The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

agri business

agri business

วิชาการจัดการธุรกิจเกษตร

หน่วยที 1

เรือง ความรู้ทัวไปเกียวกับธุรกิจเกษตร

พิมลรัตน์ ติณสิริสุข

ใบความรู้

วิชาการจัดการธุรกิจเกษตร รหัสวิชา 3500-0102
หน่วยที 1 เรอื งความรู้ทวั ไปเกียวกับธุรกิจเกษตร

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของของการจัดการ
2. ความสําคัญของธุรกิจ
3. ความหมายของธุรกิจเกษตร
4. ความสําคัญของธุรกิจเกษตร
5. ประเภทของธุรกจิ
6.ปัจจัยพืนฐานปัจจัยทีสําคัญในการทําธุรกิจเกษตร
7. สภาวะแวดล้อมของธุรกิจเกษตร

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับความหมายของของการจัดการ
2. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกียวกับความสําคัญของธุรกิจ
3. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกียวกับความหมายของธุรกจิ เกษตร
4. มีความรูค้ วามเข้าใจเกียวกับความสําคัญของธุรกิจเกษตร
5. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกียวกับประเภทของธุรกิจ
6. มีความรูค้ วามเข้าใจเกียวกับปัจจัยพืนฐานปัจจัยทีสําคัญในการทํารธกุ ิจเกษตร
7. มคี วามรู้ความเข้าใจเกียวกับสภาวะแวดล้อมของธุรกิจเกษตร

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของของการจัดการได้

2. อธิบายความสําคัญของธุรกิจได้

3. อธิบายความหมายของธุรกิจเกษตรได้

4. อธิบายความสําคัญของธุรกิจเกษตรได้

5. อธิบายประเภทของธุรกิจได้

6. อธิบายปัจจัยพืนฐานปัจจัยทีสําคัญในการทําธุรกจิ เกษตไรด้

7. อธิบายสภาวะแวดล้อมของธุรกิจเกษตรได้

เนื อหาสาระ

1. ความหมายและความสําคัญของการจัดการธุรกิจเกษตร
1.1 ความหมายของการจัดการ
การจัดการ คือ กระบวนการทีผู้จัดการใช้ศิลปะและกลยุทธ์ต่างๆดําเนินกจิ กรรม

ตามขั นตอนต่างๆโดยอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของสมาชิกภายในองค์การ
1.2 ความหมายของคําว่าธุรกิจ (Business)
ธุรกิจ (Business)” คือ “ การดําเนินกิจกรรมในด้านผลิต( productions ) การจัดจําหน่าย(

distributions) และการบริการ ( business services ) ”
1.3 ความหมายของคําว่า “ธุรกิจเกษตร” (Agribusiness) หมายถงึ “ การดําเนินงานทั งหลายในด้านที

เกียวกับการผลิตการจัดจําหน่ายปัจจัยการผลติ สินค้าเกษตรกิจกรรมระดับไร่นาการเกบ็ รักษา การแปรรูปและ
การจัดจําหน่ายสินคา้ เกษตร ตลอดจนผลิตผลพลอยได้จากสินค้าเกษตร”

1.4 ความสําคัญของธุรกิจเกษตรธุรกิจเกษตรนับวา่ มีความสําคัญกับสังคมมากไมว่ ่าจะ เป็นธุรกิจทีมี
ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เพราะว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไทยเรานั นประกอบอาชีพทางด้าน
การเกษตร ซึงย่อมมกี ารประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทีแตกต่างกันตามบทบาทของตนเอง ตั งแต่องค์การ
ระดับท้องถินจนถงึ ขนาดองค์การใหญ่ และองค์การธุรกิจ ทีทําการค้าระหว่างประเทศซึงสามารถสรุปบทบาท
และความสําคัญได้ดังนี

1.4.1 สนองความต้องการของผู้บริโภค
1.4.2 ก่อให้เกิดการว่าจ้างแรงงาน
1.4.3 ก่อให้เกิดการแบ่งงานกันทํา
1.4.4 ก่อให้เกิดการแข่งขัน
1.4.5 ก่อให้เกิดรายได้และภาษีอากร
1.4.6 ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า
1.4.7 สร้างความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี

