The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัตว์เศรษฐกิจ-901

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัตว์เศรษฐกิจ E magazine, 2023-02-20 02:44:59

Livestock Production E magazine-901

สัตว์เศรษฐกิจ-901

www.hipra.com โทรศัพท์: +66 (0) 2090 9612-4 แฟกซ์ www.hipra.com : +66 (0) 2090 9615 โทรศัพท์: +66 (0) 2090 9612-4 แฟกซ์: +66 (0) 2090 9615 LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ ปี 39 ฉบับที่ 901 กุมภาพันธ์ 2566 https://livestockemag.com/ หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง ไก่เนื้อ ปี 66 ส่งออกรุ่ง...คาดยอดส่งออกทะลุ 9.6 แสนตัน โคเนื้อ ปี 66 ส่งเสริมผู้เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ รับตลาดเสรี หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง ไก่เนื้อ ปี 66 ส่งออกรุ่ง...คาดยอดส่งออกทะลุ 9.6 แสนตัน โคเนื้อ ปี 66 ส่งเสริมผู้เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ รับตลาดเสรี


4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หลังจากกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ พูดเรื่องราคาสินค้ามีแนวโน้มลดลงหลายรายการ โดยเฉพาะ หมู ไก่ ไข่ บอกว่าราคาลงแล้วและจะทยอยลดลงอีก อ่านในฐานะผู้บริโภคก็จะสดชื่นเพราะราคาอาหารจะลดลง แต่อ่านในฐานะเกษตรกร ไม่ว่าจะผู้เลี้ยงหมู ไก่ หรือ ไก่ไข่ คงอยู่ในภาวะ “น้ำาตาตกใน” ทั้งสิ้นมีคำาถามภาครัฐ ว่า ข้อมูลที่ได้จากการสำารวจตลาด ครอบคลุมภาคการผลิตด้วยหรือไม่? หากภาครัฐ ทำาหน้าที่กำากับดูแลให้กลไกตลาดทำางานสมบูรณ์ ราคาก็จะสะท้อนความเป็น จริงตามหลักเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน อุปสงค์-อุปทาน นักเศรษฐศาตร์อาวุโสหลายท่านชี้แนะมาตลอด แต่ที่ผ่านมามาตรการ คือ “ตรึงราคา” วิธีการนี้อาจจะเหมาะกับสินค้าบางประเภทที่มีสต๊อกจำานวนมาก เช่น สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก เมื่อไม่ให้ปรับ ราคา ผู้ผลิตก็ลดขนาดบรรจุลง เพื่อชดเชยต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น เป็นการบริหารจัดการธุรกิจอย่างสมดุลของผู้ผลิต วิธีการ เหล่านี้เป็นกลยุทธ์ที่ดำาเนินการมาช้านานแล้ว ผู้บริโภครับทราบดี สินค้าขนาดเล็กลงในราคาเท่าเดิม... ภาครัฐประสบความ สำาเร็จในการตรึงราคา สำาหรับสินค้าเกษตรทั้งหมูไก่ ไข่ ไม่สามารถลดปริมาณได้เหมือนสินค้าอื่น ซื้อเนื้อหมู1 กิโลกรัมก็ต้องชั่งให้เต็มน้ำาหนัก ขณะที่มองหาปัจจัยบวกทางการผลิตแทบไม่มีภาคปศุสัตว์ยังคงประสบปัญหาต้นทุนการผลิตสูง วัตถุดิบอาหารสัตว์ราคาสูงเป็น ประวัติการณ์ ตั้งแต่สงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่จะครบ 1 ปี ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นี้ ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และปัจจัย การผลิตอื่นๆ ปรับขึ้นเฉลี่ย 30% ทั้ง 2 รายการ ยังมีค่าพลังงาน ค่าไฟฟ้า ที่เดินแถวปรับขึ้นราคากันไม่หยุดยั้ง ที่สำาคัญภาค รัฐช่วยภาคการผลิตเพียงชั่วคราว ทั้งที่มาตรการกำาหนดโควต้านำาเข้า มาตรการภาษีและกลไกราคาอยู่ในมือภาครัฐทั้งสิ้น...อยู่ ที่ว่าภาครัฐจะเลือกใคร? สำาหรับกรณีเนื้อหมูที่ราคาถูกลงเพราะผลผลิตเพิ่มขึ้น เป็นข้อมูลส่วนหนึ่ง ด้านสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ รายงาน สถานการณ์สุกรมีชีวิตหน้าฟาร์ม ทุกวันพระเป็นข้อมูลฝั่งเกษตรกรล่าสุดรายงานเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์2566 ว่า การค้าสุกร ขุนเข้าสู่วัฏจักรที่ผู้เลี้ยงสุกรทั้งระบบต้องบริหารจัดการกันเอง (พึ่งพาตัวเอง) สุกรขุนมีชีวิตเริ่มผลักดันผ่านด่านเชียงแสน สู่ สปป.ลาว ที่มีราคาใกล้เคียงกับประเทศไทย ขายในประเทศขาดทุนจึงต้องไปขายต่างประเทศหรืออย่างไร? และในรายงาน ฉบับก่อนหน้านี้ระบุตลาดการค้าสุกรขุนยังคงได้รับผลกระทบจากชิ้นส่วนสุกรลักลอบนำาเข้า เพราะผลผลิตในปัจจุบันยังต่ำากว่า ความต้องการบริโภค...ราคาในประเทศควรสูงแต่กลับต่ำา ภาครัฐได้ตรวจสอบหรือไม่ถึงสาเหตุที่แท้จริงของราคาที่ลดลง? นอกจากนี้ ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ยังอยู่ในระดับสูงมาก ประกอบกับปริมาณลูกสุกรพันธุ์ที่ยังไม่เพียงพอส่งผลให้มีการ เลี้ยงสุกรขุนให้มีขนาดใหญ่มากขึ้น (ปล่อยให้หมูโตในเล้านานขึ้น ต้นทุนการเลี้ยงเพิ่มขึ้น) กระทบคุณภาพซากที่มีส่วนไขมันมาก ที่ซ้ำาเติมราคาจำาหน่ายให้ลดลง และไปอ้างอิงราคาสุกรขุนขนาดปกติทำาให้หลายภูมิภาคต้องปรับราคาจำาหน่ายที่มีการย่อตัว ตาม...ประเด็นเหล่านี้ ภาครัฐได้ศึกษาอย่างถ่องแท้หรือไม่? ราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มล่าสุดเฉลี่ยทั่วไทยอยู่ที่ประมาณ 90-96 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนผลิตทั้งปีที่ผ่านมาของสมาคมฯ อยู่ที่ประมาณ 95 บาทต่อกิโลกรัม ที่สำาคัญการปราบปราม ชิ้นส่วนสุกรนำาเข้าตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีปฏิบัติจริงไม่เกิน 5% ของจำานวนลักลอบทั้งหมด (แปลว่าหมูเถื่อน เต็มบ้าน เต็มเมือง กดราคาหมูไทยให้ต่ำาไปด้วย) จึงถึงจุดที่ว่าหมูไทยขอไปตายต่างแดน... ภาครัฐต้องตระหนักว่า “หมูเถื่อน” ลักลอบนำาเข้าเป็นชิ้นส่วนแช่แข็ง ไม่ผ่านการตรวจสอบโรคและสารปนเปื้อน โอกาส เป็นหมูติดโรคจากต้นทางได้ จึงขายได้ในราคาต่ำามาก ปะปนอยู่บนเขียงหมูในตลาดสดแบบแยกไม่ออก อันตรายต่อสุขภาพ คนไทย ทำาร้ายทำาเกษตรกรรายย่อย-รายเล็กไทยขาดทุนกิจการเดินหน้าต่อไมได้ เพราะราคาตลาดต่ำากว่าต้นทุนการผลิตที่ แท้จริง ภาครัฐอย่าละเลยความเดือดร้อนของเกษตรกร หากต้องพิจารณาอย่างรอบด้านและหาทางปราบ “หมูเถื่อน” ให้สิ้นซาก มีการตรวจสอบทั้งภาคการขายและภาคการผลิต เมื่อนั้นค่อยประกาศว่าราคาเนื้อหมูปรับลดลงแล้วจริงๆ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หมูเถื่อนปั่นป่วนกระทบราคา


4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หลังจากกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ พูดเรื่องราคาสินค้ามีแนวโน้มลดลงหลายรายการ โดยเฉพาะ หมู ไก่ ไข่ บอกว่าราคาลงแล้วและจะทยอยลดลงอีก อ่านในฐานะผู้บริโภคก็จะสดชื่นเพราะราคาอาหารจะลดลง แต่อ่านในฐานะเกษตรกร ไม่ว่าจะผู้เลี้ยงหมู ไก่ หรือ ไก่ไข่ คงอยู่ในภาวะ “น้ำาตาตกใน” ทั้งสิ้นมีคำาถามภาครัฐ ว่า ข้อมูลที่ได้จากการสำารวจตลาด ครอบคลุมภาคการผลิตด้วยหรือไม่? หากภาครัฐ ทำาหน้าที่กำากับดูแลให้กลไกตลาดทำางานสมบูรณ์ ราคาก็จะสะท้อนความเป็น จริงตามหลักเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน อุปสงค์-อุปทาน นักเศรษฐศาตร์อาวุโสหลายท่านชี้แนะมาตลอด แต่ที่ผ่านมามาตรการ คือ “ตรึงราคา” วิธีการนี้อาจจะเหมาะกับสินค้าบางประเภทที่มีสต๊อกจำานวนมาก เช่น สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก เมื่อไม่ให้ปรับ ราคา ผู้ผลิตก็ลดขนาดบรรจุลง เพื่อชดเชยต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น เป็นการบริหารจัดการธุรกิจอย่างสมดุลของผู้ผลิต วิธีการ เหล่านี้เป็นกลยุทธ์ที่ดำาเนินการมาช้านานแล้ว ผู้บริโภครับทราบดี สินค้าขนาดเล็กลงในราคาเท่าเดิม... ภาครัฐประสบความ สำาเร็จในการตรึงราคา สำาหรับสินค้าเกษตรทั้งหมูไก่ ไข่ ไม่สามารถลดปริมาณได้เหมือนสินค้าอื่น ซื้อเนื้อหมู1 กิโลกรัมก็ต้องชั่งให้เต็มน้ำาหนัก ขณะที่มองหาปัจจัยบวกทางการผลิตแทบไม่มีภาคปศุสัตว์ยังคงประสบปัญหาต้นทุนการผลิตสูง วัตถุดิบอาหารสัตว์ราคาสูงเป็น ประวัติการณ์ ตั้งแต่สงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่จะครบ 1 ปี ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ นี้ ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และปัจจัย การผลิตอื่นๆ ปรับขึ้นเฉลี่ย 30% ทั้ง 2 รายการ ยังมีค่าพลังงาน ค่าไฟฟ้า ที่เดินแถวปรับขึ้นราคากันไม่หยุดยั้ง ที่สำาคัญภาค รัฐช่วยภาคการผลิตเพียงชั่วคราว ทั้งที่มาตรการกำาหนดโควต้านำาเข้า มาตรการภาษีและกลไกราคาอยู่ในมือภาครัฐทั้งสิ้น...อยู่ ที่ว่าภาครัฐจะเลือกใคร? สำาหรับกรณีเนื้อหมูที่ราคาถูกลงเพราะผลผลิตเพิ่มขึ้น เป็นข้อมูลส่วนหนึ่ง ด้านสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ รายงาน สถานการณ์สุกรมีชีวิตหน้าฟาร์ม ทุกวันพระเป็นข้อมูลฝั่งเกษตรกรล่าสุดรายงานเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์2566 ว่า การค้าสุกร ขุนเข้าสู่วัฏจักรที่ผู้เลี้ยงสุกรทั้งระบบต้องบริหารจัดการกันเอง (พึ่งพาตัวเอง) สุกรขุนมีชีวิตเริ่มผลักดันผ่านด่านเชียงแสน สู่ สปป.ลาว ที่มีราคาใกล้เคียงกับประเทศไทย ขายในประเทศขาดทุนจึงต้องไปขายต่างประเทศหรืออย่างไร? และในรายงาน ฉบับก่อนหน้านี้ระบุตลาดการค้าสุกรขุนยังคงได้รับผลกระทบจากชิ้นส่วนสุกรลักลอบนำาเข้า เพราะผลผลิตในปัจจุบันยังต่ำากว่า ความต้องการบริโภค...ราคาในประเทศควรสูงแต่กลับต่ำา ภาครัฐได้ตรวจสอบหรือไม่ถึงสาเหตุที่แท้จริงของราคาที่ลดลง? นอกจากนี้ ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ยังอยู่ในระดับสูงมาก ประกอบกับปริมาณลูกสุกรพันธุ์ที่ยังไม่เพียงพอส่งผลให้มีการ เลี้ยงสุกรขุนให้มีขนาดใหญ่มากขึ้น (ปล่อยให้หมูโตในเล้านานขึ้น ต้นทุนการเลี้ยงเพิ่มขึ้น) กระทบคุณภาพซากที่มีส่วนไขมันมาก ที่ซ้ำาเติมราคาจำาหน่ายให้ลดลง และไปอ้างอิงราคาสุกรขุนขนาดปกติทำาให้หลายภูมิภาคต้องปรับราคาจำาหน่ายที่มีการย่อตัว ตาม...ประเด็นเหล่านี้ ภาครัฐได้ศึกษาอย่างถ่องแท้หรือไม่? ราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มล่าสุดเฉลี่ยทั่วไทยอยู่ที่ประมาณ 90-96 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนผลิตทั้งปีที่ผ่านมาของสมาคมฯ อยู่ที่ประมาณ 95 บาทต่อกิโลกรัม ที่สำาคัญการปราบปราม ชิ้นส่วนสุกรนำาเข้าตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีปฏิบัติจริงไม่เกิน 5% ของจำานวนลักลอบทั้งหมด (แปลว่าหมูเถื่อน เต็มบ้าน เต็มเมือง กดราคาหมูไทยให้ต่ำาไปด้วย) จึงถึงจุดที่ว่าหมูไทยขอไปตายต่างแดน... ภาครัฐต้องตระหนักว่า “หมูเถื่อน” ลักลอบนำาเข้าเป็นชิ้นส่วนแช่แข็ง ไม่ผ่านการตรวจสอบโรคและสารปนเปื้อน โอกาส เป็นหมูติดโรคจากต้นทางได้ จึงขายได้ในราคาต่ำามาก ปะปนอยู่บนเขียงหมูในตลาดสดแบบแยกไม่ออก อันตรายต่อสุขภาพ คนไทย ทำาร้ายทำาเกษตรกรรายย่อย-รายเล็กไทยขาดทุนกิจการเดินหน้าต่อไมได้ เพราะราคาตลาดต่ำากว่าต้นทุนการผลิตที่ แท้จริง ภาครัฐอย่าละเลยความเดือดร้อนของเกษตรกร หากต้องพิจารณาอย่างรอบด้านและหาทางปราบ “หมูเถื่อน” ให้สิ้นซาก มีการตรวจสอบทั้งภาคการขายและภาคการผลิต เมื่อนั้นค่อยประกาศว่าราคาเนื้อหมูปรับลดลงแล้วจริงๆ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หมูเถื่อนปั่นป่วนกระทบราคา


สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 901 กุมภาพันธ์ 2566 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 901 คอลัมน์พิเศษ 12 หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน 18 ถอดบทเรียน “หมูเถื่อน” วนเวียนไทย บิดเบือนราคา 20 “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง 22 หมู ไก่ ไข่ อ่วม...วัตถุดิบแพง ดันต้นทุนพุง 25 โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (2) 28 ซีพีเอฟ รุกใช้ “โปรไบโอติก” เสริมสุขภาพไก่ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ 29 ไก่เนื้อ ปี 66 ส่งออกรุ่ง...คาดยอดส่งออกทะลุ 9.6 แสนตัน 36 สารเร่งเนื้อแดง หอกข้างแคร่กรมปศุสัตว์ 39 โคเนื้อ ปี 66 ส่งเสริมผู้เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ รับตลาดเสรี 46 VIV Asia 2023 ฉลองครบ 30 ปี กับครั้งแรกที่เมืองทองธานี ลงทะเบียนฟรี 48 “กุ้งไทย” ไปถึงไหน? คอลัมน์ประจำ� 50 บอกกล่าว 52 กิจกรรมเด่น 53 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ ่


สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 901 กุมภาพันธ์ 2566 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 901 คอลัมน์พิเศษ 12 หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน 18 ถอดบทเรียน “หมูเถื่อน” วนเวียนไทย บิดเบือนราคา 20 “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง 22 หมู ไก่ ไข่ อ่วม...วัตถุดิบแพง ดันต้นทุนพุง 25 โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (2) 28 ซีพีเอฟ รุกใช้ “โปรไบโอติก” เสริมสุขภาพไก่ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ 29 ไก่เนื้อ ปี 66 ส่งออกรุ่ง...คาดยอดส่งออกทะลุ 9.6 แสนตัน 36 สารเร่งเนื้อแดง หอกข้างแคร่กรมปศุสัตว์ 39 โคเนื้อ ปี 66 ส่งเสริมผู้เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ รับตลาดเสรี 46 VIV Asia 2023 ฉลองครบ 30 ปี กับครั้งแรกที่เมืองทองธานี ลงทะเบียนฟรี 48 “กุ้งไทย” ไปถึงไหน? คอลัมน์ประจำ� 50 บอกกล่าว 52 กิจกรรมเด่น 53 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ ่


Manufacturer: Name: Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Address: Lushang square,Jingshi road, Jinan,Shandong province,China Tel/What’s app/Line:0086-18369909316 Email: [email protected] Thailand distributor : Name: Feed Techno Focus Co., Ltd. Address: 554/3 Asok-Dindaeng Rd., Dindaeng, Bangkok 10400 Thailand Tel. : 0066- (0)2 641 8862-4


Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: [email protected] การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: [email protected] การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา


SWINE VACCINATION HAS NEVER BEEN SO PRECISE, SO EASY OR SO QUICK IT’S TIME TO FEEL THE COMFORT


Pig skin Pig skin Pig skin 90º 1 2 3 EPIDERMIS DERMIS ADIPOSE TISSUE (S.C.) INTRADERMAL APPLICATION OF VACCINES IN PIGS The dermis represents an excellent site for vaccine delivery being rich in resident DC, lymph vessels and blood capillaries. Adequate regions for intradermal administration of vaccines Comparison between intradermal (ID) and intramuscular (IM) application Correct administration of the vaccine Papule in sows Observed in 90% of the sows vaccinated with Hipradermic®2. Injection point in piglets In piglets no papule is observed, just an injection point can be seen. In the ID application the vaccine is deposited at the dermal layer of the skin (before the subcutaneous fat). For IM application is very important to select the adequate needle length tacking into account the subcutaneous fat. Piglets www.hipra.com Sows Sows Sows 1 23 456 7 8 As a needle-free injector, Hipradermic®1 injector head must contact the surface of the pig's skin at a 90º angle. Hipradremic® has no trigger, so it is enough to make a small movement towards the animal to carry out the vaccination. Mechanism of action (1) Hipradermic®, needle-free device with full traceability for the vaccination of sows and piglets. (2) Busquet et al., 2017. ESPHM Proceedings. Resident DC taking up antigen Blood vessel Inflamatory Dendritic Cell (DC) Lymph vessel with DC migrating to lymph node


12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เพิ่่มขึ้นจากปี 2564 ซึ่่งมีปริมาณ 106.99 ล้านตัน ร้อยละ 1.58 เนื่่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลกมีปริมาณการ บริโภคเพิ่่มขึ้น โดยในปี 2565 จีนบริโภคเนื้อสุกรมากที่สุด ปริมาณ 52.69 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 51.73 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.86 รองลงมา ได้แก่ สหภาพยุโรปบริโภคเนื้อสุกร 18.92 ล้าน ตัน เพิ่่มขึ้นจาก 18.73 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.03 และ สหรัฐอเมริกาบริโภคเนื้อสุกร 10.05 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 9.92 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.29 การส่งออกปี 2561 - 2565 การส่งออกเนื้อสุกรของโลก เพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออก เนื้อสุกรมีปริมาณรวม 10.67 ล้านตัน ลดลงจาก 12.21 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 12.64 เนื่่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ สำาคัญของโลกมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยสหภาพยุโรป มีการ ส่งออกเนื้อสุกรมากที่ สุด 3.90 ล้านตัน ลดลงจาก 4.99 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 21.80 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.90 ล้านตัน ลดลงจาก 3.19 ล้านตัน ของ ปี 2564 ร้อยละ 9.07 และแคนาดา มีปริมาณการส่งออก 1.43 ล้านตัน ลดลงจาก 1.48 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 3.85 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 การนำาเข้าเนื้อสุกรของโลก เพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.60 ต่อปี โดยในปี 2565 การนำาเข้า เนื้อสุกรมีปริมาณรวม 9.60 ล้านตัน ลดลงจาก 11.55 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 16.90 เนื่่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศผู้นำาเข้า เนื้อสุกรรายใหญ่ของโลกมีการนำาเข้าลดลง โดยในปี 2565 มี ปริมาณการนำาเข้า 1.80 ล้านตัน ลดลงจาก 4.33 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 58.43 ปี 2565 ที่ผ่านมา ปริมาณการผลิตสุกรไทยมีปริมาณลดลง จากโรค ASF ระบาด สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงจนไม่เพียง พอกับความต้องการ ส่งผลให้ราคาสุกรหน้าฟาร์มและเนื้อสุกรปรับ เพิ่มขึ้น กลายเป็นโอกาสของมิจฉาชีพลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนสุกร จากต่างประเทศมาขายในราคาถูก กดดันราคาสุกร จนเกษตรกร ต้องออกมาร้องให้รัฐจัดการอย่างจริงจัง แต่เข้าเดือนแรกของปี 2566 ก็ยังไม่สำาเร็จ ในขณะที่ต้นทุนการผลิตปรับเพิ่มขึ้นตามราคา วัตถุดิบอาหารสัตว์และค่าใช้จ่ายในระบบป้องกันโรค ถือเป็นความ ท้าทายของผู้เลี้ยงสุกรไทยในการปรับตัว เพื่อประคับประครอง ธุรกิจให้อยู่รอดได้ต่อไป การผลิตสุกรของโลก ปี 2561 - 2565 การผลิตเนื้อสุกรของ โลกเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.26 ต่อปี โดยในปี 2565 การผลิต เนื้อสุกรของโลกมีปริมาณ 109.85 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 107.61 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 2.08 เนื่่องจากประเทศที่ได้รับความ เสียหายจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) ได้ขยายการเลี้ยงสุกรพร้อมกับมีมาตรการ ควบคุมการระบาดของโรค ASF ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงส่งผล ให้มีปริมาณผลผลิตเนื้อสุกรเพิ่่มขึ้นโดยเฉพาะในจีน และเวียดนาม ซึ่่งมีปริมาณการผลิตเพิ่่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 7.37 และร้อยละ 4.25 ตามลำาดับ โดยในปี 2565 จีนยังคงเป็นผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ที่สุด มีปริมาณการผลิต 51.00 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหภาพ ยุโรป 22.67 ล้านตัน สหรัฐอเมริกา 12.32 ล้านตัน และบราซิล 4.35 ล้านตัน ด้านความต้องการบริโภค ปี 2561 - 2565 ความต้องการ บริโภคเนื้อสุกรของโลกเพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.26 ต่อปี โดยในปี 2565 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 108.68 ล้านตัน หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน


สัตว์เศรษฐกิจ 13 และสุกรมีชีวิต ปริมาณ 2,959 ตัว มูลค่า 39.60 ล้านบาท ลดลง จากปริมาณ 1,277,351 ตัว มูลค่า 8,537.45 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 99.77 และร้อยละ 99.54 ตามลำาดับ โดยมีตลาด ส่งออกสำาคัญ ได้แก่ เมียนมา และสปป. ลาว ทั้งนี้ ปริมาณการ ส่งออกในภาพรวมลดลงเป็นผลมาจากผลผลิตสุกรเสียหายจาก โรค ASF ซึ่งอยู่ระหว่างการฟื้นฟูและพัฒนาการเลี้ยงสุกรภายใต้ ระบบความปลอดภัยด้านชีวภาพ การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 ปริมาณการนำาเข้าผลิตภัณฑ์ เนื้อสุกร ลดลงในอัตราร้อยละ 6.79 ต่อปี โดยในปี 2565 ไทย นำาเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ 267 ตัน มูลค่า 85.71 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 334 ตัน มูลค่า 93.52 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 20.00 และร้อยละ 8.35 ตามลำาดับ โดยนำาเข้าจากประเทศ ในสหภาพยุโรป ได้แก่ อิตาลี สเปน และเดนมาร์ก ปี 2561 - 2565 ปริมาณการนำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่น ๆ) ลดลงในอัตราร้อยละ 2.21 ต่อปี โดยในปี 2565 ไทยนำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร ปริมาณ 27,814 ตัน มูลค่า 516.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 26,157 ตัน มูลค่า 506.38 ล้านบาท ของปี 2564 สุกรร้อยละ 6.34 และร้อยละ 2.06 ตามลำาดับ โดยนำาเข้าจากประเทศในสหภาพ ยุโรป ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ สเปน และเดนมาร์ก ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 - 2565 ราคาที่เกษตรกร ขายได้เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 13.31 ต่อปี โดยราคาสุกรที่เกษตรกร ขายได้ปี 2565 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 99.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ 73.14 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 35.63 เนื่องจากจำานวน แม่พันธุ์ที่ลดลงจากปัญหาโรคระบาดในสุกร ประกอบกับต้นทุน การผลิตที่สูงขึ้นจากภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก ในขณะที่ความต้องการบริโภคยังคงทรงตัว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การผลิตสุกรของไทย ปี 2561 - 2565 การผลิตสุกรของไทย ลดลงในอัตราร้อยละ 6.28 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิต สุกร 15.51 ล้านตัว ลดลงจาก 19.28 ล้านตัว ของปี 2564 ร้อยละ 19.55 เนื่องจากแม่พันธุ์สุกรได้รับความเสียหายจากการ ระบาดของโรค ASF และเกษตรกรรายย่อยชะลอการเลี้ยงเพื่อลด ความเสี่ยง ส่งผลให้ปริมาณการผลิตสุกรในภาพรวมลดลง ความต้องการบริโภค ปี 2561 - 2565 ความต้องการบริโภค เนื้อสุกรของไทย ลดลงในอัตราร้อยละ 7.15 ต่อปี ซึ่่งสุกรที่ผลิต ได้ใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลักประมาณร้อยละ 99 ของ ปริมาณการผลิตทั้งหมด โดยในปี 2565 มีปริมาณการบริโภคสุกร 1.15 ล้านตัน ลดลงจาก 1.31 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 12.13 เนื่่องจากเนื้อสุกรมีราคาปรับตัวสูงขึ้น ผู้บริโภคจึงหันไปบริโภค เนื้อสัตว์ชนิดอื่นที่มีราคาถูกกว่าทดแทน การส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกรแช่ เย็นแช่แข็งลดลงในอัตราร้อยละ 15.60 ต่อปี โดยในปี 2565 ไทย ส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ 728 ตัน มูลค่า 113.22 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 14,180 ตัน มูลค่า 1,721.70 ล้าน บาท ของปี 2564 ร้อยละ 94.87 และร้อยละ 93.42 ตามลำาดับ โดยมีตลาดส่งออกสำาคัญ ได้แก่ ฮ่องกง เมียนมา สปป.ลาว และ กัมพูชา ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูป ลดลง ในอัตราร้อยละ 12.37 ต่อปี โดยในปี 2565 ไทยส่งออกเนื้อสุกร แปรรูป ปริมาณ 4,947 ตัน ลดลงจาก 5,532 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 10.57 ในขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 1,218.73 ล้านบาท เพิ่่มขึ้นจาก 1,175.42 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 3.68 โดยมี ตลาดส่งออกสำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น กัมพูชา ฮ่องกง และสปป. ลาว ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกสุกรพันธุ์และสุกรมีชีวิต ลดลง ในอัตราร้อยละ 65.72 ต่อปี โดยในปี 2565 ไทยส่งออกสุกรพันธุ์ ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.22 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 9.44 ส่วนราคาน าเข้าตับเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.27 บาท สูงขึ้นจาก กิโลกรัมละ 22.12 บาท ปี 2564 ร้อยละ 0.67 ส าหรับแนวโน้ม ปี 2566 การผลิตเนื้อสุกรของโลก ปี 2566 คาดว่า การผลิตเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 110.98 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 109.85 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.03 เนื่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ฟื้นตัวจาก ความเสียหายของโรค ASF และสามารถขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิต 52.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 51.00 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.96 รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโกมีการขยายการผลิตตามความ ต้องการภายในประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 0.72 ร้อยละ 1.61 และร้อยละ 4.58 ตามล าดับ สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส าคัญและแนวโน้ม ปี 2566 ตารางปริมาณการผลิตเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 54.04 42.55 36.34 47.50 51.00 -0.06 52.00 สหภาพยุโรป* 23.16 23.00 23.22 23.62 22.67 -0.16 22.58 สหรัฐอเมริกา 11.94 12.54 12.85 12.56 12.32 0.64 12.41 บราซิล 3.76 3.98 4.13 4.37 4.35 3.91 4.42 รัสเซีย 3.16 3.32 3.61 3.70 3.80 4.91 3.80 อื่ นๆ 15.86 15.64 15.62 15.87 15.71 -0.06 15.77 รวม 111.92 101.03 95.76 107.61 109.85 0.26 110.98 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 110.02 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 108.68 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.24 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 1.87 และร้อยละ 0.26 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 55.30 44.87 41.52 51.73 52.69 0.46 53.58 สหภาพยุโรป* 19.65 18.89 18.20 18.73 18.92 -0.85 18.97 สหรัฐอเมริกา 9.75 10.07 10.03 9.92 10.05 0.46 10.23 รัสเซีย 3.20 3.36 3.47 3.56 3.65 3.23 3.69 บราซิล 3.04 3.12 2.95 3.05 3.06 -0.15 3.09 อื่ นๆ 20.10 19.52 18.86 20.01 20.32 0.47 20.47 รวม 111.04 99.83 95.03 106.99 108.68 0.26 110.02 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ 12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เพิ่่มขึ้นจากปี 2564 ซึ่่งมีปริมาณ 106.99 ล้านตัน ร้อยละ 1.58 เนื่่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลกมีปริมาณการ บริโภคเพิ่่มขึ้น โดยในปี 2565 จีนบริโภคเนื้อสุกรมากที่สุด ปริมาณ 52.69 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 51.73 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.86 รองลงมา ได้แก่ สหภาพยุโรปบริโภคเนื้อสุกร 18.92 ล้าน ตัน เพิ่่มขึ้นจาก 18.73 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.03 และ สหรัฐอเมริกาบริโภคเนื้อสุกร 10.05 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 9.92 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.29 การส่งออกปี 2561 - 2565 การส่งออกเนื้อสุกรของโลก เพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออก เนื้อสุกรมีปริมาณรวม 10.67 ล้านตัน ลดลงจาก 12.21 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 12.64 เนื่่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ สำาคัญของโลกมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยสหภาพยุโรป มีการ ส่งออกเนื้อสุกรมากที่ สุด 3.90 ล้านตัน ลดลงจาก 4.99 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 21.80 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.90 ล้านตัน ลดลงจาก 3.19 ล้านตัน ของ ปี 2564 ร้อยละ 9.07 และแคนาดา มีปริมาณการส่งออก 1.43 ล้านตัน ลดลงจาก 1.48 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 3.85 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 การนำาเข้าเนื้อสุกรของโลก เพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.60 ต่อปี โดยในปี 2565 การนำาเข้า เนื้อสุกรมีปริมาณรวม 9.60 ล้านตัน ลดลงจาก 11.55 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 16.90 เนื่่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศผู้นำาเข้า เนื้อสุกรรายใหญ่ของโลกมีการนำาเข้าลดลง โดยในปี 2565 มี ปริมาณการนำาเข้า 1.80 ล้านตัน ลดลงจาก 4.33 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 58.43 ปี 2565 ที่ผ่านมา ปริมาณการผลิตสุกรไทยมีปริมาณลดลง จากโรค ASF ระบาด สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงจนไม่เพียง พอกับความต้องการ ส่งผลให้ราคาสุกรหน้าฟาร์มและเนื้อสุกรปรับ เพิ่มขึ้น กลายเป็นโอกาสของมิจฉาชีพลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนสุกร จากต่างประเทศมาขายในราคาถูก กดดันราคาสุกร จนเกษตรกร ต้องออกมาร้องให้รัฐจัดการอย่างจริงจัง แต่เข้าเดือนแรกของปี 2566 ก็ยังไม่สำาเร็จ ในขณะที่ต้นทุนการผลิตปรับเพิ่มขึ้นตามราคา วัตถุดิบอาหารสัตว์และค่าใช้จ่ายในระบบป้องกันโรค ถือเป็นความ ท้าทายของผู้เลี้ยงสุกรไทยในการปรับตัว เพื่อประคับประครอง ธุรกิจให้อยู่รอดได้ต่อไป การผลิตสุกรของโลก ปี 2561 - 2565 การผลิตเนื้อสุกรของ โลกเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.26 ต่อปี โดยในปี 2565 การผลิต เนื้อสุกรของโลกมีปริมาณ 109.85 ล้านตัน เพิ่่มขึ้นจาก 107.61 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 2.08 เนื่่องจากประเทศที่ได้รับความ เสียหายจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) ได้ขยายการเลี้ยงสุกรพร้อมกับมีมาตรการ ควบคุมการระบาดของโรค ASF ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงส่งผล ให้มีปริมาณผลผลิตเนื้อสุกรเพิ่่มขึ้นโดยเฉพาะในจีน และเวียดนาม ซึ่่งมีปริมาณการผลิตเพิ่่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 7.37 และร้อยละ 4.25 ตามลำาดับ โดยในปี 2565 จีนยังคงเป็นผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ที่สุด มีปริมาณการผลิต 51.00 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหภาพ ยุโรป 22.67 ล้านตัน สหรัฐอเมริกา 12.32 ล้านตัน และบราซิล 4.35 ล้านตัน ด้านความต้องการบริโภค ปี 2561 - 2565 ความต้องการ บริโภคเนื้อสุกรของโลกเพิ่่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.26 ต่อปี โดยในปี 2565 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 108.68 ล้านตัน หมูไทย ปี 66 แบกต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็น แช่แข็งเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 17.15 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคา ส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.49 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 121.42 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 28.07 ปี 2561 - 2565 ราคาเนื้อสุกรแปรรูปลดลงในอัตราร้อยละ 1.46 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 246.33 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 212.48 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 15.94 ราคานำาเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภค ได้ของสุกร และตับ ลดลงในอัตราร้อยละ 4.86 ต่อปี และร้อยละ 0.54 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 ราคานำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่ บริโภคได้ของสุกรเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัม ละ 18.22 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 9.44 ส่วนราคานำาเข้าตับเฉลี่ย กิโลกรัมละ 22.27 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.12 บาท ปี 2564 ร้อยละ 0.67 สำาหรับแนวโน้ม ปี 2566 การผลิตเนื้อสุกรของโลก ปี 2566 คาดว่า การผลิตเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 110.98 ล้านตัน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.22 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 9.44 ส่วนราคาน าเข้าตับเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.27 บาท สูงขึ้นจาก กิโลกรัมละ 22.12 บาท ปี 2564 ร้อยละ 0.67 ส าหรับแนวโน้ม ปี 2566 การผลิตเนื้อสุกรของโลก ปี 2566 คาดว่า การผลิตเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 110.98 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 109.85 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.03 เนื่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ฟื้นตัวจาก ความเสียหายของโรค ASF และสามารถขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิต 52.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 51.00 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.96 รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโกมีการขยายการผลิตตามความ ต้องการภายในประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 0.72 ร้อยละ 1.61 และร้อยละ 4.58 ตามล าดับ สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส าคัญและแนวโน้ม ปี 2566 ตารางปริมาณการผลิตเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 54.04 42.55 36.34 47.50 51.00 -0.06 52.00 สหภาพยุโรป* 23.16 23.00 23.22 23.62 22.67 -0.16 22.58 สหรัฐอเมริกา 11.94 12.54 12.85 12.56 12.32 0.64 12.41 บราซิล 3.76 3.98 4.13 4.37 4.35 3.91 4.42 รัสเซีย 3.16 3.32 3.61 3.70 3.80 4.91 3.80 อื่ นๆ 15.86 15.64 15.62 15.87 15.71 -0.06 15.77 รวม 111.92 101.03 95.76 107.61 109.85 0.26 110.98 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 110.02 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 108.68 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.24 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 1.87 และร้อยละ 0.26 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 55.30 44.87 41.52 51.73 52.69 0.46 53.58 สหภาพยุโรป* 19.65 18.89 18.20 18.73 18.92 -0.85 18.97 สหรัฐอเมริกา 9.75 10.07 10.03 9.92 10.05 0.46 10.23 รัสเซีย 3.20 3.36 3.47 3.56 3.65 3.23 3.69 บราซิล 3.04 3.12 2.95 3.05 3.06 -0.15 3.09 อื่ นๆ 20.10 19.52 18.86 20.01 20.32 0.47 20.47 รวม 111.04 99.83 95.03 106.99 108.68 0.26 110.02 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมี ปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลก จะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป คาดว่าจะ มีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณ การส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มีปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 เพิ่มขึ้นจาก 109.85 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.03 เนื่องจาก จีนซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ฟื้นตัวจากความเสียหายของ โรค ASF และสามารถขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมี ปริมาณการผลิต 52.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 51.00 ล้านตันของ ปี 2565 ร้อยละ 1.96 รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโก มีการขยายการผลิตตามความต้องการภายในประเทศและการ ส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมี ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 0.72 ร้อยละ 1.61 และร้อยละ 4.58 ตามลำาดับ สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำาคัญและ แนวโน้ม ปี 2566 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าความต้องการ บริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 110.02 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 108.68 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.24 เนื่องจากประเทศ ที่บริโภคเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลกได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 1.87 และร้อยละ 0.26 ตามลำาดับ


