารตางๆ เปนการบริการและอํานวยความสะดวกแกกลมุ คคู า กลุมลกู คา
ในดานตา งๆ เชน การขนสง สินคา

2. กระบวนการจัดการธรุ กจิ เกษตร
การดําเนนิ กิจการทางดา นธรุ กิจเกษตร จาํ เปน ตองมกี ระบวนการจัดการ เปนพ้ืนฐานและผูบริหาร

ของกิจการตอ งทราบ ซง่ึ กระบวนการในการบริหาร ยอ มประกอบไปดว ยขัน้ ตอนที่สาํ คัญ คอื การวางแผน
(Planning) การจดั องคก าร (Organizing) การจดั การงานบุคคล (Staffing) การอํานวยการ (Directing) การ
ประสานงาน (Co – ordinating) การรายงานผล (Reporting) และการงบประมาณ (Budgeting

2.1 การวางแผน (Planning)
2.1.1 ความหมายของการวางแผน
การวางแผน (Planning) นกั วชิ าการดา นการบริหารไดใหความหมายของการ

วางแผนไวตางๆ กนั ดงั นี้
คนู ตซแ ละโอ ดอนเนลล (Koontz and O Donnell) ใหความหมายวา การวางแผนคอื

การตัดสนิ ใจลว งหนา วา จะทาํ อะไร ทําทําไม ทําเมื่อไร และใครเปน คนทํา
รองศาสตราศาสตร สมคิด บางโม ความเหน็ วา การวางแผนคอื การกําหนดเปา หมาย

และแนวทางปฏบิ ตั ิไวลว งหนา โดยการศึกษาขอมลู ตางๆ และเลือกแนวทางปฏิบัตทิ ่ีจะเกิดประโยชน
สูงสดุ ตอองคก าร

กลาวโดยสรุป การวางแผน หมายถึง การกําหนดเปาหมายและแนวทางปฏิบตั ไิ วล ว งหนา
จะทาํ อะไร ทาํ เม่ือใด ทําทีไ่ หน ใครเปนผูกระทาํ และทําอยางไร โดยมกี ารใชป จจัยตางๆ แก คน เงนิ วัตถุดิบ
การจัดการ และเวลามาประสานสมั พันธกนั อยางเปนระบบ

สวนคําวา การวางแผนธรุ กิจเกษตร หมายถึง การวางแผนงานเกีย่ วกบั การประกอบ
ธรุ กิจเกษตร การควบคมุ ธุรกจิ เกษตร ใหเ จรญิ กา วหนา บรรลวุ ัตถปุ ระสงคของธุรกจิ ท่ไี ดก ําหนดไว ดังน้นั
การวางแผนทางธุรกิจเกษตรจึงเกย่ี วขอ งกบั สิ่งตอไปน้ี

1) การวางแผนการผลติ เปนการวางแผนเก่ยี วกับวาควรจะผลิตหรือขายสนิ คาประเภทใด
เทา ใด เทา ไร ผลิตโดยวธิ ใี ด และอยา งไร จึงจะเสยี ตน ทุนตํ่าสุด

2) การวางแผนการตลาด เปน การวางแผนวาควรจาํ หนา ยผลผลติ หรอื สนิ คา ไหน อยา งไร
เม่อื ไร และแกใ คร

3) การวางแผนการเงนิ เปนการวางแผนเพือ่ ใหก ารใชจายเปนไปอยา งรัดกุมและมี
ประสิทธภิ าพ

4) การวางแผนจัดระบบงาน เปนแผนท่ีเกย่ี วกับ การจัดระบบ การแบง งานตามลักษณะ หนา ท่ี
และความรับผดิ ชอบ

5) การวางแผนปรับปรงุ สนิ คา เปน แผนงานท่ีจัดทําข้ึนเพอ่ื หาวิธีการปรับปรงุ ผลผลิต
หรือสินคา ใหต รงกับความตอ งการของลูกคา

2.1.2 ความสาํ คญั ของแผน องคการทางธรุ กิจจะประสบความสาํ เร็จตามเปาหมายไดห ากมี
วางแผนไวอ ยางดี เชน ไดก ําหนดงาน กําหนดนโยบายในการดําเนินงาน กาํ หนดหนาท่ี ความรับผดิ ชอบของ
บคุ ลากรและการใชท รัพยากรตา งๆ ที่จาํ เปนในการดาํ เนินการ ฯ

การวางแผนจะอาํ นวยประโยชนแ กก ารประกอบธรุ กิจ ดงั น้ี
1) ชวยลดความไมแนน อน และความเสยี่ งภยั ตา งๆ ของกิจการ
2) ชว ยใหการทาํ งานประสานสัมพันธก นั รวมทั้งลดการทาํ งานซาํ้ ซอ น
3) การปฏิบตั ิงานตามแผนงานยอมกอ ใหเกดิ การประหยดั ทั้งเงินทนุ และเวลา
4) ชว ยใหก ารตรวจสอบและการควบคมุ งานมปี ระสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ
5) ชว ยแบงเบาภาระหนา ที่การงานของผูบริหารใหล ดนอยลง
6) ชวยใหผ ูบ ริหารมีความเชือ่ มน่ั ในการบรหิ ารมากขนึ้
7) ชวยใหผ บู ริหารสามารถตรวจสอบความสาํ เรจ็ ของเปาหมายได
8) แผนงานทด่ี ีจะสามารถระดมกาํ ลังคนและทรพั ยากรตางๆขององคการมาใชอ ยา งทัว่ ถงึ

2.1.3 ลักษณะของแผนทีด่ ี

ลกั ษณะที่สาํ คญั ของการวางแผนทางธรุ กิจเกษตร ควรคาํ นึงถงึ ส่งิ ตอไปนี้
1) มนี โยบายและวัตถปุ ระสงคช ัดเจน แผนที่จดั ทําขน้ึ จะตอ งชัดเจนวา ใครทาํ อะไร
2) ที่ไหน อยา งไร เม่ือใด อยใู นความรบั ผิดชอบของใครความสอดคลอ ง แผนที่ดคี วร

