The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถิติเบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasita11899, 2020-07-28 08:55:45

สถิติเบื้องต้น

สถิติเบื้องต้น

วทิ ยำลยั เทคโนโลยแี ละกำรจดั กำรตำกฟำ้
สำนกั งำนคณะกรรมกำรอำชวี ศึกษำ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

20000-1401 คณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐานอาชพี จดั ทำโดย

นางสาววาสิตา เป้าชงั
ตาแหน่งครูพิเศษสอน



สถิติ (Statistics) หมายถึงศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การ
นาเสนอข้อมูล และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ในทางปฏิบัติ สถิติ หมายถึงการวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลการนาเสนอข้อมลู เบื้องต้น การวิเคราะห์ข้อมูล การนาผล
การวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุปในประเด็นที่สนใจและนาผลสรุปมาช่วยในการ
ตัดสนิ ใจ

สถติ ิแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. สถิตเิ ชิงพรรณนา
2. สถติ ิเชิงอนุมาน

ปัจจุบันน้ีหน่วยงานทุกระดับมักจะใช้สถิติช่วยในการ
ตัดสินใจและวางแผน สถิติสามารถประยุกต์ใช้กับงานด้านต่างๆ
ดังนี้

1. งานด้านการวางแผนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
2. งานดา้ นธุรกจิ
3. งานด้านอ่ืนๆ

สถติ นิ บั เปน็ ข้อมูลทจ่ี ำเป็นในทุกสำขำ

ธุรกจิ เศรษฐศาสตร์

ด้านบริหาร

การเกษตร สาขาทนี่ าสถิตไิ ป วศิ วกรรมศาสตร์
การแพทย์ ประยุกต์ใช้

สาขาอนื่ ๆ

จติ วทิ ยา สาธารณสุข

ข้อมูล หมายถึงข้อเท็จจริงของส่ิงท่ีสนใจ อาจเป็นตัวเลข
ข้อความหรือรายละเอียดในรูปแบบตา่ งๆ เช่น ภาพ เสียงหรือเหตุการณ์
ที่เก่ียวข้องกับสิ่งต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง ถูกต้องแม่นยาและ
ครบถ้วน

ข้อมลู สถิติ หมายถึงข้อมูลท่ีเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้ มี
จานวนมากและสามารถที่จะนามาเปรียบเทียบกันได้ ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็น
ตัวเลข และข้อมลู ท่ีไม่เปน็ ตวั เลข

ขอ้ มูลสำมำรถจำแนกได้ ดงั นี้

จำแนกตำมลักษณะของขอ้ มลู

1. ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Data) หมายถงึ ขอ้ มูลที่แสดงขอ้ เท็จจรงิ
เก่ยี วกบั หน่วยตัวอยา่ งทส่ี ามารถวดั ออกมาเป็นตวั เลขได้ เช่น รายได้ อายุ ความสงู
ฯลฯ

2. ข้อมลู เชงิ คุณภาพ (Qualitative Data) หมายถงึ ข้อมลู ท่ีแสดงขอ้ เท็จจริง
เก่ยี วกบั หนว่ ยตวั อย่างโดยวดั ออกมาเป็นคณุ ลักษณะ ไม่สามารถวัดออกมาเปน็
ตัวเลขได้ เช่น ลักษณะของสนิ ค้า คุณภาพของสนิ คา้ เพศ การนับถือศาสนา
ฯลฯ

จำแนกตำมทีม่ ำของข้อมูล

1. ข้อมลู ปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ขอ้ มูลท่ไี ด้จากแหลง่ ที่เกดิ ของ
ข้อมลู โดยตรง แหล่งดงั กล่าวเรยี กวา่ แหล่งปฐมภูมิ (Primary Source)

2. ข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Data) หมายถงึ ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากแหล่งท่มี ใิ ช่
เปน็ ที่เกิดของขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการโดยตรง แตเ่ ป็นแหล่งทเ่ี ก็บรวบรวมข้อมลู ท่ี
ตอ้ งการไว้ แหลง่ ดังกลา่ วเรียกว่า แหลง่ ทุตยิ ภูมิ (Secondary Source)

ระดบั ของการวดั ของข้อมูล

กำรวัด (Measurement) หมำยถงึ กระบวนกำรในกำรกำหนดตวั เลข
หรอื สัญลกั ษณ์ใหแ้ กส่ ่งิ ใดสงิ่ หน่ึงเพ่อื แทนปริมำณหรือคณุ ภำพของสงิ่ นน้ั ๆ
มำตรกำรวดั แบ่งได้ 4 ระดับ ดงั น้ี

1. มำตรำนำมบญั ญัติ (Nominal Scale)
2. มำตรำเรียงอันดบั (Ordinal Scale)

3. มำตรำอนั ตรภำค (Interval Scale)
4. มำตรำอตั รำสว่ น (Ratio Scale)