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็น แช่แข็งเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 17.15 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคา ส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.49 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 121.42 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 28.07 ปี 2561 - 2565 ราคาเนื้อสุกรแปรรูปลดลงในอัตราร้อยละ 1.46 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 246.33 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 212.48 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 15.94 ราคานำาเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภค ได้ของสุกร และตับ ลดลงในอัตราร้อยละ 4.86 ต่อปี และร้อยละ 0.54 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 ราคานำาเข้าส่วนอื่น ๆ ที่ บริโภคได้ของสุกรเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัม ละ 18.22 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 9.44 ส่วนราคานำาเข้าตับเฉลี่ย กิโลกรัมละ 22.27 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.12 บาท ปี 2564 ร้อยละ 0.67 สำาหรับแนวโน้ม ปี 2566 การผลิตเนื้อสุกรของโลก ปี 2566 คาดว่า การผลิตเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 110.98 ล้านตัน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.22 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 9.44 ส่วนราคาน าเข้าตับเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.27 บาท สูงขึ้นจาก กิโลกรัมละ 22.12 บาท ปี 2564 ร้อยละ 0.67 ส าหรับแนวโน้ม ปี 2566 การผลิตเนื้อสุกรของโลก ปี 2566 คาดว่า การผลิตเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 110.98 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 109.85 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.03 เนื่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ฟื้นตัวจาก ความเสียหายของโรค ASF และสามารถขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิต 52.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 51.00 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.96 รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโกมีการขยายการผลิตตามความ ต้องการภายในประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 0.72 ร้อยละ 1.61 และร้อยละ 4.58 ตามล าดับ สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส าคัญและแนวโน้ม ปี 2566 ตารางปริมาณการผลิตเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 54.04 42.55 36.34 47.50 51.00 -0.06 52.00 สหภาพยุโรป* 23.16 23.00 23.22 23.62 22.67 -0.16 22.58 สหรัฐอเมริกา 11.94 12.54 12.85 12.56 12.32 0.64 12.41 บราซิล 3.76 3.98 4.13 4.37 4.35 3.91 4.42 รัสเซีย 3.16 3.32 3.61 3.70 3.80 4.91 3.80 อื่ นๆ 15.86 15.64 15.62 15.87 15.71 -0.06 15.77 รวม 111.92 101.03 95.76 107.61 109.85 0.26 110.98 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 110.02 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 108.68 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.24 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 1.87 และร้อยละ 0.26 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 55.30 44.87 41.52 51.73 52.69 0.46 53.58 สหภาพยุโรป* 19.65 18.89 18.20 18.73 18.92 -0.85 18.97 สหรัฐอเมริกา 9.75 10.07 10.03 9.92 10.05 0.46 10.23 รัสเซีย 3.20 3.36 3.47 3.56 3.65 3.23 3.69 บราซิล 3.04 3.12 2.95 3.05 3.06 -0.15 3.09 อื่ นๆ 20.10 19.52 18.86 20.01 20.32 0.47 20.47 รวม 111.04 99.83 95.03 106.99 108.68 0.26 110.02 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมี ปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลก จะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป คาดว่าจะ มีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณ การส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มีปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 เพิ่มขึ้นจาก 109.85 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 1.03 เนื่องจาก จีนซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ ฟื้นตัวจากความเสียหายของ โรค ASF และสามารถขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมี ปริมาณการผลิต 52.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 51.00 ล้านตันของ ปี 2565 ร้อยละ 1.96 รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโก มีการขยายการผลิตตามความต้องการภายในประเทศและการ ส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมี ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 0.72 ร้อยละ 1.61 และร้อยละ 4.58 ตามลำาดับ สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำาคัญและ แนวโน้ม ปี 2566 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าความต้องการ บริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 110.02 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 108.68 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.24 เนื่องจากประเทศ ที่บริโภคเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลกได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 1.87 และร้อยละ 0.26 ตามลำาดับ สัตว์เศรษฐกิจ 15 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน การนำาเข้า ปี 2566 คาดว่าการนำาเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมี ปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้นำาเข้าเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลก จะมีการนำาเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมีปริมาณการนำาเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่น จะมีปริมาณการนำาเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลง จาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมี ปริมาณการนำาเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิลิปปินส์จะนำาเข้าเนื้อสุกร ลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุด มาตรการลดภาษีนำาเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลน สุกรจากการระบาดของโรค ASF ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจ านวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะสามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 20.80 1.56 20.48 1.54 19.91 1.49 19.28 1.45 15.51 1.16 -6.28 -6.28 17.47 1.31 ปริมาณการส่งออก2/ (ตัน) 10,365 15,155 34,637 19,712 5,676 -8.99 n.a. ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.50 1.60 1.40 1.31 1.15 -7.15 1.30 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมี ชีวิตคาดว่าจะทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสุกรมีชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของ ผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) เนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 2,388 178.08 7,186 779.07 26,338 3,274.52 14,180 1,721.70 728 113.22 -15.60 -1.12 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 7,977 1,919.14 7,969 2,057.16 8,299 1,687.57 5,532 1,175.42 4,947 1,218.73 -12.37 -13.65 สุกรพันธุ์ และ สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ(ตัว) 815,385 750,061 2,424,514 1,277,351 2,959 -65.72 มูลค่า : ล้านบาท 3,184.90 3,570.75 15,862.54 8,537.45 39.60 -54.63 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่น ๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2565 ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.50 ล้านตัน ลดลงจาก 10.67 ล้าน ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีปริมาณการส่งออกลดลง โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อสุกร 3.76 ล้านตัน ลดลงจาก 3.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.59 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีปริมาณการส่งออก 2.85 ล้านตัน ลดลงจาก 2.90 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.69 และแคนาดา มี ปริมาณการส่งออก 1.40 ล้านตัน ลดลงจาก 1.43 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.75 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหภาพยุโรป* 3.67 4.27 5.18 4.99 3.90 2.81 3.76 สหรัฐอเมริกา 2.67 2.87 3.30 3.19 2.90 2.76 2.85 แคนาดา 1.28 1.29 1.55 1.48 1.43 3.68 1.40 บราซิล 0.72 0.86 1.18 1.32 1.30 17.40 1.34 เม็กซิโก 0.18 0.23 0.34 0.32 0.30 14.63 0.31 อื่ นๆ 0.85 0.85 1.02 0.92 0.85 0.69 0.84 รวม 9.36 10.37 12.56 12.21 10.67 4.35 10.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.55 ล้านตัน ลดลงจาก 9.60 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.55 เนื่องจากประเทศผู้น าเข้าเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลกจะมีการน าเข้าลดลง โดยเฉพาะจีน จะมี ปริมาณการน าเข้าเนื้อสุกร 1.70 ล้านตัน ลดลงจาก 1.80 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 5.56 รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่ น จะมี ปริมาณการน าเข้า 1.50 ล้านตัน ลดลงจาก 1.53 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.64 และเม็กซิโก จะมีปริมาณการน าเข้า 1.24 ล้านตัน ลดลงจาก 1.25 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.80 นอกจากนี้คาดว่าฟิ ลิปปินส์จะน าเข้าเนื้อสุกรลดลงร้อยละ 18.18 เมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากได้สิ้นสุดมาตรการลดภาษีน าเข้าสุกรชั่วคราวเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนสุกรจากการ ระบาดของโรค ASF ตารางปริมาณนา เข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ จีน 1.46 2.45 5.28 4.33 1.80 10.43 1.70 ญี่ ปุ่น 1.48 1.49 1.41 1.42 1.53 0.10 1.50 เม็กซิโก 0.97 0.99 0.95 1.16 1.25 6.85 1.24 สหราชอาณาจักร 0.96 0.88 0.79 0.73 0.80 -5.38 0.88 เกาหลีใต้ 0.75 0.69 0.55 0.57 0.74 -2.42 0.73 อื่ นๆ 2.92 2.81 2.71 3.35 3.49 5.47 3.50 รวม 8.54 9.31 11.70 11.55 9.60 4.60 9.55 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจ านวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะสามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 20.80 1.56 20.48 1.54 19.91 1.49 19.28 1.45 15.51 1.16 -6.28 -6.28 17.47 1.31 ปริมาณการส่งออก2/ (ตัน) 10,365 15,155 34,637 19,712 5,676 -8.99 n.a. ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.50 1.60 1.40 1.31 1.15 -7.15 1.30 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมี ชีวิตคาดว่าจะทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสุกรมีชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของ ผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) เนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 2,388 178.08 7,186 779.07 26,338 3,274.52 14,180 1,721.70 728 113.22 -15.60 -1.12 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 7,977 1,919.14 7,969 2,057.16 8,299 1,687.57 5,532 1,175.42 4,947 1,218.73 -12.37 -13.65 สุกรพันธุ์ และ สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ(ตัว) 815,385 750,061 2,424,514 1,277,351 2,959 -65.72 มูลค่า : ล้านบาท 3,184.90 3,570.75 15,862.54 8,537.45 39.60 -54.63 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่น ๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2565 *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจ านวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะสามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 20.80 1.56 20.48 1.54 19.91 1.49 19.28 1.45 15.51 1.16 -6.28 -6.28 17.47 1.31 ปริมาณการส่งออก2/ (ตัน) 10,365 15,155 34,637 19,712 5,676 -8.99 n.a. ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.50 1.60 1.40 1.31 1.15 -7.15 1.30 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมี ชีวิตคาดว่าจะทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสุกรมีชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของ ผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) เนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 2,388 178.08 7,186 779.07 26,338 3,274.52 14,180 1,721.70 728 113.22 -15.60 -1.12 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 7,977 1,919.14 7,969 2,057.16 8,299 1,687.57 5,532 1,175.42 4,947 1,218.73 -12.37 -13.65 สุกรพันธุ์ และ สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ(ตัว) 815,385 750,061 2,424,514 1,277,351 2,959 -65.72 มูลค่า : ล้านบาท 3,184.90 3,570.75 15,862.54 8,537.45 39.60 -54.63 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่น ๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2565 สำาหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการ ผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจำานวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะ สามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามเกษตรกร ยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุน การผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมี ปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อย ละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการ ท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่ แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียงกับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรม อาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมีชีวิตคาดว่าจะ ทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการนำาเข้าสุกรมี ชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของผลผลิตหลังสถานการณ์ การระบาดของโรค ASF 3333


สัตว์เศรษฐกิจ 17 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การนำาเข้า ปี 2566 คาดว่าการนำาเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและ ส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่น ๆ) จะ ใกล้เคียงกับปี 2565 ตารางการนา เข้าผลิตภณัฑเ์นือ้สุกร และส่วนอื่ นๆ ทบี่ริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่ องในต่างๆ) รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 366 105.80 358 101.08 345 89.09 334 93.52 267 85.71 -6.79 -4.87 ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 27,901 569.55 32,516 637.34 26,240 468.90 26,157 506.38 27,814 516.79 -2.21 -4.16 หมายเหตุ * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร ส่วนราคาปี 2566 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้จะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจาก ปริมาณการผลิตสุกรที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อสุกรช าแหละ และเนื้อสุกรแปรรูปคาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออก และราคานา เข้า รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้1/ (บาท/กก.) 55.68 66.52 71.87 73.14 99.20 13.31 ราคาส่งออก2/ (บาท/กก.) เนื้อสุกรช าแหละ เนื้อสุกรแปรรูป 74.57 240.58 108.41 258.15 124.33 203.35 121.42 212.48 155.49 246.33 17.15 -1.46 ราคาน าเข้า (บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม ตับ 20.41 23.54 19.60 20.88 17.36 19.02 18.22 22.12 16.50 22.27 -4.86 -0.54 ที่มา : 1/ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ 2/กรมศุลกากร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก โรคระบาดในสุกร แม้ว่าในปัจจุบันการจัดการฟาร์มสุกรจะมีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมโรคระบาดได้ดีขึ้น แต่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาดในสุกร เช่น โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และ โรคระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) และโรคอหิ วาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) เป็นต้น การยกระดับความปลอดภัยทางชีวภาพส าหรับฟาร์มสุกร (Farm biosecurity) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับประเทศ ไทยยังไม่ได้รับการรับรองให้ปลอดโรค FMD จึงเป็นข้อจ ากัดการส่งออกเนื้อสุกรช าแหละและเนื้อสุกรแปรรูปไป ต่างประเทศ ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหารสัตว์ ค่าพลังงาน และระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ ในขณะที่เนื้อสุกรเป็นสินค้าที่มีมาตรการควบคุมราคา จึงอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลให้ความต้องการสุกรทั้งในและ ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยบวกที่จะจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณการผลิตสุกรให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด ตารางการนา เข้าผลิตภณัฑเ์นือ้สุกร และส่วนอื่ นๆ ทบี่ริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่ องในต่างๆ) รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 366 105.80 358 101.08 345 89.09 334 93.52 267 85.71 -6.79 -4.87 ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 27,901 569.55 32,516 637.34 26,240 468.90 26,157 506.38 27,814 516.79 -2.21 -4.16 หมายเหตุ * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร ส่วนราคาปี 2566 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้จะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจาก ปริมาณการผลิตสุกรที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อสุกรช าแหละ และเนื้อสุกรแปรรูปคาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออก และราคานา เข้า รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้1/ (บาท/กก.) 55.68 66.52 71.87 73.14 99.20 13.31 ราคาส่งออก2/ (บาท/กก.) เนื้อสุกรช าแหละ เนื้อสุกรแปรรูป 74.57 240.58 108.41 258.15 124.33 203.35 121.42 212.48 155.49 246.33 17.15 -1.46 ราคาน าเข้า (บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม ตับ 20.41 23.54 19.60 20.88 17.36 19.02 18.22 22.12 16.50 22.27 -4.86 -0.54 ที่มา : 1/ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ 2/กรมศุลกากร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก โรคระบาดในสุกร แม้ว่าในปัจจุบันการจัดการฟาร์มสุกรจะมีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมโรคระบาดได้ดีขึ้น แต่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาดในสุกร เช่น โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และ โรคระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) และโรคอหิ วาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) เป็นต้น การยกระดับความปลอดภัยทางชีวภาพส าหรับฟาร์มสุกร (Farm biosecurity) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับประเทศ ไทยยังไม่ได้รับการรับรองให้ปลอดโรค FMD จึงเป็นข้อจ ากัดการส่งออกเนื้อสุกรช าแหละและเนื้อสุกรแปรรูปไป ต่างประเทศ ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหารสัตว์ ค่าพลังงาน และระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ ในขณะที่เนื้อสุกรเป็นสินค้าที่มีมาตรการควบคุมราคา จึงอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลให้ความต้องการสุกรทั้งในและ ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยบวกที่จะจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณการผลิตสุกรให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด ส่วนราคาปี 2566 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้จะ ทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากปริมาณ การผลิตสุกรที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการบริโภค ที่เพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อสุกรชำาแหละและเนื้อสุกรแปรรูป คาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก โรคระบาดในสุกร แม้ว่าในปัจจุบันการจัดการฟาร์มสุกรจะมี ประสิทธิภาพและสามารถควบคุมโรคระบาดได้ดีขึ้น แต่ยังคงมี ปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาดในสุกร เช่น โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และโรคระบบทางเดินหายใจ และระบบสืบพันธุ์ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) และโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) เป็นต้น การยกระดับความปลอดภัยทาง ชีวภาพสำาหรับฟาร์มสุกร (Farm biosecurity) เพื่อเฝ้าระวังและ ป้องกันโรคส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับประเทศไทยยังไม่ได้รับการรับรองให้ปลอดโรค FMD จึงเป็นข้อจำากัดการส่งออกเนื้อสุกรชำาแหละและเนื้อสุกรแปรรูปไป ต่างประเทศ ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหาร สัตว์ ค่าพลังงาน และระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ ในขณะที่ เนื้อสุกรเป็นสินค้าที่มีมาตรการควบคุมราคา จึงอาจส่งผลต่อการ ตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 ส่งผลให้ความต้องการสุกรทั้งในและต่างประเทศ เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยบวกที่จะจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณ การผลิตสุกรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจ านวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะสามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 20.80 1.56 20.48 1.54 19.91 1.49 19.28 1.45 15.51 1.16 -6.28 -6.28 17.47 1.31 ปริมาณการส่งออก2/ (ตัน) 10,365 15,155 34,637 19,712 5,676 -8.99 n.a. ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.50 1.60 1.40 1.31 1.15 -7.15 1.30 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมี ชีวิตคาดว่าจะทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสุกรมีชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของ ผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) เนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 2,388 178.08 7,186 779.07 26,338 3,274.52 14,180 1,721.70 728 113.22 -15.60 -1.12 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 7,977 1,919.14 7,969 2,057.16 8,299 1,687.57 5,532 1,175.42 4,947 1,218.73 -12.37 -13.65 สุกรพันธุ์ และ สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ(ตัว) 815,385 750,061 2,424,514 1,277,351 2,959 -65.72 มูลค่า : ล้านบาท 3,184.90 3,570.75 15,862.54 8,537.45 39.60 -54.63 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่น ๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2565 *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจ านวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะสามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 20.80 1.56 20.48 1.54 19.91 1.49 19.28 1.45 15.51 1.16 -6.28 -6.28 17.47 1.31 ปริมาณการส่งออก2/ (ตัน) 10,365 15,155 34,637 19,712 5,676 -8.99 n.a. ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.50 1.60 1.40 1.31 1.15 -7.15 1.30 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมี ชีวิตคาดว่าจะทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสุกรมีชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของ ผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) เนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 2,388 178.08 7,186 779.07 26,338 3,274.52 14,180 1,721.70 728 113.22 -15.60 -1.12 เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 7,977 1,919.14 7,969 2,057.16 8,299 1,687.57 5,532 1,175.42 4,947 1,218.73 -12.37 -13.65 สุกรพันธุ์ และ สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ(ตัว) 815,385 750,061 2,424,514 1,277,351 2,959 -65.72 มูลค่า : ล้านบาท 3,184.90 3,570.75 15,862.54 8,537.45 39.60 -54.63 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่น ๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2565 สำาหรับแนวโน้มการผลิตสุกรของไทย ปี 2566 คาดว่าการ ผลิตสุกรมีปริมาณ 17.47 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.51 ล้านตัว ของ ปี 2565 ร้อยละ 12.66 เนื่องจากจำานวนแม่พันธุ์สุกรที่เพิ่มขึ้นจะ สามารถขยายการผลิตสุกรได้เพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามเกษตรกร ยังคงมีความกังวลจากความเสี่ยงของโรคระบาดในสุกร และต้นทุน การผลิตที่เพิ่มขึ้นจากระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคสุกรมี ปริมาณ 1.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.15 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อย ละ 12.58 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการ ท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งจะส่งผลให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่ แข็งและเนื้อสุกรแปรรูป จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียงกับปี 2565 เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในอุตสาหกรรม อาหารของประเทศคู่ค้าในขณะที่การส่งออกสุกรมีชีวิตคาดว่าจะ ทรงตัว เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการนำาเข้าสุกรมี ชีวิตไม่มากนักเนื่องจากมีการฟื้นตัวของผลผลิตหลังสถานการณ์ การระบาดของโรค ASF 3333