1.4.8 ช่วยยกระดับค่าครองชีพของประชาชนให้สูงขึ น

2. ประเภทของธุรกิจ
ธุรกิจในปัจจุบันนั นได้มีการดําเนินกันอย่างมากมายการแบ่งประเภทของธุรกิจกแ็ บ่งตาม ลักษณะ

ของกิจกรรมทีจะเรี ยกกัน ซึ งสามารถจําแนกได้โดยทั วไปคือ
2.1 ธุรกิจการเกษตร ( Agriculture ) คือธุรกิจทที ําการผลิตด้านเกษตรกรรมผู้ทีประกอบธุรกิจ

ทางดา้ นนี ได้แก่ผู้มีอาชีพการทํานาทําไร่ ทําสวนทําไร่ ประมง ปศสุ ัตว์ป่ าไม้
2.2 ธุรกิจเหมืองแร่ (Mineral ) ได้แก่ธุรกิจการทําเหมือแร่การขุดเจาะ รวมถึงการนําเอา ทรัพยากร

ต่างๆ มาใช้ และรวมถึง ถ่านหิน หินนํ ามันหินออ่ น
2.3 ธุรกิจอุตสาหกรรม ( Manufacturing ) คือธุรกิจทีก่อให้เกิดการผลิต สินค้าประเภทต่าง ๆ โดย

ก่อให้เกิดการเปลยี นแปลงขนาด รูป ร่าง ของวัตถดุ ิบและก่อให้เกิดมูลค่าเพิมหรือ หมายถึง ธุรกิจการผลิต
สินค้าและเครืองอุปโภคทั วไปแบ่งแยกได้ดังนี

2.3.1 อุตสาหกรรมในครวั เรือน เป็นอตุ สาหกรรมขนาดเล็กใช้แรงงานของสมาชิกในครอบครัว
ในช่วงเวลาวา่ งจากการประกอบอาชีพหลักโดยใช้วัตถุดิบในท้องถินนั นวิธีการผลติ จึงเป็นแบบโบราณ ได้แก่
อตุ สาหกรรมทอผ้าอตุ สาหกรรมทําเครืองเขินอุตสาหกรรมทําร่มอุตสาหกรรมเครืองจกั สาน เป็นต้น

2.3.2 อุตสาหกรรมในโรงงาน หมายถึง ธุรกิจซึงผู้ผลิตทําการผลติ สินค้าจากโรงงานมีความ
แตกต่างจากอุตสาหกรรมในครวั เรือน คือ มีโรงงานเป็นหลักแหล่งมกี ารจ้างแรงงานจากแหล่งบุคคลภายนอก
มกี ระบวนการผลติ มเี ครืองมอื เครืองจักรทีทนั สมัยซึงสามารถผลติ สินค้าได้ทีละมากๆ อันได้แก่โรงงาน
ประเภทต่าง ๆ เช่นโรงงานผลิตอาหารกระป๋ องสําเร็จรูปโรงงานผลิตเสือผ้าสําเร็จรูปเป็นต้น

2.4 ธุรกิจก่อสร้าง (Construction) เป็นธุรกิจทีนําเอาสินค้าสําเร็จรูปจากธุรกิจอืนๆ ซึงเป็นผลผลิต
จากอตุ สาหกรรมทีกล่าวถึงข้างต้นมาใช้ในการก่อสร้างได้แก่ ธุรกิจการสร้างอาคาร ทีอยู่อาศัยสถานศกึ ษา
โรงพยาบาล ถนน สะพาน เขือน โรงงาน

2.5 ธุรกิจเกียวกับการพาณิชย(์ Commercial ) คือ ธุรกิจทีเป็นช่องทางในการกระจาย สินค้าจาก
ผู้ผลติ อุตสาหกรรมต่าง ๆ ไปสู่ผู้บริโภคทําให้ประชาชนทั วไปหาซือสินค้าต่างๆได้สะดวกตามปริมาณและเวลา
ทีต้องการโดยมีผู้ค้าส่งช่วยนําผลผลติ ไปยังผู้ค้าปลีกและผู้ค้าปลทีกีนําไปจําหน่ายต่อแก่ผู้บริโภค