สอดคลองกับวตั ถุประสงคและโยบายขององคก ารท่ีกาํ หนดไว
3) มีความยดื หยนุ แผนที่ดคี วรมคี วามยดื หยนุ หรอื คลองตัวในการปรับวัตถปุ ระสงค

หรอื ปรับกลยทุ ธใ หเขากับสภาวะแวดลอมและโอกาสใหมๆ ทางธรุ กิจได

3) มีการกําหนดขั้นตอนและบทบาทหนา ทข่ี องผูเกยี่ วของใหชัดเจน
- การใชขอมลู พื้นฐานในการตัดสินใจทกุ ขั้นตอน
- มรี ะบบกาํ กบั ควบคุม ตดิ ตาม และประเมินผล เพ่ือการปรับปรุงและควบคุมคุณภาพ

2.1.4 ข้ันตอนการวางแผน ข้ันตอนในการวางแผนต้ังแตตนจนจบวา จะตองทําอะไรบา ง
กอ นหลังอยางไร โดยทั่วไปแลว จะแบงออกเปน 5 ขั้นตอน ดังน้ี

เตรียมการ วิเคราะห์ข้อมูล กําหนดแผน
และรวบรวมข้อมลู

ประเมนิ ผล ปฏิบัติตามแผน

ภาพ ขั้นตอนการวางแผน

ข้นั ที่ 1 การเตรียมการกอนการวางแผน ไดแ ก

 การจัดต้ังหนวยงานหรือกลุมบุคคลข้นึ เพ่อื รบั ผดิ ชอบในการวางแผน

 กําหนดวิธกี ารวางแผนวามขี ้ันตอนอยา งไร จะตองทําอะไรบาง

 รวบรวมขอ มูลตา งๆ อนั ไดแ ก ทรัพยากรบริหาร สถิตติ า งๆและปญหา
ตา งๆ

ขน้ั ท่ี 2 การวิเคราะหขอ มูลและปญ หา ศึกษางานทป่ี ฏบิ ตั ิมาแลว วา มีปญหาอะไร
ดา นใดท่ีจะตอ งแกไขใหอยใู นสภาพทพ่ี ึงประสงค ตอ งการใหเ กิดส่ิงใหมอ ะไรบางและองคก ารมีเปา หมายอะไร

ขั้นที่ 3 การกําหนดแผนงานและโครงการตางๆ นนั่ คอื การเขียนเปนแผนซึง่
ประกอบดวยแผนงาน โครงการและกิจกรรม

แผนงาน (program) คอื แผนซง่ึ กาํ หนดขนึ้ โดยการจดั รวมงานทมี่ ีลกั ษณะ

เดยี วกันหรือมีวตั ถุประสงคเหมือนกับเขา ไวด วยกนั เปนการแบงงานออกเปน กลมุ ใหญๆ เชน แผนการผลิต
แผนการตลาด ในแผนงานหน่ึงอาจจะ มีหลายโครงการหรือมโี ครงการเดยี ว เชน แผนการตลาด อาจจะมี
โครงการวจิ ยั ตลาด โครงการสงเสริมการขาย โครงการเพ่มิ ยอดขาย

โครงการ (project) คือแผนซึง่ กาํ หนดรายละเอียดของการปฏบิ ัติเพอื่ ให
บรรลุวตั ถุประสงคข องแผนงานท่กี าํ หนดไวใ นโครงการหนึ่งๆ จะระบุ รายละเอียดของกิจกรรมท่จี ะตองปฏิบัติวามี
อะไรบา ง ปฏบิ ตั อิ ยา งไร เมอื่ ไร ใครรบั ผดิ ชอบ ใชง บประมาณเทาไร ตลอดจนวธิ ปี ระเมนิ ผล กิจกรรม (activity)
ในแตล ะโครงการอาจจะมีกิจกรรมท่ีตอ งกระทําหน่ึงกจิ กรรมหรือมากกวากไ็ ด กิจกรรมเปนการกระทาํ ใดๆ ก็ตาม
เพ่ือใหเกิดผลทีต่ อ งการ

การกาํ หนดแผนงานและโครงการตา งๆ จะตองกําหนดส่ิงตอไปน้ี
1. กําหนดวตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมาย การกําหนดเปา หมายของแผนงานตอง
สอดคลองกับวตั ถปุ ระสงคข ององคก าร และการกาํ หนดเปาหมายของโครงการตองสัมพนั ธก ับแผนงานดว ย การ
กาํ หนดวัตถุประสงคและเปาหมายทด่ี ใี หมีผลอยางจริงจัง ในทางปฏบิ ตั ิควรกําหนดไวใ น เชิงปริมาณ เพราะการ
กาํ หนดไวในเชงิ คณุ ภาพนัน้ ยากท่วี ัดได
2. กําหนดวิธดี ําเนินการหรือกจิ กรรม เปน การกําหนดแนวปฏบิ ัตวิ า จะทาํ อะไร
อยา งไรบางตามลาํ ดับ กาํ หนดตัวบคุ คลผูรับผดิ ชอบ กําหนดเวลาในการปฏบิ ตั ิ และวิธีประเมนิ ผล

3. กาํ หนดคาใชจาย จะตองใชง บประมาณสําหรบั ดาํ เนนิ การเทาใด ตองคาํ นวณให
ละเอียดทุกแงทุกมุม และตองใชทรัพยากรอะไรบาง

ข้ันที่ 4 การปฎบิ ัตติ ามแผน คือ การนาํ แผนออกปฏิบตั ิ ซงึ่ ตอ งใชก ระบวนการบริหารตา งๆ
ไดแก การจัดระบบงาน การจดั วางตัวบคุ คล การอํานวยการ การส่ังการ การตรวจนิเทศ การควบคมุ หลกั
ทว่ั ไปในนาํ แผนออกปฏิบัตมิ ดี งั นี้

1. หวั หนา งานและผูปฏบิ ตั ิตอ งศึกษาแผนใหเขาใจเสียกอ น เชน เขาใจจุด
ประสงค ตองรวู า ทาํ อะไร เม่ือไร มีใครรวมงาน มงี บประมาณมากนอยเพียงใด

