The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัตว์เศรษฐกิจ ฉบับที่ 916 เดือนพฤษภาคม 67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัตว์เศรษฐกิจ E magazine, 2024-05-17 05:25:17

Livestock Production Magazine 916

สัตว์เศรษฐกิจ ฉบับที่ 916 เดือนพฤษภาคม 67

LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ https://livestockemag.com/ ปี 39 ฉบับที่ 916 พฤษภาคม 2567 วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ ช่วยแก้ปัญหาใหญ่เมื่ออากาศร้อน ตามรอย...สัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว... เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาเลี้ยงสัตว์ ปี 67 หมูมีขึ้นมีลง ตามวัฎจักรและกลไกตลาด สก.ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน สหกรณ์ดีเด่นแห่งช สหกรณ์ดีเด่นแห่งช�ติ ปี 67 นำ�สม ติ ปี 67 นำ�สม�ชิกสู่คว ชิกสู่คว�มยั่งยืน มยั่งยืน วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ ช่วยแก้ปัญหาใหญ่เมื่ออากาศร้อน สก.ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำาพูน สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 นำาสมาชิกสู่ความยั่งยืน ตามรอย...สัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว... เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาเลี้ยงสัตว์ ปี 67 หมูมีขึ้นมีลง ตามวัฎจักรและกลไกตลาด


4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ด้านอาหารสัตว์ในลำาดับต้น ๆ ของโลก ทั้งกลุ่มอาหาร สัตว์เศรษฐกิจและอาหารสัตว์เลี้ยง แนวโน้มการส่งออกอาหารสัตว์ในปี2567 คาดว่าจะเติบโตเพิ่มสูงขึ้น และเศรษฐกิจไทย ขยายตัว รองรับตลาดโลก เพิ่มมูลค่าถึง 3 แสนล้านบาท อว. ได้ควบคุมสินค้าเหล่านั้นให้มีคุณภาพได้มาตรฐานและความ ปลอดภัย โดย รมว.อว. เน้นย้ำาให้นำางานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารให้ครบวงจร ครอบคลุม ทุกกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำาถึงปลายน้ำา และมอบหมายให้กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) พัฒนาศักยภาพของกลุ่ม อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหารสัตว์ โดยเน้นกระบวนการผลิต (manufacturing process) การประกันคุณภาพ ของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทดสอบ (quality assurance) และการควบคุมคุณภาพ (quality control) ของสินค้าให้เป็นไป ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ให้วศ.อว. เร่งผลิตวัสดุและพัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิง พร้อมเครือข่ายทั่วประเทศเพื่อรองรับ ตลาดโลก เพิ่มมูลค่าถึง 3 แสนล้านบาท ให้ได้รับการยอมรับและเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคทั้งในระดับประเทศและระดับสากล นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กล่าวว่า กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวง อว. ตระหนักถึงการส่งเสริมพัฒนากระบวนการผลิต กระบวนการตรวจวิเคราะห์ทดสอบ และระบบการประกันคุณภาพและ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ ตามนโยบายของ รมว. อว. จึงเร่งให้ วศ. ผลิตวัสดุอ้างอิงตามมาตรฐานสากล สร้างการตรวจสอบกลับ เพื่อมั่นใจผลการวัดและควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำาหนด ด้วย ศักยภาพและความเชี่ยวชาญของ วศ. ที่เป็นหน่วยงานภาครัฐ ได้เข้าไปมีบทบาทในระบบการประกันคุณภาพการทดสอบ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานกว่า 5 ปี โดยการส่งเสริมห้องปฏิบัติการทดสอบด้านอาหารสัตว์ ทั่วประเทศ จำานวนไม่น้อยกว่า 150 ห้องปฏิบัติการ ให้เข้าร่วมเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ และเร่งผลิต วัสดุ พร้อมทั้งพัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิง ทั้งนี้วศ.อว. พร้อมสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการทั่วประเทศ โดยการวิเคราะห์ หาปริมาณสารและองค์ประกอบหลักต่าง ๆ ในอาหารสัตว์จำาพวกอาหาร เช่น เป็ด ไก่ ปลา วัว สุนัข เพื่อประเมินสมรรถนะ ของห้องปฏิบัติการว่ามีความสามารถในการทดสอบ ให้ค่าผลการวัดที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ ปัจจุบัน วศ. สามารถผลิตวัสดุอ้างอิงด้านอาหารสัตว์ รายการ Water-soluble chlorides (as NaCl) รายการ minerals (Ca, Cu, Fe, Mg, Mn, K, Na, Zn และ P) และรายการ Moisture, Protein, Crude fat, Crude fiber and Ash ตามมาตรฐาน ISO 17034 และ ISO Guide 35 ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน พร้อมมีห้องปฏิบัติการนำาไปใช้ประโยชน์ ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของวิธีทดสอบ การทวนสอบของวิธีทดสอบ การสร้างและพัฒนาห้องปฏิบัติการเครือข่าย และควบคุมคุณภาพของห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า 379 ห้องปฏิบัติการ โดยกรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้ยื่นขอการรับรอง การเป็นผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง (reference material producer) ตามมาตรฐานสากลต่อไป เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของห้อง ปฏิบัติการในภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และอุตสาหกรรมบริการอาหารแห่งอนาคต การผลิตวัสดุอ้างอิงอาหารสัตว์ในประเทศ ช่วยลดต้นทุนในกระบวนการผลิต ประหยัดค่าใช้จ่ายในการนำาเข้าวัสดุอ้างอิง จากต่างประเทศ และได้ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ วศ.อว. เตรียมขยายการผลิตวัสดุอ้างอิงอื่น ๆ ให้ครอบคลุมกับความ ต้องการของภาคการผลิตและอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจด้วยการส่งออกผลิตภัณฑ์ ที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ต่อไป LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หนุนไทย...ผู้นำ�โลกผลิตและ ส่งออกอ�ห�รสัตว์


คอลัมน์พิเศษ 14 โปรไบโอติก เสริมภูมิคุ้มกัน สร้างสุขภาพที่ดีคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม 15 วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ช่วยแก้ปัญหาใหญ่หน้าร้อน 18 ร้อน-แล้ง ทำาไก่ไข่ลด...ยำ้าราคาปรับตามต้นทุน 21 สก.ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำาพูน สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติปี67 นำาสมาชิกสู่ความยั่งยืน 24 พ่อค้าคนกลางจำาเลยของคนมักง่าย แต่ไม่ง่ายที่จะตัดออก 26 ราคาปศุสัตว์ต้องใช้กลไกตลาดสร้างความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย 28 เนื้อหมูแหล่งโปรตีนยอดนิยม บริโภคปลอดภัยต้องปรุงสุกทุกครั้ง 29 หมูมีขึ้นมีลง ตามวัฎจักรและกลไกตลาด 32 หมูเถื่อน “หลุมดำา” หวั่นกระบวนการสอบสวนเจาะไม่ถึง “ตัวการ” 33 คอนแทรคฟาร์ม...อาชีพสร้างรายได้สร้างสุขเกษตรกรไทย 36 เร่งยกระดับโคเนื้อไทย คุณภาพ & มาตรฐาน ไม่แพ้ชาติใดในโลก 39 ตามรอย...สัมฤทธิ์อินทร์เฉลียว...เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาเลี้ยงสัตว์ปี67 42 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับปัญหาฝุ่นควัน นำาไปสู่โครงการ“ไม่เผาเราซื้อ” 44 AGRITECHNICA ASIA และ HORTI ASIA พร้อมขับเคลื่อนการเกษตร ยั่งยืนในอนาคต 47 ปศุสัตว์ไตรมาส 1โต 1.5% สวนทาง GDP เกษตรหดตัว4.5% 50 เปิดตัว“Betagro Ventures” มุ่งพัฒนาธุรกิจ“FoodTech & AgriTech” 52 หมู่บ้านเกษตรกรรมกำาแพงเพชร นำาร่อง “ธนาคารนำ้าใต้ติน” สร้างความมั่นคง คอลัมน์ประจำ� 10 บอกกล่าว 12 กิจกรรมเด่น 54 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 916 พฤษภาคม 2567 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 916


สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482 สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482


10 สัตว์เศรษฐกิจ นางสาวดุลยา พวงทอง ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มงานบริหาร การเงิน บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ หุ้น BTG แจ้ง ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า บริษัทฯ และบริษัทย่อย มี ผลการดำาเนินงานไตรมาส 1/2567 สิ้นสุดวันที่ 31 มี.ค. 2567 ดังนี้ รายได้รวมของบริษัทฯ ไตรมาส 1/2567 อยู่ที่ 27,215.4 ล้าน บาท ลดลงร้อยละ 2.5 จาก 27,911.8 ล้านบาทในไตรมาส 1/2566 โดยหลักเป็นผลมาจากการลดลงของรายได้ของกลุ่มธุรกิจอาหารและ โปรตีน ซึ่งรับผลกระทบจากราคาสุกรในประเทศที่ปรับลดลงอย่างมี นัยจากการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนและเนื้อสุกรอย่างผิดกฎหมาย แม้ว่า ปริมาณการขายจะเพิ่มขึ้นตามแผนการขยายกำาลังการผลิตของ บริษัทฯ กำาไรขั้นต้นของบริษัทฯ ในไตรมาส 1/2567 อยู่ที่ระดับ 2,921.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.0 จาก 3,397.9 ล้านบาทใน ไตรมาส 1/2566 โดยบริษัทฯ มีอัตรากำาไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 10.8 ในไตรมาส 1/2567 ลดลงจากร้อยละ 12.3 ในไตรมาส 1/2566 ทั้งนี้ การลดลงของกำาไรขั้นต้นและอัตรากำาไรขั้นต้นดังกล่าว โดย หลักก็ยังเป็นผลมาจากการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนและเนื้อสุกรอย่าง ผิดกฎหมายทำาให้ราคาสุกรในประเทศลดลง แต่บริษัทฯ สามารถ ควบคุมค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้อัตราส่วนค่าใช้จ่าย ในการจัดจำาหน่ายและบริหารต่อรายได้จากการขายสินค้าและการให้ บริการในไตรมาส 1/2567 อยู่ที่ระดับ 10.3% สอดคล้องกับ เป้าหมายของบริษัทฯ ในปี 2567 ที่ระดับ 10-11% อย่างไรก็ตามแม้ บริษัทฯ ควบคุมค่าใช้จ่ายได้มีประสิทธิภาพ ทว่าผลจากราคาสุกรทำาให้ในไตรมาส 1/2567 บริษัทฯ มีผลขาดทุน สุทธิอยู่ที่ระดับ 124.1 ล้านบาทและมีอัตราขาดทุนสุทธิอยู่ที่ร้อยละ 0.5 เทียบกับกำาไรสุทธิที่ระดับ 392.8 ล้านบาท และอัตรากำาไรสุทธิ ที่ร้อยละ 1.4 ในไตรมาส 1/2566นอกจากนี้ ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียน ฟาร์มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมรายย่อยบริเวณใกล้เคียง จำานวน 2 แห่ง และบริษัท พญาเย็น แดรี่ จำากัด (สาขา 1) ซึ่งเป็นฟาร์มเลี้ยงโคนม ขนาดใหญ่ที่มีโครีดนมมากกว่า 100 ตัว เพื่อรับฟังข้อเสนอแนะจาก เกษตรกรในพื้นที่ด้วยตนเอง และจะได้นำาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปใช้ ประกอบการบริหารจัดการและการดำาเนินงานเกี่ยวกับนมทั้งระบบ ต่อไป ด้าน นางกอบบุญ ศรีชัย เลขานุการบริษัท CPF ระบุว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายจำานวน 140,037 ล้านบาท (เป็นส่วนของกิจการต่างประเทศร้อยละ 62 และกิจการประเทศไทย ร้อยละ 32 และกิจการส่งออกจากประเทศไทยร้อยละ 6) ลดลง 3,744 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 2.6 จากงวดเดียวกันของปีก่อน จากราคาเฉลี่ยสุกรในประเทศไทยที่อยู่ในระดับต่ำากว่างวดเดียวกัน ของปีก่อน มีกำาไรขั้นต้นจำานวน 16,809 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.2 จากงวดเดียวกันของปีก่อน (อัตรากำาไรขั้นต้นในไตรมาส 1 ปี 2567 อยู่ที่ร้อยละ 12.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 10.2 ของไตรมาส 1 ปี 2566) โดยมีปัจจัยหลักมาจากราคาเนื้อสัตว์ในภูมิภาคส่วนใหญ่ ยกเว้นประเทศไทยปรับเพิ่มขึ้นประกอบกับประสิทธิภาพในการผลิต บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 916 เดือนพฤษภาคม...เริ่ม จาก นายอำานวย ทงก็ก ประธานสหกรณ์โคนมวังน้ำาเย็น จำากัด เข้า ยื่นหนังสือให้ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เรื่องการกระทำาความผิด ฐานทุจริตการจัดสรรสิทธิจำาหน่ายนมโรงเรียน ประจำาปีการศึกษา 2567 ให้กับ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รมว.เกษตรและสหกรณ์ โดย มี นายธนดล สุวัณณะฤทธิ์ ที่ปรึกษา รมว.กระทรวงเกษตรฯ รับ หนังสือร้องเรียนแทน นายอำานวย เปิดเผยว่า ต้องการให้ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ การทำางานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (มิลค์บอร์ด) และคณะทำางานตรวจสอบปริมาณน้ำานมโคทั้งระบบ ซึ่งมีปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน เนื่องจากมีข้อสงสัยถึง ปริมาณน้ำานมที่แน่ชัดและปริมาณโคนมทั้งหมดที่มีอยู่จริงว่ามีเท่าไหร่ กันแน่ ตนได้ฟังปัญหาและทราบว่ามีปริมาณน้ำานมจริง ๆ ไม่เกิน 2,000 ตันต่อวัน แต่ตนสงสัยในการทำางานที่ได้ตรวจสอบไปแล้วจาก ปริมาณน้ำานม 2,000 ตันเป็น 3,000 ตัน ยิ่งตรวจ ยิ่งเพิ่ม จึงอยาก ทราบว่าตัวเลขอีก 1,000 ตันที่เกินมาจากความจริงนั้นมีที่มาได้ อย่างไร นอกจากนี้ยังพบว่ากระบวนการตรวจสอบของคณะกรรมการ ที่ไปตรวจสอบ มีการใช้บุคคลและหน่วยงานที่ขาดความเชี่ยวชาญใน การตรวจสอบข้อเท็จจริง เช่น สหกรณ์โคนมวังน้ำาเย็น ปกติมีปริมาณ น้ำานมดิบประมาณวันละ 70 ตัน เหตุใดจึงเหลือ 50 ตัน ทั้งที่ สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงจากการซื้อขาย การจ่ายเงิน ปริมาณ เข้าออกน้ำานม แต่การตรวจปริมาณนมล่าสุดของมิลค์บอร์ดกลับ ดำาเนินการสอบถามกำานันผู้ใหญ่บ้าน อย่างไรก็ตาม ตนยังสงสัยการจัดสรรสิทธินมโรงเรียน ซึ่งใช้ งบประมาณมากกว่า 14,000 ล้านบาท และเพื่อให้มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ จึงอยาก รมว.เกษตรฯ ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบว่า มีการทุจริตจริงหรือไม่ ซึ่งตนในฐานะตัวแทนเกษตรกรต้องการตรวจ สอบการทำางานของภาครัฐและหวังว่าจะได้รับการแก้ปัญหาอย่าง ชัดเจนและโปร่งใส ด้าน นายธนดล สุวัณณะฤทธิ์ ที่ปรึกษา รมว.เกษตรและ สหกรณ์ กล่าวว่า เบื้องต้นได้รับเรื่องร้องเรียนจากตัวแทนเกษตรกร และจะได้นำาเรื่องนี้ไปหารือกับ ร.อ.ธรรมนัส เพื่อพิจารณาตั้งคณะ กรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงเป็นการเร่งด่วน เพื่อให้เกิดความเป็น ธรรมกับทุกฝ่ายและยืนยันว่าจะทำาให้ทุกอย่างเกิดความโปร่งใส LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE บอกกล่าวเล่าสิบ


สัตว์เศรษฐกิจ 11 ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทำาให้ต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ลดลงจากงวด เดียวกันของปีก่อน และมีส่วนได้ในกำาไรของบริษัทร่วมและการร่วม ค้าจำานวน 1,792 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 265 จากการบันทึกผล ขาดทุนในงวดเดียวกันของปีก่อน โดยหลักเป็นผลจากการดำาเนินงาน ที่ดีขึ้นของบริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน) หรือ CPALL และ ธุรกิจสุกรในประเทศจีน ด้วยเหตุที่กล่าวมาข้างตันส่งผลให้ในไตรมาส 1 ปี 2567 บริษัทมีผลกำาไรสุทธิในส่วนของบริษัทจำานวน 1,152 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 142 เมื่อเทียบกับไตรมาส 1 ปี 2566 ที่ มีการบันทึกผลขาดทุนสุทธิ 2,725 ล้านบาท ขณะที่ นายวินัย เตียวสมบูรณ์กิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) (TFG) เปิดเผยว่า ผลการ ดำาเนินงานของบริษัทฯในไตรมาส 1/2567 ส่งสัญญาณการฟื้นตัว อย่างชัดเจน โดยมีกำาไรสุทธิ 173.71 ล้านบาท เทียบกับงบไตรมาส 4 ปี 2566 ขาดทุนสุทธิ 861.26 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 120.17% ซึ่ง ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากราคาและปริมาณขายของไก่และสุกรที่ เพิ่มขึ้น หลังภาครัฐเดินหน้าแก้ปัญหาการนำาเข้าสุกรเถื่อน รวมไป ถึงราคาหมูในเวียดนามที่ฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่ง พร้อมกับร้านค้าปลีก มีรายการสินค้าขายเพิ่มขึ้น ทำาให้รายได้ต่อสาขาเพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โดยในไตรมาส 1/2567 มีรายได้รวม 15,265.82 ล้านบาท เทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อนมีรายได้รวม 13,889.67 ล้านบาท “ผลการดำาเนินงานในไตรมาส 1 ฟื้นตัวอย่างมีนัยสำาคัญ และมั่นใจ ว่าได้ผ่านจุดต่ำาสุดไปแล้ว GP ฟื้นตัวจาก Q4/66 ที่เท่ากับ 1% เป็น 9% คาดรายได้รวมในปีนี้จะเติบโต 10% โดยได้รับปัจจัยหนุน จากราคาสุกรที่ปรับตัวดีขึ้นทั้งในส่วนของราคาสุกรในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม ปริมาณสุกรในเวียดนามเพิ่มขึ้น 20-25% จาก แผนงานขยายฟาร์มที่ผ่านมา ประกอบกับต้นทุนวัตถุดิบที่ปรับตัว ลดลง รวมไปถึงการบริหารต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยง และ บริหารจัดการระบบคลัง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคงเดินหน้าขยายสาขาร้านค้าปลีก “ไทยฟู้ดส์ เฟรช มาร์เก็ต” (Retail Shop) เพิ่มอย่างต่อเนื่อง โดยในปีนี้จะเปิดสาขาเพิ่ม 400 - 450 สาขา เพื่อเพิ่มมาร์จิ้นและสร้างความยั่งยืนด้านช่องทางการ จำาหน่ายให้กับบริษัท ล่าสุดผู้ถือหุ้น AGM มีมติอนุมัติแจก TFG-W4 ฟรีในอัตรา 10 หุ้นสามัญเดิมต่อ 1 วอร์แรนท์ ราคาใช้สิทธิ 3.80 บาท/หุ้น คาดจะเริ่มเทรดภายในเดือนพฤษภาคม 2567….สวัสดี น.สพ.ศักดิชญ์ อนุโลมสมบัติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำานักนวัตกรรม ร่วมเสวนาในหัวข้อ “Thailand One Health & SDG 2030” ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เข้าร่วมงาน ประชุมวิชาการนานาชาติ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 23 หรือ CUVC2024 ณ สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพฯ เบทาโกร ร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติ CUVC 2024 เพื่อสุขภาพหนึ่งเดียว เบทาโกร ร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติ CUVC 2024 เพื่อสุขภาพหนึ่งเดียว


12 สัตว์เศรษฐกิจ เปิดงาน เปิดงาน CUVC2024-The CUVC2024-The Theatre Theatre มุ่งพัฒนาวิชาชีพทางด้านสัตวแพทย์ให้ก้าวหน้าทางด้านวิจัยและ มุ่งพัฒนาวิชาชีพทางด้านสัตวแพทย์ให้ก้าวหน้าทางด้านวิจัยและ นวัตกรรม นวัตกรรม และมุ่งเน้นสุขภาพหนึ่งเดียว และมุ่งเน้นสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health เปิดงาน CUVC2024-The Theatre มุ่งพัฒนาวิชาชีพทางด้านสัตวแพทย์ให้ก้าวหน้าทางด้านวิจัยและ นวัตกรรม และมุ่งเน้นสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธานพิธีเปิดงานประชุมวิชาการคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CUVC2024-The Theatre ภายใต้หัวข้อที่ “Integrated One Health Approaches for Sustainable Well-Being” โดยมี นายเศรษฐเกียรติ กระจ่างวงษ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ และผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าร่วม ณ สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพฯ ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้เป็นสัญลักษณ์ของความมุ่งมั่นใน การพัฒนาวิชาชีพทางด้านสัตวแพทย์ให้ก้าวหน้าทางด้านวิจัยและนวัตกรรม และเป็นการแสดงให้ทราบถึงบทบาทของสัตวแพทย์ในบริบท ที่กว้างขึ้นของสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health ที่สัตวแพทย์นอกจากจะเป็นผู้รักษาสัตว์แล้ว ยังเป็นผู้ดูแลทั้งด้านสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม ให้มีความยั่งยืน ความสัมพันธ์อันชับซ้อนระหว่างมนุษย์ สัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อมจำาเป็นต้องมีแนวทางเชิงกลยุทธ์ที่ขัดเจน ซึ่งสัตวแพทย์ มีบทบาทสำาคัญเป็นอย่างมาก และในวันนี้นอกจากจะเป็นการประชุมทางวิชาการเท่านั้น ยังถือเป็นการทำางานร่วมกันที่ขยายขอบเขตออกไป ในทุกภาคส่วน ทั้งมหาวิทยาลัยสัตวแพทย์ต่าง ๆ องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนกว่า 30 แห่ง LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE กิ จ ก ร ร ม เ ด่ น


สัตว์เศรษฐกิจ 13 “ธุรกิจอาหารสัตว์บก “ธุรกิจอาหารสัตว์บก CPF” คว้ามาตรฐาน คว้ามาตรฐาน ISO 56002 แบบ Multi-Site Multi-Site แห่งแรกของไทย แห่งแรกของไทย ยกระดับ ยกระดับ ระบบจัดการนวัตกรรมสู่ระดับโลก CPF ถ่ายทอดความสำาเร็จการผลิตไก่เนื้อยั่งยืน ด้วยหลักสุขภาพหนึ่งเดียว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ CPF ถ่ายทอดความสำาเร็จการผลิตไก่เนื้อยั่งยืน ด้วยหลักสุขภาพหนึ่งเดียว งานประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 23 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (The 23rd Chulalongkorn University Veterinary Conference : CUVC 2024) เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้เผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการ และงานวิจัยทางสัตวแพทย์ รวมถึงนวัตกรรม ในอนาคต ภายใต้แนวคิด “Integrated One Health Approaches for Sustainable Wellbeing” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เรียนรู้องค์ ความรู้ที่ทันสมัย และสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้จริง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาวิชาชีพสัตวแพทย์ได้อย่างยั่งยืน ณ มิตรทาวน์ ฮอลล์ 2 สามย่านมิตรทาวน์ เป็นการทำางานร่วมกันที่ขยายขอบเขตออกไปในทุกภาคส่วน ทั้งมหาวิทยาลัย สัตวแพทย์ต่าง ๆ องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนกว่า 30 แห่ง ในงานนี้ ซีพีเอฟ ผู้นำาธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารครบวงจร โดย น.สพ.พยุงศักดิ์ สมยานนทนากุล รองผู้อำานวยการ ด้านมาตรฐานฟาร์มและข้อกำาหนดลูกค้า ได้ร่วมเป็นวิทยากร ถ่ายทอดความสำาเร็จในการผลิตไก่เนื้ออย่างยั่งยืน ซึ่งซีพีเอฟได้นำาเทคโนโลยี Smart Farm มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ขณะเดียวกัน ได้ยึดหลักสวัสดิภาพสัตว์ สุภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health มาเป็นหลักปฏิบัติในการเลี้ยงสัตว์ในฟาร์ม อย่างเคร่งครัด เพื่อให้สัตว์อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี เติบโตอย่างเหมาะสม ตลอดห่วงโซ่อุปทาน รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายในการปกป้องทั้งคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งภายในงานมีนักวิชาการสายสัตวแพทย์ สายสาธารณสุข และ สุขภาพสัตว์ให้ความสนใจเข้าร่วมฟังกันอย่างคับคั่งกว่า 500 คน “ธุรกิจอาหารสัตว์บก CPF” คว้ามาตรฐาน ISO 56002 แบบ Multi-Site แห่งแรกของไทย ยกระดับ ระบบจัดการนวัตกรรมสู่ระดับโลก CPF รับมอบใบรับรอง ระบบมาตรฐานการจัดการนวัตกรรม ISO 56002 แบบ Multi-site แห่งแรกในไทย จากสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ (Management System Certification Institute - MASCI) สะท้อนความมุ่งมั่นการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นผู้นำาด้านนวัตกรรม ส่งเสริมการคิด สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร ตามวิสัยทัศน์ “ครัวของโลกที่ยั่งยืน” โดยมี คุณเรวัติหทัยสัตยพงศ์ ผู้อำานวยการใหญ่ ธุรกิจอาหารสัตว์บก CPF พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร รับมอบประกาศนียบัตร จาก ดร.ชวาธิป จินดาวิจักษณ์ผู้อำานวยการ ฝ่ายอาวุโส ฝ่ายรับรองระบบ และรักษาการผู้อำานวยการฝ่าย ฝ่ายหน่วยตรวจ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ สัตว์เศรษฐกิจ 13


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ผู้เชี่ยวชาญ ชี้ “โปรไบโอติก” จุลินทรีย์ขนาดเล็กชนิดดีมี ประโยชน์ต่อสุขภาพของคนและสัตว์ เสริมภูมิคุ้มกัน ช่วยลดปัญหา เชื้อดื้อยา สัตว์ที่กินอาหารผสมโปรไบโอติก จะได้ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ คุณภาพดีและปลอดภัย ส่งผลดีต่อผู้บริโภค ทั้งยังช่วยในระบบการ ย่อยอาหารของสัตว์ลดการปล่อยก๊าซมีเทน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในร่างกาย เป็นหลักในการควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึม ช่วยใน เรื่องการดูดซึมอาหาร และระบบย่อยอาหาร บางชนิดช่วยเรื่องระบบ ภูมิคุ้มกัน สำาหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ การเติมโปรไบโอติกลงใน อาหารสัตว์ช่วยให้สัตว์มีสุขภาพดีเติบโตได้ดีช่วยลดความเครียด ทำาให้เกิดความสมดุลที่ดีของจุลินทรีย์ และสามารถผลิตสารต่าง ๆ ที่ดีออกมา เช่น สารสื่อประสาทที่เชื่อมโยงกับสมองและส่งผลดีต่อ สุขภาพสัตว์ รวมถึง ผลิตสารต่อต้านหรือกำาจัดจุลินทรีย์ชนิดไม่ดี อื่น ๆ ได้โดยโปรไบโอติก ถูกพิสูจน์แล้วว่าปลอดภัย ก่อนนำามาใช้ ในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์มีการตรวจสอบแล้วว่าไม่มีเชื้อดื้อยา “สัตว์ ที่กินอาหารที่มีโปรไบโอติกสามารถผลิตสารคลาย ความเครียด เมื่อสัตว์เครียดน้อยลง ฮอร์โมนเครียดก็ลดลง และ สะสมในเนื้อสัตว์น้อยลง อีกทั้งยังช่วยเสริมภูมิคุ้มกันทำาให้สัตว์ สุขภาพแข็งแรง และสามารถผลิตสารต้านอักเสบ (Anti-inflam) ทำาให้ ผลิตภัณฑ์เนื้อ นม ไข่ มีสารต้านอักเสบด้วย ผู้บริโภคก็จะได้ รับประทานผลิตภัณฑ์อาหารที่ดีมีคุณภาพ” ศ.ดร.ชัยภูมิกล่าว นอกจากนี้ โปรไบโอติก ยังส่งเสริมให้ระบบย่อยอาหารของ สัตว์ทำางานได้เต็มประสิทธิภาพ สัตว์ได้รับสารอาหารตามที่ร่างกาย ต้องการ สามารถดูดซึมไปใช้ได้ดี ส่งผลดีต่อการเติบโตตามช่วง อายุ ลดการขับถ่ายของเสียทางมูลสัตว์ ลดการปล่อยก๊าซมีเทนสู่ สิ่งแวดล้อม ศ.ดร.ชัยภูมิ กล่าวว่า โปรไบโอติกจะช่วยให้สัตว์แข็งแรง ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์คุณภาพดีและปลอดภัย ส่งผลดีต่อผู้บริโภค ขณะเดียวกันการปล่อยก๊าซมีเทนจากภาคปศุสัตว์ก็จะลดลง เป็นผลดี ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนห่วงโซ่การผลิตภาค ปศุสัตว์ผลิต “เนื้อสัตว์รักษ์โลก” อย่างยั่งยืน ศ.ดร.ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์ โปรไบโอติก เสริมภูมิคุ้มกัน สร้างสุขภาพที่ดี คน สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ศ.ดร.ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า อุตสาหกรรมปศุสัตว์ มี เป้าหมายส่งเสริมให้สัตว์มีสุขภาพที่ดีแข็งแรงตามธรรมชาติไม่เจ็บ ป่วย ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อลดความเสี่ยงจากการปนเปื้อนเชื้อ ดื้อยา โดยการบริโภคเนื้อสัตว์คุณภาพดีจะส่งผลดีต่อผู้บริโภคด้วย ตามแนวทางปฏิบัติสุขภาพหนึ่งเดียว “One Health” สุขภาพคน สุขภาพสัตว์และสิ่งแวดล้อม ดีแบบองค์รวม โปรไบโอติก คือ จุลินทรีย์มีชีวิตชนิดดีมีหลากหลายสายพันธุ์ พบมากในระบบทางเดินอาหาร มีความสำาคัญเกี่ยวพันกับทุกระบบ