2.6 ธุรกิจการเงิน( Finance ) ธุรกิจการเงิน เป็นธุรกิจประเภททีให้ความช่วยเหลอื ด้านการเงิน เช่น
การให้กู้ยืมทั งนี เนืองจากผู้ผลิตจําเป็นต้องมีแหล่งเงินเพือการลงทุนและถอื ได้วา่ เป็นธุรกิจทีจําเป็นอย่างยิงใน
การสนับสนุน และอํานวยความสะดวกแก่ธุรกิจประเภทอืนๆได้แก่ ธนาคารประเภทต่าง ๆ บริษัทการเงิน
บริ ษัทประกันภัยเป็ นต้น

2.7 ธุรกิจการบริการ (Services) คือธุรกิจทีทําหน้าทีในการคอยให้บริการกับคนหรือ องค์การ อืน ๆ เช่น
อูซ่ ่อมรถ คลินิก การรับขนส่ง โรงแรม

2.8 ธุรกิจอืนๆ ได้แก่ธุรกิจทนี อกเหนือไปจากทีได้กลา่ วมาแล้วข้างต้นเช่น ผู้ประกอบอาชีพอสิ ระต่าง
ๆ เช่น ครู แพทย์ เภสัช วิศวกร สถาปัตย์ ช่างฝีมือด้านต่างๆ เป็นต้น

3. ปัจจัยพืนฐานปัจจัยทสี ําคัญในการทําธุรกิจเกษตร
ในการจัดการธุรกิจเกษตรปัจจัยทีสําคัญทีมอี ิทธิพลต่อความสําเร็จของการทําธุรกิจเกษตรได้นั นผู้ทํา

ธุรกิจเกษตรจะต้องศึกษาและให้ความสนใจในด้านปัจจัยพืนฐานทสี ําคัญในเรืองต่าง ๆ ต่อไปนี
3.1 ปัจจัยภายในองค์การธุรกิจ(Internal Factors) เป็นปัจจัยทีธุรกจิ ดําเนินการจัดหาและรวบรวมมา

สามารถควบคุมและบริหารการใช้ปัจจัยเหลา่ นี ไดป้ ัจจัยภายในประกอบด้วยทรัพยากรบุคคล เงิน วัตถุดิบ
เครื องจักร การจัดการ

3.1.1 ทรัพยากรบุคคล (Man) เป็นปัจจัยทีมีความสําคัญและเป็ นหัวใจทสี ร้างและ ดาํ เนิน
กิจกรรมของธุรกิจคนในทีนี หมายความรวมถึงผู้ประกอบการตลอดจนแรงงานทั งหลายในการกําหนดหน้าที
ต่าง ๆ เพือให้คนของธุรกจิ ทํางานได้อย่างเต็มกําลังและมปี ระสิทธิภาพ

3.1.2 เงนิ (Money) หมายถึงเงินทุนของธุรกิจ ซึงอาจได้มา2 ลักษณะคือ เงินทุนหรือเงิน
ทีเกิดจากการลงทุนของเจ้าของกิจการและเงินทุนทีได้จากภายนอกกิจการเช่น การขายหุ้น การกู้ยืมมาจาก
สถาบันการเงินต่าง ๆ

3.1.3 วัตถุดิบ(Material) หมายถงึ วัตถุดิบและวัสดุสิงของต่างๆ ทีจะนํามาใช้ใน
กระบวนการผลติ ซึงเป็นปัจจัยสําคัญของการผลิตโดยเฉพาะในการผลิตสินค้าคุณภาพของสินค้าจะดีหรือไม่
ขึ นอยู่กับวัตถดุบิ ทีใช้ด้วยและค่าใช้จ่ายเกียวกับวัตถุดิบเป็นต้นทุนโดยตรงของการผลิต