2. หัวหนางานตองแบงหนาทคี่ วามรับผดิ ชอบใหผปู ฏิบัติอยา งชัดเจน
3. ชีแ้ จงการปฏบิ ตั งิ านตามแผนใหทราบโดยละเอยี ด เพ่ือพรอมจะปฏิบตั ิงานได
4. จะตองมกี ารประสานงานระหวางหนว ยงานหรือบุคคลทเี่ ก่ยี วขอ งใหงาน
สมั พนั ธต อ เนื่องกันไป
5. จัดใหมีการควบคมุ การปฏบิ ตั ิงานใหเปน ไปตามแผน
6. จดั ทาํ ปฏทิ นิ ปฏิบตั ิงานใหผูเกี่ยวของทราบ
ขั้นที่ 5 การประเมนิ ผล เมื่อไดดาํ เนนิ การตามแผนไประยะหน่ึงควรมกี ารตรวจสอบประเมินผลงาน
การประเมนิ ผลทน่ี ิยมทาํ กันคือ ประเมินในระยะคร่งึ เวลาของแผนและในเวลาสน้ิ สดุ ของแผน เพื่อใหรูจดุ ออน จุด
แขง็ ขอบกพรอ งและอุปสรรคตางๆ จะไดแ กไขปรบั ปรุงแผนใหดตี อไป

หลักการท่ัวไปทีใ่ ชเปนแนวทางในการประเมนิ ผลมีดงั น้ี
1. ศึกษาจดุ ประสงคหรือเปา หมายของแผนใหเ ขา ใจ
2. เลอื กวิธีการประเมนิ ท่เี หมาะสมมาใช เชน การสังเกต การสัมภาษณ การใชส ถิติ
3. รวบรวมขอ มลู ทเี่ กีย่ วกับการปฏบิ ตั ิตามแผน
4. เปรียบเทียบผลที่ไดกับจดุ ประสงค เปาหมาย และมาตรฐานทก่ี าํ หนดไว
5. รายงานการประเมนิ ผลตอผูบริหารหรือผูบังคับบญั ชาที่เกีย่ วขอ ง

2.2 การจัดองคก าร (Organizing)
2.2.1 ความหมายของการจดั องคการ การจดั องคการ หมายถงึ การกําหนดโครงสรา งของ

องคการอยา งเปนทางการโดยการจัดแบง ออกเปนหนว ยงานยอ ยตางๆ กําหนดอํานาจหนา ทีค่ วามรับผิดชอบของ
แตละหนวยงานไวใหช ดั เจน รวมท้ังความสมั พันธระหวา งหนว ยงานยอยน้นั ทั้งน้เี พือ่ ใหเ ออ้ื ตอการดําเนนิ งานให
บรรลุวัตถุประสงคขององคการอยา งมีประสทิ ธิภาพ

2.2.2 ความสาํ คัญของการจัดองคก าร องคก ารเปนท่ีรวมของคนและเปนทีร่ วมของงานตางๆ
เพอ่ื ใหพ นักงานขององคก ารปฏิบตั งิ านไดอยางเต็มทีแ่ ละเต็มความสามารถจึงจาํ เปน ตอง จัดแบงหนา ที่การงานกนั
ทาํ และมอบอาํ นาจใหร ับผดิ ชอบตามความสามารถและความถนัด ถา เปนองคก ารขนาดใหญและมคี นมาก
ตลอดจนงานทีต่ องทาํ มมี าก ก็จะจดั หมวดหมขู องงานทีเ่ ปนอยางเดียวกนั หรอื มีลักษณะใกลเคยี งกนั มารวมเขา
ดว ยกนั เรียกวา ฝายหรอื แผนกงาน ดังนั้นจะเหน็ วาการจดั องคก อ ใหเกดิ ประโยชนดงั นี้

ประโยชนตอองคการ
1) การจัดโครงสรางองคก ารทีด่ แี ละเหมาะสมจะทําใหอ งคก ารบรรลุวัตถุประสงคแ ละ

เจรญิ กาวหนา ข้นึ ไปเรื่อยๆ
2) ทําใหง านไมซา้ํ ซอนไมมแี ผนกงานมากเกินไปและเปนการประหยัดตน ทนุ
3) องคก ารสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมท่เี ปลย่ี นไปไดงา ยตามความจาํ เปน

ประโยชนต อ ผูบริหาร
1) ทาํ ใหการบริหารงานงาย สะดวก รวู า ใครรบั ผิดชอบอะไร มีหนา ท่ีทาํ อะไร
2) ทาํ ใหแกปญหาการทํางานซ้ําซอ นไดง าย
3) ทาํ ให สามารถตดิ ตามแกไ ขไดงาย
4) การมอบอาํ นาจทาํ ไดง าย ขจดั ปญหาการเก่ียงกันทํางาน หรือปดความรับผดิ ชอบ

ประโยชนตอ ผูปฏิบตั งิ าน
1) ทาํ ใหร ูอาํ นาจหนา ทีแ่ ละขอบขายการทาํ งานของตนวา มีเพยี งใด
2) การแบง งานใหพ นักงานอยา งเหมาะสม ชว ยใหพ นักงานมีความพอใจ

ไมเกดิ ความรูสกึ วา งานมากไปหรอื นอยไป
3) เม่ือพนกั งานรูอาํ นาจหนาท่ีและขอบเขตงานของตน ยอ มกอใหเกดิ ความ

คิดริเริ่มในการทํางาน
4) พนักงานเขา ใจความสัมพนั ธข องตนตอฝายอนื่ ๆ ทําใหสามารถติดตอ

ประสานงานกนั ไดดีย่งิ ขึ้น

2.2.3 หลักการจัดองคก าร หลักที่สาํ คัญของการจดั องคการมดี ังตอ ไปน้ี
1) การกาํ หนดหนา ท่ีการงาน (function) น้นั ขึ้นอยกู ับวตั ถุประสงคขององคก าร

หนา ที่การงานและภารกิจ จงึ หมายถึงกลมุ ของกิจกรรมทตี่ องปฏบิ ัติเพอ่ื ใหบรรลวุ ตั ถุประสงคข ององคก าร หนาท่ี
การงานจะมอี ะไรบา งและมกี ่ีกลุมขึน้ อยูกับเปา หมายขององคก าร ลักษณะขององคก าร และขนาดขององคก าร