สัตว์เศรษฐกิจ 15 น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ก้าวเข้าสู่ช่วงปลายปี ช่วงนี้สภาพอากาศ และสภาพแวดล้อมก าลังเปลี่ยนแปลง อาจพบฝนประปรายสลับกับลมหนาว ทั้งคน และสัตว์ในไทยนั้น อาจคุ้นเคย หรือชินกับการปรับร่างกายให้เข้ากับอุณหภูมิสูง หรืออากาศร้อนที่มีตลอดเกือบทั้งปีได้ ดีกว่า ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิลดต ่า มีลมหนาว สัตว์ก็อาจจะไม่คุ้นชิน ปรับสรีรวิทยาในร่างกายไม่ทัน เกิดความเครียด ภูมิคุ้มกัน ลดต ่าลง จึงมีโอกาสติดเชื้อใหม่ หรือเชื้อที่อาจพบแฝงอยู่ในร่างกายโดยปกติไม่ก่อโรค ก็กลับมาก่อโรคระบาดที่รุนแรงขึ้นได้ ดังตัวอย่างเช่น โรคคอบวมในโคกระบือ เป็นต้น ที่มักพบระบาดตั้งแต่ปลายฤดูฝนต่อเนื่องไปยังฤดูหนาว โรคคอบวม หรือ โรคเฮโมรายิก เซฟติซีเมีย (Haemorrhagic septicemia) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย พาสทูเรลล่า มัลโต ซิดา (Pasteurella multocida) แกรมลบ รูปร่างกลม รูปแท่งหัวท้ายมน มี 5 ไทป์(A, B, D, E, F) ที่พบมากในไทยคือ ไทป์ B พบเชื้อได้ในเกือบทุกประเทศ แต่พบมากในเอเชีย แอฟริกา และเขตที่มีการเลี้ยงกระบือมากๆ โรคนี้จะระบาดได้รวดเร็ว ท าให้ เกิดการป่วยและตายจ านวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบือ ส่วนโคอาจรุนแรงน้อยกว่า ส่วนแพะ แกะ สุกร ม้า อูฐ กวาง กระทิง ลิง ช้าง ก็ติดโรคได้ แต่อาการแทบจะไม่รุนแรง และโรคนี้ไม่ติดต่อสู่คน แบคทีเรียชนิดนี้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานพอสมควร เช่น แปลงหญ้า ดินชื้นแฉะ มีรายงานว่าในแปลงหญ้าที่แห้งอาจ อยู่ได้แค่ 24 ชม. แต่หากในดินหรือทุ่งหญ้าชื้นแฉะ หรือในน ้าอาจอยู่ได้นานหลายวัน จนถึง 2-3 สัปดาห์ หรือมีรายงานนาน เป็นเดือนก็ได้ แต่แบคทีเรียนี้ก็ถูกท าลายได้ง่ายด้วยความร้อน แสงแดด รวมถึงยาฆ่าเชื้อทั่วไปก็สามารถฆ่าได้ง่ายเช่นกัน แบคทีเรียจะถูกขับออกมาจากสัตว์ที่เป็นตัวเก็บเชื้อ หรือแพร่เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่ง หรือสิ่งขับถ่าย เช่น น ้ามูก น ้าลาย น ้านม อุจจาระ ปัสสาวะ และติดต่อไปสู่ตัวอื่นโดยทางการหายใจ หรือการกิน ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ป่วย หรือกินเชื้อ ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร น ้า หรือสิ่งปูรองนอน โดยที่โรคนี้ไม่ติดต่อผ่านแมลง ในบริเวณที่มีความชุกโรคสูง จะพบเชื้อนี้ในตัวโคกระบือได้ประมาณ 5% ของฝูง อยู่ที่บริเวณโพรงจมูก คอหอย ทอนซิล โดยไม่แสดงอาการป่วย หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นพาหะ หรือตัวเก็บกักเชื้อ แต่ในช่วงที่เกิดการระบาดขึ้นแล้ว จะพบตัว ที่เป็นพาหะนี้เพิ่มมากขึ้นเป็น 20% เลยก็เป็นได้ปัจจัยเสริมที่ท าให้เชื้อก่อความรุนแรงเพิ่มขึ้น หรือแพร่ออกมานั้นได้แก่ ภาวะ ความเครียดจากการเปลี่ยนฤดูกาล ร้อนจัด หนาวจัด เคลื่อนย้ายสัตว์ ใช้แรงงานหนัก สภาพร่ายกายอ่อนแอ มีโรคอื่น พยาธิ สภาพแวดล้อมเปียกหรือชื้นแฉะ ไม่ค่อยมีแสงแดด ขาดอาหาร อาหารไม่มีคุณภาพ ได้รับวิตามินแร่ธาตุไม่ถูกต้องครบ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ตั้งแต่ปลายเดือนเมษายน ต่อเนื่องยังพฤษภาคมของปีนี้อุณหภูมิและคลื่นความร้อนได้ทวีความรุนแรงหนักมากขึ้นในไทย ส่งผลให้คน ไม่สบาย เจ็บป่วย หนักสุดก็ถึงขั้นเสียชีวิต นับได้จำานวนไม่น้อย แน่นอนว่าย่อมกระทบต่อสัตว์เลี้ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งปศุสัตว์มากด้วยเช่นกัน ที่เลี้ยงในระบบสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติก็กระทบมากหน่อย ที่เลี้ยงในระบบ EVAP ก็กระทบน้อยหน่อย ปศุสัตว์แต่ละชนิดอาจได้รับ ผลกระทบมากบ้างน้อยบ้างจากวิถีการเลี้ยงและการปรับตัวตามธรรมชาติโค กระบือ อาจมีปลักให้แช่ สุกรอาจมีส้วมน้ำา สเปรย์น้ำา พื้นซีเมนต์ ช่วยระบายความร้อน ส่วนสัตว์ที่ได้รับผลกระทบมาก เนื่องจากระบายความร้อนด้วยตัวเองค่อนข้างยากอยู่แล้ว นั่นก็คือ ไก่ สาเหตุจากไม่มี ต่อมเหงื่อ ซ้ำายังมีขนที่เป็นอุปสรรคต่อการระบายความร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งไก่ไข่ที่ยืนกรง การเคลื่อนที่ถูกจำากัด เกิดความเครียด ซ้ำายัง ต้องยืนชิดติดกับตัวอื่นตลอดเวลา การกางปีกเพื่อระบายความร้อนก็ทำาแทบไม่ได้อากาศบริเวณที่ไก่อยู่หนาแน่นก็นำาความร้อนถ่ายเทออกมา ได้ยาก นอกจากกระทบผลผลิตไข่แล้ว ยังพบว่าไก่เจ็บป่วยมากขึ้น อัตราการตายเพิ่มสูงขึ้น กรณีศึกษาต่อไปนี้อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่นำาไป ใช้ประโยชน์ได้ไม่มากก็น้อย ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่แห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ตั้งอยู่ห่างจากถนนสายหลักพอสมควร เป็นถนนภายในหมู่บ้าน รถสัญจรไปมาไม่มาก สภาพ แวดล้อมโดยรอบ เป็นบ่อปลานาข้าว ชุมชนไม่หนาแน่นมาก เลี้ยงแบบดั้งเดิม เป็นโรงเรือนระบบเปิด ตั้งอยู่บนบ่อปลา โครงสร้างเป็นไม้ ทั้งหมด หลังคามุงกระเบื้อง เป็นทรงหน้าจั่วชั้นเดียว ภายในแบ่งเป็น 5 แถว แต่ละแถวมี2 ด้านหันหลังชนกัน โดยมีรางน้ำาดื่มอยู่ด้านบน ใช้ร่วมกัน และมีรางอาหาร รางไข่ อยู่ด้านหน้าฝั่งใครฝั่งมัน โรงเรือนค่อนข้างกว้าง และยาว จึงติดตั้งพัดลมระบายอากาศเป็นระยะ ๆ มี การพ่นน้ำาบนหลังคาในช่วงบ่าย อุณหภูมิและคุณภาพอากาศที่คนสัมผัสได้ไม่แย่นัก สังเกตองค์ประกอบระบบ Biosecurity เบื้องต้นเป็นดังนี้ ไม่มีรั้วรอบขอบชิด ยานพาหนะภายนอกจอดได้เกือบถึงหน้าโรงเรือนเลี้ยงไก่ ไม่มีการอาบน้ำาฆ่าเชื้อโรค ไม่มีชุดให้เปลี่ยน ไม่มีรองเท้าให้เปลี่ยน ไม่มีอ่างจุ่มเท้าใส่น้ำายาฆ่าเชื้อไว้หน้าโรงเรือน ไม่มีมุ้ง หรือตาข่ายกันนก หนูแมลง สัตว์พาหะ ประเมินได้ว่ามีข้อบกพร่องอันอาจให้เชื้อโรคเล็ดรอดเข้าสู่ฟาร์มได้โดยง่าย ไก่ที่เลี้ยงเป็นสายพันธุ์ไฮบริดประมาณ X,000 ตัว/หลัง ซื้อไก่สาวพร้อมไข่เข้ามาเลี้ยง จากประวัติตั้งแต่เกิดมีการทำาวัคซีนป้องกัน ต่าง ๆ ได้แก่ โรคมาเร็กซ์นิวคาสเซิล หลอดลมอักเสบติดต่อ กล่องเสียงอักเสบติดต่อ ฝีดาษ กัมโบโร่ หวัดหน้า บวม ไข่นิ่มไข่ลด บิด วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ ช่วยแก้ปัญหาใหญ่หน้าร้อน ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ตั้งแต่ปลายเดือนเมษายน ต่อเนื่องยังพฤษภาคมของปีนี้ อุณหภูมิและคลื่นความร้อนได้ทวีความรุนแรงหนักมากขึ้น ในไทย ส่งผลให้คนไม่สบาย เจ็บป่วย หนักสุดก็ถึงขั้นเสียชีวิต นับได้จํานวนไม่น้อย แน่นอนว่าย่อมกระทบต่อสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปศุสัตว์มากด้วยเช่นกัน ที่เลี้ยงในระบบสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติก็กระทบมากหน่อย ที่เลี้ยงในระบบ EVAP ก็กระทบน้อยหน่อย ปศุสัตว์แต่ละชนิดอาจได้รับผลกระทบมากบ้างน้อยบ้างจากวิถีการเลี้ยงและการปรับตัวตาม ธรรมชาติโค กระบือ อาจมีปลักให้แช่ สุกรอาจมีส้วมนํ้า สเปรย์นํ้า พื้นซีเมนต์ช่วยระบายความร้อน ส่วนสัตว์ที่ได้รับผลกระทบ มาก เนื่องจากระบายความร้อนด้วยตัวเองค่อนข้างยากอยู่แล้ว นั่นก็คือ ไก่ สาเหตุจากไม่มีต่อมเหงื่อ ซํ้ายังมีขนที่เป็นอุปสรรค ต่อการระบายความร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งไก่ไข่ที่ยืนกรง การเคลื่อนที่ถูกจํากัด เกิดความเครียด ซํ้ายังต้องยืนชิดติดกับตัว อื่นตลอดเวลา การกางปีกเพื่อระบายความร้อนก็ทําแทบไม่ได้อากาศบริเวณที่ไก่อยู่หนาแน่นก็นําความร้อนถ่ายเทออกมาได้ ยาก นอกจากกระทบผลผลิตไข่แล้ว ยังพบว่าไก่เจ็บป่วยมากขึ้น อัตราการตายเพิ่มสูงขึ้น กรณีศึกษาต่อไปนี้ อาจเป็นแนวทาง หนึ่งที่นําไปใช้ประโยชน์ได้ไม่มากก็น้อย ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่แห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ตั้งอยู่ห่างจากถนนสายหลักพอสมควร เป็นถนนภายในหมู่บ้าน รถสัญจร ไปมาไม่มาก สภาพแวดล้อมโดยรอบ เป็นบ่อปลานาข้าว ชุมชนไม่หนาแน่นมาก เลี้ยงแบบดั้งเดิม เป็นโรงเรือนระบบเปิด ตั้งอยู่บนบ่อปลา โครงสร้างเป็นไม้ทั้งหมด หลังคามุงกระเบื้อง เป็นทรงหน้าจั่วชั้นเดียว ภายในแบ่งเป็น 5 แถว แต่ละแถวมี 2 ด้านหันหลังชนกัน โดยมีรางนํ้าดื่มอยู่ด้านบนใช้ร่วมกัน และมีรางอาหาร รางไข่ อยู่ด้านหน้าฝั่งใครฝั่งมัน โรงเรือนค่อนข้าง กว้าง และยาว จึงติดตั้งพัดลมระบายอากาศเป็นระยะๆ มีการพ่นนํ้าบนหลังคาในช่วงบ่าย อุณหภูมิ และคุณภาพอากาศที่คน สัมผัสได้ไม่แย่นัก สังเกตองค์ประกอบระบบ Biosecurity เบื้องต้นเป็นดังนี้ ไม่มีรั้วรอบขอบชิด ยานพาหนะภายนอกจอดได้เกือบถึงหน้า โรงเรือนเลี้ยงไก่ ไม่มีการอาบนํ้าฆ่าเชื้อโรค ไม่มีชุดให้เปลี่ยน ไม่มีรองเท้าให้เปลี่ยน ไม่มีอ่างจุ่มเท้าใส่นํ้ายาฆ่าเชื้อไว้หน้า โรงเรือน ไม่มีมุ้ง หรือตาข่ายกันนก หนู แมลง สัตว์พาหะ ประเมินได้ว่ามีข้อบกพร่องอันอาจให้เชื้อโรคเล็ดรอดเข้าสู่ฟาร์มได้ โดยง่าย ไก่ที่เลี้ยงเป็นสายพันธุ์ไฮบริดประมาณ X,000 ตัว/หลัง ซื้อไก่สาวพร้อมไข่เข้ามาเลี้ยง จากประวัติตั้งแต่เกิดมีการทํา วัคซีนป้องกันต่างๆ ได้แก่ โรคมาเร็กซ์ นิวคาสเซิล หลอดลมอักเสบติดต่อ กล่องเสียงอักเสบติดต่อ ฝีดาษ กัมโบโร่ หวัดหน้า


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE และมัยโคพลาสมา สอดคล้องตามโปรแกรมที่นิยมทำากันทั่วไป จากจำานวนครั้ง และเวลาที่ทำา พิจารณาดูแล้วน่าจะได้ผลดีกรณีที่ตัววัคซีน และวิธีการทำาดีมีคุณภาพได้ตามมาตรฐาน ส่วนหลังจากรับมาเลี้ยงแล้ว ไม่แน่ใจเรื่องวัคซีนนิวคาสเซิล และหลอดลมอักเสบติดต่อ ที่ควร ต้องทำาซ้ำาเป็นระยะ ๆ ปัญหาที่พบในช่วงหน้าร้อนนี้คือ มีไก่ตายเฉลี่ยต่อวันจำานวนค่อนข้างมากอยู่ที่ประมาณ 13-15 ตัว/หลัง คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ตายสะสม รวมประมาณ 15% โดยก่อนเข้าหน้าร้อนนี้จะมีไก่ตายเฉลี่ยเพียงวันละ 1-2 ตัวเท่านั้น ในส่วนอาหารพบว่าไก่ยังมีอัตราการกินได้ปกติใช้หัว อาหารผสมกับวัตถุดิบหลักเช่น ข้าวโพด รำา ลักษณะของอาหารที่สังเกตด้วยตาเปล่า รวมถึงดมกลิ่นยังปกติดีรางอาหารมีการทำาความสะอาด ตลอดเวลา ไม่หมักหมม ในส่วนน้ำาดื่มเป็นน้ำาบาดาลที่สูบขึ้นมาแล้วใช้ทันทีไม่ผ่านการฆ่าเชื้อโรค น้ำามีลักษณะใส ค่อนข้างเย็น มีปริมาณน้ำา มากเพียงพอให้ไก่ได้ดื่ม และเล่น อีกทั้งเป็นน้ำาไหลเวียนตลอดเวลา แต่ไม่ทราบถึงคุณภาพน้ำา โดยเฉพาะด้านชีววิทยา จากการตรวจสุขภาพไก่เบื้องต้น พบว่ายังคงปกติAlert ดี ไม่ซึม ไม่หงอย ส่งเสียงร้องดังตามปกติภาพรวมฝูงนี้มีสุขภาพที่ปกติ สมบูรณ์หน้า ตา หงอน เหนียง แข้ง ขน รูปร่าง ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ลักษณะและสีที่ปกติไม่พบอาการหรือความผิดปกติของระบบทางเดิน อาหาร ส่วนระบบทางเดินหายใจพบไก่จำานวนหนึ่งที่มากพอควรอ้าปากหอบหายใจ หายใจทางปาก แต่ยังอยู่ในระดับเบา ไม่รุนแรง บางตัว เอาหัวจุ่มลงในรางน้ำาดื่ม เพื่อช่วยลดความร้อน และข้อมูลบันทึกพบว่า %ผลผลิตไข่เริ่มลดลงเรื่อย ๆ มาสักพักหนึ่งแล้ว ในส่วนไก่ที่ตาย จากการสังเกตลักษณะซากภายนอก ทุกตัวอ้วนสมบูรณ์หน้าตา หงอน เหนียง แข้ง ขน ดูปกติดีมีบางตัวที่ทวาร ทะลุ และไส้ทะลักออกมา คาดว่าน่าจะถูกตัวอื่นจิก หลังตายไปแล้ว และมีหนึ่งตัวที่ขาคล้ายมีรอยจ้ำาเลือด ไม่แน่ใจเกิดหลังตายแล้วหรือไม่ ทางฟาร์มให้ข้อมูลว่าตัวที่ตาย ๆ ไปก่อนหน้า ก็มีลักษณะเช่นนี้ ฟาร์มเคยผ่าซากเอง ก็ไม่พบรอยโรคใดที่บ่งชี้จำาเพาะเจาะจงสาเหตุ จึงส่ง ชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ก็ไม่พบรอยโรคภายในที่จำาเพาะต่อเชื้อ หรือโรคระบาดใด ๆ เช่นกัน บางตัวพบรอยโรคบิดที่ลำาไส้ในระดับรุนแรง น้อย คาดว่าไม่น่าจะเป็นสาเหตุของการตายต่อเนื่องในครั้งนี้ โดยจากลักษณะของที่ตั้งโรงเรือน ทำาให้ไม่สามารถสังเกตลักษณะหรือความผิด ปกติของมูลไก่ได้เลย พิจารณาแล้วรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในน้ำาดื่ม โดยคำานวณตามฉลากยาอย่างถูกต้อง เป็นเวลาประมาณ 5-7 วันต่อเนื่อง ไม่แนะนำาผสมอาหาร เพราะไก่อาจกินน้อยลง ร่วมกับให้ยาต้านบิด และที่สำาคัญคือ ทำาการละลายวิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ในน้ำาดื่ม โดยเน้นที่วิตามิน C เป็นพิเศษ อย่างน้อย 7 วันต่อเนื่อง หรือหากเป็นไปได้ก็ให้ตลอดช่วงหน้าร้อน ไม่แนะนำาผสมอาหารเช่นเดียวกับยา เพราะไก่อาจกินน้อยลง อื่น ๆ ที่ควรปรับปรุงหรือทำาเพิ่มเติมได้แก่ ฆ่าเชื้อโรคในน้ำาดื่มด้วยคลอรีน ให้อาหารวันละ 2 ครั้ง ตามเดิม รอบแรกให้เร็วขึ้น อาจเป็นเช้ามืด และรอบหลังให้เย็นลงกว่าเดิม อาจเป็นช่วงค่ำา ไม่ควรให้อาหารขณะร้อนจัด โดยเฉพาะช่วงเที่ยงหรือบ่าย เสริมด้วยการเปิดไฟและให้อาหารช่วงเที่ยงคืน อาจช่วยกระตุ้นการกินให้เพิ่มขึ้น ปรับปรุงระบบความปลอดภัยทางชีวภาพให้เข้มงวด ส่วน สุขภาพควรทำาวัคซีนนิวคาสเซิล และหลอดลมอักเสบติดต่อโดยการละลายน้ำาให้ไก่กินทุก ๆ 2-3 เดือน หากละเลย อาจเกิดการระบาดได้ ติดตามผลการรักษาในช่วงสองสัปดาห์ต่อมา พบอัตราการตายลดลงเกือบถึง 50% จากที่เคยตายวันละ 13-15 ตัว/หลัง ลดเหลือวันละ 7-8 ตัว และเมื่อหยุดยาต่าง ๆ แล้ว ทางฟาร์มยังคงให้วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ในน้ำาดื่มต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน และช่วง 1 เดือน ต่อมา พบว่าอัตราการตายกลับไปอยู่ในเกณฑ์ปกติของฟาร์ม นั่นก็คือ บางวันไม่พบไก่ตาย หรือหากพบก็เฉลี่ยเพียงวันละ 1-2 ตัว/หลังเท่านั้น บวม ไข่นิ่มไข่ลด บิด และมัยโคพลาสมา สอดคล้องตามโปรแกรมที่นิยมทํากันทั่วไป จากจํานวนครั้ง และเวลาที่ทํา พิจารณาดู แล้วน่าจะได้ผลดี กรณีที่ตัววัคซีน และวิธีการทําดี มีคุณภาพได้ตามมาตรฐาน ส่วนหลังจากรับมาเลี้ยงแล้ว ไม่แน่ใจเรื่องวัคซีน นิวคาสเซิล และหลอดลมอักเสบติดต่อ ที่ควรต้องทําซํ้าเป็นระยะๆ ปัญหาที่พบในช่วงหน้าร้อนนี้คือ มีไก่ตายเฉลี่ยต่อวันจํานวนค่อนข้างมากอยู่ที่ประมาณ 13-15 ตัว/หลัง คิดเป็น เปอร์เซ็นต์ตายสะสมรวมประมาณ 15% โดยก่อนเข้าหน้าร้อนนี้จะมีไก่ตายเฉลี่ยเพียงวันละ 1-2 ตัวเท่านั้น ในส่วนอาหาร พบว่าไก่ยังมีอัตราการกินได้ปกติ ใช้หัวอาหารผสมกับวัตถุดิบหลักเช่น ข้าวโพด รํา ลักษณะของอาหารที่สังเกตด้วยตาเปล่า รวมถึงดมกลิ่นยังปกติดี รางอาหารมีการทําความสะอาดตลอดเวลา ไม่หมักหมม ในส่วนนํ้าดื่มเป็นนํ้าบาดาลที่สูบขึ้นมาแล้วใช้ ทันทีไม่ผ่านการฆ่าเชื้อโรค นํ้ามีลักษณะใส ค่อนข้างเย็น มีปริมาณนํ้ามากเพียงพอให้ไก่ได้ดื่ม และเล่น อีกทั้งเป็นนํ้าไหลเวียน ตลอดเวลา แต่ไม่ทราบถึงคุณภาพนํ้า โดยเฉพาะด้านชีววิทยา จากการตรวจสุขภาพไก่เบื้องต้น พบว่ายังคงปกติAlert ดีไม่ซึม ไม่หงอย ส่งเสียงร้องดังตามปกติภาพรวมฝูงนี้มี สุขภาพที่ปกติ สมบูรณ์ หน้า ตา หงอน เหนียง แข้ง ขน รูปร่าง ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ลักษณะและสีที่ปกติไม่พบอาการหรือ ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ส่วนระบบทางเดินหายใจพบไก่จํานวนหนึ่งที่มากพอควรอ้าปากหอบหายใจ หายใจ ทางปาก แต่ยังอยู่ในระดับเบา ไม่รุนแรง บางตัวเอาหัวจุ่มลงในรางนํ้าดื่ม เพื่อช่วยลดความร้อน และข้อมูลบันทึกพบว่า % ผลผลิตไข่เริ่มลดลงเรื่อยๆ มาสักพักหนึ่งแล้ว ในส่วนไก่ที่ตาย จากการสังเกตลักษณะซากภายนอก ทุกตัวอ้วนสมบูรณ์ หน้าตา หงอน เหนียง แข้ง ขน ดูปกติดีมี บางตัวที่ทวารทะลุ และไส้ทะลักออกมา คาดว่าน่าจะถูกตัวอื่นจิก หลังตายไปแล้ว และมีหนึ่งตัวที่ขาคล้ายมีรอยจํ้าเลือด ไม่ แน่ใจเกิดหลังตายแล้วหรือไม่ ทางฟาร์มให้ข้อมูลว่าตัวที่ตายๆ ไปก่อนหน้า ก็มีลักษณะเช่นนี้ ฟาร์มเคยผ่าซากเอง ก็ไม่พบ รอยโรคใดที่บ่งชี้จําเพาะเจาะจงสาเหตุ จึงส่งชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ก็ไม่พบรอยโรคภายในที่จําเพาะต่อเชื้อ หรือโรค ระบาดใดๆ เช่นกัน บางตัวพบรอยโรคบิดที่ลําไส้ในระดับรุนแรงน้อย คาดว่าไม่น่าจะเป็นสาเหตุของการตายต่อเนื่องในครั้งนี้ โดยจากลักษณะของที่ตั้งโรงเรือน ทําให้ไม่สามารถสังเกตลักษณะหรือความผิดปกติของมูลไก่ได้เลย พิจารณาแล้วรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในนํ้าดื่ม โดยคํานวณตามฉลากยาอย่างถูกต้อง เป็นเวลา ประมาณ 5-7 วันต่อเนื่อง ไม่แนะนําผสมอาหาร เพราะไก่อาจกินน้อยลง ร่วมกับให้ยาต้านบิด และที่สําคัญคือ ทําการละลาย วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ในนํ้าดื่ม โดยเน้นที่วิตามิน C เป็นพิเศษ อย่างน้อย 7 วันต่อเนื่อง หรือหากเป็นไปได้ก็ให้ตลอด ช่วงหน้าร้อน ไม่แนะนําผสมอาหารเช่นเดียวกันยา เพราะไก่อาจกินน้อยลง อื่นๆ ที่ควรปรับปรุงหรือทําเพิ่มเติมได้แก่ ฆ่าเชื้อ โรคในนํ้าดื่มด้วยคลอรีน ให้อาหารวันละ 2 ครั้ง ตามเดิม รอบแรกให้เร็วขึ้น อาจเป็นเช้ามืด และรอบหลังให้เย็นลงกว่าเดิม อาจ เป็นช่วงคํ่า ไม่ควรให้อาหารขณะร้อนจัด โดยเฉพาะช่วงเที่ยงหรือบ่าย เสริมด้วยการเปิดไฟและให้อาหารช่วงเที่ยงคืน อาจ ช่วยกระตุ้นการกินให้เพิ่มขึ้น ปรับปรุงระบบความปลอดภัยทางชีวภาพให้เข้มงวด ส่วนสุขภาพควรทําวัคซีนนิวคาสเซิล และ หลอดลมอักเสบติดต่อโดยการละลายนํ้าให้ไก่กินทุกๆ 2-3 เดือน หากละเลย อาจเกิดการระบาดได้ ติดตามผลการรักษาในช่วงสองสัปดาห์ต่อมา พบอัตราการตายลดลงเกือบถึง 50% จากที่เคยตายวันละ 13-15 ตัว/ หลัง ลดเหลือวันละ 7-8 ตัว และเมื่อหยุดยาต่างๆ แล้ว ทางฟาร์มยังคงให้วิตามิน เกลือแร่ อิเล็กโทรไลด์ในนํ้าดื่มต่อเนื่องจวบ จนปัจจุบัน และช่วง 1 เดือนต่อมา พบว่าอัตราการตายกลับไปอยู่ในเกณฑ์ปกติของฟาร์ม นั่นก็คือ บางวันไม่พบไก่ตาย หรือ หากพบก็เฉลี่ยเพียงวันละ 1-2 ตัว/หลังเท่านั้น


สัตว์เศรษฐกิจ 17 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ประมวลข้อมูล และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของกรณีศึกษานี้ยังไม่น่าเกิดจากโรคระบาดติดเชื้อ ซึ่งต้องมีอัตราการป่วยตายที่มากกว่านี้ หรือเกิดการระบาดที่รวดเร็วกว่านี้แต่โรคติดเชื้อก็ยังอาจมีความเป็นไปได้หากเป็นการเกิดโรคแบบอ่อนหรือแฝง สันนิษฐานว่าไก่ชุดนี้อาจมี สุขภาพที่อ่อนแอมาแต่แรกเกิด หรือปัญหาอาจเกิดจากวัคซีนในด้านต่างๆ ทำาให้ภูมิคุ้มกันระดับฝูงไม่ดีนัก จนอาจมีโรคแฝงเข้ามาอยู่ในฝูง ทั้งก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเชื้อโรคมีโอกาสเข้ามาทางระบบความปลอดภัยทางชีวภาพที่หละหลวมก็เป็นได้ซึ่งประเด็นนี้แม้จะพบรอยโรคบิด แต่ก็ อาจไม่ใช่สาเหตุหลักของการตายในรอบนี้ เนื่องจากองค์ประกอบอื่น ๆ ไม่บ่งชี้มากพอ ไม่ว่าจะเป็นไก่ไข่ยืนกรงที่พบได้น้อย ลักษณะตัวไก่ ภายนอก อัตราการเจริญเติบโต ซึ่งทุกอย่างอยู่ในเกณฑ์ปกติดี สันนิษฐานว่าเมื่ออากาศร้อนจัด อุณหภูมิสูงมากขึ้น ไก่อาจเกิดภาวะความเครียดจากความร้อน หรือ Heat stress ทำาให้ภูมิคุ้มกันโรค ลดต่ำาลง ไม่มีประสิทธิภาพ อ่อนแอ จึงทำาให้ติดเชื้อง่าย จนตายได้เพิ่มขึ้น หรือไก่อาจทนเครียดได้น้อยลง ระบายความร้อนไม่ได้ทำาให้ตาย เฉียบพลันจากภาวะ Heat stroke ก็เป็นได้ซึ่งสอดคล้องกับการรักษาที่ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อควบคุมและกำาจัดเชื้อแบคทีเรียที่อาจมีในฝูงอันคอย จะซ้ำาเติมเพิ่มความเสียหาย ร่วมกับการให้ยาต้านบิด และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้วิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์ละลายในน้ำาดื่ม ย่อมส่ง ผลดีเป็นอันมาก ทำาให้ไก่แข็งแรงขึ้น เครียดน้อยลง ทนเครียดได้มากขึ้น ทนความร้อนได้ดีขึ้น ทำาให้อัตราการตายของไก่เริ่มลดน้อยลง เรื่อย ๆ จนเข้าสู่ภาวะปกติเน้นอย่างยิ่งวิตามิน C ที่ทราบกันอยู่แล้วว่าช่วยต้านอนุมูลอิสระ เพิ่มการไหลเวียนเลือด เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ให้แข็งแรง มีความทนทานต่อเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น ก็ส่งผลให้ไก่ป่วยตายน้อยลงด้วยเช่นกัน หากกรณีศึกษานี้มีโรคระบาดติดเชื้อเป็น สาเหตุหลักแล้ว คาดว่าผลต่าง ๆ อาจดีขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ไม่น่าจะกลับมาเป็นปกติได้เช่นครั้งนี้ทั้งการให้วิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์ ต่อเนื่องมาตลอด ก็ยังคงให้ผลดีตลอดมา จึงอนุมานได้ว่าวิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์มีความสำาคัญไม่น้อยต่อการเลี้ยงปศุสัตว์ในหน้าร้อน ไม่ว่าจะเป็นภาวะติดเชื้อ หรือไม่ติดเชื้อก็ตาม ซึ่งแม้ว่าจะสรุปหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่สุดท้ายก็มีตัวช่วยแก้ปัญหาให้สามารถผ่านพ้นไป และจบลงได้ด้วยดี...... ประมวลข้อมูล และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของกรณีศึกษานี้ ยังไม่น่าเกิดจากโรคระบาดติดเชื้อ ซึ่งต้องมีอัตราการ ป่วยตายที่มากกว่านี้หรือเกิดการระบาดที่รวดเร็วกว่านี้แต่โรคติดเชื้อก็ยังอาจมีความเป็นไปได้ หากเป็นการเกิดโรคแบบอ่อน หรือแฝงสันนิษฐานว่าไก่ชุดนี้อาจมีสุขภาพที่อ่อนแอมาแต่แรกเกิด หรือปัญหาอาจเกิดจากวัคซีนในด้านต่างๆ ทําให้ภูมิคุ้มกัน ระดับฝูงไม่ดีนัก จนอาจมีโรคแฝงเข้ามาอยู่ในฝูง ทั้งก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเชื้อโรคมีโอกาสเข้ามาทางระบบความปลอดภัยทาง ชีวภาพที่หละหลวมก็เป็นได้ ซึ่งประเด็นนี้แม้จะพบรอยโรคบิด แต่ก็อาจไม่ใช่สาเหตุหลักของการตายในรอบนี้ เนื่องจาก องค์ประกอบอื่นๆ ไม่บ่งชี้มากพอ ไม่ว่าจะเป็นไก่ไข่ยืนกรงที่พบได้น้อย ลักษณะตัวไก่ภายนอก อัตราการเจริญเติบโต ซึ่งทุก อย่างอยู่ในเกณฑ์ปกติดี สันนิษฐานว่าเมื่ออากาศร้อนจัด อุณหภูมิสูงมากขึ้น ไก่อาจเกิดภาวะความเครียดจากความร้อน หรือ Heat stress ทํา ให้ภูมิคุ้มกันโรคลดตํ่าลง ไม่มีประสิทธิภาพ อ่อนแอ จึงทําให้ติดเชื้อง่าย จนตายได้เพิ่มขึ้น หรือไก่อาจทนเครียดได้น้อยลง ระบายความร้อนไม่ได้ทําให้ตายเฉียบพลันจากภาวะ Heat stroke ก็เป็นได้ซึ่งสอดคล้องกับการรักษาที่ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อ ควบคุมและกําจัดเชื้อแบคทีเรียที่อาจมีในฝูงอันคอยจะซํ้าเติมเพิ่มความเสียหาย ร่วมกับการให้ยาต้านบิด และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง การให้วิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์ละลายในนํ้าดื่ม ย่อมส่งผลดีเป็นอันมาก ทําให้ไก่แข็งแรงขึ้น เครียดน้อยลง ทนเครียด ได้มากขึ้น ทนความร้อนได้ดีขึ้น ทําให้อัตราการตายของไก่เริ่มลดน้อยลงเรื่อยๆ จนเข้าสู่ภาวะปกติเน้นอย่างยิ่งวิตามิน C ที่ ทราบกันอยู่แล้วว่าช่วยต้านอนุมูลอิสระ เพิ่มการไหลเวียนเลือด เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง มีความทนทานต่อเชื้อ โรคต่างๆ ได้ดีมากขึ้น ก็ส่งผลให้ไก่ป่วยตายน้อยลงด้วยเช่นกัน หากกรณีศึกษานี้มีโรคระบาดติดเชื้อเป็นสาเหตุหลักแล้ว คาด ว่าผลต่างๆ อาจดีขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ไม่น่าจะกลับมาเป็นปกติได้เช่นครั้งนี้ ทั้งการให้วิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์ต่อเนื่องมา ตลอด ก็ยังคงให้ผลดีตลอดมา จึงอนุมานได้ว่าวิตามิน แร่ธาตุ อิเล็กโทรไลด์มีความสําคัญไม่น้อยต่อการเลี้ยงปศุสัตว์ในหน้า ร้อน ไม่ว่าจะเป็นภาวะติดเชื้อ หรือไม่ติดเชื้อก็ตาม ซึ่งแม้ว่าจะสรุปหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่สุดท้ายก็มีตัวช่วยแก้ปัญหาให้ สามารถผ่านพ้นไป และจบลงได้ด้วยดี......