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จุดเริ่มต้น “หมูเถื่อน” ราคาเนื้อหมูแพงเป็นประวัติการณ์ในไทย คือ “โอกาสทอง” ของ “โจร” การปรับราคาหมูเนื้อแดงขึ้นตามอุปสงค์ อุปทาน กลายเป็น ช่องทางของกระบวนการลักลอบนำาเข้าหมูจากต่างประเทศ สบช่อง เอาหมูนอกเข้ามาทำากำาไรก้อนโต การลักลอบมาในรูปแบบของชิ้น ส่วนแช่แข็งราคาต่ำา เพราะเมื่อรวมกับค่าขนส่งถึงไทยยังสามารถขาย ได้ในราคา 135-145 บาทต่อกิโลกรัม สัตวแพทย์ลงความเห็นว่าขาย ราคาต่ำาขนาดนี้ได้อาจเป็นหมูติดโรค มีเชื้อรา หรือ สารปนเปื้อน อื่น ๆ โดยเฉพาะสารเร่งเนื้อแดงที่หลายประเทศ ทั้งสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศอนุญาตให้ใช้ในการเลี้ยงหมูได้อย่างเสรีชิ้นส่วน หมูส่วนใหญ่ เป็นส่วนที่ประเทศต้นทางไม่นิยมบริโภค และต้องการ กำาจัดทิ้งอยู่แล้ว สรุปคือไทยรับ “หมูขยะ” มาบริโภคต่อนั่นเอง ”หมูเถื่อน” เข้ามาไทยได้อย่างไร ท่าเรือแหลมฉบังเป็นแหล่งพัก ขนาดใหญ่ ผู้เลี้ยงหมูประสานเสียงชี้เป้าเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้นว่า แหลม ฉบังคือศูนย์กลางพักสินค้าหมูลักลอบ ก่อนจะกระจายไปจำาหน่ายทั่ว ประเทศ มีต้นทางมาจากบราซิล สหรัฐฯ เดนมาร์ก เม็กซิโก สเปน เยอรมันนีเนเธอร์แลนด์ โดยกรมศุลกากร ยืนยันว่ามีการสำาแดง เท็จเป็นอาหารทะเล หรือวัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์หรือซุกซ่อนมาใน ตู้คอนเทนเนอร์ทำาให้ตรวจไม่พบ แม้จะติดตั้งเทคโนโลยีสแกนขั้นสูง ปี 2565 ที่ผ่านมา “หมูเถื่อน” ให้บทเรียนกับอุตสาหกรรม การเลี้ยงหมูของไทยไม่น้อย โดยเฉพาะความยากลำาบากของ เกษตรกรผู้เลี้ยง ทั้งจากความเสี่ยงของโรคระบาด ASF ที่มีโอกาส เกิดซ้ำาได้หากไม่ป้องกันเข้มแข็ง ทำาให้ผลผลิตหมูยังลุ่ม ๆ ดอน ๆ กลับไปยืนที่เดิม 18-19 ล้านตัวต่อปีไม่ได้และจากราคาหมูเป็นหน้า ฟาร์มที่ไม่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง เพราะผู้เลี้ยงร่วมมือภาครัฐช่วย ตรึงราคาไว้100 บาทต่อกิโลกรัม เป็นปีแต่ตอนนี้ราคาลงมาต่ำาสุด ที่ 86 บาทต่อกิโลกรัม ต่ำากว่าต้นทุนเฉลี่ยที่ 90 บาทต่อกิโลกรัม ด้วยซ้ำา เพราะถูก “หมูเถื่อน” นับเป็นการบิดเบือนราคา กระทบ ผู้เลี้ยงไทยต้องหวั่นใจไม่กล้านำาหมูรุ่นใหม่เข้าเลี้ยง บทเรียนวันที่ 10 มกราคม 2565 ไทยประกาศพบโรคระบาด ASF เป็นเวลาครบ 1 ปีหลังการประกาศดังกล่าวที่ กรมปศุสัตว์ ระบุว่าปริมาณสุกรแม่พันธุ์และจำานวนสุกรขุนหายไป 50% ผลผลิต ในปีที่ผ่านมาเหลือเพียง 15 ล้านตัวเท่านั้น ส่งผลให้ราคาในประเทศ ปรับขึ้นตามลำาดับตั้งแต่เดือนมกราคม 2566 เป็นต้นมา และปรับ ลงบ้างหลังเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมปศุสัตว์และกรมศุลกากร ร่วม กันตรวจสอบห้องเย็นทำาให้สต๊อกระบายออกสู่ตลาด ราคาหมูเนื้อแดง เฉลี่ยเคยปรับไปสูงสุดถึง 210 บาทต่อกิโลกรัม ตามกลไกตลาด เวลานั้นร้านหมูปิ้ง - หมูสเต๊ะต้องขอปรับขึ้นราคาไม้ละ 1-2 บาท ร้านอาหารตามสั่งขอปรับราคาขึ้นจานละ 5 บาท ถอดบทเรียน “หมูเถื่อน” วนเวียนไทย บิดเบือนราคา โดย : ปราบดา มหากุศล นักวิจัยด้านการเกษตร