2) การแบง งาน (division of work) หมายถงึ การแยกงานหรือรวมหนาท่ี
การงานที่มีลักษณะเดยี วกนั หรอื ใกลเคียงกนั ไวดว ยกัน หรอื แบงงานตามลกั ษณะเฉพาะของงาน แลว มอบงาน
นนั้ ๆ ใหแกบุคคลหรือกลุมบุคคลท่ีมีความสามารถหรอื ความถนดั ในการทาํ งานนั้นๆ โดยตั้งเปน หนวยงานยอย
ขน้ึ มารับผิดชอบ

3) สายการบังคบั บัญชา (chain of command) หมายถงึ ความสมั พันธต ามลําดบั

ช้ันระหวา งผบู ังคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชา เพอ่ื ใหทราบวา การติดตอสื่อสารมที างเดนิ อยางไร มีการควบคมุ
และรับผิดชอบอยางไร สายการบงั คบั ทดี่ คี วรมีลกั ษณะดังนี้

- จํานวนระดบั ชนั้ แตละสายไมควรใหม ีจํานวนมากเกนิ ไป จะทาํ ให
ไมสะดวกแกก ารควบคมุ อาจทําใหงานค่งั คา งได

- สายบงั คับบัญชาควรมลี กั ษณะชัดเจนวาใครเปนผูมีอาํ นาจส่ังการและสั่งไปยัง
ผูใด ในทาํ นองเดยี วกนั ถาจะมีการรายงานจะตองรายงาน ตอใคร

- สายการบงั คบั บญั ชาไมค วรใหมีการกา วกา ยกนั หรือซอนกนั งานอยา งหนึ่งควร
ใหม ผี ูรับผิดชอบเพียงคนเดียว ถาใหม ีผูสัง่ งานไดหลายคนหลายตาํ แหนง ในงานเดยี วกันจะทําใหการปฏิบัติงาน
สบั สน

2.2.4 รปู แบบโครงสรางขององคก าร (organization structure)
รปู แบบโครงสรา งขององคก ารธรุ กิจ หมายถึงภาพรวมของหนว ยงานยอ ยและ

ความสมั พันธของหนวยงานยอ ยในองคการ โครงสรา งท่ีเปนพนื้ ฐานทั่วไปมดี ังนี้
1) โครงสรางองคก ารแบบงานหลกั เปน การแบงหนวยงานยอยออกตามลักษณะ

ภารกจิ หลกั ขององคการ การควบคมุ บงั คับบญั ชาแยกออกเปน สายงานโดยตรงลักษณะไมซับซอนมากนัก ไมมี
หนวยงานที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการ
สว นมากจะเปนการจัดองคการของบริษัทเล็กๆ หรือหางหุนสว นขนาดเล็กในการปฏิบัตงิ านถามปี ญหาใดๆเกิดขนึ้
จะปรึกษาหารือเฉพาะในสายงานของตนเทา นัน้

ผู้อํานวยการ

ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายขาย ฝ่ ายบคุ คล
พนักงาน พนักงาน
พนักงาน พนักงาน พนักงาน

โครงสรางแบบงานหลกั

ขอ ดี 1. ลกั ษณะโครงสรา งเขาใจงา ย
2. สายการบังคับบัญชาชดั เจน
3. สะดวกตอการควบคมุ แตการประสานงานมีจํากดั
4. อํานาจหนา ทข่ี องทุกคนในองคก ารชดั เจน
5. สายการตดิ ตอรวดเร็ว

ขอ เสยี 1. ผบู ริหารตองรบั ภาระมากเพราะการควบคุมเปน ไปโดยตรง
2. ขาดการทํางานตามลกั ษณะเฉพาะ ไมมผี ูเช่ยี วชาญเฉพาะ

3. การดาํ เนนิ งานไมอาจครอบคลุมเน้อื ทที่ ้ังหมดเพราะถูกจํากดั ดว ยโครงสรา ง

2) โครงสรา งองคก ารแบบงานหลกั และงานท่ีปรึกษา การจัดองคการแบบงานหลกั และงาน
ท่ปี รึกษานี้มที ง้ั หนว ยงานหลักและหนว ยงานทปี่ รึกษาชวย แกปญหาในเร่ืองการขาดคําแนะนําปรึกษา หนว ยงานท่ี
ปรึกษามักเปน ผูเชย่ี วชาญเฉพาะงาน ทําใหการบริหารงานขององคก ารมีประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ เปนการแบงเบา
ภาระหนาทข่ี องผูบริหาร ซ่ึงถาไมมีสายงานทป่ี รึกษาผูบ ริหารจะตอ งรับผดิ ชอบงานทุกชนดิ รวมท้ังงานเทคนคิ
เฉพาะอยางดวยหนว ยงานทีป่ รึกษาคอื ฝา ยวางแผนและวิจยั และฝา ยตรวจสอบ

ผู้จัดการใหญ่ คณะทปี รึกษา

ฝ่ ายวางแผน ฝ่ ายตรวจสอบ

ฝ่ ายผลติ ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายการเงนิ ฝ่ ายบคุ คล

จัดซือ ผลติ การขาย การโฆษณา การเงิน บัญชี สรรหา ค่าจ้าง

โครงสรา งองคก ารแบบสายงานหลกั และงานท่ีปรกึ ษา

ขอดี 1. มหี นวยงานที่จะใหคําปรกึ ษาโดยเฉพาะ ทาํ ใหค วามผดิ พลาดลดลง
2. ชว ยแบง เบาภาระของผูบริหาร
3. การตัดสินใจถูกตอ งแมนยาํ มากข้นึ

ขอ เสีย 1. อาจเกดิ การขัดแยงระหวางหนว ยงานหลกั และหนวยงานทป่ี รึกษา
2. ผบู รหิ ารอาจขาดความหมายหากหนว ยงานทปี่ รกึ ษามีบทบาทมาก
3. การติดตอ ส่อื สารและการดาํ เนินงานลา ชา
4. พนกั งานอาจไมแนใจวาจะทาํ ตามคาํ แนะนาํ หรอื คําส่ังของใคร