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “ไข่ไก่” โปรตีนคุณภาพสูง เข้าถึงได้ง่ายที่สุดและราคาเป็นมิตร กับผู้บริโภคทุกเพศวัย โดยเฉพาะช่วงเศรษฐกิจชะลอตัวในขณะนี้ ไข่ไก่ถือเป็นอาหารโปรตีนราคาประหยัดที่คุ้มค่า ทั้งยังหาซื้อง่าย จึงกลายเป็นความเคยชิน เมื่อมีการปรับราคาแม้เพียง 10-20 สตางค์ ต่อฟอง ในช่วงสั้น ๆ ก็อาจไปกระทบกับความรู้สึกของประชาชน แต่ในทางตรงกันข้ามพบว่า ช่วงที่เหลือนับ 10 เดือน หากราคา ปรับลง 20-30 สตางค์ต่อฟอง ผู้บริโภคได้ประโยชน์สูงสุด แต่ผู้เลี้ยง ไก่ไข่กลับถูกทอดทิ้งต้องประคองตัวเองให้อยู่รอด อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคควรเข้าใจธรรมชาติของสัตว์ เมื่อประสบ กับสภาพอากาศร้อน-แล้ง ยิ่งในสภาพอากาศของประเทศไทยปีนี้ ที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส สัตว์จะเกิดภาวะเครียด กินอาหารได้น้อยลง จึงโตช้า ที่สำาคัญอากาศร้อนกระทบมากกับไก่ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อ และยังมีขนปกคลุมร่างกาย แม่ไก่ไข่ จึง ต้องกินน้ำามากกว่าปกติเพื่อระบายความร้อน และลดการกินลง ทำาให้ สารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน ทั้ง พลังงาน โปรตีน และแคลเซียม ไม่สมดุล จะมีผลต่อคุณภาพ ขนาด และเปลือกไข่ เกษตรกรจำาเป็น ต้องปรับอุณหภูมิภายในโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ให้เหมาะสม ควบคู่กับการ ปรับสูตรอาหาร โดยการเติมโปรตีนและแคลเซียมลงในอาหารสัตว์ เพื่อชดเชยส่วนที่สัตว์กินอาหารน้อยลง ช่วยรักษาคุณภาพของ ผลผลิต แต่ก็นำามาซึ่งต้นทุนที่เพิ่มขึ้นของผู้เลี้ยง ปัจจุบัน อุตสาหกรรมไข่ไก่ของไทยมีผลผลิตรวมประมาณ 43 ล้านฟองต่อวัน จากแม่ไก่ยืนกรง 52 ล้านตัว การบริโภคเฉลี่ยใน ประเทศ 41.5 ล้านฟองต่อวัน โดยผลผลิตที่เหลือมีการส่งออกไป บางส่วน เพื่อสร้างสมดุลอุปสงค์-อุปทาน ไม่ให้ผลผลิตล้นตลาด จน ราคาตกต่ำา โดยที่คนไทยยังมีไข่ไก่บริโภคอย่างเพียงพอในราคาที่ สมเหตุผล ร้อน-แล้ง ทำ�ไก่ไข่ลด... ย ำ ้ �ร�ค�ปรับต�มต้นทุน ล่าสุด เครือข่ายสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ ประกาศปรับขึ้นราคาไข่ คละหน้าฟาร์มฟองละ 20 สตางค์ อยู่ที่ 3.80 บาทต่อฟอง หลังยืน ราคา 3.40 บาทต่อฟอง มานานกว่า 3 เดือน จากเหตุผลสำาคัญ 4 ประการ คือ 1. อากาศร้อน แม่ไก่ออกไข่น้อยลง 2. ผู้เลี้ยงปลดแม่ไก่ยืนกรงที่ครบกำาหนดพร้อมกัน ทำาให้ ผลผลิตหายไป 15% หรือประมาณ 6 ล้านฟองต่อวัน 3. ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น และ 4. โรคไข้หวัดนกระบาดใหญ่ในเวียดนาม ทำาให้มีการส่งออก ไปบางส่วนเพื่อช่วยเหลือเวียดนาม เหตุผลดังกล่าวทำาให้ราคาใน ประเทศมีการปรับขึ้นตามกลไกตลาด ซึ่งเป็นระดับที่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้ จึงเห็นได้ว่าผลผลิตไข่ไก่ลดลงในช่วงฤดูร้อนของ ทุกปี และหากเป็นช่วงเดียวกับมีการปลดแม่ไก่ยืนกรงตามรอบแล้ว ยิ่งทำาให้ผลผลิตน้อยลงไปอีก ผลผลิตออกสู่ตลาดก็จะมีปริมาณลดลง ตามไปด้วย นอกจากนี้ ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ปัจจัยการผลิต และ การป้องกันโรคที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทำาให้ผู้เลี้ยงไก่ไข่มีต้นทุนการ ผลิตสูงขึ้น ขณะที่ผลผลิตน้อยลง จึงอยู่ในภาวะที่เสี่ยงต่อการขาดทุน จึงจำาเป็นต้องมีการปรับราคาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตขณะที่ กรมการค้าภายใน ให้ข้อมูลในการปรับขึ้นราคาไข่ไก่ เป็นการปรับ ขึ้นราคาจำาหน่ายปลีกไข่ไก่ที่สอดคล้องกับต้นทุนการเลี้ยงที่เพิ่มขึ้น ทำาให้ร้านค้าปลีกบางพื้นที่ปรับราคาขายปลีกขึ้นตาม และอาจทำาให้ มีปริมาณไข่ไก่สำาหรับจำาหน่ายได้น้อยลง ด้าน คุณพเยาว์ อริกุล นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงไก่ไข่ รายย่อยภาคกลาง เปิดเผยว่า การขึ้นราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์ม ฟองละ 20 สตางค์ อยู่ที่ราคาฟองละ 3.80 บาท เป็นผลจากภาวะ อากาศร้อน - แล้ง ที่ทำาให้แม่ไก่ไข่เกิดความเครียด กินอาหารได้


สัตว์เศรษฐกิจ 19 น้อยลง กินน้ำามากขึ้นเพื่อช่วยลดความร้อนในร่างกาย เนื่องจากไก่ไม่มีต่อมเหงื่อ ทั้ง ยังมีขนปกคลุม เป็นอุปสรรคต่อการระบายความร้อนออกจากร่างกาย เมื่อมี ความเครียดสะสมและสารอาหารที่ได้ไม่เพียงพอกับการสร้างฟองไข่ ผลผลิตไข่ไก่ จึงลดลง ส่งผลให้ปริมาณไข่ไก่ในตลาดมีจำานวนน้อยลง ขณะที่ขนาดไข่ไก่ก็เล็กลง รายได้ที่เกษตรกรได้รับก็ลดลงด้วย สวนทางต้นทุนค่าน้ำาที่สูงขึ้นและค่าไฟฟ้าที่ต้องใช้ มากขึ้น เชื่อผู้บริโภคเข้าใจ “ราคาไข่ไก่มีการปรับขึ้น-ลง ตามกลไกตลาดอุปสงค์-อุปทาน ซึ่งเห็นได้ว่าช่วง อากาศร้อน-แล้ง ปริมาณไข่ไก่จะน้อยลงจากสภาพทางกายภาพของแม่ไก่ กระทบ ปริมาณผลผลิตไข่ออกสู่ตลาด ทำาให้ราคาไข่หน้าฟาร์มขยับขึ้นเล็กน้อย ซึ่งเป็นไป ตามกลไกตลาดเช่นนี้ทุกปี หากอากาศเย็นลงปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาดมากขึ้น ราคา ก็จะขยับลง เชื่อว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่เข้าใจในกลไกนี้ดี” นางพเยาว์กล่าว สอดคล้องกับ กรมการค้าภายใน ที่ยืนยันในทิศทางเดียวกันว่า ราคาไข่ไก่เป็น ไปตามฤดูกาล โดยเฉพาะช่วงหน้าร้อนของทุกปี แม่ไก่ไข่จะออกไข่น้อยลงหรือมีขนาด เล็กลง ทำาให้ปริมาณไข่ไก่หายไปราว 10% และราคาอาจขึ้นมาบ้าง แต่ไม่ใช่เรื่อง ผิดปกติ ขณะที่ คุณมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไข่ไก่ เผยว่า สาเหตุของการ ปรับขึ้นราคาไข่ไก่ มีสาเหตุอยู่ประมาณ 3-4 ประการ ได้แก่ ประกาศแรก คนเลี้ยง ที่ผ่านมาตั้งแต่กินเจ หลังเดือนตุลาคมมา ขายขาดทุนมาโดยตลอด จากประกาศ 4 บาท มาเหลือ 3.40 บาทแล้วขายจริง ๆ พ่อค้าคนกลางก็กดราคา เหลือประมาณ 3 บาท หรือ 3 บาทกว่า อันนี้ก็เป็นเหตุผลหลัก ที่ทำาให้คนเลี้ยงต้องปรับตัวเลี้ยง ให้น้อยลงบางคนก็ต้องเลิก หรือหยุดการเลี้ยงไปบางส่วน ประการที่ 2 คือ อากาศร้อน ปีนี้อากาศร้อนมาก คนยังแย่แล้วไก่ที่อยู่ในกรง มันก็เอาชีวิตไม่รอดเหมือนกัน จึงเป็นสาเหตุหลักทำาให้เปอร์เซ็นต์ไข่ในฟาร์มลดลง โดยประมาณ 5-6% ประการที่ 3 คือ เรื่องต้นทุน ต้นทุนแม้บางตัวมีการปรับลงมา แต่บางตัวก็มี การปรับขึ้น แล้วก็การสู้รบ ในยูเครนกับรัสเซีย ซึ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำาคัญ จำาหน่ายไปทั่วโลก ยังมีปัญหาอยู่ โดยเฉพาะการขนส่งผ่านทางตะวันออกกลาง ก็มี ปัญหาเรื่องค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายอื่นที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับต้นทุนที่สูงขึ้น ในแทบ จะทุกตัว ทั้งค่าแรง ค่าน้ำา ค่าไฟ และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ก็เป็นภาระของคน ทำาฟาร์ม คนอื่นประชาชนก็จะไม่รู้ แต่คนที่ทำาฟาร์มจะรู้ ทั้งหมดเป็นไปตามสาเหตุ หลักตามสามประการที่บอกไป จึงทำาให้ในปัจจุบันเมื่อตัวซัพพลายมันลดลงจากการ เลี้ยงที่น้อยลง กับอากาศที่ร้อนจัด จึงทำาให้มีการปรับราคาไข่ไก่ขึ้น แต่การปรับราคา นั้น ไม่สามารถปรับตามใจชอบได้ ต้องดูกลไกตลาด ว่าตลาดยอมรับได้ไหมสินค้า เรามีมากน้อยแค่ไหน ถ้าเป็นไปตามพัฒนาการของทุกปี เมื่ออากาศเริ่มผ่อนคลาย ตั้งแต่ปลายเดือน พฤษภาคม ถ้าเป็นไปตามภาวะปกติของทุกปี ก็น่าจะเริ่มดีขึ้น น่าจะเริ่มคลี่คลายลง มีการปรับราคาลดลง แต่ยังคงต้องฝากพี่น้องผู้บริโภคไข่ไก่ว่า ไม่ต้องกังวลใจ ไข่ไก่ ไม่มีขาด อย่างไรก็ดี ราคาไข่ไก่ที่เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยนั้น เป็นการปรับขึ้นเพียงช่วงระยะ เวลาสั้น ๆ เมื่อเทียบกับคุณค่าทางอาหารและการเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกที่แล้ว ไข่ไก่ยังคงเป็นอาหารที่ให้ประโยชน์ต่อร่างกายสูงในราคาที่จับต้องได้ และเมื่ออากาศ เย็นลง แม่ไก่กินอาหารได้ดี ผลผลิตเข้าสู่ภาวะปกติ ราคาจะปรับลงเป็นวัฏจักรของ กลไกตลาดวนเวียนไป. ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


The Leading Mycotoxin Testing Solutions 9/35 ถนนบางบอน 4 บางบอนเหนือ บางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร: 02-4162586 โทรสาร 02-4162587 www.auprogression.com / E-mail : [email protected] ชุดอุปกรณ์ในการทดสอบหาปริมาณของ Mycotoxin แบบรวดเร็ว ด้วยหลักการ ของ lateral flow strip โดยสามารถทดสอบได้ทั�งในวัตถุดิบและอาหารสัตว์ทุกชนิด One Approach Delivers Full Range Afiatoxin Detection for Complete Feeds สามารถทดสอบหาปริมาณของ Aflatoxin Total (B1,B2,G1,G2),Don,Fumonisin, Zearalenone,Ochratoxin,T2/HT2 และ Glyphosate ทดสอบ Mycotoxin ท�ง 6 ชนิด ได้ด้วยการส ักดตั วอย่างเพียงคร� ั งเดียว ั ไม่ต้องใช้สารพิษ Mycotoxin ในการทํา Calibration วิเคราะห์และรายงานผลเป็นตวเลขได้ภายใน 5-10 นาที ั ใช้งานง่าย ข�นตอนน้อย ผ ั ู้ใช้งานไม่จําเป็นต้องมีทกษะในงานห้องปฏิ ับติการมาก่อน ั ผลการทดสอบเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกบผลจาก HPLC ั


สัตว์เศรษฐกิจ 21 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน สหกรณ์ดีเด่นแห่งช�ติ ประจำ�ปี 2567 สร้�งเครือข่�ยเข้มแข็ง ช่วยสม�ชิกมีอ�ชีพอย่�ง มั่นคงและยั่งยืน ก�รสร้�งคว�มส�มัคคีและสังคมเครือข่�ยให้มีคว�มเข้มแข็ง ถือเป็นเป้�หม�ยสำ�คัญที่ช่วยให้ธุรกิจมีคว�มสำ�เร็จ โดยเฉพ�ะ ก�รดำ�เนินง�นที่เกี่ยวกับสหกรณ์ เพร�ะช่วยให้ธุรกิจสหกรณ์มีก�ร พัฒน�และเติบโตอย่�งต่อเนื่อง นอกจ�กช่วยให้สหกรณ์มีคุณภ�พ แล้ว ยังส�ม�รถเป็นที่พึ่งให้กับสม�ชิกในหล�ยด้�น ตั้งแต่แหล่ง เงินทุน องค์คว�มรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่�ง ๆ ในก�รอ�ชีพให้ เกิดร�ยได้ คุณกมลวรรณ นุชัย สหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่� สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน จำ�กัด ได้รับร�งวัลสหกรณ์ ดีเด่นประจำ�ปี2567 ถือเป็นตัวอย่�งของสหกรณ์ที่มีก�รพัฒน�และ มีเป้�หม�ยก�รดำ�เนินง�นที่เข้มแข็งจนประสบผลสำ�เร็จ ซึ่งสหกรณ์ แห่งนี้มี 5 ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจรวบรวมผลผลิตไข่ไก่ ธุรกิจจัดห� สินค้�ม�จำ�หน่�ย ธุรกิจแปรรูปอ�ห�รสัตว์และผลผลิต ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจรับฝ�กเงิน โดยก�รทำ�ธุรกิจทั้ง 5 ธุรกิจ ไม่ใช่เพื่อบุคคล ภ�ยนอกสหกรณ์แต่ทำ�เพื่อสม�ชิกทุกคน สก.ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 นำาสมาชิกสู่ความยั่งยืน จ�กก�รดำ�เนินง�นที่ผ่�นม� สิ่งที่ทำ�ให้สหกรณ์แห่งนี้มีคว�ม เข้มแข็ง คือ ก�รดำ�เนินธุรกิจที่ช่วยเหลือสม�ชิกอย่�งต่อเนื่อง ตั้งแต่ ในเรื่องของก�รช่วยเหลือเครือข่�ยสหกรณ์ โดยเฉพ�ะเกษตรกรที่ เป็นสม�ชิกในก�รรับรองผลผลิตในร�ค�ที่ยุติธรรม “สหกรณ์แห่งนี้นอกจากมีสมาชิกทำาฟาร์มไก่ไข่แล้ว ที่นี่ยังเป็น ศูนย์การเรียนรู้และส่งเสริมอาชีพเลี้ยงไก่ไข่ในรูปแบบฟาร์มกลาง จึง ทำาให้นอกจากรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกแล้ว ทางศูนย์การเรียนรู้ฯ ยังมีผลผลิตจากไก่ไข่ออกจำาหน่าย เรียกได้ว่ามีการจัดการฟาร์มที่ได้ มาตรฐานเป็นระบบอัตโนมัติทั้งในเรื่องของการให้อาหาร การลำาเลียง มูลไก่ และการลำาเลียงไข่ออกมาจากโรงเรือน ซึ่งระดมทุนภายในจาก สมาชิก และทุนภายนอกในการลงทุน” คุณกมลวรรณ กล่�ว จ�กก�รดำ�เนินง�นของสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน จำ�กัด ผลประกอบก�รเป็นไปในเชิงบวก โดยผลกำ�ไรที่ได้นำ�ม�ปันผล ให้กับผู้ถือหุ้น และนอกจ�กนี้ ส�เหตุที่ทำ�ให้ธุรกิจก�รเลี้ยงไก่ไข่ ประสบผลสำ�เร็จ เนื่องจ�กสหกรณ์จัดห�วัตถุดิบในก�รแปรรูป อ�ห�รสัตว์เอง ส�ม�รถลดต้นทุนก�รผลิตอ�ห�รสัตว์เพื่อใช้ภ�ยใน ศูนย์ก�รเรียนรู้และจำ�หน่�ยให้กับสม�ชิก ทำ�ให้สม�ชิกได้ซื้ออ�ห�ร สัตว์ในร�ค�ที่ต่ำ�กว่�ท้องตล�ด ซึ่งคว�มสำ�เร็จเหล่�นี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ คุณกมลวรรณ นุชัย


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ห�กไม่ได้คว�มร่วมมือกับสม�ชิกที่ได้ร่วมทำ�ธุรกิจกับสหกรณ์ จ�ก คว�มร่วมมือของสม�ชิกสหกรณ์ทำ�ให้สหกรณ์มีคว�มเติบโตอย่�ง ต่อเนื่อง “นอกจากความเข้มแข็งของสมาชิก การเป็นเครือข่ายที่ดี สามารถรองรับผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทำาให้สหกรณ์เครือข่ายมีตลาดรองรับใน การซื้อขายกันในราคาที่ยุติธรรม พร้อมทั้งมีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ คืนสู่สังคม ทั้งชุมชนในพื้นที่ และพื้นที่ห่างไกลเป็นประจำาทุกปี” น�งส�วกมลวรรณ กล่�ว ทุกก�รพัฒน�ที่เติบโตอย่�งมั่นคง และก�รได้คัดเลือกเป็น สหกรณ์ดีเด่นแห่งช�ติในครั้งนี้ สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำ�พูน จำ�กัด มีวันนี้ได้เพร�ะก�รช่วยเหลือและสนับสนุนที่ดีจ�กกรม ส่งเสริมสหกรณ์ ตั้งแต่ในเรื่องของงบประม�ณ อ�ทิ โกดังเก็บ สินค้� ห้องเย็นเก็บผลผลิตจ�กไข่ไก่ช่วงที่ไข่ไก่ล้นตล�ดร�ค�ตกต่ำ� เครื่องล้�งถ�ดไข่อัตโนมัติ ไซโลเก็บข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ และอุปกรณ์ อื่น ๆ อีกหล�ยชนิด มูลค่�รวมทั้งสิ้น 19,846,513 บ�ท ในด้�นของอุปกรณ์ท�งก�รตล�ดมีตั้งแต่ในเรื่องของเครื่องคัด ไข่ไก่ ส�ม�รถช่วยในเรื่องของก�รคัดไข่ไก่ให้ได้ม�ตรฐ�น ทำ�ให้ ไข่ไก่ได้น้ำ�หนักที่แน่นอนออกสู่ท้องตล�ด พร้อมทั้งมีเครื่องทำ�เต้�หู้ จ�กไข่ไก่ ทำ�ให้ส�ม�รถนำ�ไข่ที่ตกเกรดม�เพิ่มมูลค่�ได้ม�กขึ้น “การดำาเนินงานของสหกรณ์มีเป้าหมายที่ชัดเจน ที่สมาชิกทุก คนท่องกันขึ้นใจกันเลย นั้นก็คือ สหกรณ์เข้มแข็ง สมาชิกมีอาชีพ เลี้ยงไก่ไข่อย่างมั่นคงและมีความยั่งยืน ซึ่งถ้าสหกรณ์อยู่ได้สมาชิก อยู่ได้มีการเติบโตไปพร้อม ๆ กันทั้ง 2 ฝ่าย ก็จะทำาให้ความสำาเร็จ เกิดขึ้นอย่างแน่นอน” คุณกมลวรรณ กล่�ว ข้อมูล สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำาพูนจำากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่ - ลำ�พูน จำ�กัด อำ�เภอห�งดง จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อ 18 กันย�ยน พ.ศ. 2543 สม�ชิก แรกตั้ง 31 คน สม�ชิกปัจจุบัน 154 คน โดยมีนายสิริพงศ์ ตระการกมล เป็น ประธานกรรมการ ความคิดริเริ่ม สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่ - ลำ�พูน จำ�กัด จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ท�งเศรษฐกิจ และสังคมของสม�ชิก ด้วยวิธีก�รช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน โครงก�รและกิจกรรมที่สหกรณ์ดำ�เนินก�รให้บริก�รสม�ชิก ได้ตลอดห่วงโซ่ตั้งแต่ก�รผลิต ก�รรวบรวม ก�รแปรรูปเพิ่มมูลค่� และก�รตล�ด มีก�รเชื่อมโยงเครือข่�ยกับสหกรณ์ต่�ง ๆ และ หน่วยง�นภ�คเอกชนในก�รเข้�ม�มีส่วนร่วมในก�รดำ�เนินโครงก�ร ของสหกรณ์ โครงก�รที่สหกรณ์ดำ�เนินก�ร มีดังนี้ 1. โครงก�รเพิ่มประสิทธิภ�พด้�นก�รรวบรวมผลผลิตและ ก�รตล�ด มีโครงก�รย่อย ประกอบด้วย โครงก�รเพิ่มประสิทธิภ�พ ก�รเชื่อมโยงเครือข่�ยเพื่อกระจ�ยผลผลิต ไข่ไก่ โครงก�รเพิ่ม ประสิทธิภ�พด้�นก�รรวบรวมและด้�นก�รตล�ดไข่ไก่ และโครงก�ร เก็บไข่เข้�ห้องเย็น ซึ่งโครงก�รดังกล่�วส่งผลให้สหกรณ์ส�ม�รถ รวบรวมไข่ไก่จ�กสม�ชิกเพิ่มขึ้นและห�ตล�ดรองรับผลผลิตของ สม�ชิกเพียงพอต่อผลผลิตที่เพิ่มขึ้นได้โดยก�รสร้�งช่องท�งจำ�หน่�ย ผ่�นเครือข่�ยสหกรณ์ตล�ดผู้ค้�ส่ง ค้�ปลีก ห้�งสรรพสินค้� ร้�นค้� ภ�ยในชุมชนและจังหวัดใกล้เคียง มีปริม�ณก�รรวบรวมในปีล่�สุด จำ�นวน 71 ล้�นฟอง มูลค่� 246,408,707 บ�ท ลดค่�ใช้จ่�ย สม�ชิกมีร�ยได้เพิ่มขึ้น และผู้บริโภคได้ซื้อไข่ไก่ที่ได้น�ำ้หนักม�ตรฐ�น ร�ค�ถูกกว่�ท้องตล�ด 2. โครงก�รเพิ่มประสิทธิภ�พและลดต้นทุนก�รผลิตไข่ไก่ มี โครงก�รย่อย ได้แก่ โครงก�รเพิ่มประสิทธิภ�พและลดค่�ใช้จ่�ย ในก�รรวบรวมผลผลิตเพื่อจำ�หน่�ย โครงก�รช่วยเหลือด้�นปัจจัย ก�รผลิตและลดต้นทุนก�รผลิตไข่ไก่ โครงก�รเพิ่มศักยภ�พก�รผลิต และลดต้นทุนก�รผลิตไข่ไก่ และโครงก�รสร้�งไซโลเก็บข้�วโพดเลี้ยง สัตว์เพื่อลดต้นทุนก�รผลิตไข่ไก่ให้กับสม�ชิก โครงก�รดังกล่�วทำ�ให้ สหกรณ์ส�ม�รถลดก�รจ้�งแรงง�นคน วันละ 1 - 2 คน ทำ�ให้ สะดวก รวดเร็วประหยัด และสะอ�ดปลอดภัยต่อผู้บริโภค สหกรณ์ มีอ�ห�รสัตว์จำ�หน่�ยให้กับสม�ชิกในร�ค�ถูกกว่�ท้องตล�ดจำ�นวน ไม่น้อยกว่� 1,000 ตัน/ปีสม�ชิกมีแหล่งซื้ออ�ห�รสัตว์ในร�ค�ถูก กว่�ท้องตล�ด ส�ม�รถลดต้นทุนค่�ข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร 3. โครงก�รสร้�งศูนย์ก�รเรียนรู้และส่งเสริมอ�ชีพเลี้ยงไก่ไข่ ในรูปแบบฟ�ร์มกล�ง โดยสหกรณ์เปิดโอก�สให้เกษตรกรและผู้สนใจ เข้�ไปศึกษ�เรียนรู้เพื่อนำ�ม�พัฒน�อ�ชีพ ส่งผลให้อ�ชีพก�รเลี้ยงไก่ ไข่ได้รับก�รส่งเสริม และพัฒน�เป็นอ�ชีพที่ส�ม�รถสร้�งร�ยได้ ที่มั่นคงและยั่งยืนแก่เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็นแหล่งอ�ห�รที่มั่นคงของ ผู้บริโภค คว�มส�ม�รถในก�รบริห�รและก�รจัดก�รสถ�บันสหกรณ์มี คณะกรรมก�รดำ�เนินก�ร 9 คน เจ้�หน้�ที่ 30 คน ผู้ตรวจสอบ กิจก�ร 2 คน และที่ปรึกษ� 3 คน มีก�รบริห�รง�นโดยคณะ กรรมก�ร มีก�รจัดทำ�แผนกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนก�รดำ�เนินง�นและ ทบทวนแผนทุกปีมีก�รดำ�เนินธุรกิจเพื่อให้บริก�รสม�ชิก 5 ธุรกิจ ส�ม�รถตอบสนองคว�มต้องก�รของสม�ชิกได้ครอบคลุมคว�ม ต้องก�ร ผลก�รดำ�เนินง�นมีกำ�ไร 3 ธุรกิจ สหกรณ์ให้คว�มสำ�คัญกับก�รอบรมถ่�ยทอด คว�มรู้ คว�ม เข้�ใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์แก่สม�ชิกเดิมและสม�ชิกใหม่ ให้ก�ร


สัตว์เศรษฐกิจ 23 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ศึกษ�อบรมเกี่ยวกับก�รบริห�รง�นของสหกรณ์ แก่คณะกรรมก�ร และฝ่�ยจัดก�ร เพื่อนำ�คว�มรู้ม�ใช้ในก�รบริห�รจัดก�รสหกรณ์ ม�กกว่� 4 หลักสูตรต่อปี อีกทั้งก�รส่งเสริมให้สม�ชิกได้รับก�ร ศึกษ�อบรมเกี่ยวกับก�รประกอบอ�ชีพ ม�กกว่� 2 หลักสูตรต่อปี มีช่องท�งก�รเผยแพร่ประช�สัมพันธ์ข้อมูลข่�วส�รและข้อมูลอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ให้กับสม�ชิกและบุคคลภ�ยนอกได้รับรู้ม�กกว่� 5 ช่องท�งมีก�รร่วมมือหรือเชื่อมโยงเครือข่�ยพันธมิตรท�งธุรกิจกับ สหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ภ�คเอกชน ม�กกว่� 12 หน่วยง�น โดย ปีบัญชี30 กันย�ยน 2565 มีปริม�ณธุรกิจ 452,162,652.14 บ�ท มีกำ�ไรสุทธิ6,610,452.85 บ�ท จ่�ยเงินปันผลให้สม�ชิก 325,458.55 บ�ทและจ่�ยเงินเฉลี่ยคืน 2,056,141.25 บ�ท มีก�รจัดและจ่�ย สวัสดิก�รให้สม�ชิกและครอบครัวครอบคลุมทั้ง 4 ด้�น ได้แก่ ด้�น ก�รศึกษ� ก�รสงเคร�ะห์ก�รรักษ�พย�บ�ล และด้�นอื่น ๆ มีผล ก�รจัดชั้นคุณภ�พก�รควบคุมภ�ยในดีม�ก 3 ปีบัญชี บทบ�ทและก�รมีส่วนร่วมของสม�ชิกต่อสถ�บันสม�ชิกของ สหกรณ์มีคว�มรู้คว�มเข้�ใจในสิทธิหน้�ที่ โดยในรอบ 3 ปีสม�ชิก เข้�ม�มีส่วนร่วมในก�รเข้�ร่วมประชุมใหญ่เพื่อรับทร�บผลก�ร ดำ�เนินง�นร่วมเสนอคว�มคิดเห็นข้อเสนอแนะในก�รบริห�รง�นร่วม ออกเสียงเลือกตั้งกรรมก�ร หรือเรื่องต่�ง ๆ ต�มบทบ�ทหน้�ที่ของ สม�ชิก เฉลี่ยร้อยละ 77 เมื่อเทียบกับสม�ชิกทั้งหมด พร้อมทั้งมี ส่วนร่วมในก�รดำ�เนินธุรกิจกับสหกรณ์โดยมีจำ�นวนสม�ชิกฝ�กเงิน และทำ�ธุรกิจกับสหกรณ์เฉลี่ยร้อยละ 96 เมื่อเทียบกับสม�ชิกทั้งหมด คณะกรรมก�รดำ�เนินก�รของสหกรณ์ มีบทบ�ทและมีส่วน ร่วมในก�รบริห�รง�นสหกรณ์ผ่�นก�รประชุมคณะกรรมก�ร คณะ อนุกรรมก�ร คณะทำ�ง�นต่�ง ๆ เพื่อพิจ�รณ�อนุมัติแผนง�น งบประม�ณ และติดต�มผลก�รดำ�เนินง�นของสหกรณ์ เฉลี่ย ร้อยละ 99 คว�มมั่นคงและฐ�นะท�งเศรษฐกิจของสถ�บัน ผลก�รดำ�เนิน ง�น 3 ปีสหกรณ์มีเสถียรภ�พท�งก�รเงิน ซึ่งประเมินต�มเกณฑ์ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์อยู่ในระดับมั่นคงต�มม�ตรฐ�นในปีแรก และระดับมั่นคงดีในปีที่ 2 และ 3 มีอัตร�ส่วนทุนสำ�รองต่อสินทรัพย์ เฉลี่ย 0.10 เท่� อัตร�ก�รจัดสรรกำ�ไรสุทธิเป็นทุนสำ�รอง เฉลี่ยร้อย ละ 10.16 อัตร�ก�รจัดสรรกำ�ไรสุทธิเป็นทุนสะสมอื่น เฉลี่ยร้อยละ 40.41 และอัตร�ทุนภ�ยในต่อสินทรัพย์เฉลี่ยร้อยละ 46.70 ปีบัญชี สิ้นสุด 30 กันย�ยน 2565 สหกรณ์มีทุนดำ�เนินง�นทั้งสิ้น 34,226,427.22 บ�ท เป็นทุนภ�ยใน ซึ่งประกอบด้วย ทุนเรือนหุ้น 12,759,190 บ�ท ทุนสำ�รอง 12,752,369.83 บ�ท และทุนสะสม ต�มข้อบังคับ ระเบียบและอื่น ๆ 2,104,414.54 บ�ท แสดงให้เห็น ว่�สหกรณ์มีคว�มมั่นคงและฐ�นะท�งเศรษฐกิจที่ดี ก�รทำ�กิจกรรมด้�นส�ธ�รณประโยชน์และก�รอนุรักษ์ ทรัพย�กรธรรมช�ติและสิ่งแวดล้อม สหกรณ์เข้�ร่วมกิจกรรมเพื่อ ประโยชน์ต่อชุมชนสังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งท�งด้�นส�ธ�รณ ประโยชน์และด้�นก�รอนุรักษ์ทรัพย�กรธรรมช�ติและสิ่งแวดล้อม ครบถ้วนทุกด้�นและต่อเนื่องทั้ง 3 ปีเข้�ร่วมกิจกรรมและสนับสนุน งบประม�ณด้วยก�รจัดสรรเงินสวัสดิก�รของสหกรณ์ในก�รทำ� กิจกรรมต่�ง ๆ ประกอบด้วย กิจกรรมด้�นศ�สน� คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมก�รแสดงคว�มจงรักภักดีเช่น ตักบ�ตรในวัน สำ�คัญต่�ง ๆ ถว�ยผ้�กฐิน ก�รถว�ยเทียนพรรษ� จัดพิธีสรงนำ้� พระพุทธรูปเนื่องในเทศก�ลสงกร�นต์ ด้�นก�รศึกษ� กีฬ� เช่น มอบอุปกรณ์ก�รเรียน ก�รสอน อุปกรณ์กีฬ�แก่โรงเรียนตำ�รวจตระเวนช�ยแดน จัดกิจกรรมวันเด็ก แห่งช�ติมอบทุนก�รศึกษ� อุปกรณ์ก�รเรียน อุปกรณ์กีฬ�ให้กับ โรงเรียนในชุมชนพื้นที่ นำ�คว�มรู้สู่ชุมชน (วันสหกรณ์นักเรียน) พัฒน�โรงเรียน ก�รแข่งขันกีฬ�ชุมชนสนับสนุนชุดนักกีฬ�ฟุตบอล ด้�นส�ธ�รณสุข ก�รช่วยเหลือป้องกัน บรรเท�ภัยธรรมช�ติ เช่น บริจ�คอ�ห�รกล�งวันและนำ้�ดื่ม ให้แก่ โรงพย�บ�ลห�งดง ศูนย์ฉีดวัคซีน จัดกิจกรรมมอบไข่ไก่ ข้�วส�ร อ�ห�รแห้งให้กับ ประช�ชนในชุมชนพื้นที่ ด้�นก�รรักษ�สภ�พแวดล้อมแหล่งน�ำ้และชุมชน เช่น ขุดลอก คูคลองบริเวณลำ�เหมืองหน้�ศูนย์เรียนรู้ฯ จัดกิจกรรมปลูกหญ้�แฝก ร่วมปล่อยพันธุ์ปล�ลงแหล่งนำ้� ด้�นก�รบำ�บัดและฟื้นฟูทรัพย�กรธรรมช�ติและสิ่งแวดล้อม เช่น ก�รปลูกป่� จัดให้มีก�รบำ�บัดนำ้�เสียภ�ยในศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อ รักษ�แหล่งนำ้�ของชุมชนด้�นก�รประหยัด นำ�กลับม�ใช้ซำ้� ก�รลด ใช้ส�รเคมีและอื่น ๆ เช่น ติดตั้งโซล�ร์เซลล์เพื่อใช้พลังง�นแสง อ�ทิตย์ผลิตไฟฟ้� นำ�มูลไก่ม�บำ�บัดทำ�บ่อไบโอแก๊สผลิตกระแสไฟฟ้� และประหยัดไฟโดยปิดแอร์ทำ�ปุ๋ยหมักชีวภ�พจ�กเปลือกไข่ไก่