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จุดเริ่มต้น “หมูเถื่อน” ราคาเนื้อหมูแพงเป็นประวัติการณ์ในไทย คือ “โอกาสทอง” ของ “โจร” การปรับราคาหมูเนื้อแดงขึ้นตามอุปสงค์ อุปทาน กลายเป็น ช่องทางของกระบวนการลักลอบนำาเข้าหมูจากต่างประเทศ สบช่อง เอาหมูนอกเข้ามาทำากำาไรก้อนโต การลักลอบมาในรูปแบบของชิ้น ส่วนแช่แข็งราคาต่ำา เพราะเมื่อรวมกับค่าขนส่งถึงไทยยังสามารถขาย ได้ในราคา 135-145 บาทต่อกิโลกรัม สัตวแพทย์ลงความเห็นว่าขาย ราคาต่ำาขนาดนี้ได้อาจเป็นหมูติดโรค มีเชื้อรา หรือ สารปนเปื้อน อื่น ๆ โดยเฉพาะสารเร่งเนื้อแดงที่หลายประเทศ ทั้งสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศอนุญาตให้ใช้ในการเลี้ยงหมูได้อย่างเสรีชิ้นส่วน หมูส่วนใหญ่ เป็นส่วนที่ประเทศต้นทางไม่นิยมบริโภค และต้องการ กำาจัดทิ้งอยู่แล้ว สรุปคือไทยรับ “หมูขยะ” มาบริโภคต่อนั่นเอง ”หมูเถื่อน” เข้ามาไทยได้อย่างไร ท่าเรือแหลมฉบังเป็นแหล่งพัก ขนาดใหญ่ ผู้เลี้ยงหมูประสานเสียงชี้เป้าเดียวกันตั้งแต่เริ่มต้นว่า แหลม ฉบังคือศูนย์กลางพักสินค้าหมูลักลอบ ก่อนจะกระจายไปจำาหน่ายทั่ว ประเทศ มีต้นทางมาจากบราซิล สหรัฐฯ เดนมาร์ก เม็กซิโก สเปน เยอรมันนีเนเธอร์แลนด์ โดยกรมศุลกากร ยืนยันว่ามีการสำาแดง เท็จเป็นอาหารทะเล หรือวัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์หรือซุกซ่อนมาใน ตู้คอนเทนเนอร์ทำาให้ตรวจไม่พบ แม้จะติดตั้งเทคโนโลยีสแกนขั้นสูง ปี 2565 ที่ผ่านมา “หมูเถื่อน” ให้บทเรียนกับอุตสาหกรรม การเลี้ยงหมูของไทยไม่น้อย โดยเฉพาะความยากลำาบากของ เกษตรกรผู้เลี้ยง ทั้งจากความเสี่ยงของโรคระบาด ASF ที่มีโอกาส เกิดซ้ำาได้หากไม่ป้องกันเข้มแข็ง ทำาให้ผลผลิตหมูยังลุ่ม ๆ ดอน ๆ กลับไปยืนที่เดิม 18-19 ล้านตัวต่อปีไม่ได้และจากราคาหมูเป็นหน้า ฟาร์มที่ไม่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง เพราะผู้เลี้ยงร่วมมือภาครัฐช่วย ตรึงราคาไว้100 บาทต่อกิโลกรัม เป็นปีแต่ตอนนี้ราคาลงมาต่ำาสุด ที่ 86 บาทต่อกิโลกรัม ต่ำากว่าต้นทุนเฉลี่ยที่ 90 บาทต่อกิโลกรัม ด้วยซ้ำา เพราะถูก “หมูเถื่อน” นับเป็นการบิดเบือนราคา กระทบ ผู้เลี้ยงไทยต้องหวั่นใจไม่กล้านำาหมูรุ่นใหม่เข้าเลี้ยง บทเรียนวันที่ 10 มกราคม 2565 ไทยประกาศพบโรคระบาด ASF เป็นเวลาครบ 1 ปีหลังการประกาศดังกล่าวที่ กรมปศุสัตว์ ระบุว่าปริมาณสุกรแม่พันธุ์และจำานวนสุกรขุนหายไป 50% ผลผลิต ในปีที่ผ่านมาเหลือเพียง 15 ล้านตัวเท่านั้น ส่งผลให้ราคาในประเทศ ปรับขึ้นตามลำาดับตั้งแต่เดือนมกราคม 2566 เป็นต้นมา และปรับ ลงบ้างหลังเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมปศุสัตว์และกรมศุลกากร ร่วม กันตรวจสอบห้องเย็นทำาให้สต๊อกระบายออกสู่ตลาด ราคาหมูเนื้อแดง เฉลี่ยเคยปรับไปสูงสุดถึง 210 บาทต่อกิโลกรัม ตามกลไกตลาด เวลานั้นร้านหมูปิ้ง - หมูสเต๊ะต้องขอปรับขึ้นราคาไม้ละ 1-2 บาท ร้านอาหารตามสั่งขอปรับราคาขึ้นจานละ 5 บาท ถอดบทเรียน “หมูเถื่อน” วนเวียนไทย บิดเบือนราคา โดย : ปราบดา มหากุศล นักวิจัยด้านการเกษตร สัตว์เศรษฐกิจ 19 แทบทุกสัปดาห์ ราคาหมูไทยดีขึ้นจนสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ออกมาขอบคุณ อธิบดีกรมปศุสัตว์คนใหม่ สมชวน รัตนมังคลานนท์ และเจ้าหน้าที่ ขอให้ดำาเนินการต่อเนื่อง เพื่อสร้างโอกาสและความ มั่นใจให้กับผู้เลี้ยงหมู ปราบหนัก “หมูเถื่อน” ขายยาก ขวากหนามเยอะ ขบวนการลักลอบนำาเข้าหมูเริ่มเปลี่ยนรูปแบบการขายหนีการ จับกุม หาช่องทางใหม่ ย้ายจากท่าเรือแหลมฉบัง ที่สินค้าออกจาก ท่าเรือลำาบากมากขึ้น เพราะต้องผ่านการตรวจสอบเข้มงวด ออกมา ได้ยังต้องเสี่ยงเจอด่านตรวจอีก จึงหันหัวเรือเข้าเวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ลัดเลาะเข้าไทยตามตะเข็บชายแดนด้วยกองทัพมด ผ่านทางมุกดาหาร อุบลราชธานีสระแก้ว สงขลา เชียงราย ผลงานสำาคัญของการปราบปรามอย่างหนักที่ปรากฎ คือ ต้น ปี 2566 กรมปศุสัตว์ เป็นเจ้าภาพการฝังทำาลายชิ้นส่วนเครื่องใน และเนื้อสุกรของกลางมากถึง 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท ถือเป็นจำานวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์แต่สมาคมผู้เลี้ยง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สำาหรับตู้สินค้า ในปีที่ผ่านมามีการจับกุมโดยกรมศุลกากร 5 ครั้ง และเป็นการจับกุมสินค้านอกท่าเรือทั้งสิ้น งานนี้ถ้าจับได้ที่ท่าเรือ ต้นทาง และส่งดำาเนินคดีอย่างถึงที่สุด จะเป็นการช่วยเหลือเกษตรกร และประชาชนคนไทยได้เป็นอย่างมาก ”หมูเถื่อน” พักรอตามห้องเย็นเป้าหมายในหลายจังหวัด พบว่าห้องเย็นในหลายจังหวัด ทั้งสมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม และเชียงใหม่ เป็นแหล่งพักเพื่อรอการกระจายสินค้า ตามคำาสั่งซื้อ จนถึงขณะนี้ภาครัฐยังจำาเป็นต้องตรวจสอบห้องเย็น เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง กำาหนดเป็นแผนปูพรมทุกจังหวัด กวาดล้าง ให้สิ้นซาก เพราะ “หมูเถี่อน” ยังมีอยู่จริง ที่สำาคัญหมูผิดกฎหมาย เหล่านี้ไม่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานกรมปศุสัตว์เกิด อะไรขึ้นกับผู้บริโภคหาผู้รับผิดชอบไม่เจอ ที่สำาคัญการเคลื่อนย้ายหมู อมโรคเหล่านี้เป็นการแพร่โรคระบาดสัตว์ไปในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วไทย อย่างที่ยากจะควบคุม ทำาให้โอกาสเกิดโรค โดยเฉพาะ ASF ซ้ำา มีมาก ภาครัฐต้องตรวจจับจริง ครึ่งแรกปี 2565 ทั้งกรมปศุสัตว์และกรมศุลกากร จับกุม หมูเถื่อนร่วมกันได้ไม่เกิน 10 ครั้ง พอได้เป็นข่าวบ้าง แต่เทียบกับ ราคาที่ตกลงและเกษตรกรขายหมูหน้าฟาร์มไม่ได้ หมูเถื่อนขาย “ฉลุย” หมูไทยขาย “ชะลอ” ทั้งที่หมูไทยปลอดภัยกว่า 100 เท่า แต่ปล่อยให้หมูเถื่อนขายกันโจ๋งครึ่ม ผ่านช่องทางโซเชียล เฟสบุ๊ค ช้อปขายหมู ลูกค้าหลัก คือ ร้านหมูกระทะ ร้านอาหารตามสั่ง ร้านอาหารอีสาน หลังจากฤดูกาลโยกย้ายแต่งตั้งข้าราชการของภาครัฐ กรม ปศุสัตว์ได้จัดทัพใหม่ ส่งมือปราบปศุสัตว์ได้สนธิกำาลังตำารวจ - ทหาร มาช่วยผู้เลี้ยงหมูไทยให้อยู่รอด เร่งจับห้องเย็นสัปดาห์ละ 1 - 2 แห่ง สุกรแห่งชาติคาดการณ์ว่านั่นเป็นเพียง 5% ของหมูทั้งหมดที่มีการ ลักลอบเท่านั้น อย่างไรก็ตาม การทำาลายซากครั้งนี้ส่งสัญญาณไป ถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีสั่งการหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องภาครัฐให้ปราบปรามเคร่งครัดและรัดกุม อย่าให้เกษตรกร และผู้บริโภคได้รับความเดือนร้อนจาก “หมูเถื่อน” จุดสำาคัญที่สุดของการถอดบทเรียนหมูเถื่อนครั้งนี้คือ ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องต้องผนึกกำาลังกันปราบให้จริงจังและเข้มแข็งมากขึ้น ต้อง ตรวจจับ ดำาเนินคดีกับผู้กระทำาผิด เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้บริโภค ผู้เลี้ยงสุกร และประเทศชาติ บทเรียนต่อไปที่ภาครัฐควรเดินหน้าต่อคือ การจับกุมตัว การใหญ่ ที่ทำาให้เกิดขบวนการนำาเข้าหมูเถื่อนมาลงโทษสูงสุดตาม กฎหมาย ทั้งจำาทั้งปรับ ไม่ให้เกิดการเลียนแบบ เพราะโทษเกิดกับ คนไทยและผู้เลี้ยงหมูทั้งประเทศ