3.1.4 จัดการ ( Management ) เป็นการจัดแบ่งงานภายในองค์การออกเป็นกล่มุ ๆพร้อมทั ง
กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบและอํานาจหน้าทขี องแตล่ ะกลมุ่ ไว้อย่างแน่นอน

โครงสร้างขององค์การได้รับการจัดทําขึ นเพือเป็นเครืองมอื ในการดําเนินงานใหบ้ รรลุ
วัตถปุ ระสงค์ของการประกอบการจึงมลี ักษณะทจี ะสามารถเปลียนแปลงไปได้ตามสภาวะแวดล้อมการจัด
องค์การจึงมใิ ช่เป็นกิจกรรมทกี ระทําเพียงครั งเดียวเมือธุรกิจมีขนาดใหญ่ขึ นกิจกรรมต่าง ๆ ก็จะต้องมีการ
เปลยี นแปลง ผู้ประกอบการจะต้องปรับปรุงโครงสร้างขององค์การให้มปี ระสิทธิภาพอยู่เสมอ

3.1.5 เครืองจักร (Machine) หมายถึง ทรัพย์สินถาวรทีใช้ในการผลติ หรือให้บริการ ได้แก่
เครืองจักรเครืองใช้อปุ กรณ์ต่างๆ ซึงเป็นปัจจัยทีสําคัญอกี อย่างหนึงของการผลิตเพราะ เครืองจักรเป็นแรงงาน
ทีจะช่วยให้กระบวนการผลิต ดําเนินไปอย่างต่อเนืองจนครบตามขั นตอน

3.2 ปัจจัยภายนอกองค์การธุรกิจ(External Factors) เป็นอิทธิพลจากสิงแวดล้อมภายนอกองค์การ
ธุรกิจทีมผี ลกระทบต่อการดําเนินงานเป็นปัจจัยทีไมอ่ ยู่นิงมีการเปลียนแปลง ตลอดเวลา ซึงการเปลยี นแปลง
แต่ละครั งจะมผี ลต่อองค์การธุรกิจและไม่สามารถควบคุมปัจจัยเหล่านี ได้นอกจากจะปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพการณ์เท่านั นปัจจัยภายนอกทีสําคัญได้แก่

3 .2.1 การตลาด (Market) ถ้าธุรกิจสามารถหาตลาดรักษาตลาดและสามารถขยายตลาดออกไปได้
มากขึ นย่อมหมายความถึงอนาคตทีดขี องธุรกิจด้วย

3.2.2 การแข่งขันทางธุรกิจ เป็นปัจจัยทีมผี ลต่อความสําเรจ็ ของธุรกจิ ลักษณะของการแข่งขันอาจ
เป็นการแข่งขันของธุรกิจประเภทเดียวกันหรือไม่ก็ไดใ้ นบางครั งการทําธุรกิจแตล่ ะชนิดกส็ ามารถมผี ลกระทบ
กันได้เช่น ธุรกิจผลิตรถยนต์อาจมีผลต่อการดําเนินธุรกิจผู้ผลติ รถยนต์ยีห้ออืนๆ ได้

3.2.3 ผู้บริโภคจะมีผลโดยตรงต่อธุรกิจ เช่นรสนิยมของผู้บริโภคจํานวนผู้บริโภคระดับการศึกษา
และรายได้

4. สภาวะแวดล้อมของธุรกิจเกษตร
หมายถงึ สภาวการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ นและส่งผลกระทบทั งทางตรงและทางอ้อมต่อการดําเนินงานของ

ธุรกิจทางการเกษตร เราสามารถแบ่งสภาวะแวดล้อมออกได้2 ลักษณะคือ
4.1 สภาวะแวดล้อมทคี วบคุมได้ คือ สภาวะแวดล้อมภายในทุกชนิดทีเกียวข้องกับการดําเนินงาน

ภายใน ทีมีผลกระทบโดยตรงต่อการการดําเนินธุรกจิ เกษตรซึงมดี ังนี
4.1.1 วัตถุประสงค์ของธุรกิจคือเป้ าหมายในการดําเนินธุรกิจผู้ประกอบการหรือตัวเกษตรกร