24 สัตว์เศรษฐกิจ พ่อค้าคนกลาง กดราคา คำาพูดที่เราได้ยินอยู่เสมอ วาทะกรรม ของคนที่ไม่เข้าใจการทำาธุรกิจ ขายของไม่ได้ราคา ราคาสินค้าตกต่ำา นึกอะไรไม่ออก โทษพ่อค้าคนกลางไว้ก่อนว่ากดราคา สินค้าเกษตร มีคุณสมบัติแตกต่างจากสินค้าอุตสาหกรรม เรื่อง ความเป็นฤดูกาล (seasonality) ผลผลิตออกสู่ตลาดเป็นช่วง ๆ (availability) มากบ้างน้อยบ้างตามฤดู น้ำาหนักมาก เน่าเสียง่าย (perish ability) อายุการเก็บรักษาสั้น ใช้พื้นที่การเก็บรักษาและมี ต้นทุนมาก ยิ่งเก็บนานคุณภาพยิ่งลด แถมน้ำาหนักหาย ทำาให้ต้นทุน โลจิสติกต่อหน่วยของสินค้าเกษตรสูงโดยเปรียบเทียบ แม้ว่าในทางเศรษฐศาสตร์ สินค้าเกษตรมักจะถูกสมมติว่ามี ความเหมือนกันทุกประการ (homogeneous commodity) แต่ใน การซื้อขายจริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ สินค้าเกษตรมีความเป็นธรรมชาติ คือ มีความหลากหลายตามคุณภาพผลผลิต อันเกิดจากปัจจัยการ ผลิตที่ขึ้นกับดินฟ้าอากาศเป็นสำาคัญ ยิ่งสภาพอากาศร้อนและแล้งรุนแรง เช่นปีนี้ ผลผลิตสินค้า เกษตรหลายชนิดออกน้อยกว่าปกติ เช่น ผักชีทุเรียน บางชนิด ขาดแคลนจนหาซื้อไม่ได้ เช่น มะพร้าวน้ำาหอม เพราะอากาศร้อน จนมะพร้าวขาดคอ ราคาก็ปรับตัวสูงขึ้นตามอุปทานที่ลดลง หาก ผลผลิตออกมากจนล้นตลาด ราคาจะลดลงเป็นปกติของกลไกตลาด แต่คนที่ไม่เข้าใจก็มักสรุปเอาว่า พ่อค้าคนกลางกดราคา LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หน้าที่สำาคัญของพ่อค้าคนกลางในธุรกิจการเกษตรคือ ทำาให้ ตลาดเป็นตลาดที่สมบูรณ์นำาผลผลิตไปสู่ปลายทาง เนื่องจากพ่อค้า คนกลางจะทำาหน้าที่สำาคัญคือ การจัดหา เริ่มต้นจาก หาตลาด แล้ว จึง รวบรวมผลผลิต คัดเกรด จัดเก็บ ขนส่ง จำาหน่าย สู่ตลาดปลายทางไม่ว่าจะเป็นผู้แปรรูป ค้าส่ง ค้าปลีก หรือ แม้แต่ผู้ส่งออก อีกหน้าที่สำาคัญของพ่อค้าคนกลางในตลาดสินค้าเกษตร คือ การรับความเสี่ยง ตั้งแต่การรวบรวมจนถึงการแจกจ่าย พ่อค้า คนกลางจะต้องประเมินราคารับซื้อผลผลิตเพื่อให้ครอบคลุมกับ ความเสี่ยง หากรับซื้อผลผลิตที่เกษตรกรผลิตออกมาไม่ได้คุณภาพ ตามที่ตลาดปลายทางต้องการ ก็ไม่แปลกที่ราคารับซื้อจะต่ำา เพราะ พ่อค้าต้องเอามาปรับปรุง แปรสภาพ แล้วจึงขายได้ ต้นทุนการ บริหารจัดการสูงและต้องมีกำาไรเหลือพอที่จะดำาเนินธุรกิจต่อไป การทำาธุรกิจต้องมีกำาไร หากทำาแล้วขาดทุน คงไม่มีใครทำา เป็นพ่อค้าคนกลางจึงไม่ง่าย การดำาเนินธุรกิจเกษตรของไทยท้าทายกว่าหลายประเทศ เนื่องจากเกษตรกรเป็นรายเล็ก ทำากันแบบครัวเรือน น้อยรายที่จะ เป็นรายใหญ่ การรวบรวมผลผลิตจึงมีต้นทุนสูง ปัจจุบันพ่อค้า คนกลางต้องมีทีมเก็บเกี่ยวผลผลิต ตัดแต่ง คัดเกรด มีกระบวนการ ยืดอายุผลผลิต ก่อนไปจำาหน่ายที่ตลาดปลายทาง เพื่ออำานวยความ สะดวกให้เกษตรกร จึงจัดระบบคุณภาพมาตรฐานเสียตั้งแต่ต้นทาง เพื่อลดการสูญเสียและความเสี่ยงที่จะขาดทุน พ่อค้าคนกลาง จำ�เลยของคนมักง่�ย แต่ไม่ง่�ยที่จะตัดออก เรื่องโดย : ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


สัตว์เศรษฐกิจ 25 จากประสบการณ์ที่ได้สัมผัสเกษตรกรมืออาชีพ ใส่ใจในการผลิต จนได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เกษตรกรกลุ่มนี้ไม่เคยถูกพ่อค้าคนกลางกด ราคา ตรงกันข้าม ผลผลิตมีเท่าไรพ่อค้ารับหมด จองกันล่วงหน้า แถมบวกราคาเพิ่มจากราคาตลาดให้อีกเนื่องด้วยสามารถนำาไปขาย ได้ราคาสูงกว่าสินค้าทั่วไป ราคาส่วนต่างที่พ่อค้าคนกลางรับซื้อกับราคาขายปลีกปลายทาง ดูเหมือนจะห่างกันมาก แต่เชื่อหรือไม่ว่าบางครั้งก็ไม่เหลือกำาไร มากนัก บางล็อตขาดทุน บางล็อตกำาไร เนื่องจากมีปัจจัยกำาหนด ต้นทุนของพ่อค้าหลายปัจจัย ได้แก่ อุปสงค์อุปทาน ช่องทางการ ตลาดปลายทาง สิ่งอำานวยความสะดวก (เช่น ระบบขนส่ง) ค่าเสีย โอกาสที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงการแทรกแซงจากรัฐ ข่าวนายกให้สำารวจตลาดใหม่ตัดพ่อค้าคนกลาง ทำาเอาผู้เขียน ถึงกับส่ายหัว พ่อค้าคนกลางตกเป็นจำาเลยอีกเช่นเคย เมื่อราคาสินค้าเกษตรตกต่ำา รัฐมักจะมุ่งเป้าโดยการแทรกแซง ด้วยการตัดพ่อค้าคนกลางออกจากระบบตลาด รวบรวมจัดเก็บ ผลผลิตเพื่อชะลอผลผลิตออกสู่ตลาด หรือส่งผลผลิตโดยตรงไปยัง ผู้บริโภคตามหน้าศาลากลางจังหวัด เพื่อลดอุปทานในระบบ แต่การ ทำาเช่นนี้ทำาได้เพียงครั้งคราว อย่าทำาจริงจัง แต่หากจะตัดพ่อค้า ออกไปเลย อย่าได้หาทำา หากรัฐจะทำาหน้าที่พ่อคนกลางเสียเอง มีแต่เสียกับเสีย เพราะ เจ้าหน้าที่รัฐไม่มีความเชี่ยวชาญ ต้นทุนการบริหารจัดการสูง โครงสร้างพื้นฐานไม่เอื้อ ระเบียบร้อยแปดไร้ความคล่องตัว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการต่ำา เห็นได้ชัด ๆ ก็โครงการรับจำานำา ข้าวทุกเม็ดที่ถึงวันนี้ผ่านมา 10 ปีแล้วก็ยังขายไม่หมด พ่อค้าคนกลางคือนักธุรกิจที่ทำากำาไรจากการบริหารจัดการ ความเสี่ยง แต่รัฐไม่ได้มีหน้าที่แสวงหากำาไร ความสามารถในการ รับมือความเสี่ยงต่ำา และมีโอกาสเกิดการทุจริตสูง และทำาให้ระบบ ตลาดพังในที่สุด แล้วรัฐควรทำาอะไร? หน้าที่ของรัฐคือ การส่งเสริมให้มีจำานวนพ่อค้าคนกลางมากพอที่จะเกิดการ แข่งขัน มีกลไกติดตามการค้าไม่ให้ได้กำาไรเกินปกติมากจนเกินควร กำาหนดคุณภาพสินค้าเพื่อเป็นมาตรฐานในการซื้อขายที่ชัดเจน ประกาศราคาซื้อขายแนะนำาตามคุณภาพให้เป็นที่รับรู้ทั่วกัน เข้าถึงง่าย ขึ้นทะเบียนพ่อค้าคนกลางโดยเฉพาะพ่อค้าคนกลางต่างชาติ ที่เข้ามารวบรวมสินค้าเกษตร เช่น ล้งทุเรียน ล้งมังคุด หรือแม้แต่ ผู้รวบรวมโคเนื้อ ให้อยู่ในเงื่อนไขเดียวกับพ่อค้าไทย มีการจัดเก็บ ภาษีหรือค่าธรรมเนียมการค้า เพื่อไม่ให้พ่อค้าไทยเสียเปรียบจนแข่ง กับพ่อค้าต่างชาติไม่ได้ดังเช่นทุกวันนี้ นอกจากนี้ รัฐควรส่งเสริมการการรวมกลุ่มเป็นสหกรณ์หรือ วิสาหกิจ รวมถึงสนับสนุนการทำาแปลงใหญ่อย่างต่อเนื่องให้เกิดขึ้น อย่างจริงจัง หาใช่การทำาตามนโยบาย หมดงบก็จบไป วิธีนี้จะเพิ่ม อำานาจการต่อรองให้กับกลุ่มเกษตรกร ทั้งยังลดบทบาทของพ่อค้า คนกลางในสินค้าเกษตรที่มีจำานวนพ่อค้าคนกลางน้อย มีผู้กำาหนด ราคาเพียงไม่กี่ราย อุปสรรคของการรวมกลุ่มของเกษตรกรไทยก็ไม่ง่าย กลุ่มมัก แตกเมื่อพ่อค้าวิ่งหาสินค้า ให้ราคามากกว่ากลุ่มนิดหน่อยก็แตกแล้ว หากยังไม่สามารถทำาให้เกษตรกรรายย่อยเป็นน้ำาหนึ่งใจเดียวได้กลุ่ม ก็เกิดยาก เป็นได้แค่วาทะกรรมเช่นกัน ถึงอย่างไรก็ต้องมีพ่อค้าคนกลางอำานวยความสะดวกในระบบ ตลาดมีกำาไรที่พอเหมาะ ให้ตลาดทำาหน้าที่ได้โดยที่รัฐเป็นเพียง ผู้กำากับดูแล ไม่ให้เกิดการผูกขาด หรือกำาไรเกินปกติแล้วปล่อยให้ ผู้ซื้อพิจารณาเลือกเอง แม้ว่าผู้เขียนรู้อยู่แก่ใจว่า แนวคิดการลดช่องว่างระหว่าง เกษตรกรกับผู้บริโภค โดยตัดพ่อค้าคนกลางออกไป เป็นแค่แนวคิด ที่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป เพราะแนวคิดนี้รัฐมีออกมาทุกสมัย แต่ก็ไม่ เคยทำาได้สำาเร็จ เพราะรัฐมาแล้วไป แต่พ่อค้าคนกลางอยู่ยาวไม่ได้ หมดตามวาระ คว่ำาหวอดในวงการจนรู้วิธีการรับมือดีแถมดีไม่ดีดิว จนเพิ่มอำานาจผูกขาดให้ตัวเองได้ด้วยซ้ำา พ่อค้าคนกลาง แม้อยากจะตัดออก แต่ไม่ง่ายดังที่คิด


26 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาปศุสัตว์ ต้องใช้กลไกตลาด สร้างความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย จากการที่อุณหภูมิประเทศไทยอยู่ในระดับสูงเหมือนกับ หลาย ๆ ประเทศเขตร้อนที่ตั้งอยู่บนเส้นศูนย์สูตร ยิ่งช่วงที่โลกเผชิญ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และ ปรากฎการณ์ “เอลนีโญ” ยิ่งทำาให้อากาศร้อนและแห้งแล้งมากขึ้น อุณหภูมิในประเทศสูงเฉลี่ยประมาณ 40-42 องศาเซลเซียส ไม่ว่า คน สัตว์ หรือ พืช ล้วนได้รับผลกระทบไม่ต่างกัน โดยเฉพาะ ภาคปศุสัตว์ อากาศที่ร้อนมากทำาให้สัตว์เครียด ต้องการน้ำามากขึ้น เพื่อระบายความร้อน ส่งผลให้การกินอาหารได้ลดลง กระทบโดย ตรงต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยกว่าปกติ ดังนั้น ช่วงฤดูร้อนราคาเนื้อสัตว์จะปรับตัวสูงขึ้น ตามอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) หรือที่เรียกว่าตามกลไกตลาด (Market Mechanism) ยกตัวอย่าง “หมู” ซึ่งเนื้อหมูได้รับความนิยมสูงสุดสำาหรับ คนไทย เมื่อใดที่อากาศร้อนและแห้งแล้ง ลูกหมูขุนจะเครียด ไม่ สบายตัว อัตราการกินอาหารต่ำา การเจริญเติบโตจึงต่ำากว่ามาตรฐาน ยิ่งแม่หมูที่มีลูกหมูในท้องจะได้รับผลกระทบมากกว่า อุณหภูมิที่ เหมาะสมสำาหรับการเลี้ยงหมูควรอยู่ที่ 26-28 องศาเซลเซียส แต่ อุณหภูมิขณะนี้สูงกว่ามาก จึงเป็นการยากที่สัตว์จะใช้ชีวิตได้ตามปกติ ผลผลิตจึงออกสู่ตลาดน้อย สำาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ต้องบริหารจัดการฟาร์มและ ต้นทุนด้านต่าง ๆ ในการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งวัตถุดิบ อาหารสัตว์ ปัจจัยการป้องกันโรค พลังงาน และค่าใช้จ่ายประจำา เพื่อบำารุงรักษาสัตว์ให้เจริญเติบโตได้ดี ผลผลิตมีเสถียรภาพ อัตรา แลกเนื้อไม่สูง การเติบโตดีตามที่ตลาดต้องการ และสามารถทำากำาไร ได้เพื่อให้มีเงินทุนเพียงพอสำาหรับการเลี้ยงรอบต่อไป ซึ่งช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมา ภาคปศุสัตว์ประสบปัญหาต้นทุนวัตถุดิบสูงต่อเนื่องประมาณ 30% จากสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ ตลอดจนสภาวะ แห้งแล้งในพื้นที่เพาะปลูกวัตถุดิบสำาคัญทำาให้ผลผลิตลดลง ทั้ง ข้าวโพด ถั่วเหลือง และข้าวสาลี ที่สำาคัญ ในภาคผู้เลี้ยงหมูยังประสบปัญหาขาดทุนสะสมนาน กว่า 1 ปี จากการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนมาขายในประเทศเกือบ 65,000 ตัน ระหว่างปี 2565-2566 ซึ่งเป็นสาเหตุสำาคัญที่ฉุดราคา ในประเทศให้ตกต่ำาต่อเนื่อง โดยราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มเคยตกต่ำา ที่สุดอยู่ที่ประมาณ 50 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย ของเกษตรกรสูงกว่า 80 บาทต่อกิโลกรัม ถึงแม้วันนี้ตามกลไกตลาด ทำางาน ส่งผลราคาขายหน้าฟาร์มปรับมาอยู่ที่ 70-75 บาทต่อกิโลกรัม แต่เกษตรกรก็ยังอยู่ในสถานะขาดทุน ส่วน “ไก่ไข่” อากาศร้อนอบอ้าวก็ทำาให้แม่ไก่อยู่ในภาวะเครียด ไม่ต่างจากหมู ประกอบกับไก่ไม่มีต่อมเหงื่อ และยังมีขนหุ้มตัวทำา หน้าที่ให้ความอบอุ่น จึงเป็นอุปสรรคต่อการระบายความร้อน ทำาให้ แม่ไก่ออกไข่น้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ไข่มีขนาดฟองเล็กลง และแม่ไก่ บางตัวอาจมีปัญหาไข่แตกในท้องเสี่ยงความเสียหายมากยิ่งขึ้น ทั้งหมดเป็นเหตุผลให้ราคาไข่ไก่จำาเป็นต้องปรับตามกลไกตลาด เรื่อง นี้ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ยืนยันว่า การปรับขึ้นราคา จำาหน่ายปลีกไข่ไก่อยู่ในระดับที่สอดคล้องกับต้นทุนการเลี้ยงที่สูงขึ้น ส่งผลให้ร้านค้าปลีกในบางพื้นที่ปรับราคาขายปลีกขึ้นและจำาหน่าย ไข่ไก่ได้น้อยลง รวมถึงราคาไข่ไก่จะลดลงในช่วงปิดภาคเรียน อย่างไร ก็ตาม กรมฯ มีการกำากับดูแลและติดตามสถานการณ์และตรวจสอบ อย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้มีการเอาเปรียบผู้บริโภคหรือจำาหน่ายไข่ไก่ใน ราคาสูงเกินสมควร ช่วงที่ผ่านมาราคาหมูหน้าฟาร์มเฉลี่ย 68-70 บาทต่อกิโลกรัม แต่ต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 80 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่งจะมาขยับสูงต่อ เนื่องมาอยู่ที่ราคา 72-75 บาทต่อกิโลกรัม เนื่องจากความต้องการ สูงช่วงเทศกาลและผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลง จากโครงการลด จำานวนลูกหมูขุน นำาไปทำาหมูหัน ส่วน ไข่ไก่ อากาศร้อนแล้งสมาชิก สหกรณ์และผู้เลี้ยงไก่ไข่ทั่วประเทศ ปรับราคาไข่คละหน้าฟาร์ม เพิ่มขึ้นฟองละ 20 สตางค์ อยู่ที่ 3.60 บาทต่อฟอง เนื่องจากอากาศ ร้อน ผลผลิตลดลง หลังจากยืนราคา 3.40 บาท มานานกว่า 3 เดือน (ตั้งแต่มกราคม 2567) ด้าน อธิบดีกรมการค้าภายใน หารือสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติและนายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ แจงเหตุที่ขึ้นราคาหมูและ ไข่ไก่ ชี้อากาศร้อนสุกรไม่ค่อยกินอาหารทำาโตช้า ไข่ไก่มีขนาด เล็กลง


สัตว์เศรษฐกิจ 27 นายวัฒนศักย์ เสือเอี่ยม อธิบดีกรมการค้าภายใน รายงาน สถานการณ์ราคาสินค้าโดยราคาข้าว ที่ขยับขึ้น คือ ข้าวเปลือกเจ้า เฉลี่ย 11,800 บาทต่อตัน จาก 11,550 บาทต่อตันในสัปดาห์ก่อน ข้าวเปลือกเหนียว เฉลี่ย 13,400 บาทต่อตัน จาก 13,300 บาท ในสัปดาห์ก่อนหน้า และข้าวเปลือกปทุมธานี เฉลี่ยตันละ 14,800 บาท เป็นการปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ที่ 14,740 บาท ส่วน ชนิดอื่นยังทรงตัวระดับสูง ข้าวเปลือกหอมมะลิ เฉลี่ยที่ตันละ 14,850 บาท สูงสุดที่ตันละ 15,500 บาท ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ เฉลี่ยตันละ 14,600 บาท สูงสุดตันละ 15,200 บาท ขณะที่ มันสำาปะหลัง เฉลี่ยกิโลกรัมละ 3.20 บาท สูงสุด 3.40 บาท ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทรงตัวที่กิโลกรัมละ 9.43 บาท สูงสุด 9.60 บาท โดยราคาหน้าโรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ 10.10 - 10.20 บาท ต่อกิโลกรัม ส่วนผลปาล์มน้ำามัน ลดลงเล็กน้อย เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.10 บาทสูงสุด 5.40 บาท สอดคล้องกับราคาน้ำามันปาล์มบรรจุ ขวด เฉลี่ย 44.63 บาทต่อขวดลิตร ลดลงจากสัปดาห์ก่อน ที่ขวด ละ 45.13 บาท ส่วนราคาผัก หลายชนิดแม้จะปรับตัวสูงขึ้น ตามสภาพอากาศ ที่ร้อนจัด ทำาให้ผลผลิตเสียหายได้ง่าย แต่จากการติดตามสถานการณ์ ใกล้ชิด พร้อมใช้กลไกการเชื่อมโยงจากแหล่งผลิต ไปเติมยังจุดสินค้า ให้มีเพิ่มมากขึ้น และมีราคาสูง รวมทั้งไปจำาหน่าย ผ่านรถโมบาย ธงฟ้า ทุกวัน ในชุมชนพื้นที่ กรุงเทพและปริมณฑล ทำาให้แนวโน้ม ราคาเริ่มย่อลงแล้วเล็กน้อย โดยในตลาดกลางสำาคัญ อย่าง “สี่มุมเมือง” ราคาผักชี ลดลงเหลือกิโลกรัมละ 160 บาท จากวัน ก่อนหน้าอยู่ที่ 180 บาท คะน้า จากกิโลกรัมละ 36 บาท ลดลง เหลือ 30 บาท กะหล่ำาปลี จากกิโลกรัมละ 20 บาทเหลือ 16 บาท ผักกาดหอม จากกิโลกรัมละ 60 บาทเหลือ 55 บาท ผักบุ้งจีน ลดลง 1 บาท จากกิโลกรัมละ 16 บาทเหลือ 15 บาท แตงกวา จากกิโลละ 28 บาทเหลือ 22 บาท ถั่วฝักยาว จากกิโลกรัมละ 70 บาทเหลือ 64 บาท มะนาว เริ่มลดลงแล้วจากลูกละ 5.30 เหลือ 4.10 บาท ทั้งนี้ หากในช่วงเดือนพฤษภาคม ฝนเริ่มตก ก็จะทำาให้ สถานการณ์ราคาผักคลี่คลาย เช่นเดียวกับราคาเนื้อหมู และไข่ไก่ ที่ได้รับผลกระทบจาก สภาพอากาศร้อน ทำาให้ทำาผลิตลดลง โดยจากช่วงก่อนหน้านี้ มีการ ประกาศขึ้นราคามาแล้วหลายรอบ โดยหมูเป็นหน้าฟาร์ม อยู่ที่ กิโลกรัมละ 69.70 บาท และราคาหมูเนื้อแดง สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กิโลกรัมละ 130-131 บาท แม้ราคาจะดีขึ้นจากช่วงก่อนหน้า แต่ ยังต่ำากว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้วที่เฉลี่ยกว่ากิโลกรัมละ 150 บาท และเป็นราคาที่ยังไม่คุ้มทุนของผู้เลี้ยง เนื่องจากยังมีปริมาณผลผลิต ส่วนเกินอยู่ถึง 8,000-10,000 ตัวต่อวัน ซึ่งกรมการค้าภายใน ได้ เชื่อมโยงผลผลิตจากผู้เลี้ยง เพื่อช่วยเกษตรกรระบายสินค้า ผ่านงาน ธงฟ้าที่จัดทั่วประเทศ และผ่านรถโมบายธงฟ้า ดำาเนินมาแล้วกว่า 3 สัปดาห์ และจะทำาจนกว่าจะสถานการณ์จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ส่วน ไข่ไก่ ผลผลิตภาพรวมไม่ได้ลดลง แต่ไข่ใบเล็กลง สัดส่วนเบอร์ 3 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ถึงเบอร์ 5 มีถึง 50% จากปกติจะอยู่ที่ 30% ซึ่งอยู่ระหว่างการ หารือกับผู้เลี้ยง เพื่อช่วยระบายไข่ไก่เบอร์เล็ก รวมถึงพี่น้อง ประชาชน ได้มีทางเลือกในการซื้อไข่ไก่ในราคาถูกกว่าท้องตลาด ทั้งนี้ นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้สั่งการให้เชิญผู้เลี้ยง มาหารือแนวทาง ช่วยเหลือให้เกษตรกรอยู่รอด ซึ่งกรมการค้าภายใน ได้ขอความ ร่วมมือให้ตรงราคาหมู และไข่ไก่ ไว้ในระดับปัจจุบันไปสักระยะ ซึ่ง ทางผู้เลี้ยงเอง ได้ขอให้ช่วยสนับสนุนเรื่องต้นทุน ที่ต้องหารือใน รายละเอียดอีกครั้ง ด้าน นายสัตวแพทย์ เกียรติภูมิ พฤกษะวัน เลขาธิการสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติกล่าวว่าสถานการณ์จริงของผู้เลี้ยงหมู ราคาเฉลี่ย ที่ขายได้ในเดือนมีนาคม 2567 เฉลี่ยเพียงกิโลกรัมละ 58.75 บาท แต่ต้นทุนมาตรฐาน 71.95 บาท สำาหรับผู้ซื้อสุกรเข้าเลี้ยง และ 79.05 บาท สำาหรับผู้เลี้ยงครบวงจร และในเดือนเมษายน มีสัญญาณ ดีขึ้น ขายได้เฉลี่ย 66 บาท และราคาวันนี้ 68-69 บาทต่อกิโลกรัม แต่ราคาประกาศแนะนำา 72 บาทต่อกิโลกรัม ถือว่าราคาขายจริง ไม่ได้ตามที่ประกาศ ทั้งนี้ อยากให้ภาครัฐ เข้ามาช่วยเพราะที่ผ่านมาขาดทุน ต่อเนื่อง มีช่วงต่ำาสุด ขายหมูหน้าฟาร์มได้ 55 บาท แต่ต้นทุนสูง ถึงกิโลกรัมละ 75-76 บาท ขาดทุนถึงตัวละ 2,000 บาท ในแต่ละ เดือนขายหมูกว่า 1 ล้านตัน ทำาให้วงการขายหมูมีการขาดทุน เดือน ละ 2,000 กว่าล้านบาท สะสมสูงถึงปีละ 20,000 - 30,000 ล้าน บาท โดยเฉพาะเกษตรรายย่อย จะยิ่งขาดทุนสูง จึงอยากให้กรมการ ค้าภายใน เข้ามาดูแลให้สถานการณ์ให้ผู้เลี้ยงหมูอยู่รอด สามารถ เลี้ยงหมู ป้อนคนในประเทศต่อไป นายมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า สถานการณ์ของผู้เลี้ยงไก่ ขาดทุนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงนี้ อากาศร้อนจัด ทำาให้ไข่ไก่เบอร์เล็กลง แต่มีการพูดกันถึงราคาเฉพาะ ไข่เบอร์ใหญ่ ทำาให้เข้าใจว่าไข่ราคาแพง จึงอยากให้ผู้บริโภคเข้าใจ ผู้เลี้ยงบ้าง แม้ราคาไข่ไก่ จะปรับขึ้นมาบ้าง เฉลี่ยทั้งปี แต่ผู้เลี้ยง ต้องแบกรับความเสี่ยง จะได้กำาไรเพียง 4-5 เดือนนอกนั้นเสมอตัว และขาดทุน ทำาให้ผู้เลี้ยง ล้มหายไปเยอะ จากกว่า 1 แสนราย เหลือ ไม่ถึง 10,000 ราย เหลือเฉพาะรายใหญ่เป็นส่วนมาก การบริหารจัดการราคาสินค้าเกษตรด้วย “กลไกตลาด” ทำาให้ ทั้งราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มและราคาที่เขียงหมู รวมถึงราคาไข่ไก่ มีการปรับขึ้น-ลง ตลอดทั้งปี จากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้และ ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นข้างต้น ราคาของเนื้อสัตว์จำาเป็นต้องปรับ ขึ้น-ลง ตามกลไกตลาดได้ในระดับที่เหมาะสม “ผู้บริโภคอยู่ได้ ผู้เลี้ยง อยู่รอด” ไม่ผลักภาระให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมากเกินไป ซึ่งหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต้องให้ความรู้กับผู้บริโภคได้รับทราบระบบการผลิต สภาพ แวดล้อม โรคระบาดที่มีผลต่อวงจรชีวิตของสัตว์ เพื่อสร้างความ เข้าใจที่ตรงกัน.