สรปุ คณุ สมบตั ขิ องกำรวดั ระดบั ท้ัง 4 ระดับ

คุณสมบัติ สเกล สเกล สเกล สเกล
นำมบัญญตั ิ เรยี งลำดบั อันตรภำค อตั รำส่วน
1. จำแนกควำมแตกตำ่ ง
2. เรยี งลำดับ    
3. กำร + , -
4. กำร ,  
5. มศี นู ย์แท้
  

  

  

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ระเบียบวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ได้แก่

1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากงานทะเบยี น เช่น จานวนอาจารย์ เจา้ หน้าที่ทล่ี า,จานวนอาจารยท์ ไ่ี ปราชการ เปน็ ต้น

2. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการสารวจ เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากหน่วยท่ศี ึกษาโดยตรง เชน่ การสารวจความ
คดิ เห็นของประชาชนในการรา่ งรฐั ธรรมนญู ซง่ึ หนว่ ยทศ่ี ึกษาคือ ประชาชนคนไทย การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการ
สารวจจะแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท

- การสามะโน เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากทกุ ๆหน่วยศกึ ษาของประชากร
- การสารวจตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมลู จากบางหน่วยศกึ ษาของประชากร

3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากการทดลอง ขอ้ มูลบางประเภทไมส่ ามารถหาไดจ้ าการสารวจ แตจ่ ัดทาไดจ้ ากการทดลอง
เช่น การศกึ ษาวธิ กี ารปลกู พืชทแ่ี ตกต่างกนั 3 วธิ ี

วธิ กี ำรเก็บรวบรวมข้อมูล

1. กำรสัมภำษณ์
2. กำรทอดแบบ
3. กำรสมั ภำษณ์ทำงโทรศพั ท์
4. กำรสง่ แบบสอบถำมทำงไปรษณยี ์
5. กำรนับจด

• ลกั ษณะท่วั ไปของผู้ตอบ

• ขอ้ มลู ท่ตี ้องกำร
• ขอ้ เสนอแนะ

วิธกี ำรสุ่มตวั อย่ำง แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท

1. กำรสมุ่ ตวั อย่ำงทไี่ มท่ รำบควำมน่ำจะเปน็
1.1 กำรสุม่ ตัวอยำ่ งตำมควำมสะดวก
1.2 กำรสมุ่ ตวั อยำ่ งแบบโควตำ

2. กำรสมุ่ ตวั อย่ำงเมอ่ื ทรำบควำมนำ่ จะเปน็
2.1 กำรสุ่มตวั อยำ่ งแบบงำ่ ย
- กำรจับสลำก
- กำรใช้ตำรำงสุ่ม
2.2 กำรสมุ่ ตวั อยำ่ งแบบมีระบบ
2.3 กำรสมุ่ ตวั อย่ำงแบบมีชนั้ ภูมิ
2.4 กำรสมุ่ ตวั อย่ำงแบบกลุ่ม

1. ปัญหาในการใช้ข้อมูลปฐมภูมิ มักมีปัญหาเก่ียวกับเร่ืองต่าง ดงั นี ้
1.1 ผ้ใู ช้ไมท่ ราบวา่ จะใช้วธิ ีใดในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จึงจะเหมาะสม
1.2 ผ้ใู ช้ไมท่ ราบวา่ จะประเมินความถกู ต้องหรือความนา่ เชื่อถือของ

ข้อมลู ได้อยา่ งไร
1.3 ผ้ใู ช้ไมท่ ราบวา่ จะวเิ คราะห์ข้อมลู อยา่ งไรถ้าไมส่ ามารถเกบ็ รวบรวม

ข้อมลู ได้ครบถ้วน หรือขาดหายไปเน่ืองจากผ้ใู ห้ข้อมลู ไมใ่ ห้ความร่วมมือ

2. ปัญหาในการใช้ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ มักมีปัญหาเก่ียวกับเร่ืองต่าง ดงั นี ้
2.1 ปัญหาเร่ืองความถกู ต้องหรือความนา่ เช่ือถือของข้อมลู
2.2 ปัญหาข้อมลู ที่ไมท่ นั สมยั
2.3 ปัญหาการขาดข้อมลู บางรายการ

การนาเสนอข้อมูลสถติ ิ แบง่ ออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คอื
1. การนาเสนอข้อมลู สถิติโดยปราศจากแบบแผน

2. การนาเสนอข้อมลู สถิติโดยมีแบบแผน

กำรนำเสนอขอ้ มลู

• กำรนำเสนอด้วยบทควำม
• กำรนำเสนอดว้ ยตำรำง
• กำรนำเสนอดว้ ยกรำฟ
• กำรนำเสนอด้วยแผนภมู ิ อำจเปน็ แผนภูมแิ ทง่ , วงกลม หรือรปู ภำพ

กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู

• กำรวัดแนวโนม้ เขำ้ สู่ส่วนกลำง
• กำรวัดตำแหนง่ เปอรเ์ ซนตไ์ ทล์และควอไทล์
• กำรวดั กำรกระจำยของขอ้ มูล