เอง ในการกําหนดกลยุทธ์ทางการตลาดต้องให้สอดคล้องเป็นแนวทางเดียงกับเป้ าหมายธุรกิจของตนเอง การ
ดําเนินธุรกิจเกษตรผู้ประกอบการจะต้องกําหนดวัตถปุ ระสงค์ไวท้ ั งระยะสั นและระยะยาว โดยมวี ัตถปุ ระสงค์
เพือกําไรให้บริการแก่ผู้บริโภคหรือชุมชนและสังคม ซึงต้องมีแนวทางทีชัดเจน

4.1.2 ทรัพยากรของธุรกิจเกษตร คือ ปัจจัยทีสําคัญในการดําเนินงานผู้ประกอบการสามารถ
นํามาใช้พิจารณาในการดําเนินการเพอื แก้ไขปัญหาในทางดําเนินงานทางธุรกิจเกษตรได้ ดังนี

1) บุคลากร ซึงเป็นปัจจัยพืนฐานทสี ําคัญต่อธุรกิจ ถ้าธุรกจิ ใดได้บคุ คลทีมีคณุ ภาพตรง
กับงานและบุคคลนั นมีความซือสัตย์ ขยัน อดทน กส็ ามารถนําธุรกิจบรรลุเป้ าหมายหรือวัตถปุ ระสงค์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ดังนั นผู้ประกอบการควรคัดเลอื กบุคลากรทีมคี วามเหมาะสม

2) เงนิ ทุน เงินทุนทําให้ธุรกิจมีความมั นคงทางการเงิน การลงทุนเพอื ประโยชน์ทาง
ธุรกิจเกษตร ผู้ประกอบการต้องพจิ ารณาให้คุ้มค่ากับการลงทุนการพิจารณาหาแหลง่ เงนิ มาลงทุนทางธุรกิจจาก
สถาบันการเงินผู้ประกอบการต้องพิจารณาอย่างละเอยี ดถีถ้วน

3) วัตถุดิบ ในการดําเนินธุรกิจด้านอุตสาหกรรมเกษตรหรืออุตสาหกรรมอืนๆ
ผู้ประกอบการหรือผู้บริหารต้องเป็นผู้ทีมคี วามสามารถจัดหาวัตถุดิบทีมีคุณภพาและมปี ริมาณเพยี งพออย่าง
ต่อเนือง กจ็ ะทําให้การใช้วัตถดุ ิบมคี ุณภาพสามารถเพิมรายได้ลดค่าใช้จ่ายซึงมีผลกระทบต่อการทํากําไรของ
องค์การ

4) เครืองจักร การทําธุรกิจสมัยใหมท่ ีมีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการทีต้องการเป็นผู้นํา
ทางการตลาดหรือรกั ษาส่วนแบ่งของตลาดเอาไว้การมีเครืองจักรเครืองมอื ที ทันสมัยทันเหตุการณ์ ก็จะทําให้
สามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้ดี

5) เวลา การใช้เวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการทางธุรกิจเกษตรนั นธุรกิจ
ทางการเกษตรเป็นเรืองทีเกียวข้องกับธรรมชาติต้องมีการตัดสินใจทีรวดเร็วต่อสภาพการทีมีการเปลยี นแปลง
อยู่ตลอดเวลา ผู้ประกอบการต้องมั นศึกษาวเิ คราะห์ข้อมูลข่าวสารจะทําให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้
เพราะส่วนหนึงกเ็ ป็นการบริหารเวลาอย่างมปี ระสิทธิภาพ

4.1.3 การจัดการ เป็นปัจจัยทีมคี วามสําคัญต่อองค์การธุรกิจเกษตรถ้าองค์การธุรกิจเกษตรสามารถ
คัดเลอื กบุคคลทีมคี ุณสมบัติเหมาะสมกับงานก็จะทําให้ธุรกิจนั นประสบความสําเร็จตามวัตถปุ ระสงค์หรือ
เป้ าหมายขององค์การ