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE รศ.ดร.ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ นักวิชาการ มั่นใจประเทศไทยมีมาตรฐานการเลี้ยงและการผลิต สุกรที่ดี แนะเลือกซื้อเนื้อหมูจากผู้ผลิตและผู้จำาหน่ายที่ได้มาตรฐาน แหล่งที่มาน่าเชื่อถือ มีการรับรองจากกรมปศุสัตว์ ย้ำาผู้บริโภคควร รับประทานเนื้อหมูปรุงสุกเพื่อความปลอดภัย รศ.ดร.ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า “เนื้อหมู” เป็นหนึ่งในเนื้อสัตว์ ที่ได้รับความนิยมมากชนิดหนึ่งของคนไทย เป็นแหล่งโปรตีนช่วย เสริมสร้างกล้ามเนื้อ มีกรดอะมิโนที่จำาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ ร่างกาย มีวิตามิน กรดไขมัน และแร่ธาตุ รสชาติอร่อย หาซื้อได้ ง่ายราคาสมเหตุผล และประกอบอาหารได้หลากหลายเมนู การเลี้ยงสุกรในประเทศไทยมีการพัฒนาคุณภาพและ ประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากลตลอดห่วงโซ่การผลิตมาอย่าง ต่อเนื่อง ควบคู่กับการบริหารจัดการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่ เหมาะสมในสุกร (Good Farming Management : GFM) การ จัดการให้มีความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ด้วยระบบ การจัดเก็บและใช้ประโยชน์จากข้อมูล การพัฒนาคุณภาพผลผลิต ตลอดจนการปฏิบัติตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ เพื่อตอบสนองความ ต้องการเนื้อสัตว์คุณภาพดีและปลอดภัยของผู้บริโภค รศ.ดร.ศกร แนะ 3 วิธี ในการเลือกซื้อเนื้อหมูให้ปลอดภัย เริ่มต้นด้วย 1. สังเกตราคาสินค้า ไม่ควรราคาถูกเกินไปจนผิดปกติ และ ควรเลือกเนื้อสัตว์ที่เก็บในตู้หรือห้องแช่แข็งที่อุณหภูมิเหมาะสม เพื่อ รักษาสภาพความสดไว้ต่อเนื่อง 2. เนื้อหมูที่ดี ใช้นิ้วกดเนื้อจะแน่นคืนสภาพได้ ไม่บุ๋มยุบตัว ส่วนความสดให้สังเกตที่สี สีไม่ซีดหรือเขียวคล้ำา มีสีแดงสดตาม ธรรมชาติ ไม่แดงเข้มจนเกินไป เพราะอาจมีการใส่สารเร่งเนื้อแดง ไม่มีลักษณะฉ่ำาน้ำาหรือน้ำาเจิ่ง ไม่มีเมือก และไม่มีกลิ่นที่ผิดปกติ 3. เลือกซื้อจากผู้ผลิตที่ได้มาตรฐาน ได้การรับรองจาก หน่วยงานด้านความปลอดภัยทางอาหาร มีตราสัญลักษณ์ หรือมี เครื่องหมาย “ปศุสัตว์ OK” รับรองความปลอดภัย ถูกสุขอนามัย สามารถตรวจสอบแหล่งผลิตต้นทางได้ สำาหรับเนื้อหมูที่บรรจุในแพ็คเกจ ให้ดูวันหมดอายุ ฉลากข้อมูล ตราสินค้า ประกอบการเลือกซื้อ หรือเลือกแบรนด์ที่ได้รับความนิยม ที่มีความน่าเชื่อถือ มีระบบตรวจสอบตามมาตรฐาน จะช่วยลดความ เสี่ยงปัญหาเรื่องสุขภาพได้ นอกจากนี้ รศ.ดร.ศกร ย้ำาว่า การรับประทานเนื้อหมูให้ ปลอดภัย ควรบริโภคที่ปรุงสุก เพราะการปรุงสุกช่วยสร้างความมั่นใจ ในความปลอดภัยให้กับผู้บริโภคได้ ควรปรุงด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ สูงกว่า 71 องศาเซลเซียส (160 องศาฟาเรนไฮด์) เพื่อทำาลาย เชื้อโรคที่อาจติดมาและทำาให้เกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคไข้หูดับ โรคพยาธิ หรือ โรคที่ทำาให้เกิดท้องเสีย และเกิดอันตราย... เนื้อหมู แหล่งโปรตีนยอดนิยม บริโภคปลอดภัยต้องปรุงสุกทุกครั้ง


สัตว์เศรษฐกิจ 29 หมูมีขึ้นมีลง ตามวัฎจักรและกลไกตลาด ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เป็นที่รู้กันอยู่แล้วว่า “ปัจจัยด้านฤดูกาลและอุณหภูมิ” มีผลต่อ ผลผลิตทางการเกษตรไม่ว่าจะเป็นพืช หรือสัตว์ ผู้คนยอมรับได้เสมอ เมื่อ มะนาวและผักชี มีราคาแพงขึ้นสุด ๆ ในช่วงหน้าร้อน เหมือน กับที่รับรู้เสมอว่าไข่ไก่จะมีราคาสูงขึ้นเมื่ออากาศร้อน-แล้ง เพราะ แม่ไก่เครียดออกไข่ได้น้อยลง เมื่ออุปทานลด อุปสงค์เท่าเดิมหรือ เพิ่มขึ้น ย่อมทำาให้ระดับราคาของสินค้านั้น ๆ ขยับ “เนื้อหมู” ก็เช่นกัน ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศร้อน ผนวก กับการดำาเนินโครงการลดปริมาณผลผลิตส่วนเกินในช่วงที่ผ่านมา ทำาให้ราคาหน้าฟาร์มขยับขึ้นติดต่อกันหลายสัปดาห์ อย่างไรก็ตาม ราคาหมูหน้าฟาร์มขยับในช่วงภาวะอากาศร้อนแล้งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นที่ ไทยเพียงแห่งเดียว แต่เกิดกับทุกประเทศในแถบนี้ เช่น กัมพูชา ขายหมูหน้าฟาร์มในราคา 80-85 บาท/กก. เวียดนาม ราคา 82-85 บาท/กก. สปป.ลาว ราคา 73-78 บาท/กก. และจีนตอนใต้ ราคา หน้าฟาร์มอยู่ที่ 75-82 บาท/กก. (ข้อมูลจากสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ ณ วันที่ 16 เมษายน 2567) หากราคาหมูไทยยังต่ำากว่าประเทศเหล่านั้น โดยอยู่ที่ 72-78 บาท/กก.เท่านั้น ยังไม่ถึงต้นทุนการผลิตของเกษตรกรที่ 80 บาท/ กก.ด้วยซ้ำา แต่ก็พอช่วยลดขาดทุนสะสมให้เข้าใกล้ต้นทุนมากขึ้น และ ต่อชีวิตของเกษตรกรได้พอสมควร หลังคนเลี้ยงหมูต้องเผชิญความ ยากลำาบากมาตลอดหลายปี ที่สำาคัญ ราคาในปัจจุบันยังต่ำากว่าช่วงเดียวกันของปี 2565 ที่ ราคาเฉลี่ยสูงถึง 98.75 บาท/กก. เพราะเป็นปีที่ ASF ระบาดจน ผลผลิตหมูหายไปจากระบบกว่า 50% และเป็นที่มาของ ขบวนการ หมูเถื่อน ที่เข้ามาทุบตลาดหมูไทย จนเกษตรกรขาดทุนยับเยินต้อง เลิกอาชีพไปมากมาย การจะขึ้นราคาหมูไม่ใช่ใครคิดจะขึ้นก็ขึ้นได้ตามใจ แต่มันจะ ขึ้น-ลงตามอุปสงค์อุปทาน ขับเคลื่อนผ่านปริมาณผลผลิตและความ ต้องการซื้อ ส่วนเกษตรกรจะขายหมูหน้าฟาร์มได้ตามราคาประกาศ หรือไม่นั้น ยังมีตัวแปรอย่าง “คนกลาง” หรือ “ผู้ค้าหน้าฟาร์ม” หรือ “เขียงหมู” เข้ามาเกี่ยวข้อง หากคนกลางซึ่งเป็น “ผู้ค้าหน้าฟาร์ม” ยังกดราคากับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูอยู่ ย่อมทำาให้ไม่เกิดประโยชน์ต่อ การช่วยชีวิตเกษตรกรให้ประกอบอาชีพต่อไปได้ เขียง หรือ คนกลาง นับเป็นอีกข้อต่อหนึ่งของห่วงโซ่การจำาหน่าย หมูให้ถึงมือผู้บรืโภค เป็นข้อต่อที่สำาคัญไม่น้อย เพราะหากไม่มีเขียง ผู้บริโภคก็คงไม่รู้จะไปซื้อหมูที่ไหน แต่เมื่อในระบบมีปริมาณหมูน้อย ลง ราคาหน้าฟาร์มขยับขึ้น คนกลางที่ซื้อมา-ขายไป จำาเป็นต้อง เข้าใจสถานการณ์เช่นกัน ปัญหานี้หน่วยงานภาครัฐอาจต้องใช้กฎหมายว่าด้วย ราคาสินค้า และบริการ มาเป็นแนวทางในการกำากับดูแลด้วย บนแนวคิดบริหาร งานเพื่อเกษตรกรอยู่ได้และผู้บริโภคไม่เดือดร้อน ซึ่งเป็นการเดินหน้า ร่วมกันไปให้ได้ในทุกข้อต่อของห่วงโซ่การผลิตและการบริโภคหมู ซึ่ง ท้ายที่สุดแล้วจะเกิดประโยชน์ในองค์รวม ด้านสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ยืนยัน การปรับราคาสุกรหน้า ฟาร์มเป็นการทยอยปรับตามอุปสงค์-อุปทาน เพราะเกษตรกรยังขาย สุกรได้ต่ำากว่าราคาต้นทุน หลังแบกภาระขาดทุนสะสมมานานกว่า 1 ปีแล้ว


30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คุณสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ กล่าวว่า กรณีที่มีการลงพื้นที่สำารวจตลาดและแจ้งว่ามีการปรับราคา หมูหน้าฟาร์มจึงมีผลต่อราคาเนื้อหมูในตลาดสดต้องปรับสูงขึ้นนั้น เป็นการสื่อสารที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากราคาดังกล่าวเป็นการทยอยปรับ เป็นเวลาหลายสัปดาห์ ไม่ใช่การปรับครั้งเดียว ที่สำาคัญราคาขาย ปลีกเนื้อสันในราคาสูง 250 บาทต่อกิโลกรัม เพราะสันในเป็นเนื้อ ส่วนที่มีเพียงชิ้นเดียวในหมู 1 ตัว ราคาจึงสูงเมื่อเทียบกับชิ้นส่วน อื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่กว่า “สมาคมฯ ดูแลทั้งผู้บริโภคและเขียงหมู ไม่ได้ปล่อยปะละเลย และพยายามทำาทุกวิถีทางให้ทุกภาคส่วนได้รับราคาที่เป็นธรรม ทั้ง ที่ผู้เลี้ยงยังไม่สามารถขายหมูหน้าฟาร์มได้ตามราคาแนะนำา ซ้ำาร้าย ยังมีภาระขาดทุนสะสมนานกว่า 1 ปี จนเกษตรกรหลายรายต้องทิ้ง อาชีพไปเพราะไม่มีเงินทุนหมุนเวียน” นายสิทธิพันธ์ กล่าว ทั้งนี้ สมาคมฯ ประกาศราคาแนะนำาสุกรหน้าฟาร์ม เป็นประจำา ทุก ๆ วันพระ ซึ่งเป็นราคาที่เกษตรกรพออยู่ได้ โดยล่าสุด มีการ ปรับราคาขึ้น 4 บาทต่อกิโลกรัม ทำาให้ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 70-78 บาท ต่อกิโลกรัม แต่เกษตรกรขายได้จริงต่ำากว่านั้น ขณะที่ต้นทุนการผลิต ของเกษตรกรตามประกาศของสำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร คือ 78-80 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจึงยังอยู่ในภาวะขาดทุนสูง ราคาหมูหน้าฟาร์มดังกล่าว จะทำาให้ราคาขายปลีกชิ้นส่วน ต่าง ๆ ต่อกิโลกรัม เช่น หมูเนื้อแดง ไม่ควรเกิน 150 บาท หมู สามชั้นและหมูสันนอก 170-180 บาท หมูสันในประมาณ 180 บาท ส่วนสะโพกและหัวไหล่เฉลี่ย 115-125 บาท อย่างไรก็ตาม ราคา ขายปลีกยังมีระบบการค้าที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เช่น ภาค อีสาน จะขายหมูตรงจากฟาร์มให้กับเขียงหมู ราคาเนื้อหมูอาจต่ำา กว่าบางพื้นที่ ที่เขียงหมูต้องซื้อผ่านโบรกเกอร์ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานภาครัฐที่กำากับดูแลราคาและ ระบบการค้าให้เกิดความเป็นธรรมกับผู้บริโภคและผู้ค้า ขณะเดียวกัน ต้องดูแลเกษตรกรให้ได้รับราคาที่เหมาะสมด้วย หากภาคการผลิตอยู่ ในภาวะที่ขาดทุนต่อเนื่องและถูกกดราคา ผู้เลี้ยงก็ไปไม่รอด จึงควร ปล่อยให้กลไกตลาดทำางานสร้างสมดุลราคา และสร้างความมั่นคง ทางอาหารให้คนไทยมีเนื้อหมูบริโภคโดยไม่ขาดแคลนและในราคา สมเหตุผล. ขณะที่ คุณสุนทราภรณ์ สิงห์รีวงศ์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกร ภาคเหนือ เปิดเผยว่า ขณะนี้หลายพื้นที่ประสบปัญหาสภาพอากาศ แปรปรวนอย่างมาก จากอากาศระหว่างวัน ช่วงเช้าถึงเย็นร้อนจัด อุณหภูมิสูงถึงกว่า 38 - 40 องศาเซลเซียส ต่างกับช่วงค่ำาถึงรุ่งเช้า ที่อุณหภูมิลดลงไปที่อยู่ที่ 24 - 26 องศาเซลเซียส ทำาให้สุกรปรับ สภาพไม่ทัน และในบางพื้นยังมีพายุฤดูร้อน ฝนฟ้าคะนอง และมี ลูกเห็บตกซ้ำาเติม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพสุกรเป็นอย่างมาก ทำาให้ เกิดอัตราเสียหายสูงขึ้นอีก “ปกติอากาศร้อนก็ทำาให้สุกรโตช้า จากความเครียด ที่ทำาให้กิน อาหารน้อยลงอยู่แล้ว เมื่อต้องมาประสบกับสภาพอากาศแปรปรวน ยิ่งเป็นปัจจัยสำาคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของสุกร โดยเฉพาะใน ลูกสุกรแรกคลอด และแม่สุกรช่วงปลายของการอุ้มท้อง โดยลูกสุกร จะมีสภาพอ่อนแอ เจ็บป่วยง่าย ด้านแม่สุกรเกิดความเครียด ซึ่งบาง ส่วนอาจถึงกับเกิดภาวะแท้ง ทำาให้ผลผลิตสุกรเกิดความเสียหายและ มีปริมาณลดลง อัตราการสูญเสียในฟาร์มสูงกว่า 30-40%” นาย สุนทราภรณ์ กล่าว ปัจจุบันต้นทุนการเลี้ยงของเกษตรกรรายย่อยในภาคเหนือสูงถึง 82-85 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนต้นทุนการเลี้ยงเฉลี่ยทั่วประเทศของ ผู้เลี้ยงรายย่อยอยู่ที่ 78-80 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ประกาศราคา สุกรหน้าฟาร์มโดยสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติล่าสุดอยู่ที่ 70-75 บาท ต่อกิโลกรัม ตามอุปสงค์-อุปทาน แต่เกษตรกรขายได้จริงเพียง 65 บาทต่อกิโลกรัมเท่านั้น ผู้เลี้ยงสุกรจึงยังคงอยู่ในภาวะขาดทุนสูง หาก ผลผลิตถูกกดราคาเช่นนี้ เกษตรกรเลี้ยงสุกรต่อไปไม่รอดแน่นอน


สัตว์เศรษฐกิจ 31 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้ หากเกษตรกรมีการจัดการป้องกันโรคไม่ดี ต้นทุน จะสูงขึ้นมากกว่า 80 บาทต่อกิโลกรัม และในฟาร์มที่ประสบปัญหา ภัยแล้งน้ำาไม่พอใช้ จนต้องซื้อน้ำาใช้ โดยเฉพาะในเดือนพฤษภาคมที่ จะถึงนี้ ปัญหานี้ยิ่งชัดเจนขึ้น ซึ่งจะทำาให้ต้นทุนการเลี้ยงสูงกว่าใน ปัจจุบัน จึงมีความเป็นไปได้ที่เกษตรกรอาจตัดสินใจหยุดเลี้ยง ผู้เลี้ยง หวังเพียงให้กลไกตลาดทำางานอย่างเสรี เพื่อต่อลมหายใจของ เกษตรกรต่อไป ทั้งนี้ ปัญหาความแห้งแล้ง ไม่เพียงกระทบกับปริมาณน้ำาให้สุกร กินมีไม่เพียงพอเท่านั้น ยังตามมาด้วยปัญหาคุณภาพน้ำาที่แย่ลง มี ความสกปรกสูง สุกรที่กินน้ำาสกปรกมีโอกาสท้องร่วงมากขึ้น ขณะ เดียวกัน โรคสำาคัญในสุกรยังคงมีอยู่ ทั้งปัญหาต่อเนื่องจากโรคอหิวา แอฟริกาในสุกร (ASF) และโรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (PED) ที่พบ มากในช่วงฤดูกาลนี้ ปัญหาดังกล่าวสร้างความเสียหายค่อนข้างมาก ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร นายสินธุ ปัญญาศักดิ์ สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรเชียงใหม่-ลำาพูน อ.เมือง จ.ลำาพูน เปิดเผยว่า ขณะนี้สภาพอากาศที่ร้อนมาก และมี แนวโน้มที่อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำาให้ผู้เลี้ยงสุกรส่วนใหญ่ ไม่มั่นใจในการนำาสุกรเข้าเลี้ยง จึงลดความเสี่ยงด้วยการลดปริมาณ สุกรเข้าเลี้ยง โดยเลี้ยงให้บางลง เพื่อป้องกันปัญหาอากาศร้อน ที่ กระทบตัวสัตว์ทำาให้เครียดง่าย กินอาหารน้อยลง ส่งผลให้การเติบโต ช้า ขณะเดียวกัน สัตว์อ่อนแอและเจ็บป่วยง่ายกว่าปกติ และการติด เชื้อโรคเกิดขึ้นง่าย เนื่องจากภูมิคุ้มกันลดต่ำาลง นอกจากนี้ เกษตรกรยังประสบปัญหาขาดแคลนน้ำาจากภาวะแล้ง ปริมาณน้ำาไม่เพียงพอในการเลี้ยงสุกร และคุณภาพน้ำาไม่สะอาด เสี่ยง กระทบสุขภาพสุกร มีโอกาสเกิดโรคท้องร่วง ผู้เลี้ยงต้องให้ความ สำาคัญกับการดูแลสุขภาพสัตว์เป็นพิเศษ ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น จากการจัดเตรียมน้ำาให้เพียงพอและการปรับปรุงคุณภาพน้ำาก่อน นำาไปใช้ ขณะเดียวกัน โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร หรือโรค PED ที่ พบมากในช่วงฤดูกาลนี้ ยังเป็นอีกปัญหาที่สร้างความเสียหาย ค่อนข้างมาก ปัจจุบันผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยทั่วประเทศ เหลือเพียง 50,000 กว่า ราย จากที่เคยมีถึงกว่า 200,000 ราย จากปัญหาโรคในสุกรในช่วง หลายปีที่ผ่านมา ซ้ำายังได้รับผลกระทบจากราคาสุกรตกต่ำา จากกรณี หมูเถื่อนที่แอบลักลอบนำาเข้ามาดัมพ์ตลาดในประเทศ ที่ยังคงเป็น ปัญหาเรื้อรังอยู่ในขณะนี้ เมื่อมีปัญหาร้อนแล้งและโรคสุกรเข้ามา สมทบ ทำาให้การสูญเสียในฟาร์มสูงถึง 30-40% ผลผลิตสุกรมีปริมาณ ลดลง และยังต้องมีภาระในการซื้อน้ำาใช้อีก จึงต้องแบกรับต้นทุน สูงขึ้น สวนทางการราคาขายสุกรหน้าฟาร์ม จนเกษตรกรหลายราย มีความคิดที่จะหยุดเลี้ยงเพื่อรอดูสถานการณ์ ซึ่งจะกระทบกับปริมาณ สุกรที่ออกสู่ตลาดอย่างแน่นอน การที่ผู้เลี้ยงสุกรเลี้ยงแบบไม่เต็มประสิทธิภาพ จากการลดจำานวน การเลี้ยง ทำาให้ปริมาณสุกรขุนลดลง จะส่งผลให้ราคาอาจปรับสูงขึ้น บ้างจากเหตุผลข้างต้น ซึ่งการปล่อยราคาให้เป็นไปตามกลไกตลาด ถือเป็นแรงจูงใจสำาคัญของผู้เลี้ยง เพื่อให้ยังคงยืนหยัดเลี้ยงสุกรต่อไป และมั่นใจว่าจะสามารถขายสุกรได้ในราคาตามอุปสงค์อุปทานที่ แท้จริง ไม่ต้องเผชิญภาวะขาดทุนสะสมดังเช่นที่ผ่านมา. กลไกตลาดทำาหน้าที่ของมันเสมอ “ของน้อยราคาสูงขึ้น-ของมาก ราคาต่ำาลง” และครั้งนี้ถือว่าราคาหน้าฟาร์มที่ขยับขึ้นก็เพื่อ “คนไทย” ที่ประกอบอาชีพเลี้ยงหมูผลิตอาหารให้คนไทยด้วยกันได้กิน ดีกว่า ราคาต่ำาลง เพราะ “หมูเถื่อน” ที่เข้ามากอบโกยผลกำาไรเข้ากระเป๋า “มิจฉาชีพและข้าราชการที่คอรัปชั่น” เป็นไหนๆ./


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “คดีหมูเถื่อน” อาจเจอทางตันและหายเข้ากลีบเมฆไปไม่ต่าง กับคดีใหญ่ ๆ ในอดีต ที่คดีใดก็ตามพัวพันกับผู้ทรงอิทธิพลระดับ ประเทศ นักการเมืองใหญ่ หรือ ข้าราชการการเมืองและข้าราชการ ระดับสูง ผู้กระทำาผิดมีอันรอดพ้นจากความผิดจากการพิจารณาคดี ที่ลากยาว นานจนลืมว่าสอบสวนไปถึงขั้นตอนใด หรืออาจยืดนาน จนคดีหมดอายุความ หรือ อาจจะรื้อฟื้นคดีขึ้นมา ฟอกขาวให้ ผู้ต้องหาจนกลายเป็นผู้บริสุทธิ์ก็เคยมีให้เห็นมาแล้ว คดีหมูเถื่อนและเนื้อสัตว์เถื่อน ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรม สอบสวนคดีพิเศษ (DSI) ถูกแยกคดีออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. คดี หมูเถื่อนตกค้างที่ท่าเรือแหลมฉบัง 161 ตู้2. คดีหมูเถื่อนสำาแดง เท็จเป็นโพลิเมอร์และอาหารทะเลแช่แข็ง จำานวน 2,385 ใบขน นำาออกไปขายในตลาดแล้วมากกว่า 60,000 ตัน และ 3. คดีนำาเข้า ตีนไก่ 10,000 ตู้ที่มีเนื้อสัตว์อื่น ๆ ปนอยู่ด้วย ซึ่งคดีในกลุ่มแรก ทำาการสอบสวนกันมายาวนานเกือบ 2 ปีแต่ก็ยังไม่สามารถดำาเนิน คดีถึงที่สุดหรือสาวถึงตัวผู้บงการเบื้องหลังได้แม้แต่รายเดียว จับได้ เพียงผู้ต้องหานายทุน ซึ่งเป็นกุญแจสำาคัญที่จะไขไปสู่ความจริง ทั้งหมด ได้รับการประกันตัวและปล่อยตัวชั่วคราว ส่วนข้าราชการ ที่เกี่ยวข้อง 10 ราย จาก 10 คดีผลการสอบสวนเสร็จสิ้นเมื่อเดือน เมษายน (ตามคำากำาหนดของ DSI) ต้องจับตาดูกันว่าการจับกุม จะได้ “ปลาซิว” หรือ “ปลาฉลาม” สังคมต้องจับตาดูบทพิสูจน์ ขบวนการยุติธรรมของไทย จากคำาให้สัมภาษณ์ของ DSI ผ่านรายงานข่าวแห่งหนึ่งว่า คดี ในกลุ่มที่ 2 (หมูเถื่อนสำาแดงเท็จ 2,385 ใบขน) ได้มีการหารือร่วม กับคณะอัยการ มีความเห็นว่าคดีในกลุ่มนี้ (เล็ดลอดออกสู่ตลาดใน ประเทศไปแล้ว) อาจใช้ช่องทางความร่วมมือทางอาญา (Mutual Legal Assistance Treaty : MLAT) เพื่อขอให้จัดส่งเอกสาร หลักฐานอย่างเป็นทางการจากประเทศต้นทางบริษัทส่งออกหมูเถื่อน ทั้งจากบราซิลและบริษัทในยุโรป มาทำาการตรวจสอบว่าสินค้าที่ นำาเข้าเป็นการปลอมใบ Invoice หรือไม่ ซึ่งเท่ากับเป็นการนำาคดีหมูเถื่อนไปพิจารณาเป็นคดีนอก ราชอาณาจักร ทำาให้ต้องเริ่มต้นนับหนึ่งในขั้นตอนการสอบสวน ทั้งหมด และต้องใช้เวลาอีกไม่น้อยกว่า 1 ปีในการสอบสวน ตาม ที่ DSI แจง จึงเกิดคำาถามว่าเป็นการ “ดึงเวลา” เพื่อใคร? ขอมองต่างมุมการตีความตามกฎหมาย ว่า หมูเถื่อนที่สำาแดง เท็จจำานวน 2,385 ใบขน นั้นถูกกระจายไปทั่วประเทศ มีการซื้อ-ขาย กันแล้ว เป็นความผิดที่เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย เหตุใดหน่วยงาน ที่รับผิดชอบไม่ดำาเนินคดีภายใต้กฎหมายไทยกับผู้กระทำาผิดให้ถึง ที่สุด จากหลักฐานเอกสารและพยานบุคคลที่จับกุมได้ก่อนหน้านี้หรือ เรียกเอกสารนำาเข้าเพิ่มเติมจากกรมศุลกากร ก็จะสามารถเดินหน้า ให้คดีมีความคืบหน้าได้และอาจจะได้คนที่อยู่เบื้องหลังคดีนี้ตัวจริงแล้ว เหตุใดจึงต้องไปพิสูจน์ว่า Invoice ดังกล่าวว่าเป็นของปลอมจาก ประเทศต้นทาง เพราะการนำาสินค้าออกจากท่าเรือโดยสินค้าที่แจ้ง ไม่ตรงกับสินค้าในตู้คอนเทนเนอร์ ก็เป็นการพิสูจน์ชัดเจนแล้วว่า เอกสารนำาเข้านั้นเป็นของปลอมจริง ตัวอย่างการพิจารณาคดีหมูเถื่อนภายใต้กฎหมายไทย ที่ตำารวจ เป็นผู้รับผิดชอบคดีจนเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ศาลจังหวัดนาทวี พิพากษาทั้งจำาและปรับผู้ต้องหา 4 ราย คดีลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อน 30,000 กิโลกรัม เข้ามาในราชอาณาจักร ปรับหนักเป็นคดีแรกคนละ 8.6 ล้านบาท จำาคุก 6 เดือน เพราะเป็นคดีนโยบายระดับประเทศ แสดงให้เห็นว่าภายใต้กฎหมายไทยสามารถนำาตัวผู้กระทำาผิดมา ลงโทษได้แน่นอน และคดีนี้ไม่ใช่คดีแรกที่มีการตัดสินถึงที่สุดใน ชั้นศาล เพราะเมื่อเดือนมีนาคม 2566 ศาลจังหวัดสมุทรสาคร ได้ ตัดสินบริษัทอนุสรณ์มหาชัยห้องเย็น จำากัด โทษคุก-ปรับ ฐานลักลอบ ค้าหมูเถื่อน ถือเป็นรายแรกที่มีการทำาสำานวนการสอบสวนสั่งฟ้อง วิธีการของ DSI ดังกล่าว จะทำาให้คดีหมูเถื่อนลากยาวจาก 2 ปี เป็น 3 ปี เปิดช่องให้ผู้กระทำาผิด ได้ใช้เวลาอย่างเต็มที่ในการ ต่อสู้คดีโอกาสที่จะสอบสวนให้ถึงผู้อยู่เบื้องหลัง ทั้งนักการเมืองอักษร ย่อ ข้าราชการการเมือง ข้าราชการระดับสูง ดูจะริบหรี่เต็มทีเหมือน “หลุมดำา” ที่ไม่มีอะไรสามารถเข้าถึงได้สำาคัญอย่างยิ่งเมื่อคดีลากยาว ไปทำาให้การสอบสวนไม่เคร่งครัดและต่อเนื่องเหมือนเดิม เมื่อสังคม ลืม ๆ อุตสาหกรรมหมูเขาไม่หยุดรอ ต้องเดินหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง เพื่อรักษาอาชีพ ก็คงจะไม่ได้หวนกลับทวงความยุติธรรมอีก คดีนี้ อาจจะถูกฝังกลบให้ย่อยสลายเป็นปุ๋ยเหมือนกับ “หมูเถื่อน” จึงอยาก ตั้งคำาถามไว้ว่าการพิจารณาคดีข้างต้นเป็นคดีนอกราชอาณาจักร ผลดีจะเกิดกับประเทศ หรือ เกิดกับใครกันแน่. หมูเถื่อน “หลุมดำ�” หวั่นกระบวนการสอบสวน เจาะไม่ถึง “ตัวการ” โดย อัปสร พรสวรรค์นักวิชาการอิสระ


สัตว์เศรษฐกิจ 33 คอนแทรคฟาร์ม... อาชีพสร้างรายได้ สร้างสุขเกษตรกรไทย ทั่วโลกตระหนักดีถึงความสำาคัญของภาคเกษตรกรรม ในการ เป็นฐานรากของ “ความมั่นคงทางอาหาร” สำาหรับประชากรโลกที่มี แนวโน้มจะเพิ่มขึ้นถึง 9 พันล้านคนในอีก 30 ปีข้างหน้า ท่ามกลาง ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่จำากัด ท่ามกลางความท้าทายต่าง ๆ ทั้ง เรื่องสิ่งแวดล้อม และโรคระบาดต่าง ๆ ระบบคอนแทรคฟาร์มมิ่ง จึงเป็นหนึ่งในระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร ที่ช่วยสนับสนุนให้ เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตสินค้าทางการเกษตรได้คุณภาพและ มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ขณะที่เกษตรกรมี หลักประกันเรื่องรายได้ที่มั่นคง และมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ได้ดำาเนินโครงการส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกรรายย่อย ตั้งแต่ ปี2518 ช่วยสนับสนุนให้เกษตรกรเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตร ทั้งสุกร ไก่เนื้อ และไก่ไข่ โดยประยุกต์ใช้ระบบคอนแทรคฟาร์มมิ่ง เป็นข้อ ตกลงระหว่างคู่สัญญา คือ บริษัทผู้ประกอบการกับเกษตรกร ให้ผลิต สินค้ามาตรฐานเดียวกับบริษัท โดยบริษัทฯ เป็นผู้ถ่ายทอดให้ เกษตรกรมีความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าได้ประสิทธิภาพมี ผลผลิตแน่นอน ลดความเสี่ยงจากโรคระบาด และมีแหล่งรับซื้อที่ แน่นอน เกษตรกรไม่เสี่ยงด้านการตลาดและราคา สามารถผลิต อาหารได้อย่างต่อเนื่อง ร่วมสนับสนุนความมั่นคงด้านอาหารให้กับ คนทั้งประเทศ ให้คนไทยได้มีเนื้อสัตว์และไข่ไก่ปลอดภัย บริโภคอย่าง เพียงพอ ในปีที่ผ่านมา ซีพีเอฟ ได้ดำาเนินการประเมินผลตอบแทนทาง สังคม (Social Return on Investment - SROI) โครงการส่งเสริม การเลี้ยงสุกรขุนแบบประกันรายได้โดยประเมินผลโครงการฯ ในมิติ ของต้นทุน ผลประโยชน์และความเสี่ยง พบว่า เกษตรกรเลี้ยงสุกร ขุนในโครงการฯ รวม 3,093 ราย ได้รับผลตอบแทนทางสังคมคิด เป็นมูลค่าผลสัมฤทธิ์ด้านเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อม รวม 4,574 ล้านบาท โดยเฉพาะการสร้างผลกระทบเชิงบวกตามเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ(SDGs) ความมั่นคงในอาชีพและรายได้ เกษตรกรร่วมโครงการฯ มี รายได้ที่มั่นคง โดยได้รับรายได้จากกการเลี้ยงสุกรรวม 2,751 ล้าน บาท ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรช่วยให้เกษตรกรลด ต้นทุนทางการเงิน โดยเฉพาะการสร้างโอกาสในการต่อยอดหรือขยาย โอกาสทางธุรกิจอื่น ๆ เกษตรกรมีต้นทุนทางการเงินที่ลดลงจากการ เข้าถึงเงินกู้จากธนาคาร และช่วยให้เกษตรกรมีค่าใช้จ่ายที่ลดลงจาก การใช้พลังงานทดแทนภายในฟาร์ม ที่มาจากการจัดการของเสียของ ฟาร์มสุกรเอง ขณะที่ผลตอบแทนด้านสังคมและการยกระดับคุณภาพชีวิตของ เกษตรกร เกษตรกรเลี้ยงสุกรขุนในโครงการฯ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ช่วยขยายโอกาสการยกระดับคุณภาพชีวิต เกษตรกรมีเวลาให้กับ ครอบครัวมากขึ้น ช่วยขยายโอกาสทางการศึกษาของบุตรหลาน การ ลดภาวะการเจ็บป่วยจากการลดใช้สารเคมีทางเกษตร การสนับสนุน มีความสัมพันธ์ที่ดีและการยอมรับจากชุมชน ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วยการผลิต ก้าวสู่การเป็น เกษตรกรยุค 4.0” นายสมพรกล่าว นอกจากคุณภาพชีวิตของครอบครัวเกษตรกรที่ดีขึ้นแล้ว โครงการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงสัตว์เกษตรกรรายย่อยของซีพีเอฟยัง ส่งเสริมให้เกษตรกรยกระดับระบบผลิตอาหารที่เป็นมิตรต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานฟาร์มสีเขียว (CPF Green Farm) ไม่ เพียงส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยระบบก๊าซชีวภาพ (biogas system) ซึ่งช่วยจัดการของเสียที่ สามารถนำาไปใช้เป็นพลังงานไฟฟ้าภายในฟาร์ม และร่วมลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกัน ฟาร์มเกษตรกร บางพื้นที่ยังแบ่งปันน้ำาที่ผ่านการบำาบัดได้มาตรฐานแล้วให้กับเพื่อน เกษตรกรที่ทำาอาชีพเพาะปลูกมีน้ำาใช้ในช่วงหน้าแล้งอีกด้วย นายสมพรกล่าวเสริมว่า ซีพีเอฟถ่ายทอดองค์ความรู้และความ เชี่ยวชาญต่าง ๆ ให้แก่เกษตรกรในโครงการฯ เป็นประจำาทุกปีช่วย สนับสนุนการทำาปศุสัตว์อย่างยั่งยืน และเกษตรกรสามารถปรับตัว รับมือกับความท้าทาย และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะ ในปัจจุบันมีความเสี่ยงเรื่องโรคระบาด บริษัทฯ ได้เตรียมความพร้อม ถ่ายทอดระบบการจัดการฟาร์ม และระบบป้องกันโรคที่ดีที่ผ่านมา ช่วยให้เกษตรกรในโครงการฯ ส่วนใหญ่สามารถป้องกันโรค ASF ได้ อย่างมั่นใจ โครงการฯ ช่วยสนับสนุนให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึง การดำาเนินงานที่รับผิดชอบ เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน อาทิการ จัดการแรงงานตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีต่อแรงงาน (Good Labour Practice: GLP) การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(Good Agriculture Practice: GAP) การเลี้ยงสัตว์ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์เป็นต้น โดย ซีพีเอฟจัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนเกษตรกรคอนแทรคฟาร์มมิ่ง ที่ เปิดโอกาสให้เกษตรกรในโครงการฯ สามารถติดต่อขอคำาแนะนำา และ ความคิดเห็นจากเกษตรกรถึงผู้บริหารโดยตรง ช่วยเสริมการทำางาน ของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อีกด้วย ด้าน เกษตรกรรุ่นใหม่อย่าง ทิพยวรรณ กันภัย เจ้าของ “ทิพยวรรณฟาร์ม” ต.แม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ หนึ่งในเกษตรกร ผู้เลี้ยงสุกรขุน ในโครงการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร รายย่อย หรือคอนเทรคฟาร์ม กับบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ จากอดีตเกษตรกรสวนส้มที่ตัดสินใจ ล้มต้นส้มกว่า 7 ไร่ หลังจากมีปัญหาโรคระบาดในส้มเมื่อ 10 กว่า ปีที่แล้ว เล่าย้อนที่มาของการผันตัวเองมาเป็นเกษตรกรเลี้ยงหมูว่า เมื่อสวนส้มเริ่มมีปัญหา จึงต้องมองหาอาชีพที่น่าจะทดแทนกัน จน มาเจอกับอาชีพเลี้ยงหมูกับซีพีเอฟ เธอได้หาข้อมูลอย่างรอบด้าน ทั้ง เรื่องการลงทุน ข้อสัญญา ผลตอบแทน และความเสี่ยงต่าง ๆ ก่อน จะสรุปกับตัวเองได้ว่า การเป็นเกษตรกรคอนแทรคฟาร์มนั้น “ไม่มี ความเสี่ยง” แถมยังไม่ต้องกังวลกับเรื่องการหาตลาดเอง ผลตอบแทน มากน้อยขึ้นอยู่กับตัวเองลงมือทำาและใส่ใจ จึงตัดสินใจร่วมโครงการฯ เมื่อปี2553 เลี้ยงหมูขุนความจุรวม 640 ตัว ส่วนในด้านสิ่งแวดล้อม การที่ฟาร์มสุกรของเกษตรกรเลี้ยง สุกรขุน ของซีพีเอฟทุกแห่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และผ่านการทำา ประชาคมจากชุมชน มีการติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพ (Biogas) เพื่อ บำาบัดมูลสุกรและน้ำาใช้ภายในฟาร์ม จึงช่วยลดปัญหากลิ่นและลดก๊าซ มีเทนที่ออกสู่ชั้นบรรยากาศรวมถึงมีการนำาน้ำาที่ผ่านการบำาบัดแล้ว ไปมอบให้ชาวสวนชาวไร่ใช้รดพืชผล เป็นปุ๋ยชั้นดีให้กับพืชไร่ต่าง ๆ ทำาให้ฟาร์มอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข การส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงสุกรขุนแก่เกษตรกรรายย่อยด้วย ระบบคอนแทร็คฟาร์มมิ่งนี้ นอกจากจะช่วยสร้างรายได้อย่าง สม่ำาเสมอและยั่งยืนแก่เกษตรกรในโครงการฯ แล้ว ยังสนับสนุนให้ เกษตรกรสามารถผลิตอาหารได้และส่งมอบเนื้อสุกรปลอดภัยได้อย่าง ต่อเนื่องให้กับคนไทยด้วยฟาร์มสุกรที่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีส่วนช่วยลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการช่วย ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็นต้นทางของอาหารมั่นคงที่ ยั่งยืนอีกทางหนึ่ง คุณสมพร เจิมพงศ์รองกรรมการผู้จัดการ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ปัจจุบัน มีเกษตรกรกว่า 5,900 ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการฯ ช่วยสนับสนุนงานที่มีคุณค่าให้กับเกษตรกรไทย โดยบริษัทฯ เป็น ผู้ถ่ายทอดให้เกษตรกรมีความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าได้ ประสิทธิภาพ มีผลผลิตแน่นอน มีแหล่งรับซื้อผลผลิตในราคาที่ตกลง ไว้ล่วงหน้า เกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งทุนในการขยายกิจการ ช่วยลดความเสี่ยงให้สามารถดำาเนินการผลิตเนื้อสัตว์ได้ต่อเนื่อง ร่วม สนับสนุนความมั่นคงด้านอาหารให้กับคนทั้งประเทศ “ระบบคอนแทรคฟาร์มมิ่ง ช่วยแก้ปัญหาความยากจนและหนี้ สินครัวเรือนของเกษตรกรไทย ลูกหลานของเกษตรกรมีโอกาส ทางการศึกษาในระดับสูงมากขึ้น และหลายคนกลับมาสานต่ออาชีพ ของพ่อแม่ ร่วมพัฒนาให้การผลิตมีความทันสมัยขึ้น โดยประยุกต์ใช้


สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ “ไม่มีคำาว่าโชคช่วยสำาหรับการเลี้ยงหมูมีแต่คำาว่าใส่ใจและดูแล หมูให้ดีเพื่อให้มีประสิทธิภาพการเลี้ยงที่ดีด้วยเทคนิคการคัดแยก ขนาดหมูให้ใกล้เคียงกันที่สุดตั้งแต่วันแรก และเอาใจใส่ดูแลให้ลูกหมู ตัวเล็กโตทันเพื่อนให้ได้มีการเสริมนมกับกล้วยสุกบ้าง ที่สำาคัญคือ การป้องกันโรคที่เข้มงวด ซึ่งถือว่าโชคดีมากที่ฟาร์มยกระดับเรื่องนี้ ตั้งแต่เมื่อ 2 ปีก่อน ที่ต้องป้องกันโรคสำาคัญในหมูทั้ง ASF และ PRRS เมื่อเกิดโรคโควิด-19 ขึ้น จึงไม่กังวลเพราะระบบ Biosecurity ที่ฟาร์มดำาเนินการนั้นแน่นหนาอยู่แล้ว และให้คนงานพักอาศัยในพื้นที่ บ้านพักของฟาร์ม เพื่อลดความเสี่ยงจากทั้งโรคคนและโรคสัตว์ เป็นการสร้างความมั่นใจในมาตรฐานอาหารปลอดภัยอีกขั้นหนึ่ง ความทุ่มเทตลอด 12 ปีที่ผ่านมา โดยมีซีพีเอฟเคียงข้างกันมาและ ถ่ายทอดทุก ๆ เทคนิค เพื่อให้เราเติบโตขึ้น เข้มแข็งขึ้น ปรากฎ ผลชัดเจนในวันนี้ เรามีอาชีพที่ดีปลอดจากความเสี่ยง ได้รายได้ ที่เหมาะสมตามกำาลังที่เราทุ่มเทไป เท่านี้ก็มีความสุขมากแล้ว” ทิพยวรรณ บอกด้วยรอยยิ้ม สอดคล้องกับ รุ่งทิพย์เพ็ชร์ลมุล เจ้าของ “หอมชื่นคอนกรีต ฟาร์ม” ต.ท่าชมวง อ.รัตภูมิจ.สงขลา เกษตรกรคอนแทรคฟาร์ม เลี้ยงหมูพันธุ์กับซีพีเอฟ เล่าย้อนว่าเมื่อปี 2542 หลังจากเรียนจบ ประมาณ 2 ปีเธอมีความคิดอยากมีอาชีพที่เป็นเจ้านายตัวเอง ได้ อยู่บ้านดูแลพ่อที่ป่วย ได้เลี้ยงลูกที่กำาลังเล็ก พอดีเพื่อนบ้านเลี้ยงหมู กับบริษัทอยู่แล้วจึงสนใจเข้าไปศึกษา พบว่ามีความเป็นไปได้และตอบ โจทย์ที่ต้องการแถมยังไม่ต้องเสี่ยงกับตลาดที่ผันผวน มีรายได้ ทุกเดือน และรายได้จากการจับหมูขายตามประสิทธิภาพของตัวเอง จึงตัดสินใจเข้าร่วมโครงการทันทีเริ่มจากเลี้ยงหมูแม่พันธุ์150 แม่ และขยายอีกเท่าตัวเป็น 300 แม่ เมื่อ 2 ปีที่แล้ว “ตลอด 20 กว่าปีที่ร่วมงานกับบริษัท เป็นสิ่งยืนยันว่า อาชีพ นี้มีความมั่นคงยั่งยืน และไม่มีความเสี่ยงด้านการตลาด เพราะบริษัท เป็นตลาดรองรับผลผลิตทั้งหมด มีผู้เชี่ยวชาญมาช่วยดูแลทุกอย่าง ยิ่งช่วงที่มีโรคโควิด-19 ความใส่ใจในการป้องกันโรคที่ดีอยู่แล้วจาก มาตรการป้องกันโรคหมูก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ อย่างเช่นคนงานก็ จะจัดที่พักให้ ทำาให้พวกเขาไม่ต้องออกไปเสี่ยง สัตวแพทย์ของ ซีพีเอฟ และปศุสัตว์อำาเภอก็จัดอบรมการป้องกันโรคและติดตาม สุขภาพสัตว์ต่อเนื่อง ที่สำาคัญคือการใส่ใจในมาตรฐานการผลิต เพราะ เราเป็นต้นทางของอาหารปลอดภัย เมื่อทุกอย่างได้รับการดูแล อย่างดีผลผลิตที่ได้จึงดีมาก รายได้ก็ดีตามไปด้วย คนเลี้ยงก็มี ความสุข บริษัทก็มีหมูคุณภาพดีไปขาย นำาไปแปรรูป คนกินก็ได้ อาหารปลอดภัย นี่คือระบบที่ Win-Win ทุกฝ่ายจริง ๆ” รุ่งทิพย์ สรุปไว้อย่างน่าสนใจ ‘คอนแทรคฟาร์ม’ คือภาพสะท้อนการร่วมกันทลายปัญหาของ เกษตรกรที่มีมาตลอด ทั้งเรื่องปัญหาการตลาดที่เกษตรกรต้องแบก รับภาระการจัดหารตลาดเอง การเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างจำากัด ระบบนี้เข้ามาจัดการด้านการตลาด ทำาให้เกษตรกรปลอดความเสี่ยง คลายภาระเกษตรกรที่ต้องแบก และพวกเขายังได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยีที่ดีจากบริษัท เป็นความสัมพันธ์ที่เท่าเทียมและการ ทำางานร่วมกันเพื่อเป้าหมายเดียวคือ การสร้างอาหารปลอดภัยเพื่อ ผู้บริโภค...


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ความนิยมในการบริโภคสินค้าเนื้อโคของโลกมีแนวโน้มเพิ่มมาก ขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับสถิติตั้งแต่ปี2562 - 2566 ที่พบว่า ปริมาณการนำาเข้าเนื้อโคของโลก เพิ่มขึ้นเฉลี่ยกว่า 3.24% ต่อปี โดยไทยถือเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีการส่งเสริมการผลิตโคเนื้อสำาหรับ การค้าและการบริโภคในประเทศ อย่างไรก็ดีไทยยังมีความต้องการ นำาเข้าโคเนื้อและผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศเป็นจำานวนมาก สนค. แนะภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมมือเก็บข้อมูล วิจัยตลาด ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อวางกลยุทธ์การผลิตเชื่อมโยงการตลาด การค้าสินค้าโคเนื้อสร้างความเชื่อมั่น และสร้างการรับรู้แก่ผู้บริโภค ทั้งในและต่างประเทศให้รู้จักและหันมาบริโภคเนื้อโคของไทยควบคู่กับ การเตรียมพร้อมในการสร้างมาตรฐานเทียบเท่าโคเนื้อในตลาดโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าและโอกาสในการส่งออกโคเนื้อของไทยให้มากขึ้น นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำานวยการสำานักงานนโยบาย และยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยสถิติ ปี2566 พบว่าโลกมีการนำาเข้าเนื้อโคกว่า 10.35 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 0.85% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ประเทศที่มีการนำาเข้าสูงสุด ได้แก่ จีน 3.60 ล้านตัน (+2.80%) สหรัฐอเมริกา 1.64 ล้านตัน (+6.70%) และญี่ปุ่น 0.75 ล้านตัน (-3.47%) ส่วนไทยแม้จะมีผลิตภัณฑ์โคเนื้อ เร่งยกระดับโคเนื้อไทย คุณภาพ & มาตรฐาน ไม่แพ้ชาติใดในโลก เพื่อการค้าทั้งในและต่างประเทศ แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ บริโภคภายในประเทศ จากสถิติการนำาเข้าปี 25661 ไทยมีปริมาณและมูลค่าการ นำาเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์รวมกว่า 49,253 ตัน คิดเป็นมูลค่า 7,754.94 ล้านบาท ซึ่งทั้งปริมาณและมูลค่าลดลง 11.68% และ 12.97% ตามลำาดับ เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า (ปี2565 มีการนำาเข้า 55,770 ตัน เป็นมูลค่า 8,910.92 ล้านบาท) ประเทศที่ไทยมีมูลค่า การนำาเข้าสูงสุด ได้แก่ ออสเตรเลีย มูลค่า 5,402.75 ล้านบาท (21,449 ตัน) ญี่ปุ่น มูลค่า 782.77 ล้านบาท (21,450 ตัน) และ นิวซีแลนด์ มูลค่า 740.26 ล้านบาท (4,719 ตัน) ตามลำาดับ ผู้บริโภคไทยนิยมเนื้อโคเกรดพรีเมียม ชิ้นเนื้อใหญ่ เนื้อนุ่ม เนื้อสัน มีไขมันแทรก (Marbling) ส่วนเนื้อโคสายพันธุ์ที่นิยมบริโภค เช่น เนื้อวากิวญี่ปุ่นเนื้อแองกัสออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เป็นต้น เนื่องจากมีความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานการผลิต นายพูนพงษ์ฯ กล่าวว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีความพยายาม ในการดำาเนินโครงการเพื่อส่งเสริมและยกระดับคุณภาพมาตรฐานด้าน การผลิต ล่าสุด เดือนธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยข้อมูลว่าประเทศไทยมีเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ 1.4 ล้านราย


สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่อยู่ภาคอีสาน ขณะที่ผลิตโคเนื้อได้มากกว่า 9.57 ล้านตัว และพยายามปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อที่เลี้ยงในไทย ให้สามารถผลิตเนื้อที่ มีคุณภาพเทียบเคียงกับเนื้อนำาเข้าจากต่างประเทศหลากหลาย สายพันธุ์มากขึ้น อาทิ เนื้อโคขุนโพนยางคำาจากจังหวัดสกลนคร เนื้อโคราชวากิวนอกจากนี้เนื้อโคคุณภาพดีของไทยยังได้รับคัดเลือก ให้เป็นเมนูอาหารขึ้นโต๊ะต้อนรับผู้นำาระดับโลกในการประชุม “APEC 2022” ขณะเดียวกันมีการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ “โคดำา ลำาตะคอง” จากนวัตกรรมการผสม 3 สายพันธุ์ ได้แก่ โคพื้นเมือง วากิว และแองกัส ถือเป็นตัวอย่างการพัฒนาการเลี้ยงโคเนื้อคุณภาพ สูง รองรับความต้องการบริโภคในประเทศที่เปลี่ยนไปในทิศทาง พรีเมียมมากขึ้น ซึ่งอาจช่วยทดแทนการนำาเข้าจากต่างประเทศได้ มากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต นอกจากการยกระดับคุณภาพมาตรฐานเพื่อทดแทนการนำาเข้า แล้ว สิ่งที่น่าสนใจสำาหรับผู้ประกอบการและเกษตรกรไทย คือ การ เตรียมความพร้อมในการยกระดับเพื่อส่งเสริมการส่งออกสินค้าโคเนื้อ ให้มากขึ้นในอนาคต ปัจจุบันตลาดที่น่าสนใจสาหรับไทยคือตลาดใน ภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีน ที่มีความต้องการเพิ่มขึ้นทุกปีและเป็น ประเทศที่มีการบริโภคมากที่สุดอันดับสองของโลก (รองจากสหรัฐฯ) ข้อมูลล่าสุด พบว่า ในปี2566 ปริมาณการผลิตเนื้อวัวของจีนอยู่ที่ 7.50 ล้านตัน - ขณะที่ ความต้องการบริโภคของจีนมีมากถึง 11.06 ล้านตัน - แสดงให้เห็นว่า แม้จีนจะผลิตโคเนื้อเป็นจำานวนมากแต่ก็ ไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภคในประเทศ ดังนั้น เพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาดที่เติบโตเร็ว ประกอบกับราคาเนื้อวัวนำาเข้า มีราคาต่ำากว่าในประเทศ ทำาให้จีนมีการนำาเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดีการนำาเข้าของจีนให้ความสำาคัญต่อทั้งปริมาณและ คุณภาพ กล่าวคือ ต้องมีปริมาณเพียงพอมีมาตรฐานและมีการ รับประกันคุณภาพด้วย ขณะเดียวกัน จีนก็มีข้อจำากัดในการนำาเข้า อาทิ เป็นสายพันธุ์ลูกผสมพื้นเมือง แองกัส ชาร์โรเล่ส์ บราห์มัน ซิมเมนทอล แบรงกัส หรือพันธุ์พื้นเมืองของไทย ลาว อินเดีย และ มีน้ำาหนักไม่ต่ำากว่า 350 - 400 กิโลกรัม วัวต้องแข็งแรง กล้าม เนื้อแน่น แผ่นหลังมีเนื้อเต็ม ผิวลื่นสวย และต้องปลอดโรคปากและ เท้าเปื่อย (FDM) และโรคติดต่ออื่น ๆ จึงถือเป็นโอกาสของไทย ซึ่ง ไทยต้องเร่งเตรียมความพร้อมในเรื่องห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงเชือดเพื่อส่งออก วัคซีน และการตรวจสอบย้อนกลับที่มาของ โคเนื้อ เพื่อรองรับการผลิตจำานวนมาก การดูแลและรักษาผลิตภัณฑ์ ให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัยตามข้อกำาหนดของจีน นายพูนพงษ์ฯ กล่าวว่า การวิจัยทางการตลาด เป็นเครื่องมือ หนึ่งที่ช่วยการวางแผนกลยุทธ์และ การพัฒนาการผลิตและการตลาด ตลอดจนความต้องการและรสนิยมของผู้บริโภคในแต่ละภูมิภาค ทั่วโลกได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการส่งเสริมการออกกฎ ระเบียบในการติดตามตรวจสอบโคเนื้อ และการลงทุนเพื่อพัฒนา ระบบหรือนวัตกรรมสาหรับตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภค ซึ่งระบบดังกล่าวอาจเป็นอีกเครื่อง มือที่ช่วยป้องกันการลักลอบการนำาเข้าโคเนื้อผิดกฎหมาย ที่ส่ง ผลกระทบต่อราคาในประเทศ อีกทั้งป้องกันการใช้สารเร่งเนื้อแดงที่ เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคด้วย นอกจากนี้หากเชื่อมโยงสินค้าโคเนื้อ ไทยกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ ให้มากขึ้น เช่น ส่งเสริมโคเนื้อไทยให้ เป็นอีกหนึ่งซอฟต์พาวเวอร์ด้านอาหาร ควบคู่กับวัฒนธรรมการ บริโภคแบบไทยและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมทั้งเร่งโปรโมท คุณภาพโคเนื้อไทยให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ และกำาหนด นโยบายการส่งเสริมและพัฒนาการเลี้ยงให้ได้มาตรฐานการค้า โดย เฉพาะในพื้นที่จังหวัดที่มีจำานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อเป็นจำานวน มาก ก็จะช่วยให้เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดี และยกระดับรายได้ของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน มากขึ้น กระทรวงเกษตรฯ เดินหน้าพัฒนาโคเนื้อ ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ นโยบายพัฒนาโคเนื้อ-กระบือ และผลิตภัณฑ์แห่งชาติ(Beef Board) ครั้งที่ 1/2567 โดยมีนายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วม ณ ห้องประชุม 134 - 135 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่า ภายใต้การนำาของรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีตระหนักถึงความสำาคัญในการ ขับเคลื่อนนโยบายแก้ปัญหาราคาสินค้าปศุสัตว์ตกต่ำา เป็นปัญหาที่ ส่งผลกระทบให้กับเกษตรกรและเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม จึง ได้มอบให้กระทรวงเกษตรฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งเข้าไปเจรจา


38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE กับต่างประเทศเพื่อขยายการส่งออกตลาดโคเนื้อและกระบือ ซึ่ง จะทำาให้ราคาในประเทศขยับขึ้นได้ซึ่งความคืบหน้าขณะนี้กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ได้อยู่ระหว่างการเร่งเจรจาผลักดันการค้าระหว่าง ประเทศอย่างต่อเนื่อง เช่น ประเทศจีนซึ่งความคืบหน้าเป็นไปใน ทิศทางบวก ตลอดจน ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ชนิดสินค้าปศุสัตว์ ได้แก่ โคมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ โคขุนและโคเพื่อ การทำาพันธุ์ เนื้อโค เป็นต้น นอกจากนี้ ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบ “โครงการส่งเสริมการ เลี้ยงโคเนื้อ เพื่อเพิ่มรายได้สำาหรับเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย” (โคเพิ่ม รายได้) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างโอกาสให้เกษตรกรผู้มีรายได้น้อยได้ รับแม่โคเป็นของตนเองให้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งกระตุ้น ฟื้นฟูตลาด การซื้อขายโคภายในประเทศ ระยะเวลาดำาเนินการ ปีงบประมาณ 2567 - 2569 (3 ปี) โดยของบกลางสนับสนุนค่าจัดซื้อแม่พันธุ์โค ให้กับเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย จำานวน 4,000 ราย ได้รับการสนับสนุน โคเนื้อเลี้ยงเป็นอาชีพ ซึ่งจะเตรียมหารือกับสำานักงบประมาณ และ เสนอเข้าคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ ต่อไป อีกทั้ง เพื่อให้การดำาเนินงานของคณะกรรมการนโยบายพัฒนา โคเนื้อ - กระบือ และผลิตภัณฑ์แห่งชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น แก้ปัญหาราคาตกต่ำา เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป ที่ประชุมจึงได้มีคำาสั่งแต่งตั้งเพิ่มเติม 3 คณะ ดังนี้ 1. ยกเลิกคำาสั่งเดิม ที่ 648/2561 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2561 และแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายพัฒนาโคเนื้อ - กระบือ และ ผลิตภัณฑ์แห่งชาติขึ้นใหม่ โดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เป็นประธาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น รองประธาน ลงวันที่ 31 มกราคม 2567 2. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ การรักษาตลาดการบริโภคเนื้อโค - กระบือ และผลิตภัณฑ์ โดยมี นายบุญสิงห์วรินทร์รักษ์ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เป็นประธาน และ 3. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการต้นทุน การผลิตโคเนื้อ - กระบือ เพื่อจัดทำาข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต สำาหรับประกอบการกำาหนดนโยบายด้านโคเนื้อและกระบือของ ประเทศไทยได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยมี เลขาธิการ สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นประธาน สำาหรับสถานการณ์การผลิตและการตลาดโคเนื้อ - กระบือ ของไทย ปี2567 ดังนี้ ด้านการผลิต : โคเนื้อ ในปี2567 คาดการณ์ว่าโคเนื้อมีจำานวน 9.95 ล้านตัว เกษตรกรจำานวน 1.44 ล้านราย เพิ่มขึ้นจากปี2566 ที่มีจำานวนโคเนื้อ 9.65 ล้านตัว คิดเป็นร้อยละ 3 คาดการณ์ว่า ผลผลิตโคเนื้อจะมีจำานวน 1.399 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจากปี2566 คิด เป็นร้อยละ 7.84 เนื่องจากในปี2566 ประเทศไทยมีการเจรจาเปิด ตลาดโคเนื้อมีชีวิตกับหลายประเทศ ซึ่งคาดว่าจะสามารถส่งออก โคเนื้อได้เพิ่มขึ้นในปี2567 ประกอบกับการท่องเที่ยวภายในประเทศ มีการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณการผลิตเพื่อ รองรับความต้องการทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในส่วนของ กระบือ คาดการณ์ปี2567 มีจำานวนกระบือรวมทั้งสิ้น 1.8 ล้านตัว เกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือ 310,836 ราย คาดว่าผลผลิตกระบือจะมี จำานวน 418,000 ตัว เพิ่มขึ้นจากปี2566 ที่มีประมาณ 3.5 แสน ตัว หรือร้อยละ 16.08 ด้านการตลาด : โคเนื้อ ราคาโคเนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ ณ เดือนมีนาคม 2567 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.10 บาท ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วที่มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 86.52 บาท หรือลดลงร้อยละ 9.74 ในส่วนของกระบือ ราคากระบือมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้ณ เดือนมีนาคม 2567 ราคาเฉลี่ย 31,709 บาท ต่อตัว ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วที่ราคา 39,679 บาทต่อ ตัว หรือลดลงร้อยละ 20.09 ด้านการนำาเข้า - ส่งออก : โคเนื้อ ปี2567 (ตั้งแต่ ม.ค. - ก.พ.) นำาเข้าเนื้อโคสดและเนื้อโคแปรรูป จำานวน 5,130.58 ตัน มูลค่า 1,301.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี2566 ที่มีจำานวน 4,407.04 ตัน มูลค่า 1,143.81 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.42 โดย นำาเข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย มากที่สุด การส่งออกโคมีชีวิต จำานวน 15,326 ตัว มูลค่า 372.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี2566 ที่มีจำานวน 9,666 ตัว มูลค่า 275.41 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 58.56 ตลาดคู่ค้าที่สำาคัญ ได้แก่ เวียดนาม มาเลเซีย ลาว การส่งออกเนื้อโคสดและเนื้อโคแปรรูป จำานวน 98.03 ตัน มูลค่า 15.16 ล้านบาท ลดลงจากปี2566 ที่มีจำานวน 189.69 ตัน มูลค่า 26.70 ล้านบาท ในส่วนของกระบือ ผลิตภัณฑ์กระบือปี2567 (ตั้งแต่ ม.ค. - ก.พ.) มีการนำาเข้าหนังกระบือหมักเกลือ จำานวน 348.74 ตัน มูลค่า 6.39 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจากปี 2566 ที่มีการ นำาเข้าหนังกระบือหมักเกลือ 273.20 ตัน มูลค่า 7.00 ล้านบาท โดยปริมาณนำาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.65 แต่มูลค่าลดลงร้อยละ 8.69 ในช่วงเวลาดังกล่าวส่งออกเฉพาะกระบือมีชีวิตจำานวน 5,560 ตัว มูลค่า 100 ล้านบาท ประเทศคู่ค้าที่สำาคัญได้แก่ ลาว


สัตว์เศรษฐกิจ 39 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ “สัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว” เกษตรกรดีเด่น (อาชีพเลี้ยงสัตว์) ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เริ่มต้นจากการเลี้ยงโคเนื้อ 5 ตัว ก่อนพัฒนาปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อบราห์มันพันธุ์แท้ เน้นผลิตโคเนื้อ คุณภาพดี ให้กับเกษตรกร พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเลี้ยง โคเนื้อให้กับผู้ที่สนใจ จนเป็นที่ยอมรับในวงการโคเนื้อ ความคิดริเริ่มและความพยายามฟันฝ่าอุปสรรคในการสร้างผลงาน ปี พ.ศ. 2522 นายสัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว มีความตั้งใจเรียน เกษตรที่วิทยาลัยเกษตรกรรมสิงห์บุรี เมื่อจบการศึกษาจะกลับมา พัฒนาอาชีพเลี้ยงโคเนื้อของครอบครัว (รุ่นที่ 3) ช่วงระหว่างเรียน ไม่มีคนเลี้ยง ครอบครัว จึงขายโคทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2527 รับ ราชการสังกัดวิทยาลัยเกษตรกรรมเพชรบูรณ์ ต่อมาได้ลาศึกษาต่อ ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (สาขาโคนม-โคเนื้อ) และในปี พ.ศ. 2530 จึง ได้เริ่มต้นเลี้ยงโคเนื้อ จำานวน 5 ตัว ปี พ.ศ. 2533 ย้ายกลับภูมิลำาเนาสังกัดวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีลพบุรี ทำาให้มีเวลาในการดูแลโคมากขึ้น ใช้ช่วงเวลาก่อน และหลังเวลาราชการและในวันหยุดเลี้ยงโค ดูแลสุขภาพ และจำาหน่าย โคด้วยตัวเอง นอกจากนี้ ได้รับจ้างผสมเทียมโคเนื้อให้กับเกษตรกร ในพื้นที่ใกล้เคียง พร้อมทั้งให้คำาปรึกษาชาวบ้านเกี่ยวกับการเลี้ยง โคเนื้อ ตามรอย...สัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว... เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สาขาเลี้ยงสัตว์ ปี 67 ส่วนในเวลาราชการได้อุทิศตนปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างสุด ความสามารถ ได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นครูดีเด่นคุรุสภา ปีการศึกษา พ.ศ. 2540 และรางวัลสุดยอดครูดี ปีการศึกษา พ.ศ. 2558 ในช่วง 3-4 ปีแรก การเลี้ยงโคไม่มีปัญหาเพราะอยู่ในช่วงโคมีราคาสูงทำาให้ มีรายได้มากพอที่จะนำาเงินมาซื้อโคเพิ่ม ในปี พ.ศ.2534 ปริมาณโค ในประเทศสูงเกินความต้องการ เกษตรกรเทขายโคเข้าตลาดทำาให้ ราคาตกต่ำาเริ่มขาดทุน ในช่วงนั้นคิดที่จะขายโคออกทั้งหมด แต่ยอม ไม่ได้เพราะตนเองเป็นครูสอนวิชาชีพสัตวบาลด้านการผลิตโคนมโคเนื้อ คิดว่าถ้าบริหารงานฟาร์มตนเองขาดทุนจะไปสอนนักศึกษา ให้ประกอบอาชีพเลี้ยงปศุสัตว์ได้อย่างไร จึงเริ่มใช้วันหยุดราชการไป ศึกษาหาข้อมูลวิธีการเลี้ยงโคพันธุ์บราห์มันพันธุ์แท้ที่ฟาร์มอุดม วังตาล และวัฒนาฟาร์ม จังหวัดราชบุรี ไปงานประกวดและแสดง พันธุ์โคเนื้อแห่งชาติที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำาแพงแสน ศึกษาข้อมูลวิธีการเลี้ยงจากฟาร์ม ที่ส่งโคเข้าประกวด และฟาร์มที่จัดแสดงสายพันธุ์โคเนื้อสายพันธุ์ต่าง ๆ จึงเริ่มมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนสายพันธุ์จากโคลูกผสม บราห์มัน-ฮินดูบราห์ซิลเป็นพันธุ์อเมริกันบราห์มันพันธุ์แท้ แต่โคพันธุ์ อเมริกันบราห์มันพันธุ์แท้ มีราคาสูงมาก จึงเลือกใช้วิธีการปรับปรุง พันธุ์โดยซื้อพ่อพันธุ์อเมริกันบราห์มันพันธุ์แท้จากวัฒนาฟาร์ม