3) โครงสรางองคการแบบหนาทีก่ ารงานเฉพาะ เปนการจดั รูปแบบงานโดยแบงไปตาม
ประเภทของงาน เพอื่ แสดงใหเหน็ วาแตละแผนกงานมหี นาท่ตี องทาํ อะไรเหมาะสําหรับบริษัทขนาดกลาง ท่ีหนา ท่ี
การงานแยกกนั อยา งชดั เจน

ผู้จัดการใหญ่

ฝ่ ายจัดซือ ฝ่ ายผลติ ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายบคุ คล

โครงสรางแบบหนา ทก่ี ารงานเฉพาะ

ขอดี 1. การดาํ เนินงานรวดเร็ว สมํ่าเสมอ
2. การประสานงานภายในแตล ะสายงานดี
3. ประหยัด

ขอ เสีย 1. อาจเกิดการเผด็จการข้ึนในแตล ะฝา ย
2. การประสานงานขององคก ารยุงยากเพราะมีหัวหนาหลายคน
3. เอกภาพขององคการอาจเสียไป

4) โครงสรา งองคก ารแบบเมทรกิ (Matrix Organization) เปนการจดั รปู แบบโครงสรา ง
โดยการผสมผสานโครงสรางแบบตา งๆ เขา ดวยกัน เพ่ือดําเนนิ งานท่มี ีลักษณะซับซอ นยุงยากตองการทักษะและ
ความชาํ นาญในดานเทคนิคสงู มาก ในชวงระยะเวลาหน่ึง โดยจัดหนว ยงานตามหนาทแี่ ละทีมโครงการ
สมาชกิ ของทีมโครงการจะถูกรวบรวมจากแผนกตางๆ มาอยูภายใตก ารอํานวยการของ ผบู ริหารโครงการ
ผูบ รหิ ารโครงการจะตองรับผิดชอบตอความสาํ เร็จของโครงการและมีอํานาจหนา ท่ีตอ สมาชิกคนอน่ื ๆขององคกร
เมอื่ โครงการสาํ เร็จเรยี บรอยแลวสมาชกิ ของทมี งานรวมท้ังผูบริหารโครงการจะกลับไปยังแผนกงานเดมิ

ผู้บริหารสูงสุด

ฝ่ ายขาย ฝ่ ายผลติ เงินทุน วจิ ัยและพัฒนา

โครงการ เอ โครงการ บี

ขาย เอ ผลติ เอ ทุน เอ วจิ ัยพัฒนา เอ ขาย บี ผลิต บี ทุน บี วิจัยพัฒนา บี

โครงสรา งแบบเมทรกิ

2.3 การจดั การงานบคุ คล (Staffing)
2.3.1 ความหมายและความสําคญั ของการจดั การงานบุคคล

การจดั การงานบุคคล หมายถงึ การสรรหาและคัดเลอื กบคุ คลทีม่ คี วามรู ความสามารถ
และมีคุณสมบัตทิ ี่เหมาะสมกับงาน มกี ารพฒั นาความรคู วามสามารถของพนักงานตลอดจนสวสั ดิการเพอ่ื จูงใจตอ
การปฏิบัติงานของพนักงาน

ความสาํ คัญของการจัดการงานบุคคล เนือ่ งจากบุคคลเปนทรัพยากรที่สําคญั ท่ีสุดอันจะ
นาํ มาซง่ึ ความสาํ เร็จหรือความลมเหลวขององคการธรุ กิจได ดงั น้ันการจัดคนเขา ทาํ งานจึงมีความสําคัญ ดังนี้

1) จะชวยสรางความม่ันคง และความเจริญเติบโตใหแกธุรกิจ เพราะการพจิ ารณา
คัดเลอื กจะบรรจุบคุ คลทมี่ ีคุณสมบัติ ความรู และความสามารถอยางเหมาะสมกับงานแลว บคุ คลนั้นจะชว ยสราง
งาน และเพิ่มผลผลิตหรอื ผลประโยชนสูงสุดแกอ งคการ ซ่ึงจะเปน พื้นฐานสาํ คญั สูก ารขยายงานใหเติบโตตอไป

2) จะชว ยสรา งขวญั และกาํ ลงั ใจแกพนักงาน เพราะการจา ยคา ตอบแทนอยา ง
เหมาะสม การพิจารณาใหสวสั ดกิ ารอยางเพยี งพอ พนักงานไมตองเดือดรอ นเร่อื งความเปนอยแู ละการทํางาน
พนกั งานกย็ อ มมีขวญั และกาํ ลังใจในการทํางานซ่งึ จะสงผลติ ซ่งึ จะสง ผลตอการปฏบิ ตั ิงานและผลงานที่ไดรบั
โดยตรง

3) จะชว ยสรา งความสัมพนั ธท ่ดี ีระหวางพนักงาน และผูบริหาร เพราะการจัดบคุ คล
เขา ทํางานตองมีการวางแผน การสง่ั การและการควบคุมพนักงานอยา งมีระบบและมีประสทิ ธิภาพ การสรา ง
ระเบียบปฏิบัตทิ ่ีเหมาะสมกบั สภาพของการประกอบการและการใหความชว ยเหลือแกพนักงานในดานตางๆ ก็
เปน หนา ท่ีโดยตรงของเจา หนา ท่ีฝา ยบคุ คล

4) เปนแหลง ขอ มลู เกีย่ วกบั พนกั งานทง้ั หมดของสถานประกอบการ เพราะฝาย
จัดบุคคลเขา ทาํ งานมีหนา ที่เก็บแฟมประวัตขิ องพนกั งาน ซงึ่ นอกจากจะมีรายละเอยี ดประวตั ิสว นตัว ประวตั ิการ
ทํางาน การฝกอบรม ซึ่งนอกจากจะมีรายละเอยี ดประวัติสว นตัว ประวตั กิ ารทํางาน การฝกอบรม การลา และ
ฝายจัดบคุ คลเขา ทาํ งานยงั รวบรวมสถิติตา งๆ เกี่ยวกบั พนกั งานดว ย

5) เปนการประเมนิ ผลงานของพนักงาน เพื่อพิจารณาการเพ่มิ รายได การให
สวัสดิการ การอบรมความรูความสามารถ