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ถึงแม้เดือนกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ ฝัง ทำาลาย “หมูเถื่อน” ไปกว่า 7 แสนกิโลกรัม แต่มิจฉาชีพก็ไม่ละ ความพยายามหาช่องทางลักลอบนำาเข้า โดยเฉพาะตามแนวชายแดน อยู่ตลอดเวลา ดังเช่นรายงานการจับกุมล่าสุดที่เชียงรายและ อุบลราชธานี แต่ผู้เลี้ยงเชื่อว่า การปราบปรามหมูเถื่อนลักลอบ นำาเข้าที่รายงานนั้นไม่ถึง 5% ของปริมาณลักลอบนำาเข้าจริง มิฉะนั้น ราคาหมูหน้าฟาร์มคงไม่ลดลงจนต่ำากว่าต้นทุนการผลิตเช่นนี้เพราะ ไม่มีใครยอมเลี้ยงหรือขาย ทั้ง ๆ ที่ทราบว่าขาดทุนแน่นอน ล่าสุด นายสำารอง รักชุม พร้อมด้วย นายภักดิ์ ชูขาว และ นายเฉลิมพล มานันตพงค์ ตัวแทนกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรจังหวัดพัทลุง ในฐานะกรรมการสมาคมการค้าผู้เลี้ยงสุกรภาคใต้ เรียกร้องให้รัฐช่วย แก้ปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรในพื้นที่ภาคใต้หลัง ประสบปัญหาต้องแบกรับต้นทุนในการผลิต ขณะที่ราคาสุกรหน้าคอก ตกต่ำาเหลือเพียง กก.ละ 80 บาท และมีแนวโน้มดิ่งต่ำาลงอีก ถึง 70 บาท ต่อ กก. นายสำารอง แกนนำาผู้เลี้ยงสุกรในพื้นที่จังหวัดพัทลุง กล่าวว่า ในภาคใต้มีผู้เลี้ยงสุกรทั้งหมด ว่า 15,000 ราย จังหวัดพัทลุง เป็น จังหวัดหนึ่งที่มีผู้เลี้ยงสุกร มากเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้มีจำานวน ผู้เลี้ยงกว่า 4,000 รายรองจากจังหวัดนครศรีธรรมราช จากเดิม เกษตรกรขายสุกรหน้าคอกในต่อ กก. ราคา 92 บาท ล่าสุด ลดลง อยู่ที่ราคา 80 - 85 บาท ต่อ กก. และมีแนวโน้มลดลงอีกจนถึง ราคา กก.ละ 70 บาท โดยเป็นผลพวงมาจาก ปัญหาการลักลอบ นำาเนื้อสุกรกล่องจากประเทศเพื่อนบ้าน เข้ามาขายในประเทศไทย หลังผ่านเดือนแรกของปีเถาะ ผู้เลี้ยงหมูไทยก็ต้องรับมือกับ ปัญหาราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มตกต่ำาทันทีเมื่อราคาร่วงจากกิโลกรัม ละ 100 บาท มาอยู่ที่กิโลกรัมละ 90-98 บาท แตกต่างกันไปใน แต่ละภูมิภาค (ราคาประกาศจากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566) สวนทางกับต้นทุนการผลิตที่ปรับสูงขึ้นตาม ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์เกษตรกรต้องแบกรับภาระขาดทุนอย่างหนัก โดยสาเหตุที่ราคาหมูอ่อนตัวลงนี้ไม่ได้เกิดจากปริมาณหมูที่เพิ่มขึ้นจน เกินความต้องการ ตรงกันข้ามผลผลิตหมูไทยยังไม่เพียงพอกับการ บริโภคด้วยซ้ำา แต่ราคาที่ลดลงเกิดจากชิ้นส่วนหมูหรือ “หมูเถื่อน” ที่มีการลักลอบนำาเข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาด “หมูเถื่อน” จึงเปรียบเสมือนภัยร้ายที่ตามหลอกหลอนผู้เลี้ยง หมูมากว่า 1 ปีนับตั้งแต่ไทยเผชิญกับวิกฤตการระบาดของโรค ASF ส่งผลให้หมูหายไปจากระบบกว่า 50% ดันราคาเนื้อหมูสูงเป็น ประวัติการณ์เปิดโอกาสให้มิจฉาชีพลักลอบนำาเข้า “หมูเถื่อน” ไม่ผ่าน การตรวจคุณภาพและความปลอดภัยมาขายในราคาถูกฟันกำาไรจาก ส่วนต่าง โดยไม่สนใจผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้บริโภค ซึ่งหลังจาก เกษตรกรผู้เลี้ยงออกมาแถลงข่าวให้สังคมให้ทราบถึงปัญหา กรม ปศุสัตว์ เจ้าหน้าที่ตำารวจ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องก็เดินหน้า ปราบปรามหมูเถื่อนอย่างจริงจัง โดยเฉพาะไตรมาส 4 ของปี2565 ที่มีการตรวจจับทำาลายครั้งใหญ่ต่อเนื่อง จนมิจฉาชีพต้องหันหัวเรือ จากท่าเรือแหลมฉบังไปยังประเทศเพื่อนบ้านทั้ง เวียดนาม ลาว และ กัมพูชา เพื่อเป็นฐานลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนมาตามแนวชายแดนแทน ยืนยันได้จากรายงานการจับกุมกองทัพมดขนหมูเถื่อนอยู่เป็นระยะ “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ถึงแม้เดือนกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ ฝัง ทำาลาย “หมูเถื่อน” ไปกว่า 7 แสนกิโลกรัม แต่มิจฉาชีพก็ไม่ละ ความพยายามหาช่องทางลักลอบนำาเข้า โดยเฉพาะตามแนวชายแดน อยู่ตลอดเวลา ดังเช่นรายงานการจับกุมล่าสุดที่เชียงรายและ อุบลราชธานี แต่ผู้เลี้ยงเชื่อว่า การปราบปรามหมูเถื่อนลักลอบ นำาเข้าที่รายงานนั้นไม่ถึง 5% ของปริมาณลักลอบนำาเข้าจริง มิฉะนั้น ราคาหมูหน้าฟาร์มคงไม่ลดลงจนต่ำากว่าต้นทุนการผลิตเช่นนี้เพราะ ไม่มีใครยอมเลี้ยงหรือขาย ทั้ง ๆ ที่ทราบว่าขาดทุนแน่นอน ล่าสุด นายสำารอง รักชุม พร้อมด้วย นายภักดิ์ ชูขาว และ นายเฉลิมพล มานันตพงค์ ตัวแทนกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรจังหวัดพัทลุง ในฐานะกรรมการสมาคมการค้าผู้เลี้ยงสุกรภาคใต้ เรียกร้องให้รัฐช่วย แก้ปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรในพื้นที่ภาคใต้หลัง ประสบปัญหาต้องแบกรับต้นทุนในการผลิต ขณะที่ราคาสุกรหน้าคอก ตกต่ำาเหลือเพียง กก.ละ 80 บาท และมีแนวโน้มดิ่งต่ำาลงอีก ถึง 70 บาท ต่อ กก. นายสำารอง แกนนำาผู้เลี้ยงสุกรในพื้นที่จังหวัดพัทลุง กล่าวว่า ในภาคใต้มีผู้เลี้ยงสุกรทั้งหมด ว่า 15,000 ราย จังหวัดพัทลุง เป็น จังหวัดหนึ่งที่มีผู้เลี้ยงสุกร มากเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้มีจำานวน ผู้เลี้ยงกว่า 4,000 รายรองจากจังหวัดนครศรีธรรมราช จากเดิม เกษตรกรขายสุกรหน้าคอกในต่อ กก. ราคา 92 บาท ล่าสุด ลดลง อยู่ที่ราคา 80 - 85 บาท ต่อ กก. และมีแนวโน้มลดลงอีกจนถึง ราคา กก.ละ 70 บาท โดยเป็นผลพวงมาจาก ปัญหาการลักลอบ นำาเนื้อสุกรกล่องจากประเทศเพื่อนบ้าน เข้ามาขายในประเทศไทย หลังผ่านเดือนแรกของปีเถาะ ผู้เลี้ยงหมูไทยก็ต้องรับมือกับ ปัญหาราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มตกต่ำาทันทีเมื่อราคาร่วงจากกิโลกรัม ละ 100 บาท มาอยู่ที่กิโลกรัมละ 90-98 บาท แตกต่างกันไปใน แต่ละภูมิภาค (ราคาประกาศจากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566) สวนทางกับต้นทุนการผลิตที่ปรับสูงขึ้นตาม ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์เกษตรกรต้องแบกรับภาระขาดทุนอย่างหนัก โดยสาเหตุที่ราคาหมูอ่อนตัวลงนี้ไม่ได้เกิดจากปริมาณหมูที่เพิ่มขึ้นจน เกินความต้องการ ตรงกันข้ามผลผลิตหมูไทยยังไม่เพียงพอกับการ บริโภคด้วยซ้ำา แต่ราคาที่ลดลงเกิดจากชิ้นส่วนหมูหรือ “หมูเถื่อน” ที่มีการลักลอบนำาเข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาด “หมูเถื่อน” จึงเปรียบเสมือนภัยร้ายที่ตามหลอกหลอนผู้เลี้ยง หมูมากว่า 1 ปีนับตั้งแต่ไทยเผชิญกับวิกฤตการระบาดของโรค ASF ส่งผลให้หมูหายไปจากระบบกว่า 50% ดันราคาเนื้อหมูสูงเป็น ประวัติการณ์เปิดโอกาสให้มิจฉาชีพลักลอบนำาเข้า “หมูเถื่อน” ไม่ผ่าน การตรวจคุณภาพและความปลอดภัยมาขายในราคาถูกฟันกำาไรจาก ส่วนต่าง โดยไม่สนใจผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้บริโภค ซึ่งหลังจาก เกษตรกรผู้เลี้ยงออกมาแถลงข่าวให้สังคมให้ทราบถึงปัญหา กรม ปศุสัตว์ เจ้าหน้าที่ตำารวจ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องก็เดินหน้า ปราบปรามหมูเถื่อนอย่างจริงจัง โดยเฉพาะไตรมาส 4 ของปี2565 ที่มีการตรวจจับทำาลายครั้งใหญ่ต่อเนื่อง จนมิจฉาชีพต้องหันหัวเรือ จากท่าเรือแหลมฉบังไปยังประเทศเพื่อนบ้านทั้ง เวียดนาม ลาว และ กัมพูชา เพื่อเป็นฐานลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนมาตามแนวชายแดนแทน ยืนยันได้จากรายงานการจับกุมกองทัพมดขนหมูเถื่อนอยู่เป็นระยะ “หมูเถื่อน” ตามหลอนกดราคาร่วง จี้รัฐเร่งยกระดับกวาดล้าง สัตว์เศรษฐกิจ 21 เเสดงความกังวลว่าอาจมีความเป็นไปได้ในการลักลอบนำาเข้า หมูเถื่อน หลุดรอดเข้ามาตีตลาด จึงขอรัฐควบคุมป้องกันให้จริงจัง หวั่นทำาลายอาชีพเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงสุกรบ้านเกาะปราง นำาโดย นายประยวด สุขดำา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 12 ต.หนองปรือ อ.รัษฎา จ.ตรัง และเป็นประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงสุกรบ้าน เกาะปราง กล่าวว่าปัญหาของเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูขณะนี้ปัญหาหนัก ยังคงเป็นเรื่องต้นทุนการเลี้ยงที่สูงมาก โดยเฉพาะค่าอาหารที่ทยอยปรับราคามาอย่างต่อเนื่องและ ไม่เคยปรับลงเลย จากเดิมกระสอบละ 430 บาท จนขณะนี้ปรับ ราคามาอยู่ที่สูงสุดกระสอบละ 572 บาท หรือปรับขึ้นมารวมกระสอบ ละ 142 บาท ในขณะที่ราคาหมูหน้าฟาร์มผันผวนตลอดเวลา ก่อนหน้านี้ปรับราคาลงไปอยู่ที่ กก.ละ 84 บาท แต่ขณะนี้ปรับขึ้น มาอยู่ที่ กก.ละ 92 บาทแล้ว ซึ่งหากว่าราคาหมูหน้าฟาร์มปรับต่ำา ลงมากกว่านี้จะทำาให้เกษตรกรขาดทุนทันทีเพราะต้นทุนการเลี้ยง ที่สูง โดยขณะนี้เกษตรกรทุกคนเป็นห่วง หลังมีข่าวเกี่ยวกับ สถานการณ์ที่มีความพยายามในการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนจาก ประเทศเพื่อนบ้านมาทางเรือ เพื่อนำาเข้ามาขายภายในประเทศกลัว จะเข้ามาตีตลาด ทำาให้เกษตรกรไทยต้องเดือดร้อน โดยเฉพาะ เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูรายย่อย ซึ่งก็ต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนการเลี้ยง และราคาที่ผันผวนตลอดเวลาอยู่แล้ว จึงวอนภาครัฐควบคุมป้องกัน การลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนอย่างจริงจัง นอกจากทุบทำาลายราคาแล้ว อาจนำาเชื้อโรคเข้ามาด้วย จะยิ่งเข้ามาซ้ำาเติมและทำาร้ายเกษตรกร ผู้เลี้ยงหมู “หมูเถื่อน” เป็นปัญหาที่เกษตรกรแก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ขณะที่ผู้บริโภคชาวไทยยังต้องเสี่ยงกับ “หมูเถื่อน” คุณภาพต่ำา หมดอายุ มีสารอันตรายปนเปื้อน ที่มาจากความเห็นแก่ตัวของ คนบางกลุ่มเท่านั้น และหากยังไม่จัดการ ”หมูเถื่อน” อย่างเด็ดขาด ก็เป็นการดับความหวังของไทยในการฟื้นฟูการผลิตสุกรสู่ภาวะปกติ เพื่อให้ชาวไทยได้บริโภคเนื้อหมูคุณภาพในราคาที่เหมาะสม ภาครัฐต้องจัดการ “หมูเถื่อน” อย่างจริงจัง ตามที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กำาชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำางานอย่างเคร่งครัดรัดกุม ถือเป็นการยกระดับการปราบปราม “หมูเถื่อน” เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อระดมสรรพกำาลังทั้งกรมปศุสัตว์ กรมศุลกากร ตำารวจ และทหาร ร่วมมือกันทำางาน ซึ่งการยกระดับ ปราบปรามคงไม่เพียงแต่การตรวจจับที่ต้องทำาอย่างสม่ำาเสมอเท่านั้น แต่เพื่อถอนรากถอนโคน “หมูเถื่อน” ให้สิ้นซาก ไม่ใช่จับเพียงคนขับ รถขนส่ง หรือเจ้าของห้องเย็นที่รับฝากซากหมูเถื่อนเท่านั้น แต่ต้อง สืบสวนขยายผลไปให้ถึง “ตัวการใหญ่” แล้วจับมาลงโทษตามกฎหมาย อย่างเด็ดขาด ซึ่งที่ผ่านมายังไม่เคยมีรายงานการจับกุมตัวการได้ แม้แต่ครั้งเดียว เพราะหากจัดการตัวการได้ก็จะป้องกันปัญหาไม่ให้ เกิดขึ้นอีกในอนาคต ถือเป็นการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ดูแล ผู้บริโภค และช่วยให้ผู้เลี้ยงหมูไทยอยู่ได้ต่อไป.... ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ในราคาถูก โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคใต้บวกกับสุกรไทยยังไม่สามารถ ส่งออกไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศญี่ปุ่น รัสเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ได้หลังเกิดการระบาดของโรคโควิด-19 จนทำาให้มีผลกระทบ กับการส่งออกจากสภาพดังกล่าว ทำาให้มีการผูกขาดตลาดเฉพาะของ บริษัทยักษ์ใหญ่ แกนนำาผู้เลี้ยงสุกรในพื้นที่จังหวัดพัทลุง กล่าวต่อว่า ปัญหาที่ เกิดขึ้นทำาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรท้องถิ่นแทบไม่มีที่ยืน ถูกแทรกแซง ทั้งเนื้อสุกรที่ทะลักเข้าโดยผิดกฎหมาย และสุกรของบริษัทยักษ์ใหญ่ แล้ว ยังต้องมาแบกรับต้นทุนในการผลิตที่สูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นค่า อาหาร ค่าวัตถุดิบในการผลิตอาหาร และราคาค่าไฟฟ้าที่จำาเป็นต้อง ใช้ในฟาร์ม ในช่วงปีใหม่ที่ผ่านมาปรับเพิ่มสูงขึ้น 3 เท่าตัว ทำาให้ เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรต่างได้รับความเดือดร้อน ทางกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรจึง ได้ส่งตัวแทนเรียกร้องรัฐบาล ให้เข้ามาช่วยเหลือโดยเร่งแก้ปัญหาทั้ง ขบวนการลักลอบนำาเนื้อสุกรกล่องจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาใน ไทยอย่างจริงจัง เพราะนอกเหนือจากทำาให้ราคาสุกรหน้าคอกดิ่งลง แล้ว ยังเสี่ยงกับปัญหาเรื่องมาตรฐานความปลอดภัยของผู้บริโภคด้วย นายสำารอง กล่าวอีกว่า ขอให้รัฐได้ปลดล็อกการส่งออกสุกร ไทย เพื่อเปิดโอกาสให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร มีที่ว่างในการจำาหน่าย สุกร เพราะปริมาณสุกรมีมากเกินกว่าการบริโภคในประเทศแล้ว เมื่อ บริษัทยักษ์ใหญ่ส่งออกไม่ได้สินค้าของบริษัทยักษ์ใหญ่ ก็ต้องขายใน ประเทศ จนทำาให้ผูกขาดจนกระทบกับเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ที่เหลือ แค่ 10 เปอร์เซ็นต์ของจำานวนผู้เลี้ยงทั้งหมด นอกจากนั้นแล้วตัวแทน เกษตรกรยังได้เรียกร้องให้รัฐได้เข้ามาช่วยเหลือเรื่องพลังงานทดแทน ระบบโซลาร์เซลล์พลังงานจากแสงอาทิตย์ หลังจากที่เกษตรกรต้อง แบกรับราคาค่าไฟ ที่ต้องใช้ในคอกเลี้ยงสุกรเพิ่มสูงขึ้น 3 เท่าตัว โดยเฉพาะในเรื่องขององค์ความรู้และงบประมาณ สนับสนุนให้กับ เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร อาจจะไม่ต้องทั้งหมด 40 หรือ 50 เปอร์เซ็นต์ ในการติดตั้ง เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนดังกล่าว นอกจากนี้ยังมี เกษตรกรหลายคนกังวลราคาหมูหน้าฟาร์มมี ราคาตกลงก่อน ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูรายย่อย จ.ตรัง ออกมา