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ปี พ.ศ.2536 เริ่มทยอยคัดแม่พันธุ์ลูกผสมออกขายแล้วซื้อแม่พันธุ์ บราห์มันเลือดสูงเข้ามาเป็นแม่พันธุ์ทดแทน สมัครเป็นสมาชิก เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีของกรมปศุสัตว์ และได้รับการสนับสนุนให้ คัดเลือกซื้อโคสาวพันธุ์อเมริกันบราห์มันพันธุ์แท้ที่ศูนย์วิจัยและบำารุง พันธุ์สัตว์ลำาพญากลาง (ปัจจุบันศูนย์วิจัยและพัฒนาโคเนื้อ) หลังจากนั้น ได้รับการสนับสนุนจากกรมปศุสัตว์ให้คัดเลือกซื้อ โคปลดระวาง อายุมากกว่า 10 ปี มาเป็นแม่พันธุ์ จึงเป็นพันธุ์โค ต้นสายโคพันธุ์อเมริกัน-บราห์มันพันธุ์แท้ของป่าลานฟาร์ม ทำาให้ลูก โคที่ผลิตออกมาเริ่มขายได้และมีเกษตรกรมาขอซื้อไปเป็นพ่อแม่พันธุ์ แต่ราคาขาย ไม่ดีเท่าที่ควร ผู้ซื้อมีจำานวนน้อย ลูกโคที่ผลิตไม่มี สมาคมรับรองพันธุ์ประวัติป่าลานฟาร์มยังประสบปัญหาขาดทุน ปี พ.ศ. 2540 เริ่มพัฒนาเว็บไซต์ parlarnfarm.com ซึ่งเป็น เว็บไซต์แรกเกี่ยวกับโคเนื้อของประเทศไทย เพื่อเป็นตลาดซื้อ-ขาย โค และให้คำาปรึกษาการเลี้ยงโคแก่เกษตรกรผ่านสื่อออนไลน์ เป็น ช่วงที่เกษตรกรไม่สนใจเลี้ยงโคเนื้อเนื่องจากไม่มีตลาดที่เป็นธรรม ไม่รู้ว่าจะไปขายที่ไหนหรือขายให้ใคร เว็บไซต์ parlarnfarm.com จึงเป็นแหล่งเรียนรู้และตลาดซื้อขายโคเนื้อ จนเกิดกระแสโด่งดังไป ทั่วประเทศ ส่งผลให้เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงการซื้อขายโค โดย ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลางที่คอยกดขี่ราคา และไม่ต้องบรรทุกโคไป ขายที่ตลาดนัด เป็นการสร้างเครือข่ายผู้ลี้ยงโคเนื้อทั่วประเทศเกิด การแลกเปลี่ยนความรู้ การจัดการฟาร์ม การปรับปรุงพันธุ์ และการ จัดการตลาด เป็นต้น ต่อมาเว็บไซต์ parlarnfarm.com ได้พัฒนา ปรับปรุงใหม่ ใช้ชื่อ Thaibramanhbreeder.com ปัจจุบันความนิยม ของผู้ใช้สื่อออนไลน์เปลี่ยนแปลงหันไปใช้เฟสบุ๊คและไลน์มากกว่า เว็บไซต์ จึงได้พัฒนาช่องทางสื่อสารออนไลน์ โดยใช้เฟสบุ๊ค Parlarnfarm Lopburi เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ฟาร์ม มีการแลก เปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ของเกษตรกรและการจำาหน่ายโค ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ป่าลานฟาร์มไม่มีปัญหาเรื่องการตลาด หรือจำาหน่ายโค ปัจจุบันมียอดสั่งจองโคเป็นจำานวนมาก ผลิตลูกโค ไม่ทันความต้องการของเกษตรกร และเป็นแหล่งเรียนรู้เครือข่าย ฟาร์มทั่วประเทศ ผลงานและความสำาเร็จของงานทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอด จนระยะเวลาที่ปฏิบัติงานและความยั่งยืนในอาชีพ การปรับปรุงพันธุ์ โคเนื้อ เริ่มต้นองค์ความรู้จากการสำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (สาขาโคนม-โคเนื้อ) และปริญญาโท (สาขาการจัดการผลิตสัตว์) ประกอบกับความพยายามในการใฝ่หาความรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา เข้ารับการฝึกอบรมและศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ แม้ ในช่วงแรกของการดำาเนินงานของฟาร์มเป็นไปอย่างทุลักทุเลแต่ก็ ไม่ละความพยายาม ต่อมาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยการไปศึกษา ดูงานฟาร์มโคเนื้อชั้นนำาของประเทศ ศึกษาดูงานชาวไร่อ้อยและ มันสำาปะหลังจากเกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ จังหวัดลพบุรี เรื่อง การวางระบบน้ำาและการใช้พลังทดแทนจากแสงอาทิตย์ เข้ารับการ ฝึกอบรมเทคโนโลยีย้ายฝากตัวอ่อนจากศูนย์ย้ายฝากตัวอ่อน กรม ปศุสัตว์ จังหวัดนครราชสีมา ไปศึกษาดูงานต่างประเทศ เช่น ระบบ การเลี้ยงโคเนื้อและการประกวดตัดสินโคเนื้อประเทศออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2549 และประเทศสหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการอบรมและสัมมนา กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทุกครั้งที่มีโอกาส ตลอดจนได้รับเชิญ เป็นวิทยากรในการฝึกอบรมการปรับปรุงพันธุ์ การจัดการฟาร์ม โคเนื้อ การจัดการอาหารหยาบ เป็นต้น นำานวัตกรรมใหม่ ๆ เข้า มาประยุกต์ใช้ในฟาร์มมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลประกอบการเป็น ที่น่าพอใจสามารถสะท้อนถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ บริหารจัดการฟาร์ม ทำาให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเกษตรกรให้เป็น ฟาร์มตัวอย่าง และเป็นแหล่งเรียนรู้ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ เกษตรกรจนได้รับรางวัลอันดับที่ 1 เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ ดีเด่นระดับประเทศ ประจำาปี พ.ศ. 2563 ประเภทปรับปรุงพันธุ์ การยอมรับจากสังคม และผู้ประกอบอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อ ป่าลานฟาร์มยังได้เสียสละเวลาอุทิศตนเพื่อสังคม พัฒนาอาชีพการ เลี้ยงโคเนื้อ จัดตั้งสมาคมและอาสาเข้ามาบริหารงานสมาคมส่งเสริม การเลี้ยงโคพันธุ์บราห์มัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบันใน ตำาแหน่งนายกสมาคม และตำาแหน่งนายทะเบียนพันธุ์ประวัติโคนาน ถึง 14 ปี ติดต่อกัน สมาคมได้ส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพการเลี้ยง โคเนื้อจนเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายทั่วประเทศ พัฒนาสายพันธุ์ โคเนื้อจนเป็นที่ยอมรับของประเทศที่เป็นต้นแบบอย่างสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย ผลผลิตได้รับการยอมรับจากสมาชิกหรือเครือข่าย เกษตรกร ได้ให้การยอมรับซื้อลูกโคหลังหย่านมไปเป็นโคพ่อแม่พันธุ์ (อายุ 7-12 เดือน) จำานวนมากทั่วประเทศ ผ่านช่องทางเฟสบุ๊ค Parlarnfarm Lopburi นายสัมฤทธิ์ อินทร์เฉลียว


สัตว์เศรษฐกิจ 41 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การจัดการตลาด ป่าลานฟาร์มจำาหน่ายลูกโคหลังหย่านมโดย เกษตรกรจองลูกโคล่วงหน้าผ่านเฟสบุ๊ค Parlarnfarm Lopburi ปัจจุบันมียอดจองโค จำานวน 266 ตัว จากจำานวนฟาร์ม 149 ฟาร์ม การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงโคเนื้อ แหล่งเรียนรู้แก่เกษตรกร นักศึกษาฝึกงาน และวิทยากรฝึกอบรม เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน ของเกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อจากทั่วประเทศและสถานศึกษาจาก มหาวิทยาลัยภาครัฐ วิทยาลัยเกษตร และเอกชน ได้รับเชิญเป็น วิทยากรหลักสูตรต่าง ๆ เช่น การเลี้ยงโคเนื้อ การผสมเทียมโค อาหารและการให้อาหารโคนม-โคเนื้อ การแก้ไขปัญหาการผสมติด ยากในโคนม-โคเนื้อ การย้ายฝากตัวอ่อนในโค การจัดการพืชอาหาร สัตว์ การจูงโคเพื่อเข้าประกวดตามมาตรฐานสากล เป็นต้น ความเป็นผู้นำาและการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวมในด้านต่าง ๆ 1) นายกสมาคมส่งเสริมการเลี้ยงโคพันธุ์บราห์มัน และ นายทะเบียนพันธุ์ประวัติโคพันธุ์อเมริกันบราห์มัน ริเริ่มจัดตั้งสมาคม ส่งเสริมการเลี้ยงโคพันธุ์บราห์มันขึ้น ในปี พ.ศ. 2547 2) ประธานจัดงานจัดงานประกวดและแสดงพันธุ์โคภาค ตะวันออก “PATTAYA INTERNATIONAL LIVESTOCK SHOW” ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547-2560 ณ ศูนย์กีฬาแห่งชาติภาคตะวันออก ซอยชัยพฤกษ์ 2 การเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม 1) มอบพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์อเมริกันบราห์มัน และน้ำาเชื้อโค แช่แข็ง เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน งานวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ โคเนื้อของมหาวิทยาลัยฯ ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิทยาเขตปทุมธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีลพบุรี 2) บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนและร่วมจัดงานประกวดและแสดง พันธุ์โคเนื้อในงานต่าง ๆ ทั่วประเทศ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 ถึง ปัจจุบัน และร่วมบริจาคเงินเพื่อซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ (หน้ากาก อนามัยและชุด PPE เครื่องผลิตออกซิเจน) และมอบทุนการศึกษา ให้กับนักเรียนนักศึกษาเป็นประจำาทุกปี 3) อุทิศเวลาและเสียสละในการทำาหน้าที่บันทึกทะเบียนพันธุ์ ประวัติโคพันธุ์อเมริกันบราห์มันพันธุ์แท้ และลูกผสมพันธุ์อเมริกัน บราห์มัน โดยไม่มีค่าตอบแทน ตลอดระยะเวลา 16 ปี จนถึงปัจจุบัน 4) เป็น คณะกรรมการในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น การจัดทำา (ร่าง) อนุบัญญัติที่ออกตามความนัยพระราชบัญญัติการสัตวบาล พ.ศ. ... , วิพากษ์หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะ สัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ร่างหลักสูตรผู้ตรวจ ประเมินเครื่องรีดนม กรมปศุสัตว์, MOU ความร่วมมือจัดการศึกษา ด้านอาชีวศึกษากับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลพบุรี, บรรณาธิการ หลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ สำานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ, กรรมการนโยบายพัฒนาโคเนื้อ-กระบือ และผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (Beef Board) กรมปศุสัตว์, กรรมการจัดทำามาตรฐาน อาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ กลุ่มธุรกิจแปรรูปนม มหาวิทยาลัยบูรพา 5) เป็น วิทยากรให้หน่วยงานต่าง ๆ เช่น การพัฒนาศักยภาพ การเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรตามแนวชายแดน ประชาคมอาเซียน (AEC) พื้นที่ติดชายแดนประเทศกัมพูชา ปศุสัตว์เขต ๒, เสวนา ปัจฉิมนิเทศก์แนวทางประกอบอาชีพด้านปศุสัตว์ คณะสัตวศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ขับเคลื่อนการดำาเนินงาน อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร สำานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป่าลานฟาร์มให้ความสำาคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยขับเคลื่อนโมเดล BCG (Bio-Circular-Green) จึงกำาหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาฟาร์มว่า “ป่าลานฟาร์ม มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” จากที่ผลิตมากแต่สร้างรายได้น้อยไปสู่การผลิต น้อยแต่สร้างรายได้มาก โดยการนำาเทคโนโลยีนวัตกรรมและ วิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยในการขับเคลื่อนนำาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดย เน้นการสร้างเศรษฐกิจรูปแบบ 3 มิติ ขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน ดังนี้ 1) เศรษฐกิจชีวภาพ (B : Bio Economy) ใช้เทคโนโลยี ชีวภาพด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์มาประยุกต์ใช้ในฟาร์ม เช่น เทคโนโลยีการย้ายฝากตัวอ่อนโค ช่วยให้โคพันธุ์ดีซึ่งในธรรมชาติโค ให้ลูกได้อย่างมากปีละ 1 ตัว เพิ่มความสามารถผลิตลูกโคได้มากกว่า ธรรมชาติ 5 - 10 ตัว ทำาให้โคเนื้อในฟาร์มมีคุณภาพดี การเจริญ เติบโตสูงเป็นที่ต้องการของเกษตรกร ผลิตน้อยแต่สร้างรายได้มาก 2) เศรษฐกิจหมุนเวียน (C : Circular Economy) ในแต่ละ ปีภายในฟาร์มจะมีมูลโคจำานวนมากซึ่งเป็นของเสีย นำามาทำาปุ๋ยหมัก มูลโค โดยการฉีดพ่นน้ำาหมักชีวภาพลงในกองปุ๋ยมูลโค เพื่อเร่ง ขบวนการหมักย่อยสลายให้เร็วขึ้นและลดมลภาวะกลิ่นจากมูลโค เมื่อ ย่อยสลายแล้วนำาไปใส่ในแปลงหญ้าเป็นปุ๋ยอินทรีย์ทำาให้หญ้าเจริญ เติบโตดีให้ผลผลิตสูง นำาหญ้ามาให้โคกินหมุนเวียนต่อไป สิ่งสำาคัญ คือ ลดต้นทุนการเลี้ยงโค 3) เศรษฐกิจสีเขียว (G : Green Economy) ดำาเนินกิจกรรม ฟาร์มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้สารเคมีในการกำาจัดเห็บโคแต่ ใช้น้ำาหมักชีวภาพทดแทนการใช้สารเคมี ไม่ใช้สารเคมีกำาจัดวัชพืชใน แปลงหญ้า ใช้พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย์ทดแทนพลังงานจาก น้ำามัน ผลิตหญ้าตัดสดหรือแปลงหญ้าแทะเล็มให้โคกินตลอดทั้งปี ซึ่ง เป็นสิ่งสำาคัญยิ่งในการเลี้ยงโคช่วยลดต้นทุนไม่ต่ำากว่า 70 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ น้ำาและปุ๋ยเป็นสิ่งสำาคัญ ป่าลานฟาร์มใช้ปั้มน้ำาโซล่าเซล สูบน้ำาใส่แปลงได้ตลอดทั้งปีช่วยประหยัดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิง ลงได้ถึง 80 เปอร์เซ็นต์


42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE วิกฤตฝุ่นควันภาคเหนือไม่ได้เกิดจากปัญหาใดปัญหาหนึ่งเพียง อย่างเดียว ดังที่ บัณรส บัวคลี่ ผู้ศึกษาปัญหานี้มายาวนาน เขียน บทความเรื่อง “ไม่ใช่แค่ข้าวโพด ผลประโยชน์ป่าคืออีกต้นเหตุสำาคัญ ของวิกฤติฝุ่นควันเหนือ” โดยระบุถึงเพจ NGO รายหนึ่งที่พยายาม ชี้ว่าพื้นที่ปลูกข้าวโพดในภูมิภาคอาเซียนตอนบนนำามาซึ่งปัญหาฝุ่น ควัน แต่บัณรสก็ชี้ให้เห็นว่าการปลูกข้าวโพดไม่ใช่สาเหตุเดียวที่ทำาให้ เกิดวิกฤติฝุ่นควัน เพราะอีกสาเหตุสำาคัญคือ การเผาในป่า!! โดย อ้างอิงข้อมูลรอยไหม้ (Modis Burned Area) ตั้งแต่ปี2001 ที่ ทำาให้เห็นพฤติกรรมไฟไหม้ซ้ำาซาก เกิดบ่อย และเป็นวงกว้างในพื้นที่ ป่าจริง ๆ ที่ไม่มีสภาพไร่ข้าวโพดเลย พร้อมทิ้งท้ายว่าจำาเป็นต้องหา สาเหตุแรงจูงใจตามบริบทของแต่ละจุดปัญหา... นับเป็นตัวอย่างของ ผู้มีความตั้งใจช่วยแก้ปัญหาหมอกควันให้พี่น้องชาวเหนืออย่างแท้จริง ต่างจากเพจดังกล่าวที่พยายามสื่อสารโจมตีกลุ่มทุนเป้าหมายของตน เท่านั้น มิได้ปรารถนาที่จะแก้ปัญหาเพื่อช่วยผู้คนอย่างจริงใจ ในส่วนของไฟป่า จำาเป็นต้องหาหนทางแก้ไขและป้องกันอย่าง เข้มข้นกันต่อไป ส่วนเรื่องของการนำาเข้าข้าวโพดฯคงต้องย้อนกลับ ไปศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการนำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ในช่วง 10 ปีก่อน จากผู้ใช้ตัวจริง เพื่อแก้ปัญหาให้ตรงจุด ซึ่งก็พบข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในการศึกษา ทั้งนโยบายรัฐ และสถานการณ์ในขณะนั้น ๆ เริ่มตั้งแต่ข้อมูลพื้นฐานที่ว่า ปริมาณข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ขาดแคลนไม่ เพียงพอต่อความต้องการใช้ในประเทศไทยนั้น ปกติจะขาดแคลนปีละ 2-4 ล้านตัน โดยในปี2557 ขาดแคลนน้อยสุดที่ 2.15 ล้านตัน แต่ ปี2567 พบว่าขาดแคลนมากสุดถึง 4.01 ล้านตัน ปี2558-2559 ราคาข้าวสาลีมีแนวโน้มลดต่ำาลง ในขณะที่ราคา ข้าวโพดไทยปรับสูงขึ้น ทำาให้มีการนำาเข้าข้าวสาลีปีละกว่า 3 ล้าน ตัน จนเป็นที่มาของการออกมาตรการนำาเข้าข้าวสาลี3 : 1 ปี2560 ที่มีการบังคับใช้มาตรการนำาเข้าข้าวสาลี3 : 1 ส่วน ส่งผลให้ข้าวสาลีนำาเข้าได้ไม่เกิน 1.8 ล้านตัน ขณะเดียวกัน ตัวเลข การนำาเข้าข้าวโพดก็เพิ่มสูงขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงความขาดแคลน โดย ในปี2562 ตัวเลขนำาเข้าอยู่ที่ 0.681 ล้านตัน เพิ่มสูงขึ้นกว่าปี2561 ถึง 5 แสนตัน และปี2563 นำาเข้า 1.59 ล้านตัน เพิ่มขึ้นอีก 9 แสนตันจากปี2562 มาดูตัวเลขต้นทุนกันบ้าง ต้นทุนนำาเข้าข้าวโพดปี 62 อยู่ที่ 7.28 บาท/กก. และปี63 ต้นทุนอยู่ที่ 6.10 บาท/กก. ลดลงไปกว่า 1 บาท แต่ราคารับซื้อข้าวโพดหน้าโรงงานปี62 อยู่ที่ 9.15 บาท/ กก. ปี63 อยู่ที่ 8.97 บาท/กก. ลดลงไปเพียง 0.18 บาท จุดนี้ เองทำาให้พ่อค้าคนกลางที่เล็งเห็นถึง “ผลกำาไร” จึงเร่งนำาเข้าข้าวโพด มากขึ้น เพราะส่วนต่างราคานำาเข้ากับราคาหน้าโรงงานในปี2562- 2563 สูงถึงถึง 1.86 บาท และ 3.28 บาทตามลำาดับ ที่เคยรับรู้กันเสมอว่า ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ของไทย สูงกว่าประเทศอื่น ๆ นั่นเป็นเพราะต้นทุนปลูกข้าวโพดของไทย ค่อนข้างสูง อยู่ที่ 6-7 บาท/กก. ในขณะที่ต้นทุนข้าวโพดโลกอยู่ที่ 3 บาท/กก. รัฐบาลจึงต้องการปกป้องเกษตรกรไทยผู้ปลูกข้าวโพด จึง กำาหนดโควตานำาเข้าข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO เรียกเก็บภาษีใน โควตา 20% จำานวน 54,700 ตัน และเรียกเก็บภาษีนอกโควตาถึง 73% ทำาให้ไทยไม่สามารถนำาเข้าข้าวโพดจากกรอบ WTO ได้ สิ่งที่พอทำาได้ จึงเหลือเพียงการนำาเข้าข้าวโพดจากประเทศ เพื่อนบ้าน ภายใต้กรอบ AFTA ที่ไม่มีโควตาและภาษี ขณะที่ ข้าวสาลีซึ่งเป็นวัตถุดิบทางเลือกนั้น ถูกมาตรการควบคุมการนำาเข้า 3 : 1 ส่วน มากำากับ ทำาให้โอกาสที่ไทยจะนำาเข้าข้าวสาลีซึ่งราคา ถูกกว่าข้าวโพดไทยประมาณ 0.25-1 บาท/กก.มาทดแทน ก็เป็นไป อย่างจำากัด และไม่สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้เท่าที่ควร จาก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กับปัญหาฝุ่นควัน นำาไปสู่โครงการ “ไม่เผา เราซื้อ”


สัตว์เศรษฐกิจ 43 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ มาตรการเหล่านี้จึงส่งผลให้ระดับราคาข้าวโพดไทยสูงขึ้น และแน่นอน ว่าข้าวโพดนำาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน พลอยได้รับอานิสงส์ราคาที่ สูงขึ้นตามไปด้วย ในปี2564 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์หลายตัวปรับสูงขึ้น จาก การฟื้นตัวจากโควิดของจีน และในปี2565-2566 สงครามรัสเซียยูเครนทำาให้ราคาวัตถุดิบทุกตัวปรับสูงขึ้นอีก ประกอบกับ เมียนมา เข้าสู่ระบบส่งออกข้าวโพดเต็มตัว มีการเสียค่าธรรมเนียมส่งออก เรียกเก็บเงินสกุล USD และเรียนรู้ที่จะปรับฐานราคาขายอ้างอิงตาม ราคาข้าวโพดไทย ส่งผลให้ราคาข้าวโพดนำาเข้าในปี65 สูงถึง 10.58 บาท/กก. และปี66 สูงถึง 11.84 บาท/กก. ในขณะที่ราคาข้าวโพด หน้าโรงงานอยู่ที่ 12.34 บาท/กก. และ 12.07 บาท/กก. ตามลำาดับ จากสถานการณ์นี้จะเห็นว่า ส่วนต่างกำาไรจากการนำาเข้าเริ่มลดน้อย ลง และมีการเปลี่ยนรูปแบบการนำาเข้ามาทางเรือทดแทนทางบก เนื่องจากปัญหาการสู้รบของชนกลุ่มน้อยตามบริเวณชายแดน สำาหรับราคาข้าวสาลีในปี2565-2566 มีการปรับตัวสูงขึ้นมาก จากภาวะสงครามในประเทศผู้ผลิตหลักอย่างยูเครน โดยในปี2565 ราคาสูงขึ้นไปอยู่ที่ 15 บาท/กก. ทำาให้ปีนั้นมีการนำาเข้าเพียง 3 แสนตัน ในช่วงที่ราคาอยู่ที่ประมาณ 13 บาท/กก. ปี2566 เป็นปีที่ราคาวัตถุดิบพุ่งขึ้นสู่จุดสูงที่สุดในรอบ 40 ปี ส่งผลให้ผู้ประกอบการอาหารสัตว์ประกาศผลประกอบการขาดทุนกัน ถ้วนหน้า มีโรงงานปิดกิจการไป 1 แห่ง และเสนอขายกิจการอีก 2-3 แห่ง ตลอดจนมีการลดกำาลังการผลิตและลดจำานวนพนักงานลง ในปีปัจจุบัน 2567 ราคาวัตถุดิบมีแนวโน้มอ่อนตัวลง 10-15% จากปี2566 แต่ยังไม่กลับไปสู่จุดต้นทุนปกติดังเช่น ปี2563 ซึ่ง เป็นปีก่อนจีนฟื้นจากโควิด และก่อนเกิดสงครามรัสเซีย-ยูเครน ราคา ข้าวสาลีเริ่มปรับลดลงมาตามลำาดับ จนกระทั่ง ก.พ. 2567 ราคา อยู่ที่ 9.93 บาท/กก. ส่วนข้าวโพดไทยยังทรงตัวที่ไม่ต่ำากว่า 10 บาท/กก. ในขณะที่เวียดนามใช้ข้าวโพดจากอเมริกา 8.0-8.5 บาท/ กก. จากสถานการณ์ทั้งหมดที่ไล่เรียงมา จะเห็นว่ามาตรการรัฐ บีบรัดไม่ให้มีทางเลือกในการใช้หรือนำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์มากนัก ขณะที่ “การห้ามนำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้านที่ผ่านการเผา ตอซังและที่ส่งผลให้เกิดหมอกควันข้ามแดนและ PM2.5” นั้น สอดคล้องกับแนวทางของผู้ประกอบการในประเทศไทยที่สนับสนุน การจัดหาวัตถุดิบอย่างยั่งยืน เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ ด้านสุขภาพของคนไทยอยู่แล้ว แต่ก็ต้องยอมรับด้วยว่า จะส่งผล กระทบต่อปริมาณข้าวโพด ขาดแคลนมากขึ้น ดังนั้น เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบในห่วงโซ่การผลิตอาหาร พร้อม ๆ กับช่วยลดปัญหาด้านฝุ่นควัน หากรัฐจะดำาเนินมาตรการ ใด ๆ ออกมา จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำาควบคู่ไปกับการเปิดเสรี นำาเข้าวัตถุดิบอื่นทดแทน เช่น การยกเลิกมาตรการนำาเข้าข้าวสาลี 3 : 1 ส่วน หรือยกเลิกโควตานำาเข้าข้าวโพดในกรอบ WTO โดย ลดภาษีนำาเข้าเป็น 0 เพื่อให้สามารถจัดหาวัตถุดิบที่ขาดแคลนจาก แหล่งอื่นที่ไม่ก่อให้เกิดฝุ่น PM2.5 หรือหมอกควันข้ามแดนมายัง ประเทศไทยได้ ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์และภาค ปศุสัตว์ลง ได้ประโยชน์ทั้งเชิงสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ ล่าสุด นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ กล่าวว่า ตามที่รัฐบาลและนโยบายของร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีมาตรการ กำาชับห้ามนำาเข้าข้าวโพดที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีการเผา และ ที่มีกระบวนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับการเผา โดยมุ่งแก้ปัญหาภาวะโลก ร้อนและการแก้ปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 อย่างยั่งยืนนั้น กรมปศุสัตว์ รับสนองนโยบายและได้ดำาเนินการอย่างจริงจังเคร่งครัด นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์กล่าว เพิ่มเติมว่า กรมปศุสัตว์เร่งดำาเนินการเพื่อหารือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในวันที่ 30 เมษายน 2567 ณ กรมปศุสัตว์ เพื่อภาค เกษตรมีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยและผลิต ได้อย่างยั่งยืน โดยร่วมหาแนวทางการจัดการวัตถุดิบอาหารสัตว์เพื่อ ลดปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากกรมวิชาการ เกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ สำานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ อาหารแห่งชาติสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมส่งเสริมผู้ใช้ วัตถุดิบอาหารสัตว์ซึ่งจากการหารือได้มีแนวทางดำาเนินการ ดังนี้ 1) กรมวิชาการเกษตรทำาแนวทางการรับรองกระบวนการผลิต ข้าวโพดเมล็ดแห้งแบบไม่เผาโดยหลักเกณฑ์การรับรองผู้ที่ได้รับการ รับรองจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการ เกษตรที่ดีสำาหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง (GAP) และเพิ่มเติมกระบวนการ ผลิตข้าวโพดเมล็ดแห้งแบบไม่เผาตามหลักเกณฑ์วิธีการที่กำาหนด 2) สำานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ทบทวนหลักเกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำาหรับข้าวโพดเมล็ด แห้งแบบไม่เผา ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำาการปฏิบัติทางการเกษตร ที่ดีสำาหรับข้าวโพดเมล็ดแห้งแบบไม่เผา ซึ่งจะมีการจัดประชุมใน วันที่ 9 พ.ค. 67 โดยใช้มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ.4402-2553 ฉบับเดิมมาปรับปรุงเพิ่มเติม ซึ่งการดำาเนินการดังกล่าวยังเป็นแบบ สมัครใจ โดยจะมีการประเมินผลการดำาเนินการก่อนจะมีการนำาไปใช้ แบบภาคบังคับ 3) กรมปศุสัตว์และสมาคม ร่วมประสานแจ้งหน่วยงานบริษัท ต่าง ๆ ที่รับซื้อวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้รับซื้อและสนับสนุนวัตถุดิบ อาหารสัตว์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ไม่มาจากการเผาหรือเกี่ยวข้องกับ การเผา และหาข้อมูลเกี่ยวกับจำานวนพื้นที่ที่ได้มาตรฐาน GAP และ ไม่มีการเผา ไม่ได้มาตรฐาน GAP แต่มีการเผา/ไม่มีการเผา ทั้งนี้ ให้ทุกหน่วยงานร่วมมือกันดำาเนินการอย่างเร่งด่วน นำา ข้อมูลและความคืบหน้าการดำาเนินการมารายงานการประชุมครั้งหน้า กำาหนดวันที่ 23 พฤกษาคม 2567 เพื่อปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับบริบทในพื้นที่และสภาพแวดล้อมของ ประเทศไทย สามารถแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนและลดปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 ได้อย่างยืนต่อไป ด้วยนโยบาย “ไม่เผา เราซื้อ”


44 สัตว์เศรษฐกิจ ปัจจุบันภาคเกษตรกรรมทั่วทุกมุมโลกกำาลังเผชิญกับความ ท้าทายเร่งด่วน อาทิการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การ ขาดแคลนอาหาร และความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สำาหรับแนวทาง การแก้ไขเชิงนวัตกรรมกำาลังเป็นที่ต้องการมากในการแก้ไขปัญหา เหล่านี้แบบยั่งยืน งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติ เอเชีย (AGRITECHNICA ASIA และ HORTI ASIA) เป็นงานจัดแสดง เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน ระดับนานาชาติ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะปฏิวัติแนวทางปฏิบัติด้าน การเกษตรและเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร การจัดงานในปีนี้ถือ เป็นการกลับมาครั้งสำาคัญร่วมกับผู้นำาภาคอุตสาหกรรมการเกษตรที่ พร้อมขับเคลื่อนเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืนในอนาคตทั้งทางด้านการแลก เปลี่ยนองค์ความรู้และการแชร์ประสบการณ์ต่าง ๆ รวมถึงการนำา นวัตกรรมที่สามารถมาช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องมลพิษทางอากาศจาก การเผาไหม้ด้านการเกษตร งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย จะมีขึ้นระหว่าง วันที่ 22-24 พฤษภาคม 2567 ณ. ฮอลล์98 - 99 ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค ซึ่งงานนี้จัดขึ้นโดยสมาคมเกษตรกรรม เยอรมัน (DLG International) และ บริษัท วีเอ็นยูเอเชีย แปซิฟิค จำากัด โดยมีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นเจ้าภาพร่วม สำาหรับ งานในปีนี้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมแสดงนวัตกรรมด้านการเกษตรกว่า LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 300 รายจาก 28 ประเทศ นับเป็นการรวมตัวของผู้นำาด้านนวัตกรรม การเกษตรที่หลากหลายในนานาชาติตอกย้ำาสถานะของงานในฐานะ ศูนย์กลางด้านเครื่องจักรและนวัตกรรมพืชสวนที่สำาคัญในเอเชีย สำาหรับผู้สนใจเข้าชมงานจะมีโอกาสสำารวจเทคโนโลยีที่มีความ ล้ำาสมัยล่าสุดด้านการเกษตรจากผู้ผลิตทางการเกษตรและพืชสวนชั้น นำาของโลก อาทิแบรนด์แอ็กโค่ (AGCO) กับ แมสซี่ เฟอร์กูสัน (Massey Ferguson), เคส นิว ฮอลแลนด์(Case New Holland), ฉางฟา (Changfa), คลาส (CLAAS), จอน เดียร์(John Deere), มาฮินทรา แอนด์ มาฮินทรา (Mahindra & Mahindra), และ เนต้า-ฟิม (Netafim ซึ่งแต่ละเจ้าล้วนเป็นยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรม อยู่ในระดับแนวหน้าด้านการพัฒนาโซลูชั่นเครื่องจักรและเทคโนโลยี ทางการเกษตรสามารถจัดการกับความท้าทายที่สำาคัญในภาคส่วนนี้ ตั้งแต่การเพิ่มผลผลิตพืชผลไปจนถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ น้ำาและทรัพยากร ในปีนี้งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย ไม่เพียง แต่จะเน้นนวัตกรรมที่ช่วยเพิ่มผลผลิตของฟาร์ม แต่ยังเน้นหลัก ปฏิบัติที่ยั่งยืนและเทคโนโลยีการทำาฟาร์มอัจฉริยะที่มีส่วนช่วยอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและปรับปรุงระบบอาหาร กิจกรรมนี้จะทำาหน้าที่เป็นเวที สำาหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทั่วโลกในการมีส่วนร่วม แบ่งปันองค์ ความรู้และส่งเสริมความร่วมมือที่จะกำาหนดอนาคตของการเกษตร AGRITECHNICA ASIA และ HORTI ASIA พร้อมขับเคลื่อนการเกษตรยั่งยืนในอนาคต