2.4 การอาํ นวยการ (Directing)
2.4.1 ความหมายของการอาํ นวยการ ไดม นี ักวชิ าการหลายทานใหความหมาย ไว เชน
เออรเนสต เดล ใหค วามหมายวา การอาํ นวยการหมายถึงการท่ผี ูบังคบั บญั ชาชี้แนะ

และตรวจตราดแู ลการทาํ งานของพนักงานหรอื เจาหนา ท่ี

คริส อารจริ ิส (Chris Argyris) ใหความเห็นวา การอาํ นวยการท่ดี ีจะตอ งคาํ นงึ ถึงขวญั
กําลงั ใจ และความพงึ พอใจในการทํางานของผูปฏิบตั ิงาน

โดยสรุป การอํานวยการ หมายถึง การส่ังการ การนเิ ทศงานและการติดตามผลเพอ่ื ให
การดาํ เนินงาน เปนไปตามแผนหรือเปาหมายทก่ี าํ หนดไว

สาํ หรับการอํานวยการทางธรุ กิจเกษตร หมายถึง การทผ่ี ูบริหารธรุ กจิ เกษตร สั่งหรอื
ชแ้ี นะลกู นองหรือผใู ตบังคับบัญชาใหป ฏิบตั ิงาน และคอยตรวจสอบการปฏิบัตงิ านวา ทําดีที่สดุ หรือไม

2.4.2 องคประกอบของการอาํ นวยการ องคก ารประกอบทสี่ าํ คัญของการอาํ นวยการมีดงั น้ี
1) การตดั สินใจ(Decision Making) เปน การเลอื กการดําเนนิ การท่ีเหน็ วาดที ่ีสุดจาก

ทางเลือกหลายๆทางเพอื่ ใหง านบรรลุเปา หมายไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ
2) การส่ังการ(Order) เปนเร่ืองเก่ยี วของกับการมอบหมายงานใหทําและกําหนดแนว

ทางการดําเนินงานใหแ กผ ูใตบงั คับบญั ชา โดยกําหนดวาจะตอ งทาํ อะไรบางท้ังน้ีเพ่ือใหไ ดงานตามวตั ถปุ ระสงค
3) การจูงใจ (Motivation) เปน วิธกี ารกระตนุ ใหผ ปู ฏบิ ัติงานทํางาน ซ่ึงถอื วาเปน

ภารกิจที่สําคัญของผูบริหาร อาจใชวิธีการใหรางวัล การจัดสวัสดิการที่ดี การใหโ อกาส ความกาวหนา ในตาํ แหนง
หนาที่การงาน ซ่ึงจะทําใหกจิ การเกดิ ความเจรญิ กาวหนา และสาํ เร็จตามวตั ถปุ ระสงค

4) ความเปน ผูนํา (Leadership) คอื ความสามารถในการทาํ ใหบ คุ คลอื่นกระทําสิ่งใด
สงิ่ หนง่ึ คลอ ยตามความประสงคข องตน เพอื่ ทําใหองคการเจริญเตบิ โตหรอื ประสบความสาํ เร็จตามเปา หมาย
ลกั ษณะและคณุ สมบัติของผนู าํ ทดี่ ีควรมดี งั ตอ ไปนี้

- มบี ุคลิกลกั ษณะดี เชน กริ ยิ ามารยาท การแตงกาย
- มคี วามปรารถที่จะเปนผนู าํ
- มีความรคู วามเขา ใจเกี่ยวกับงานท่ีทาํ
- มคี วามเชอ่ื มนั่ ในความคิดเหน็ ของตนเอง
- สามารถรูถ ึงจิตใจคนอน่ื เพอื่ ท่จี ะหาทางโนมนาวจิตใจเขาได
- มคี วามเทยี่ งธรรม
- มคี วามศรทั ธาตองานและผรู วมงาน
5) การตดิ ตอสื่อสาร (Communication) เปน การสงขา วสารขอมูลจากบุคคลหนึ่งไปยังอกี
บคุ คลหนึ่ง หรือหลายคนในธรุ กิจเกษตร โดยมีจดุ มุงหมาย ใหอกี ฝา ยหน่ึงเขาใจในขา วสารขอมูลน้ัน ทั้งนเ้ีพ่ือจะได
มกี ารปฏิบัติ การโตต อบไดอ ยางถกู ตอ งการสื่อสาร ตอ งจดั ระบบส่อื สาร จดั ผูสงและผรู ับขาวสารใหพรอ ม
เน่อื งจากการตดิ ตอ ส่อื สารทด่ี จี ะทําใหก ารดําเนินงานขององคการราบร่นื ไปสเู ปาหมาย ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
6) การนเิ ทศงาน (Supervision) เปนการควบคมุ การปฏบิ ตั ิงานโดยหวั หนางานรวมถึง
การตรวจเยยี่ มและแนะนาํ การทํางานดวย ดังนั้นผูนิเทศงานจะตองมีมีความรูในงานนั้น เปน อยา งดี สามารถ
อธบิ ายอยา งมีเหตุผลเพ่ือใหเ ห็นจรงิ ที่จะใหผูปฏิบัติงานทําตามคาํ แนะนาํ สามารถขจดั ปญหาตางๆ เก่ยี วของได
เพ่ือความสาํ เร็จตามวตั ถุประสงคข องกิจการ
2.4.3 ลักษณะทด่ี ขี องการอาํ นวยการ การอาํ นวยการหรอื การสัง่ การของผูบ รหิ ารธุรกิจเกษตร
ที่ดีควรมีลักษณะดังน้ี
1) ทําเปนลายลักษณอ กั ษร เพือ่ ใหผอู ยูใตบงั คับบัญชามโี อกาสทราบคําส่ังมากข้ึนอีกทัง้ ยัง
เปน การทาํ ใหเกดิ ความระมดั ระวังในการสง่ั การดว ย
2) ควรคํานึงถงึ ความรคู วามสามารถประสบการณของผูร ับคาํ สั่ง

ชดั เจน 3) ควรแจง ใหผูรบั คาํ สงั่ ทราบจดุ ประสงค วิธีปฏบิ ัติ ผลงานที่ตองการและระยะปฏิบตั ิให
ในการปฏบิ ตั ิงาน 4) ควรมกี ารหารือรวมระหวา งหวั หนางาน กบั ผูรบั คาํ สั่ง เพื่อเปน การกระตุน