4.2 สภาวะแวดล้อมทไี ม่สามารถควบคุมได้

4.2.1 สภาวะแวดล้อมทางการเมืองและกฎหมาย
การเมือง หมายถึงระบบการเมอื งไทย ซึงประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆเช่น ข้าราชการ

การเมอื ง สมาชิกสภาผู้แทนพรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ สือมวลชน และประชาชน ระบบย่อยของระบบ
การเมืองดังกล่าวมีผลต่อการกําหนดนโยบายทีจะส่งเสริมหรือสนับสนุนใน เรืองต่าง ๆ เช่นการผลติ การ
จําหน่ายและด้านบริการทางการเกษตรนักการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยมีส่วนสําคัญให้เกิดขึ นไดย้ ่อม
ส่งผลกระทบการทํากําไรและขาดทนุ ของธุรกิจเกษตร

กฎหมาย หมายถงึ กฎหมายทางธุรกิจ พ.ร.บ. ต่าง ๆ ทีประกาศออกใช้ ธุรกิจ จําเป็นต้อง
ปฏบิ ัติตามย่อมมีผลต่อการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจผลต่อกําไรของธุรกจิ ตัวอย่างเช่น พ.ร.บ. ควบคุม
อาหารสัตว,์ พ.ร.บ. สหกรณ์ 2542, พ.ร.บ. วัตถอุ ันตราย, พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืช2542, มาตรฐานงานฟาร์ม,
พ.ร.บ. คุ้มครอง ผู้บริโภค, พ.ร.บ. ค่าแรงงานขั นตํ,ากฎหมายเกียวกับภาษีมูลค่าเพิม, กฎหมายป้ องกันการ
ผูกขาดหรือกฎระเบียบข้อบังคับทีมีเพอื พิทกั ษผ์ ลประโยชนข์ องผู้บริโภคไมใ่ ห้ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือ
กฎหมายการรักษาสิ งแวดล ้ อม

4.2.2 สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
องค์การธุรกจิ เกษตรทจี ะต้องดําเนินธุรกิจให้บรรลุเป้ าหมายทีกําหนดไวค้ วรจะ ศกึ ษาถงึ

สภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันและอนาคตอันใกลเ้ พอื การเตรียมตัวและการปรับตัวขององค์การธุรกิจต่อระบบ
เศรษฐกิจทีเปลยี นแปลงอยู่เสมอหาไมแ่ ล้วการปรับตัวอาจจะไม่ทันต่อเหตุการณ์ และส่งผลเสียหายต่อการ
ดําเนินงานในระบบรวม

4.2.3 สภาวะแวดล้อมสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกจิ คือ ธุรกิจจะต้องคํานึงถึงการ

เปลยี นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั งนี เพือประโยชน์ในการปรับตัวเพือความอยู่รอดเช่น การเปลียนแปลง
ของสิงแวดล้อมทางนิเวศนต์ ่อโรงงานอตุ สาหกรรมอุปนิสัยการใช้สอยรถยนต์และการบริโภค เช่น ความนิยม
ในการซือของในห้างสรรพสินค้าและซุปเปอร์มาเกต็ เป็นต้น

4.2.4 สภาวะแวดล้อมทางเทคโนโลยี
การเปลียนแปลงและการพัฒนาทางเทคโนโลยีมผี ลกระทบต่อธุรกิจอย่างมาก เช่น การนําเอา

เทคโนโลยีทางการผลิตมาเพิมประสิทธิภาพในการผลติ ทั งในด้านของปริมาณสินค้าคุณภาพสินค้า
การออกแบบหรื อการนําเทคโนโลยีทางการสือสารทีทันสมัย เทคโนโลยีการประมวล ผลข้อมูลและการจัดหา
ข้อมูลทางธุรกิจจะช่วยให้ธุรกิจได้ข้อมูลทีจําเป็นอย่างรวดเร็วมผี ลต่อการดําเนินงานปัจจุบันจะเห็นได้วา่ มี
วิชาการทํานายเทคโนโลยี ซึ งจะสอนให้ทราบว่าภายใน ระยะเวลาหนึ งเทคโนโลยีจะเปลียนแปลงไปอย่างไร
และในทิศทางใด เพอื ทีนักธุรกิจจะได้สนองตอบและปรับตัวได้