สัตว์เศรษฐกิจ 45 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ นางแคธาริน่า สแตส์เก้ (Katharina Staske) กรรมการ ผู้จัดการสมาคมเกษตรกรรมเยอรมัน ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก เน้นย้ำา ถึงความสำาคัญของการจัดงานแสดงสินค้าในปีนี้ซึ่งนับเป็นครั้งที่ 4 ของการจัดงาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย โดยมีขนาดและผู้เข้าร่วมแสดง นวัตกรรมทางการเกษตรเพิ่มขี้นกว่าเท่าตัวว่า “ภายในงาน ผู้เข้าชม งานได้พบกับผู้ผลิตชั้นนำาจากทุกภาคส่วน รวมถึงผู้เชี่ยวชาญด้าน การเพาะปลูกดิน เช่น เล็มเค่น (Lemken) จากประเทศเยอรมนี, แชคติมาน (Shaktiman) จากประเทศอินเดีย, และ เคดับเบิ้ลยู เมทัล เวิร์ค (KW Metal work) จากประเทศไทย” นางสแตส์เก้กล่าวเสริมว่า “ปัจจุบันมีผู้ลงทะเบียนเพื่อเข้าชม งานแล้วจาก 62 ประเทศทั่วโลก ตอกย้ำาให้เห็นว่า งาน อะกริเทค นิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย เป็นศูนย์กลางระดับนานาชาติสำาหรับ ชุมชนเกษตรกรรมในการเรียนรู้ถึงแนวปฏิบัตด้านความยั่งยืนและ นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร ภายใต้แนวคิดหลักใน ปีนี้ “การร่วมสร้างสรรค์และเครือข่ายที่ยั่งยืน” (Co-Creation and Sustainable Networks) “ในส่วนการประชุมและการเสวนา ในปีนี้ เราจะเจาะลึกถึง ประเด็นเร่งด่วน เช่น การลดมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติทางการ เกษตร, เส้นทางสู่การบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน, และการนำา โซลูชั่นการทำาฟาร์มอัจฉริยะมาใช้ซึ่งการอภิปรายหลักทางงานได้รับ ความร่วมมือจากองค์กรที่มีชื่อเสียง อาทิ สมาคมเทคโนโลยีอ้อย น้ำาตาลแห่งประเทศไทย, สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ, สมาคม วิศวกรรมเกษตรไทย, และสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งเอเชีย” ทางด้าน นางสาวปนัดดา ก๋งม้า รองประธานฝ่ายธุรกิจ บริษัท วีเอ็นยู เอเชียแปซิฟิค จำากัด เน้นถึงความสำาคัญของการจัดงาน ฮอร์ติเอเชีย กล่าวว่า “ในปีนี้นับเป็นการจัดงานครั้งที่ 8 ทางคณะ ผู้จัดงานฯ มีความตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ด้านพืชสวนและ เทคโนโลยีการเกษตรอย่างมีนัยสำาคัญ โดยมีบริษัทเข้าร่วมกว่า 300 แห่งจาก 28 ประเทศ รวมถึงผู้นำาในอุตสาหกรรมชั้นนำา อาทิ เนต้าฟิม (Netafim) และ คลาสมาน-เดลมันน์(Klasmaan-Deilmann) ร่วมถึงพันธมิตรอย่าง ดูมเมน ออ-เร้นจ์(Dummen Orange) และ อะการิส (Agaris) งานนี้ถือเป็นงานรวมตัวของเหล่าสุดยอดผู้ผลิต นวัตกรรมทางการเกษตรในอุตสาหกรกรรม ทางคณะผู้จัดงานฯ รู้สึก เป็นเกียรติและภูมิใจที่มีโอกาสได้ร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กร สำาคัญในภาคส่วนต่าง ๆ เช่น สถานทูตเนเธอร์แลนด์, สมาคม วิทยาศาสตร์พืชสวนแห่งประเทศไทย, สมาคมเกษตรกรรุ่นใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ฯลฯ ถือเป็นการตอกย้ำาความสำาคัญของภาค อุตสาหกรรมผ่านการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และความร่วมมือระดับ โลกผ่านงานประชุมและสัมมนาวิชาการภายในงานครั้งนี้” นางสาวปนัดดา ก๋งม้า กล่าวเสริมว่า “ภายในงานสัมมนา ทาง หน่วยงานที่เข้ามาร่วมจัดงานได้คัดสรรหัวข้อที่น่าสนใจมานำาเสนอให้ กับผู้เข้าชมงาน อาทิหัวข้อ ‘นวัตกรรมพืชสวนที่ยั่งยืน : แรง บันดาลใจไทย-ดัตช์ในบริบทโลก’ ซึ่งจะเป็นการให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยว กับแนวโน้มของอุตสาหกรรมที่กำาลังพัฒนา โดยเน้นการบูรณาการ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการทำาฟาร์มแบบแม่นยำา เรามุ่งมั่นที่จะ ส่งเสริม ประสิทธิภาพและเสริมสร้างการพัฒนาเชิงก้าวกระโดดให้กับ ภาคการเกษตรของภูมิภาคโดยการนำาเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การคาด การณ์โรค และการติดตามการผลิตผ่านทางแอปพลิเคชั่นอัจฉริยะ” ดร. วนิดา กำาเนิดเพ็ชร์ผู้อำานวยการสำานักกิจการการเกษตร ต่างประเทศ สำานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เน้นย้ำาถึง


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE วิชาการเกษตร สมาคมพืชสวนไทย ชุมชนมะพร้าวนานาชาติและ บริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค จำากัด เราภูมิใจที่ได้เป็นเจ้าภาพ การประชุมมะพร้าวนานาชาติครั้งที่ 3 หัวข้อหลักของปีนี้‘เทคโนโลยี การผลิตมะพร้าวอัจฉริยะและโอกาสทางการตลาด’ จะรวบรวม ผู้เชี่ยวชาญจาก 6 ประเทศ รวมถึงอินเดีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย การประชุมจะมีระยะเวลา 2 วัน โดยมีการบรรยายเชิงลึกและเยี่ยมชมสวนมะพร้าวหอมในจังหวัด ปทุมธานีและโรงงานเครื่องสำาอางที่ใช้น้ำามันมะพร้าว เราได้รับการ สนับสนุนจากบริษัทเอกชน 8 แห่งและภาครัฐ ผมขอเชิญชวนผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกท่านมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างมี ประสิทธิผลและรับข้อมูลเชิงลึกอันทรงคุณค่าเกี่ยวกับความก้าวหน้า ในการผลิตมะพร้าว สำาหรับไฮไลท์ของงานประกอบด้วย: • การจัดแสดงนวัตกรรม: จะมีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรมจากบริษัทผู้แสดงสินค้าชั้นนำาระดับนานาชาติกว่า 300 ราย เช่น เนต้าฟิม (Netafim), คลาสมาน-เดลมันน์ (KlasmaanDeilmann), ดูมเมน ออเร้นจ์(Dummen Orange), คลาส (CLAAS), จอน เดียร์ (John Deere), มาฮินทรา และมาฮินทรา (Mahindra & Mahindra), แอ๊คโค่ (AGCO), ซีเอ็นเอช (CNH), และ คลาส (CLAAS) • การเจรจาธุรกิจ: มุ่งเน้นเป็นพิเศษในการอำานวยความ สะดวกทางธุรกิจระหว่างผู้ผลิตและผู้นำาเข้า โดยมีเป้าหมายในการ เข้าสู่ตลาดในฟิลิปปินส์หรือไทย • การถ่ายทอดองค์ความรู้: จากความร่วมมือกับกระทรวง เกษตรและสหกรณ์เพื่อให้เกษตรกรไทยกว่า 1,000 รายได้รับข้อมูล เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรจากทั่วโลกผ่านไกด์นำาชมงาน เพื่อลดช่องว่างทางการสื่อสารและส่งเสริมการเจรจาธุรกิจ งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย ไม่เพียงแต่ทำา หน้าที่เป็นเวทีสำาหรับจัดแสดงนวัตกรรมทางการเกษตรและพืชสวน ระดับนานาชาติเท่านั้น แต่ยังเป็นเวทีสำาหรับการอภิปรายแนวทาง การแก้ปัญหาที่ยั่งยืนต่อความท้าทายที่อุตสาหกรรมการเกษตรใน ปัจจุบันำากำาลังเผชิญอยู่ ด้วยแนวทางที่ครอบคลุมซึ่งผสมผสานธุรกิจ นวัตกรรม และการถ่ายทอดความรู้ เหตุการณ์เหล่านี้จึงเป็นส่วน สำาคัญในการกำาหนดอนาคตที่ยั่งยืนสำาหรับการเกษตรทั่วโลก ผู้สนใจเข้าชมงาน สามารถลงทะเบียนตอนนี้เพื่อเข้าร่วมการ รวมตัวของผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรและพืชสวนที่ใหญ่ที่สุดใน ภูมิภาคเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของการกำาหนดอนาคตของ การเกษตร สำาหรับผู้ที่ลงทะเบียนล่วงหน้ามีสิทธิลุ้นรับรางวัลมากมาย และจับจองที่นั่งในงานสัมมนาก่อนใครโดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่สำาหรับ การลงทะเบียนหน้างานจะมีค่าใช้จ่ายในการเข้าชมงาน สำาหรับข้อมูลเพิ่มเติมและการลงทะเบียน สามารถทำาได้ผ่าน: AGRITECHNICA ASIA ได้ที่ www.agritechnica-asia.com | HORTI ASIA ได้ที่ www.horti-asia.com การตอบสนองเชิงกลยุทธ์ของประเทศไทยต่อความท้าทายทางการ เกษตรระดับโลกว่า “เมื่อพิจารณาถึงความท้าทายเร่งด่วนระดับโลก ที่เราเผชิญ ทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความยั่งยืน และ ความมั่นคงทางอาหาร จำาเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะต้องปรับ กลยุทธ์ให้สอดคล้องกัน” ดร. วนิดาอธิบายว่า “แนวคิดเชิงนวัตกรรม และการทำางานร่วมกันถือเป็นสิ่งสำาคัญในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ซึ่ง คุณจะพบได้ที่งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติ เอเชีย ซึ่ง สอดคล้องกับธีม “การร่วมสร้างสรรค์และเครือข่ายที่ยั่งยืน” ประจำา ปีนี้อย่างสมบูรณ์แบบ” ดร. ไกส์ทูนิสเซ่น (Gijs Theunissen) อัครราชฑูตที่ปรึกษา (ฝ่ายเกษตร) - สถานเอกอัครราชทูตเนเธอร์แลนด์ ประจำา ประเทศไทย เน้นย้ำาถึงความสำาคัญของความร่วมมือระหว่างประเทศ ว่า “การจัดการกับความท้าทายด้านความมั่นคงทางอาหารอย่าง ยั่งยืนเมื่อเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นสิ่งสำาคัญยิ่ง สำาหรับพวกเราในภาคเกษตรกรรม” ดร. ทูนิสเซ่นกล่าวเสริมว่า “ที่ ฮอร์ติ เอเชีย 2567 สถานทูตเนเธอร์แลนด์ร่วมกับพันธมิตร ชาวไทย จะเป็นเจ้าภาพการประชุมไทย-ดัตช์ ซึ่งเน้นในหัวข้อ ‘นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนในการปลูกพืชสวน’ : แรงบันดาลใจของ ไทย-ดัตช์ในบริบทระดับโลก’ เป้าหมายของเราคือการส่งเสริมการ แลกเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่เป็นนวัตกรรมและ ความรู้ด้านพืชสวน เพื่อสนับสนุนความมั่นคงด้านอาหารอย่างยั่งยืน จึงอยากขอเรียนเชิญทุกคนที่สนใจในประเด็นสำาคัญเหล่านี้ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2567 เพื่อมีส่วนร่วมและหารือกับผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศไทยและเนเธอร์แลนด์” นายคาร์สเต้น ซีเบลล์ (Karsten Ziebell) หัวหน้าโครงการ ความร่วมมือทางการเกษตรเยอรมัน-ไทย หรือ GETHAC ให้ข้อมูล ว่า วัตถุประสงค์ของโครงการคือการยกระดับความยั่งยืนของการผลิต ทางการเกษตรและมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงของภาค เกษตรกรรมของไทย เราจึงอยากเรียนเชิญผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยี ที่ยั่งยืนสมัยใหม่มาร่วมสร้างโซลูชั่นที่มีประสิทธิภาพในวันที่ 24 พฤษภาคม 2567 ร่วมกันกับเรา นางวิไลวรรณ ทวิชศรี เลขาธิการสมาคมอนุรักษ์และพัฒนา น้ำามันมะพร้าวไทย กล่าวว่า ในความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำาแพงแสน สถาบันวิจัยพืชสวน กรม


สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปศุสัตว์ไทย ไตรมาส 1 ขยายตัวร้อยละ 1.5 สวนทาง GDP เกษตร ไตรมาส 1 หดตัวร้อยละ 4.1 ด้านกระทรวงเกษตรฯ เตรียม พร้อมมาตรการและนโยบาย เดินหน้ากระตุ้น GDP ภาคเกษตรให้ เติบโต คาดทั้งปียังขยายตัวร้อยละ 0.7-1.7 นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงภาวะ เศรษฐกิจการเกษตรในไตรมาส 1 ปี2567 (มกราคม - มีนาคม 2567) พบว่า หดตัวร้อยละ 4.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2566 โดยสาขาพืช ซึ่งเป็นสาขาการผลิตหลัก หดตัวร้อยละ 6.4 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2566 ต่อเนื่องมาถึงช่วงต้นปี 2567 ทำาให้ปริมาณฝนน้อยกว่าปีที่ ผ่านมา ปริมาณน้ำาในอ่างเก็บน้ำาสำาคัญและแหล่งน้ำาตามธรรมชาติ ลดลง บางพื้นที่เกิดภาวะฝนทิ้งช่วง และมีสภาพอากาศร้อนจัดอย่าง ต่อเนื่อง กระทบต่อพืชสำาคัญหลายชนิดทำาให้พืชเจริญเติบโตช้า ให้ ผลผลิตน้อยลงและไม่สมบูรณ์ ทั้งนี้ สาขาพืชที่หดตัวค่อนข้างมาก ส่งผลให้สาขาบริการทางการเกษตร หดตัวร้อยละ 3.6 ในส่วนของ สาขาปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 1.5 เนื่องจากการผลิตสุกรและไก่เนื้อ เพิ่มขึ้น เป็นผลจากความต้องการบริโภคสินค้าปศุสัตว์ที่มีอย่าง ต่อเนื่อง ตามการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ประกอบกับเกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ได้ มาตรฐาน และเฝ้าระวังโรคระบาดอย่างต่อเนื่อง สาขาประมง ขยาย ตัวร้อยละ 0.5 โดยผลผลิตกุ้งเพิ่มขึ้นจากการบริหารจัดการฟาร์ม ที่ดี และราคาน้ำามันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นต้นทุนการผลิตหลักในการทำา ประมงทะเลปรับตัวลดลง และสาขาป่าไม้ ขยายตัวร้อยละ 1.8 เนื่องจากผลผลิตไม้ยางพาราและถ่านไม้เพิ่มขึ้น สำาหรับแนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรในปี2567 คาดว่าจะขยาย ตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.7 - 1.7 เมื่อเทียบกับปี 2566 โดยปัจจัย สนับสนุนที่ทำาให้ภาคเกษตรในภาพรวมยังคงขยายตัวได้อาทิความ ร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพการผลิตและบริหารจัดการสินค้าเกษตร ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรม การส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร การยกระดับ สินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพมาตรฐาน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำา เพื่อรองรับภัยพิบัติต่าง ๆ การเพิ่มช่องทางให้เกษตรกรสามารถ เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการวางแผนและรองรับความ เสี่ยง ทั้งนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำาหนดแนวทางขับเคลื่อน การพัฒนาภาคเกษตรตามนโยบายสำาคัญของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการสร้างรายได้ของเกษตรกรให้เพิ่ม เป็น 3 เท่า ใน 4 ปีด้วย 9 นโยบายสำาคัญ โดยมุ่งสร้างความ เข้มแข็งให้กับเกษตรกร เพิ่มศักยภาพในการผลิตและการตลาด และ เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรไทย เพื่อผลักดันการเติบโตของภาค เกษตรอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การบริโภคในประเทศที่ขยาย ตัวอย่างต่อเนื่องและการส่งออกที่คาดว่าจะกลับมาขยายตัวได้ส่งผล ให้มีความต้องการสินค้าเกษตรและอาหารเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง อาทิ ฤดูฝนที่อาจมาล่าช้า ภาวะฝนทิ้งช่วง ความแปรปรวนของสภาพอากาศ การระบาดของ โรคและแมลง ซึ่งอาจสร้างความเสียหายต่อผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งต้นทุนการผลิตที่ยังคงอยู่ในระดับสูง ในส่วนของปัจจัย ภายนอก อาทิความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ในหลายภูมิภาคทั่วโลก และมาตรการกีดกันทางการค้าของหลายประเทศที่เข้มงวดมากขึ้น อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทย แม้ว่าภาพรวมภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 จะหดตัวลง เนื่องจากผลผลิตสินค้าเกษตรหลายชนิดที่ลดลง แต่ราคาสินค้าเกษตร สำาคัญส่วนใหญ่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยสินค้าที่มีราคาเฉลี่ย เพิ่มขึ้นในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม 2567 เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปี2566 ได้แก่ ข้าว มันสำาปะหลัง อ้อยโรงงาน สับปะรด ปัตตาเวีย ยางพารา ปาล์มน้ำามัน และลำาไย โดย ข้าว ราคา เพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศยังคงมีความ ต้องการอย่างต่อเนื่อง มันสำาปะหลัง ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจาก อุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์และอุตสาหกรรมพลังงานภายใน ประเทศมีความต้องการต่อเนื่อง อ้อยโรงงาน ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมน้ำาตาลในประเทศเพิ่มขึ้น ประกอบ กับราคาน้ำาตาลในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ราคาอ้อยใน ปศุสัตว์ไตรมาส 1 โต 1.5% สวนทาง GDP เกษตรหดตัว 4.5%


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ประเทศสูงขึ้น สับปะรดปัตตาเวีย ราคาเพิ่มขึ้นจากความต้องการ ของโรงงานแปรรูปที่ยังมีอย่างต่อเนื่อง ส่วนสินค้าปศุสัตว์และประมง ที่มีราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม 2567 เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี2566 ได้แก่ ไข่ไก่ และน้ำานมดิบ โดย ไข่ไก่ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึง การดำาเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ น้ำานมดิบ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากการปรับเพิ่มราคากลางรับซื้อน้ำานมดิบให้ สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น และปลาดุก เนื่องจาก ผู้บริโภคมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น ด้าน นายวินิต อธิสุข รองเลขาธิการ สศก. กล่าวถึงรายละเอียด สินค้าในแต่ละสาขาว่า สำาหรับ สาขาพืช หดตัว ร้อยละ 6.4 โดย กลุ่มสินค้าพืชที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง มันสำาปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา ปาล์มน้ำามัน ลำาไย ทุเรียน มังคุด และ เงาะ โดยข้าวนาปีผลผลิตลดลงในทุกภูมิภาค เนื่องจาก ในช่วงฤดูเพาะปลูกมีปริมาณฝนตกน้อย เกิดปัญหาฝนทิ้งช่วงและ การขาดแคลนน้ำา ทำาให้เกษตรกรบางพื้นที่ปล่อยที่นาให้ว่าง และบาง พื้นที่ปลูกข้าวนาปีได้เพียงรอบเดียว ข้าวนาปรัง ผลผลิตลดลงตาม เนื้อที่เพาะปลูกที่ลดลง เนื่องจากปริมาณน้ำาในอ่างเก็บน้ำาและตาม แหล่งน้ำาธรรมชาติน้อยกว่าปีที่ผ่านมา ส่งผลให้น้ำาต้นทุนมีไม่ เพียงพอสำาหรับการเพาะปลูก เกษตรกรบางพื้นที่จึงปล่อยที่นาให้ว่าง หรือปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชใช้น้ำาน้อยหรือพืชผักแทน มันสำาปะหลัง ผลผลิตลดลง เนื่องจากเกษตรกรขาดแคลนท่อนพันธุ์จากสถานการณ์ หัวมันเน่าตั้งแต่ปี2565 และท่อนพันธุ์ดีมีราคาสูง ประกอบกับสภาพ อากาศที่แห้งแล้งตั้งแต่ต้นปี2566 ทำาให้เกษตรกรบางรายปล่อยพื้นที่ ให้ว่างหรือปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น เช่น สับปะรด ยางพารา ข้าวโพดหวาน และข้าวโพดเมล็ดพันธุ์นอกจากนี้ภาวะแห้งแล้งยัง ทำาให้ต้นมันสำาปะหลังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ส่งผลให้มีผลผลิตต่อไร่ ลดลง อ้อยโรงงาน ผลผลิตลดลง เนื่องจากความแห้งแล้งและภาวะ ฝนทิ้งช่วง ประกอบกับราคาปุ๋ยและสารเคมีกำาจัดศัตรูพืชยังอยู่ใน ระดับสูง ส่งผลให้เกษตรกรมีการดูแลและบำารุงต้นอ้อยน้อยกว่าปีที่ ผ่านมา ทำาให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลง ยางพารา ผลผลิตลดลง เนื่องจากพื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตสำาคัญทางภาคใต้ยังคงมีการระบาดของ โรคใบร่วงยางพารา ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้ง ทำาให้ต้น ยางพาราให้น้ำายางลดลง ปาล์มน้ำามัน ผลผลิตลดลง เนื่องจากสภาพ อากาศร้อนและแห้งแล้งตั้งแต่ปี2566 ต่อเนื่องมาจนถึงต้นปี2567 ประกอบกับมีปริมาณน้ำาฝนน้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของต้น ปาล์มน้ำามัน ส่งผลให้ต้นปาล์มไม่สมบูรณ์ทำาให้น้ำาหนักทะลายปาล์ม ลดลง ลำาไย ผลผลิตลดลง โดยผลผลิตที่ออกสู่ตลาดในช่วงนี้มาจาก แหล่งผลิตหลักในภาคตะวันออก ซึ่งเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ ลำาไยไปปลูกทุเรียน ประกอบกับสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง ทำาให้ ต้นลำาไยขาดน้ำา และมีการออกดอกติดผลลดลง ทุเรียน ผลผลิตลดลง เนื่องจากสภาพอากาศร้อน ไม่เอื้ออำานวยต่อการออกดอกติดผลของ ทุเรียนนอกฤดูทางภาคใต้ ทำาให้ผลทุเรียนไม่สมบูรณ์ มีขนาดเล็ก น้ำาหนักน้อย รูปทรงไม่สวยงาม มีผลผลิตไม่เต็มต้น แม้ว่าเนื้อที่ให้ ผลจะเพิ่มขึ้นจากการที่เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกเพราะราคาอยู่ใน เกณฑ์ดีแต่ในภาพรวมผลผลิตยังคงลดลง มังคุด และ เงาะ ผลผลิต ลดลง เนื่องจากการตัดโค่นต้นมังคุดและเงาะไปปลูกทุเรียน ทำาให้ เนื้อที่ให้ผลในแหล่งผลิตสำาคัญทางภาคตะวันออกและภาคใต้ลดลง ประกอบกับสภาพอากาศแห้งแล้ง ปริมาณฝนน้อย ทำาให้ต้นมังคุด และเงาะได้รับน้ำาไม่เพียงพอ ส่งผลให้มังคุดและเงาะนอกฤดูออกดอก ติดผลน้อยลง สินค้าพืชที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และ สับปะรดปัตตาเวีย โดย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปีที่ผ่านมาอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง จูงใจ ให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยง สัตว์รุ่น 2 ซึ่งเก็บเกี่ยวผลผลิตในไตรมาส 1 ปี2567 ประกอบกับ เกษตรกรมีความรู้และมีทักษะในการเพาะปลูกมากขึ้น ทำาให้ได้ ปริมาณผลผลิตมากกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา สับปะรด ปัตตาเวีย ผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากในช่วงปลายปี2566 ต้นสับปะรด ขาดน้ำาในช่วงเพาะปลูก ทำาให้ผลเจริญเติบโตช้าและมีขนาดเล็ก ส่งผล ให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตบางส่วนเลื่อนมาอยู่ในไตรมาส 1 ปี2567 สาขาปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 1.5 โดยสินค้าปศุสัตว์ที่มีผลผลิต เพิ่มขึ้น ได้แก่ สุกร ผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากการฟื้นฟูฟาร์มสุกร หลังการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) และการ ยกระดับมาตรฐานการผลิตให้มีความปลอดภัยมากขึ้น ประกอบกับ ช่วงปีที่ผ่านมาราคาสุกรอยู่ในเกณฑ์ดีส่งผลให้มีการเพิ่มปริมาณการ ผลิตสุกร และ ไก่เนื้อ ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากการขยายการ ผลิตเพื่อรองรับความต้องการบริโภคภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นตามภาค การท่องเที่ยวที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สินค้าปศุสัตว์ที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ไข่ไก่ ผลผลิตลดลง เนื่องจากมีการปรับลดแม่ไก่ยืนกรงตาม มาตรการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ของคณะกรรมการนโยบาย พัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์(Egg Board) เพื่อให้มีผลผลิตเหมาะสม กับความต้องการบริโภคภายในประเทศ และ น้ำานมดิบ ผลผลิตลดลง เนื่องจากต้นทุนอาหารสัตว์ที่สูงขึ้น ทำาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม บางรายเลิกเลี้ยงหรือปรับลดจำานวนโคในฝูงลง สาขาประมง ขยายตัวร้อยละ 0.5 โดยสินค้าประมงที่มีผลผลิต เพิ่มขึ้น ได้แก่ กุ้งขาวแวนนาไม ผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกร มีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดี ประกอบกับเกษตรกรเร่งจับกุ้งเพื่อ รองรับความต้องการของตลาดในช่วงเทศกาลตรุษจีน สัตว์น้ำาที่ นำาขึ้นท่าเทียบเรือ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาน้ำามันเชื้อเพลิง ซึ่งเป็นต้นทุนการผลิตหลักของการทำาประมงทะเลปรับลดลง ส่งผล ให้ผู้ประกอบการออกเรือจับสัตว์น้ำาเพิ่มขึ้น สินค้าประมงที่มีผลผลิต ลดลง คือ ปลานิลและปลาดุก เนื่องจากได้รับผลกระทบจากต้นทุน อาหารสัตว์ที่ยังคงอยู่ในระดับสูง รวมทั้งความแห้งแล้งทำาให้มีปริมาณ น้ำาน้อย ส่งผลให้เกษตรกรชะลอการเลี้ยง และลดปริมาณการปล่อย ลูกปลา


สัตว์เศรษฐกิจ 49 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สาขาบริการทางการเกษตร หดตัวร้อยละ 3.6 เนื่องจากปรากฎ การณ์เอลนีโญตั้งแต่ปี 2566 ทำาให้หลายพื้นที่มีน้ำา ไม่เพียงพอ เกษตรกรบางส่วนจึงปล่อยพื้นที่เพาะปลูกให้ว่าง ส่งผลให้กิจกรรม การจ้างบริการเตรียมดินและเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชที่สำาคัญลดลง อาทิ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง มันสำาปะหลัง และอ้อยโรงงาน และสาขา ป่าไม้ ขยายตัวร้อยละ 1.8 โดยผลผลิตไม้ยางพารา เพิ่มขึ้นตาม พื้นที่การตัดโค่นพื้นที่สวนยางพาราเก่าและปลูกทดแทนด้วยยางพารา พันธุ์ดีหรือพืชเศรษฐกิจอื่น ซึ่งไม้ยางพารายังคงเป็นที่ต้องการของ ตลาดจีนเพื่อการใช้ในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ สำาหรับผลผลิตถ่านไม้ เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของธุรกิจภาคบริการและการท่องเที่ยว ภายในประเทศ ขณะที่ผลผลิตไม้ยูคาลิปตัส ครั่ง และรังนก มี แนวโน้มลดลง ตารางที่1 อัตราการเติบโตของภาคเกษตร หน่วย: ร้อยละ สาขา ไตรมาส 1/2567(มกราคม - มีนาคม 2567) ภาคเกษตร -4.1 พืช -6.4 ปศุสัตว์ 1.5 ประมง 0.5 บริการทางการเกษตร -3.6 ป่ าไม้ 1.8 ที่มา: กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ เดือนมีนาคม 2567) ราคาสินค้าเกษตรทเี่กษตรกรขายได้ หน่วย: บาท/กิโลกรัม สินค้า ปี 2566 ปี 2567 อัตราเปลี่ยนแปลง ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค. (ร้อยละ) ข้าวเปลือกเจ้า ความชื้น 15% (บาท/ตัน) 9,717 11,449 17.82 ข้าวเปลือกเจ้านาปี 15% (บาท/ตัน) 9,700 11,443 17.97 ข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 15% (บาท/ ตัน) 9,756 11,425 17.10 ข้าวนาปีหอมมะลิ(บาท/ตัน) 13,313 14,068 5.67 หัวมันส าปะหลังสดคละ 2.87 3.05 6.36 อ้อยโรงงาน 1,127 1,438 27.58 สับปะรดปัตตาเวียส่งโรงงาน 7.39 10.95 48.12 ยางแผ่นดิบ ชั้น 3 44.20 62.86 42.24 ผลปาล์มน ้ามันทั้งทะลายคละ 5.00 5.62 12.35 ล าไยเกรด A 25.86 30.20 16.79 ไข่ไก่สดคละ(บาท/ร้อยฟอง) 338 356 5.23 น ้านมดิบ 19.17 20.52 7.05 ปลาดุกบิ๊กอุย ขนาด 2-4 ตัว/กก. 58.31 59.39 1.85 ตารางที่1 อัตราการเติบโตของภาคเกษตร หน่วย: ร้อยละ สาขา ไตรมาส 1/2567(มกราคม - มีนาคม 2567) ภาคเกษตร -4.1 พืช -6.4 ปศุสัตว์ 1.5 ประมง 0.5 บริการทางการเกษตร -3.6 ป่ าไม้ 1.8 ที่มา: กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ เดือนมีนาคม 2567) ราคาสินค้าเกษตรทเี่กษตรกรขายได้ หน่วย: บาท/กิโลกรัม สินค้า ปี 2566 ปี 2567 อัตราเปลี่ยนแปลง ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค. (ร้อยละ) ข้าวเปลือกเจ้า ความชื้น 15% (บาท/ตัน) 9,717 11,449 17.82 ข้าวเปลือกเจ้านาปี 15% (บาท/ตัน) 9,700 11,443 17.97 ข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 15% (บาท/ ตัน) 9,756 11,425 17.10 ข้าวนาปีหอมมะลิ(บาท/ตัน) 13,313 14,068 5.67 หัวมันส าปะหลังสดคละ 2.87 3.05 6.36 อ้อยโรงงาน 1,127 1,438 27.58 สับปะรดปัตตาเวียส่งโรงงาน 7.39 10.95 48.12 ยางแผ่นดิบ ชั้น 3 44.20 62.86 42.24 ผลปาล์มน ้ามันทั้งทะลายคละ 5.00 5.62 12.35 ล าไยเกรด A 25.86 30.20 16.79 ไข่ไก่สดคละ(บาท/ร้อยฟอง) 338 356 5.23 น ้านมดิบ 19.17 20.52 7.05 ปลาดุกบิ๊กอุย ขนาด 2-4 ตัว/กก. 58.31 59.39 1.85 ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข้อมูล ณ วันที่ 4เมษายน 2567 ที่มา: กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ เดือนมีนาคม 2567) ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข้อมูล ณ วันที่ 4 เมษายน 2567


50 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “BTG” เปิดตัว “Betagro Ventures” มุ่งบ่มเพาะและพัฒนาธุรกิจ “FoodTech & AgriTech” พร้อมเดินหน้าลงทุนสตาร์ทอัพ ผ่านกองทุน 30 ล้านเหรียญสหรัฐ สร้างโอกาส เติบโตที่ยั่งยืน - “บมจ.เบทาโกร (BTG)” เปิดตัว “Betagro Ventures” บริษัทใหม่ที่มุ่งเน้นลงทุนและ พัฒนานวัตกรรมครอบคลุมทั้งการลงทุนในกองทุนและสตาร์ทอัพ (Venture capital - VC) และการบ่มเพาะพัฒนาธุรกิจใหม่ (Venture Building - VB) - ตั้งกองทุน 30 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว 1,000 ล้านบาท สำาหรับลงทุนในกองทุน และสตาร์ทอัพด้าน FoodTech & AgriTech ทั่วโลก โดยโฟกัสสตาร์ทอัพที่อยู่ในช่วงระยะ เริ่มต้น (Early Stage) ที่มีเทคโนโลยี นวัตกรรม หรือแพลตฟอร์มที่มีเทคโนโลยีล้ำาหน้า - Betagro Ventures มุ่งแสวงหาโอกาสในการขับเคลื่อนนวัตกรรม พร้อมทั้งสร้าง พันธมิตรทางธุรกิจครอบคลุมระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินธุรกิจของเบทาโกร บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG บริษัทอาหารครบวงจรชั้นนำาของไทย เปิดตัว “Betagro Ventures” ซึ่งเป็นบริษัทใหม่ที่มุ่งเน้นการลงทุน และพัฒนานวัตกรรม ครอบคลุมระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินธุรกิจของเบทาโกร ผ่านการดำาเนินงานภายใต้ 3 กลยุทธ์หลัก ได้แก่ 1) การส่งเสริมให้ผู้บริโภคเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณภาพสูง 2) การพัฒนาแหล่งโปรตีนใหม่ที่ยั่งยืน และ 3) การสร้างห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร และอาหารที่ยั่งยืน ซึ่งกลยุทธ์เหล่านี้จะถูกขับเคลื่อนผ่านการลงทุนตามเป้าหมาย และการ บ่มเพาะสตาร์ทอัพภายในองค์กร โดย Betagro Ventures ได้จัดตั้งกองทุนมูลค่า 30 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อลงทุนใน สตาร์ทอัพที่อยู่ในช่วงระยะเริ่มต้น (Early Stage) ที่พัฒนานวัตกรรมใหม่สอดคล้องตามกลยุทธ์ หลักของ Betagro Ventures และในการลงทุนจะมุ่งใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับ การดำาเนินธุรกิจของเบทาโกรในด้านอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เพื่อสนับสนุนสตาร์ทอัพให้ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและผู้บริโภคในวงกว้าง ผ่านความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และเพิ่มโอกาสใน การเป็นพันธมิตรทางธุรกิจต่อไป เปิดตัว “Betagro Ventures” มุ่งพัฒนาธุรกิจ “FoodTech & AgriTech”


Click to View FlipBook Version