2.5 การประสานงาน (Co-ordinating) ในองคการขนาดใหญท มี่ ีการจัดองคก ารยุงยากซับซอ น
หนว ยงานยอยปฏบิ ัติหนา ทีต่ ามลักษณะเฉพาะของงาน เชน ระบบราชการ และบรษิ ทั ขนาดใหญการประสานงาน

นับเปน สงิ่ จําเปนและสําคัญอยา งยงิ่ ผูบริหารตอ งพยายามหาวิธีสรา งใหเกิดใหเ กดิ การประสานงานขนึ้ เพ่ือใหการ
ปฏบิ ตั งิ านดําเนนิ ไปโดยราบร่ืน รวดเร็ว ประหยดั และมปี ระสิทธภิ าพ

2.5.1 ความหมายของการประสานงาน

การประสานงาน (Co-ordination) หมายถึง การจัดระเบียบการทํางานและสมั พนั ธ
ตางๆ เพือ่ ใหงานและเจา หนาท่ีฝายตา งๆ รว มมือปฏิบัติการเปน น้ําหน่ึงใจเดียวกนั ไมทาํ ใหง านซ้ําซอ นกัน และ
ไมใ หม กี ารขัดแยงกันหรอื เหล่อื มลาํ้ กัน ทั้งน้ีเพอ่ื ใหง านดาํ เนินงานเปน ไปอยา งราบรน่ื สอดคลองกับวตั ถปุ ระสงค

ขององคการน้ัน

2.5.2 การประสานงานมุง ประสานอะไร
สง่ิ สําคญั ของการประสานงานมีดงั ตอ ไปน้ี
1) ประสานนโยบายหรอื วตั ถุประสงค ในองคการ

2) ประสานเจา หนาท่ีผปู ฏิบัติ องคการโดยทวั่ ไปมีบคุ ลากรจาํ นวนมาก ซง่ึ แตล ะคนมี
ความรู ความสามารถ ทศั นคติ และนสิ ยั ตางกนั จําเปน ตองมีการประสานงานใหเกดิ ความเขาใจอนั ดีตอ กนั มฉิ ะนั้น
ยอ มจะเกดิ ความขัดแยงกัน

3) ประสานการใชเ งนิ และวัสดุ คือการจัดงบประมาณและวัสดใุ หไดส ดั สวนกนั
และจัดเตรยี มไวใ หทันฤดูกาลทํางาน

4) ประสานกระบวนการปฏบิ ัติงาน การปฏบิ ัตงิ านตา งๆ เชน การจัดรปู งาน การแบง

หนาที่ความรับผดิ ชอบ ตอ งเหมาะสมและสอดคลอ งกบั วัตถุประสงคแ ละนโยบายขององคการ
2.5.3 วธิ ปี ระสานงาน วธิ ีประสานงานพิจารณาไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คอื การประสานงานภายใน

องคก าร และประสานงานระหวา งองคการ

1) การประสานงานภายในองคก าร มหี ลายวธิ ดี ว ยกัน จะใชวิธีใดยอ มสุดแลวแต
สภาพแวดลอ มและขอ จํากัดขององคการนนั้ ๆ แตถ าพยายามใหใชหลายๆวิธีพรอ มกนั ยอมจะไดป ระโยชนมาก
ทีส่ ุด วธิ ปี ระสานงานภายในองคการ หลกั ใหญๆ ดงั นี้

- การจดั แผนผงั และกาํ หนดหนาทก่ี ารงาน โดยจัดใหมีทุกระดบั และให
ถกู ตองเปน ปจจุบันเสมอ ทําใหเปนหนว ยงานและสายบังคับบญั ชาชัดเจน

- การจดั ระเบยี บงาน เปนเครอ่ื งชว ยการประสานงาน ซึง่ จัดงานซับซอ น

และเปน มาตรฐานในการปฏบิ ัตงิ าน
- การจดั ระบบการสอ่ื สารภายในใหม ีประสิทธิภาพ สะดวกท่ีจะติดตอ

ซกั ถามความเขาใจเมอื่ เกิดปญ หา

- การใชคณะกรรมการเพ่อื เปนท่ีปรกึ ษาหรอื กล่ันกรองงาน การประชมุ

กันอยางสมํ่าเสมอยอมสรา งความเขาใจในการปฏบิ ัติหนา ท่ีการงานการประสานงานจะดขี ้นึ เพราะคณะกรรมการ
มกั จะประกอบดว ยบคุ คลหลายฝาย

- การฝกอบรมจะชว ยการประสานงานไดด ี เพราะระหวางดําเนนิ งานอาจ
มกี ารเปลีย่ นแปลงตวั บคุ คลหรอื บรรจคุ นใหมเ ขาทาํ งาน

- การมอบอํานาจใหผูบริหารขน้ั รองลงไปไดใ ชดลุ ยพนิ ิจตามสมควรจะ
ชว ยใหการประสานไดร วดเร็วขึน้

- การตดิ ตอ อยางไมเปน พธิ ีการ บางคร้ังถา ติดตอเปนทางการจะทาํ ใหการ
ปฏบิ ตั งิ านลา ชา เกิดผลเสยี

2) การประสานงานระหวางองคก าร อาจกระทําไดดงั น้ี
- ต้ังคณะกรรมการผสมหรอื คณะกรรมการกลาง จะชวยกล่นั กรองและขจดั มูลเหตุ

แหง การขัดแยง ลงไดมาก
- กําหนดสิทธิและหนาที่ระหวางองคการไวใหชัดเจน จะลดปญหาการซับซอนงาน

และการกา วหนา ท่กี ันไดม าก

2.6 การรายงานผล (Reporting)
การรายงานผล เปน การรวบรวมขอ มูลเกี่ยวกบั การปฏิบัตงิ านของพนักงานในแผนกหรือ ฝา ยตางๆ