5. หน้าทีและความรับผิดชอบของธุรกิจเกษตร
5.1 ความรับผิดชอบต่อลูกค้าหรือผู้บริโภคคือ การให้บริการลูกค้าให้ดีทีสุดซึงได้แก่
5.1.1 หน้าทจี ัดซือสินค้า การจัดซืออย่างมคี วามรับผิดชอบต่อลูกค้าคือ การจัดซือสินค้าทีลูกค้า

ต้องการมาเสนอขายในระดับราคาและเวลาทีต้องการ
5.1.2 หน้าทใี นการผลิตและจําหน่ายสินค้าหน้าทีทําการผลติ และการจําหน่ายนเี ป็นหน้าทีทีต้อง

อาศัยความรู้ความสามารถอย่างยิงนักธุรกิจจะตอ้ งตัดสินใจเลอื กทีจะทําการผลติ หรือจําหน่ายสินค้าใดทีลูกค้า
ต้องการทั งให้ผลตอบแทนต่อผู้ลงทุนสูงและมคี วามเสียงภัยน้อย

5.1.3 หน้าทใี นการจัดการด้านการเงิน นักธุรกิจจําเป็นต้องวางแผนการจัดหาเงินทุนทีมคี ่าใช้จ่าย
หรือต้นทุนตําทีสุดมาใช้ในการบริหารและดําเนินงานเพอื ให้ต้นทุนสินค้าทีผลติ ไดม้ ีราคาตําทีสุด

5.2 หน้าทปี ฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐคือจัดทําบัญชีตามทีกฎหมายกําหนดซึงจะต้องจัดยืนแสดงต่อ
กรมสรรพากรเพอื ประเมนิ และชําระภาษี

5.3 หน้าทรี ับผิดชอบต่อเจ้าของเงนิ ทุนผบู้ ริหารธุรกจิ จึงมหี น้าทีเป็นผู้ประสานงานประโยชนโ์ ดยการ
จัดสรรงบประมาณให้เกิดความเป็นธรรมทั งแก่ลูกค้าลูกจ้างบุคคลทีเกียวข้องและสังคมโดยอยู่ในกรอบ
ขอบเขตทีรัฐกําหนดให้

5.4 หน้าทรี ับผิดชอบต่อลูกจ้างคือการบริหารงานบุคคล เนืองจากการประกอบธุรกิจนั นธุรกิจยังต้อง
รับผิดชอบต่อลูกจ้างหรือพนักงานของบริษัทเองอีกด้วยเช่น การจ่ายค่าตอบแทน แรงงานอย่างเป็นธรรม
สว ัสดิการพัฒนาบุคคลเป็ นต้น

5.5 หน้าทรี ับผิดชอบต่อสังคมธุรกิจทีดีย่อมบริหารงานโดยเคารพและปฏบิ ัติตามผู้ประกอบธุรกิจจะต้อง
มคี วามซือสัตย์ในการปฏิบัติหน้าทขี องต้นต่อสังคมเช่น ในเรืองการผลติ สินค้าต้องไม่ปลอมปนหรือผลิตสินค้า
ทีด้อยคุณภาพออกจําหน่ายในด้านการโฆษณาไม่ทําให้ผู้ซือเกิดความเข้าใจผิดและซือสินค้าไปเพราะความ
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือไมก่ ักตุนสินค้าเพอื ให้เกิดการขาดแคลนและฉวยโอกาสขึ นราคาในทีสุด

สรุป
การจัดการธุรกิจเกษตร (Agribusiness Management ) หมายถึง “การดําเนินงานทั งหลายใน