กำรแปลควำมหมำยและสรปุ ผล

หมำยถงึ กำรนำผลกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูลที่ได้มำพิจำรณำ
แปลควำมหมำยทจี่ ะส่อื ในทำงทจ่ี ะนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้
และสรปุ ผลจำกกำรเกบ็ รวบรวมและวเิ ครำะห์ข้อมูลทงั้ หมด

กำรแจกแจงควำมถี่

• เปน็ กำรจดั ขอ้ มูลออกเปน็ ค่ำแต่ละค่ำหรอื เปน็ ชว่ งขอ้ มูล จำนวนขอ้ มลู ท่ีมคี ำ่
เทำ่ กบั คำ่ หนึง่ หรือตกอยู่ในชว่ งหน่ึงของขอ้ มูล เรียกวำ่ ควำมถ่ี (Frequency)

• ทำได้โดยใช้ตำรำงแจกแจงควำมถ่ี หรือกรำฟควำมถี่

ตัวอย่ำง จำกกำรทดสอบย่อยเรอื่ งควำมรุ้เบือ้ งต้นทำงสถิตขิ องนกั ศึกษำ
กลมุ่ หนงึ่ ซ่งึ มี 10 คน ปรำกฏผลดงั น้ี

7495 6 65 578
จงสร้ำงตำรำงแจกแจงควำมถข่ี องข้อมูลโดยไม่
แบ่งเป็นชว่ ง พร้อมทั้งหำควำมถี่สะสม ควำมถี่
สัมพัทธ์ และควำมถส่ี มั พัทธ์สะสม

วธิ ที ำ

(สดมภ์ 1) (สดมภ์ 2) (สดมภ์ 3) (สดมภ์ 4) (สดมภ์ 5) (สดมภ์ 6)
คะแนนสอบ รอยข้อมูล ความถี่ ความถี่ ความถ่ี ความถ่ี
สัมพทั ธ์ สัมพทั ธ์สะสม
4 สะสม 1/10 = 0.1
5 / 11 3/10 = 0.3 0.1
6 /// 3 4 2/10 = 0.6 0.4
7 // 2 6 2/10 = 0.2 0.6
8 // 2 8 1/10 = 0.1 0.8
9 / 19 1/10 = 0.1 0.9
/ 1 10 1.0
1.0
10

ตัวอย่ำง จำกกำรสอบถำมอำยุนกั ศึกษำ สำขำวชิ ำกำรบัญชี จำนวน 30 คน
ปรำกฏผลดงั น้ี

27 44 41 39 23 26
39 45 24 18 20 35
41 38 43 31 50 24
33 26 48 39 38 36
26 39 32 35 37 52

จงสร้ำงตำรำงแจกแจงควำมถี่ โดยใหม้ ีจำนวนช้ันประมำณ 8 ช้ัน

วธิ ที ำ

(สดมภ์ 1) (สดมภ์ 2) (สดมภ์ 3) (สดมภ์ 4) (สดมภ์ 5)

ช่วงอำยุ (ปี) รอยข้อมลู จำนวนนกั ศกึ ษำ (ควำมถ)ี่ จุดกลำง ขอบเขตท่ีแทจ้ รงิ
15 - 19 / 1 17 14.5 - 19.5
20 - 24 //// 4 22 19.5 - 24.5
25 - 29 //// 4 27 24.5 - 29.5
30 - 34 /// 3 32 29.5 - 34.5
35 - 39 10 37 34.5 - 39.5
40 - 44 ///// ///// 4 42 39.5 - 44.5
45 - 49 //// 2 47 44.5 - 49.5
50 - 54 // 2 52 49.5 - 54.5
// 30

สดมภ์ 1 ตอ้ งหำพสิ ยั และขนำดของชนั้ หำขีดจำกดั ล่ำงของชั้นต่ำสดุ จำกสตู ร
พิสยั (R) = xmax- xmin
ขนำดของชั้น (i) = R/c
ขีดจำกัดล่ำงของช้นั ตำ่ สุด หำได้จำก นำขนำดของช้นั ที่คำนวณไดไ้ ปหำรคำ่

ต่ำสดุ ของขอ้ มูล
(ตัดเศษทง้ิ ) แลว้ นำไปคณู กับขนำดของช้นั ทีค่ ำนวณ
ไดอ้ กี ครัง้ หนง่ึ
สดมภ์ 2 กำรทำรอยขอ้ มูล
สดมภ์ 3 ควำมถ่ีของขอ้ มลู
สดมภ์ 4 จดุ ก่งึ กลำง = (ขีดจำกัดล่ำง+ขดี จำกดั บน)/2
สดมภ์ 5 ขอบเขตล่ำงที่แทจ้ ริง = ขดี จำกดั ลำ่ ง – 0.5

ขอบเขตบนท่ีแท้จริง = ขดี จำกัดบน + 0.5


Click to View FlipBook Version