ขององคการธรุ กิจ วา บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมายขององคก ารหรอื ไม อาจจะแสดงไวใ นรายงานกิจการในรอบ
ปที่ผา นมาวา มีกําไรหรอื ขาดทนุ สทุ ธเิ ทาไร และแสดงงบดุลประจาํ ปท ี่ผา นมา นอกจากน้นั อาจรายงานถึงอุปสรรค
และขอขัดของตางๆ ดว ยความสําเร็จของการจดั การองคการธุรกิจ ยอ มขนึ้ อยกู ับการไดรับขอ มูลและรายงาน
ทางการเงินท่ีถูกตอง โดยเฉพาะขอมลู ทางการบัญชีเปนขอ มลู ท่ีสาํ คญั ที่จะชวยใหก ารตดั สินใจของผบู ริหารงานให
มีประสิทธิภาพมากขน้ึ การจัดระบบรายงานผลท่ีเชื่อถือได ยอ มจะชว ยใหก ิจการหรือองคการธรุ กิจมีความมั่นคง
และสามารถพัฒนากิจการหรอื องคก ารไดม าก

2.7 การงบประมาณ (Budgeting)

การวางแผนทางการเงินของธุรกิจ คือ การจดั ทํางบประมาณ ซ่ึงถอื วาเปน สิง่ สาํ คัญมาก
การจัดทํางบประมาณอาจทาํ ขนึ้ ในแตละแผนกและในสวนรวมกิจการ งบประมาณเปน การคาดหมาย การรับ
จายเงนิ ชว งระยะเวลาหน่ึง งบประมาณของบรษิ ัทโดยทัว่ ๆไป เปนการรวมงบประมาณของแผนกตา งๆ ซ่งึ
ประกอบดวยงบประมาณเงนิ สด งบประมาณกาํ ไร งบประมาณเงนิ ทุน การจดั ทาํ ประมาณจึงเปน การประมาณ
การทางการเงินใหถูกตอ งมากที่สดุ แตผ ลการดําเนินการจรงิ อาจไมตรงกบั ท่ีประมาณไวก็ได งบประมาณท่ี
จัดเตรยี มไวแลว เปน อยางดีจะชว ยฝา ยบริหารไดหลายทาง ประการแร เปน แนวทางในการวางแผนการดําเนินงาน
ทางการเงิน ประการท่สี องกําหนดขดี จาํ กดั ของรายจา ยของแตล ะแผนกงาน ประการสําคัญท่ีสดุ คือ สงเสรมิ
ใหพนักงานระดับบริหารไดม ีการวเิ คราะหการดําเนนิ งานตางๆ อยางระมดั ระวังยิง่ ขึน้ ผลการวเิ คราะหอาจ
นํามาใชในการตัดสินใจขยายหรือจาํ กัดงบประมาณ

2.7.1 งบประมาณประเภทตา งๆ
1) งบประมาณขาย เปน งบประมาณที่สําคัญที่สุดทตี่ องทาํ กอนงบประมาณอ่ืนๆ

การประมาณยอดขายจาํ เปนตองพิจารณาปจจยั หลายอยา ง เชน ผลิตภณั ฑใ หก ารเปล่ยี นแปลงวิธผี ลติ ตลอดจน
สภาวะเศรษฐกิจของประเทศ การเปลีย่ นแปลงก็ตองนาํ มาพิจารณาประกอบดวย การจัดทาํ งบประมาณการขาย
เปนการประมาณการขายลว งหนา อาจใหพนกั งานขายเปน ประมาณยอดขาย หรอื อาจใชส ถิตขิ องการขายจาก
กอนๆ ทผี่ า นมาเพ่ือเปน แนวทาง ผูจ ัดการฝา ยขายเปน ผูท เี่ หมาะสมท่ีสดุ ในการทาํ งบประมาณขาย

2) งบประมาณการผลติ มีจุดประสงคเพื่อใหแ นใจวามีจํานวนผลผลติ เพยี งพอ
ในสต็อกที่จะนําออกขายไดทนั ที การทาํ งบประมาณการผลิตตองคาํ นงึ ถึงปริมาณการขาย ความสามารถของ
เครื่องจกั ร จํานวนวสั ดแุ ละนโยบายควบคมุ การผลติ รวมทงั้ อตั รากําลังคนดวย นอกจากนี้ยังตองประมาณการ
ตนทุนของผลผลิตดวย

3) งบประมาณคา ใชจา ย แยกเปนคาใชจา ยในการบรหิ าร ซึ่งเปน คา ใชจา ยคงท่ีและ
คา ใชจายในการขาย ไดแ ก คาพาหนะ คา โฆษณา และสงเสรมิ การขายการทาํ งบประมาณคาใชจ า ยในการขาย
จะตอ งคํานงึ ปริมาณการขายดว ย

4) งบประมาณเงินสด ประกอบดว ย 2 สวน คือ การประมาณรายไดจ ากการขายผลติ
และประมาณรายจายเงินสดท่จี ะเปน คา ใชจ ายสําหรบั แรงงาน วัสดุ และคา ใชจ า ยในการผลติ งบประมาณเงนิ สด
เปน งบที่สาํ คัญที่สดุ ตอ งประมาณการดว ยความรอบคอบอยางสงู เพราะเปน การคาดคะเน เงินสดที่จะรับเขามา
และจา ยออกไป การวางแผนประมาณเงนิ สดท่แี มน ยําจะชวยเพิม่ ความสามารถของ เจาหนา ท่ีการเงนิ ในการ
วางแผนวา รายการใดจําเปน ตอ งกยู ืมเมอื่ ใด

5) งบประมาณอตั รากําลัง จะชว ยใหงบประมาณการผลิตสะดวกขึ้น การผลิตจะ
ไดตรงเปาหมายในการประมาณจาํ นวนคนและตองคํานึงถึงเวลาในการฝกอบรมคนใหม และจํานวนคนท่ีเกีย่ วของ
กับการผลิตโดยออ ม

6) งบประมาณการซ้ือวัสดุ เปน การวางแผนการซอ้ื วสั ดุใหสัมพันธก บั งบประมาณการผลิตซึ่ง
จะตองคํานงึ ถึงสิ่งตางๆ เชน นโยบายการควบคมุ วัสดคุ งคลงั นโยบายการซอื้ เพื่อใหมีวัสดุเพียงพอตอ การผลิต
และมอี ยูพ รอมเม่ือตองการใช

****************************


Click to View FlipBook Version