ด้านทีเกียวกับการผลติ การจัดจําหน่ายปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรกิจกรรมระดับไร่นาการเกบ็ รกั ษาการแปรรูป
และการจัดจําหน่ายสินค้าเกษตรตลอดจนผลติ ผลพลอยได้จากสินค้าเกษตร” และการจัดการธุรกิจเกษตรในยุค
ใหม่ทีมกี ารแข่งขันสูง นักธุรกิจหรือตัวเกษตรกรเองต้องมีความเข้าใจระบบธุรกิจเกษตร ทีมีความสัมพันธ์ของ
ปัจจัย(Factors) ต่าง ๆ ตาม โครงสร้างธุรกิจการเกษตร จึงจะทําให้การพัฒนาองค์การของเราไปสู่เป้ าหมายที
ต้องการได้

ความสําคัญของธุรกิจเกษตรทําให้สนองความต้องการของมวลมนุษยช์ ่วยแก้ปัญหาการ
วา่ งงานกระจายแรงงาน ช่วยแบ่งงานกันทําทําให้เกิดการแข่งขันทําให้รัฐบาลมีรายได้จากการเก็บภาษีอากร
ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอยา่ งมีคุณค่า สร้างความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและช่วยยกระดับค่าครอง
ชีพของประชาชนให้สูงขึ นนําไปสู่การพัฒนาประเทศในทสี ุดการทําธุรกจิ เกษตรไปสู่เป้ าหมายตามทีต้องการ
ได้นั นเกษตรกรจําเป็นต้องศึกษาถึงปัจจัยภายในภายนอก และสภาวะแวดล้อมภายในภายนอกทีเกยี วขอ้ ง ทีมี
ผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจเกษตรรวมถึงต้องศึกษาสภาพแวดล้อมทีเกียวข้องทางธุรกิจซึงจะมอี ิทธิพลและมี
ผลกระทบทั งตรงทางอ้อมต่อการทําธุรกิจด้วย

****************************





สรุป
การจัดการธุรกิจเกษตร(Agribusiness Management ) หมายถึง “การดําเนินงานทั งหลายในด้านทีเกียวกับการ
ผลติ การจัดจําหน่ายปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรกิจกรรมระดับไร่นาการเก็บรักษาการแปรรูปและการจัด
จําหน่ายสินค้าเกษตรตลอดจนผลติ ผลพลอยได้จากสินค้าเกษตร” การ จัดการธุรกิจเกษตรในยุคใหมท่ ีมีการ
แข่งขันกันอย่างรุนแรงนักธุรกิจหรือตัวเกษตรกรเองต้องมคี วามเข้าใจระบบธุรกิจเกษตรทีมคี วามสัมพันธ์
สลับซับซ้อนของปัจจัย(Factors) ต่าง ๆ ตาม โครงสร้างธุรกิจการเกษตร จึงจะทําให้การพัฒนาองค์การของเรา
ไปสู่เป้ าหมายทีต้องการได้
ความสําคัญของธุรกิจเกษตรทําให้สนองความต้องการของมวลมนุษยช์ ่วยแก้ปญั หาการ ว่างงานกระจาย
แรงงาน ช่วยแบ่งงานกันทําทําให้เกิดการแข่งขันทําให้รัฐบาลมรี ายได้จากการเกบ็ ภาษีอากร ก่อให้เกิดการใช้
ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า สร้างความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและช่วยยกระดับค่าครองชีพของประชาชน
ให้สูงขึ นนําไปสู่การพัฒนาประเทศในทีสุดการทําธุรกิจเกษตรไปสู่เป้ าหมายตามทีต้องการได้นั นเกษตรกร
จําเป็นต้องศึกษาถึงปัจจัยภายใน- ภายนอก และสภาวะแวดล้อมภายใน-ภายนอกทีเกียวข้องทีมผี ลกระทบต่อ
การดําเนินธุรกิจเกษตรรวมถึงต้องศกึ ษาสภาพแวดล้อมทีเกียวข้องทางธุรกิจซึงจะมีอทิ ธิพลและมผี ลกระทบทั ง
ตรง ทางอ้อมต่อการทําธุรกิจด้วย

****************************


Click to View FlipBook Version