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเกิดขึ้น ต่อเนื่อง ทำาให้ปริมาณผลผลิตธัญพืชลดลงไม่เป็นไปตามฤดูกาลปกติ และ สงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติและจะฉลองครบ รอบ 1 ปีในวันที่ 24 กุมภาพันธ์2566 ซึ่งสงครามส่งผลกระทบ ในวงกว้างทั้งเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะความมั่นคงทางอาหาร เนื่องจากทั้ง 2 ประเทศ เป็นผู้ส่งออกธัญพืชและวัตถุดิบอาหารสัตว์ รวมกันติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ทั้งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์และยังเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำามันระดับต้น ๆ ของโลก ขณะที่ วิกฤตโควิด-19 อ่อนแรง เพราะโลกเข้มแข็งขึ้นด้วย วัคซีนป้องกันเชื้อโรคที่ถูกพัฒนาอย่างรวดเร็ว ควบคู่กับนโยบาย ป้องกันประเทศและป้องกันส่วนบุคคลดีขึ้น ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นสำาคัญ ทางเศรษฐกิจและความต้องการทั่วโลก แต่ธัญพืชและวัตถุดิบอาหาร สัตว์ไซโลเก็บผลผลิตและเส้นทางขนส่งถูกทำาลาย ราคาในตลาดโลก จึงยังคงยืนแข็งในระดับสูง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตภาคปศุสัตว์ไม่ใช่ ไทยประเทศเดียวแต่เผชิญชะตากรรมเดียวกันทั่วโลก สงครามยังกระทบต่อราคาอาหารรับรู้ได้ทั่วโลก เช่น ไข่ไก่ สหรัฐแพงจนผู้บริโภคบ่น สาเหตุจากไข้หวัดนกและต้นทุนการเลี้ยง ไก่ไข่สูงขึ้น ทั้งราคาอาหารสัตว์ค่าแรงงาน ค่าบริหารจัดการฟาร์ม ขณะที่ มาเลเซีย ต้องสั่งซื้อไข่ไก่ล็อตใหญ่ที่สุด 50 ล้านฟอง จาก อินเดีย เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนในประเทศ เนื่องจากต้นทุน วัตถุดิบอาหารปรับราคาสูงขึ้น จากผลกระทบของสงครามยูเครน กดดันให้ผู้เลี้ยงรายเล็กต้องลดปริมาณการเลี้ยงลง ส่วนเกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่ไทยก็ไม่น้อยหน้าราคาอาหารไก่ปรับขึ้นประมาณ 3-4 บาทต่อกิโลกรัม ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มที่เหมาะสมควรอยู่ที่ 3.90-4.00 บาทต่อฟอง แต่ราคาที่เกษตรกรขายได้เพียงฟองละ 3.40 บาท เท่านั้น สำาหรับภาคการเลี้ยงสัตว์ของไทย โดยเฉพาะ หมูไก่ ไข่ ซึ่ง เป็นอาหารที่คนไทยนิยมบริโภคและเข้าถึงง่ายที่สุด ได้รับผลกระทบ จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ถ้วนหน้า จากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เป็น วัตถุดิบสำาคัญในสูตรอาหารสัตว์ราคาทะยานสูงสุด จากก่อนสงคราม ไม่เกิน 10 บาทต่อกิโลกรัม ระหว่างสงครามปรับขึ้นไปมากกว่า 13.50 บาทต่อกิโลกรัม จนถึงขณะนี้ยังคงยืนสูงที่ 13.40-13.45 บาทต่อกิโลกรัม รวมถึงถั่วเหลือง ข้าวสาลีขยับขึ้นตามกัน โดยเฉพาะ อาหารของหมู มีข้าวโพดเป็นส่วนผสมสูงถึง 60-70 เปอร์เซ็นต์ จึงกลายเป็นต้นทุนสำาคัญ ผู้เลี้ยงไก่เนื้อและไก่ไข่ ก็อย่างไม่อาจหลีก เลี่ยงปัญหานี้ได้ สมาคมผู้ผลิตปศุสัตว์ต่าง ๆ ทั้ง หมู ไก่ ไข่ ร้องเป็นเสียง เดียวกันให้รัฐบาลหาทางแก้ปัญหาเรื่องวัตถุดิบอาหารสัตว์เร่งด่วน ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เป้าหมาย คือ ช่วยลดต้นทุนให้เกษตรกร อยู่ได้- ผู้บริโภคซื้อคล่อง เนื่องจากปัจจุบันมาตรการด้านภาษีและ หมู ไก่ ไข่ อ่วม... วัตถุดิบแพง ดันต้นทุนพุง่


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเกิดขึ้น ต่อเนื่อง ทำาให้ปริมาณผลผลิตธัญพืชลดลงไม่เป็นไปตามฤดูกาลปกติ และ สงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติและจะฉลองครบ รอบ 1 ปีในวันที่ 24 กุมภาพันธ์2566 ซึ่งสงครามส่งผลกระทบ ในวงกว้างทั้งเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะความมั่นคงทางอาหาร เนื่องจากทั้ง 2 ประเทศ เป็นผู้ส่งออกธัญพืชและวัตถุดิบอาหารสัตว์ รวมกันติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ทั้งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์และยังเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำามันระดับต้น ๆ ของโลก ขณะที่ วิกฤตโควิด-19 อ่อนแรง เพราะโลกเข้มแข็งขึ้นด้วย วัคซีนป้องกันเชื้อโรคที่ถูกพัฒนาอย่างรวดเร็ว ควบคู่กับนโยบาย ป้องกันประเทศและป้องกันส่วนบุคคลดีขึ้น ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นสำาคัญ ทางเศรษฐกิจและความต้องการทั่วโลก แต่ธัญพืชและวัตถุดิบอาหาร สัตว์ไซโลเก็บผลผลิตและเส้นทางขนส่งถูกทำาลาย ราคาในตลาดโลก จึงยังคงยืนแข็งในระดับสูง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตภาคปศุสัตว์ไม่ใช่ ไทยประเทศเดียวแต่เผชิญชะตากรรมเดียวกันทั่วโลก สงครามยังกระทบต่อราคาอาหารรับรู้ได้ทั่วโลก เช่น ไข่ไก่ สหรัฐแพงจนผู้บริโภคบ่น สาเหตุจากไข้หวัดนกและต้นทุนการเลี้ยง ไก่ไข่สูงขึ้น ทั้งราคาอาหารสัตว์ค่าแรงงาน ค่าบริหารจัดการฟาร์ม ขณะที่ มาเลเซีย ต้องสั่งซื้อไข่ไก่ล็อตใหญ่ที่สุด 50 ล้านฟอง จาก อินเดีย เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนในประเทศ เนื่องจากต้นทุน วัตถุดิบอาหารปรับราคาสูงขึ้น จากผลกระทบของสงครามยูเครน กดดันให้ผู้เลี้ยงรายเล็กต้องลดปริมาณการเลี้ยงลง ส่วนเกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่ไทยก็ไม่น้อยหน้าราคาอาหารไก่ปรับขึ้นประมาณ 3-4 บาทต่อกิโลกรัม ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มที่เหมาะสมควรอยู่ที่ 3.90-4.00 บาทต่อฟอง แต่ราคาที่เกษตรกรขายได้เพียงฟองละ 3.40 บาท เท่านั้น สำาหรับภาคการเลี้ยงสัตว์ของไทย โดยเฉพาะ หมูไก่ ไข่ ซึ่ง เป็นอาหารที่คนไทยนิยมบริโภคและเข้าถึงง่ายที่สุด ได้รับผลกระทบ จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ถ้วนหน้า จากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เป็น วัตถุดิบสำาคัญในสูตรอาหารสัตว์ราคาทะยานสูงสุด จากก่อนสงคราม ไม่เกิน 10 บาทต่อกิโลกรัม ระหว่างสงครามปรับขึ้นไปมากกว่า 13.50 บาทต่อกิโลกรัม จนถึงขณะนี้ยังคงยืนสูงที่ 13.40-13.45 บาทต่อกิโลกรัม รวมถึงถั่วเหลือง ข้าวสาลีขยับขึ้นตามกัน โดยเฉพาะ อาหารของหมู มีข้าวโพดเป็นส่วนผสมสูงถึง 60-70 เปอร์เซ็นต์ จึงกลายเป็นต้นทุนสำาคัญ ผู้เลี้ยงไก่เนื้อและไก่ไข่ ก็อย่างไม่อาจหลีก เลี่ยงปัญหานี้ได้ สมาคมผู้ผลิตปศุสัตว์ต่าง ๆ ทั้ง หมู ไก่ ไข่ ร้องเป็นเสียง เดียวกันให้รัฐบาลหาทางแก้ปัญหาเรื่องวัตถุดิบอาหารสัตว์เร่งด่วน ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เป้าหมาย คือ ช่วยลดต้นทุนให้เกษตรกร อยู่ได้- ผู้บริโภคซื้อคล่อง เนื่องจากปัจจุบันมาตรการด้านภาษีและ หมู ไก่ ไข่ อ่วม... วัตถุดิบแพง ดันต้นทุนพุง่ สัตว์เศรษฐกิจ 23 มา 2 เดือนแล้ว ไม่รู้ว่าจะแบกภาระต้นทุนได้อีกนานแค่ไหน หาก แบกไม่ไหว อนาคตคงต้องแก้ปัญหาขาดทุนด้วยการลดปริมาณ การเลี้ยงลง ซึ่งจะทำาให้ราคาไก่แพงขึ้น และในที่สุดก็จะส่งผลกระทบ ต่อประชาชนต้องกินไก่แพงแบบหลีกเลี่ยงไม่ได้หากรัฐไม่เข้ามาแก้ไข ปัญหานี้” คุณวีระพงษ์กล่าว ขณะที่ คุณพเยาว์ อริกุล นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงไก่ไข่ รายย่อยภาคกลาง ออกมาระบุว่า การผลิตไข่ไก่ในปัจจุบันมีต้นทุน สูงถึง 3.45-3.50 บาท/ฟอง สูงกว่าช่วงปกติถึง 30 เปอร์เซ็นต์ แน่นอนว่า เกิดจากราคาธัญพืชวัตถุดิบอาหารสัตว์พุ่งสูงขึ้นอย่างมาก และยืนแข็งในเกณฑ์สูงมาต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และ กากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำาคัญของอาหารเลี้ยงไก่ไข่ พร้อมเรียก ร้องให้รัฐเร่งหาทางแก้ไขและเปิดทางราคาขายผลผลิตให้สอดคล้อง กับต้นทุน เพื่อให้เกษตรกรพอมีกำาไรและทำาธุรกิจฟาร์มต่อไปได้ เนื่องจากยังมีต้นทุนอื่น ๆ ที่ล้วนขยับสูงขึ้น ทั้งพลังงาน น้ำามัน ก๊าซ หรือแม้แต่ค่าไฟฟ้า รวมถึงค่าแรงงานต่าง ๆ ภายในฟาร์ม ทำาให้ส่วนต่างจากการขายไข่ทุกวันนี้แทบไม่พอจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ ธนาคารที่ทยอยปรับดอกเบี้ยขาขึ้นกันออกมา สำาหรับแนวทางที่จะช่วยประคองต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร เพื่อรักษาระดับราคาขายไม่ให้สูงจนผู้บริโภคเดือดร้อน คือการเร่งแก้ ปัญหาราคาวัตถุดิบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ข้าวโพดและกากถั่วเหลือง” จาก “นโยบายรัฐ” ที่รัฐสามารถบริหารจัดการได้ทันทีซึ่งจะช่วยทั้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ เชื่อมโยงไปถึงต้นทุนการ เลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรภาคปศุสัตว์และราคาขายปลายทาง อาทิ 1.) การยกเลิกมาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี3:1 ส่วน 2.) การยกเลิกจำากัดเวลานำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้าน 3.) การยกเลิกจัดเก็บภาษีนำาเข้า เช่น ภาษีกากถั่วเหลือง 2% ปลาป่น 15% DDGS 9% รวมถึง ข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO ใน โควต้า 20% นอกโควต้า 73% เป็นต้น 4.) เร่งพัฒนาประสิทธิภาพการปลูกข้าวโพดในประเทศเพื่อลด ต้นทุนการผลิต และเพิ่มปริมาณในประเทศให้มากขึ้นอย่างเพียงพอ ปัจจุบันข้าวโพดมีราคาสูงถึง 13.40 บาท/กก. และ กาก ถั่วเหลืองมีราคาถึง 23.70 บาท/กก. หากรัฐไม่เร่งบริหารจัดการ คาดว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ย่อมเดือดร้อนไปทุกหย่อมหญ้า และหาก ต้องขายในราคาไม่คุ้มทุนด้วยแล้ว คงไม่มีใครเหลือแรงพอที่จะอยู่ ผลิตอาหารให้คนไทยบริโภค ซึ่งเห็นชัดว่าผู้เลี้ยงหมูผู้เลี้ยงไก่ และ ผู้เลี้ยงไก่ไข่ ต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐเร่งด่วนร่วมกันใน เรื่องวัตถุดิบอาหารสัตว์ขณะที่ผู้เลี้ยงหมูต้องการให้มีการปราบปราม หมูเถื่อนควบคู่กันไปด้วย ให้ต้นทุนกับราคาที่ขายได้เหมาะสมพอมี กำาไรเลี้ยงครอบครัวได้และผู้บริโภคเข้าถึงอาหารโปรตีนดังกล่าวได้ ในราคาที่สมเหตุผล ซึ่งภาครัฐต้องเป็นผู้ขับเคลื่อนนโยบายและ กำาหนดมาตรการช่วยเหลือที่ตรงกับความการของทุกภาคส่วน เพื่อ ความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืนของคนไทย.... ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โควต้านำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ของภาครัฐ ยังเป็นอุปสรรคและ ต้นทุนสำาคัญในห่วงโซ่การผลิตที่เกษตรกรต้องรับภาระ นอกเหนือ จากต้นทุนพลังงานและปัจจัยการผลิตที่เพิ่มในอัตราที่ใกล้เคียงกัน เฉลี่ยประมาณ 20 - 30 เปอร์เซ็นต์ จากปี 2565 - ปัจจุบัน ผู้เลี้ยงหมูอยู่ในสถานการณ์ลำาบาก เพราะนอกจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นเป็นประวัติการณ์แล้ว ยังเจอ ปัญหา “หมูเถื่อน” ที่ลักลอบเข้าไทยมาทุกทิศทุกทาง แม้กรมปศุสัตว์ ร่วมมือกับตำารวจและทหารจับและทำาลายของกลางซากหมูไปมาก กว่า 1 ล้านกิโลกรัม ก็ตาม แต่สมาคมผู้เลี้ยงสุกรยืนยันว่านั่นเป็น เพียงแค่ 5 เปอร์เซ็นต์ของหมูที่ลักลอบทั้งหมด ภาครัฐต้องปราบ ปรามอย่างจริงจังให้หมดภายในปีนี้เพื่อให้สถานการณ์การผลิตกลับ สู่ภาวะปกติ18 ล้านตัว ในปี2567 ตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ คุณสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กล่าวถึงสถานการณ์การเลี้ยงหมูใน ภาคอีสานว่า หลังการระบาดของ ASF ผลผลิตแม่พันธุ์ในภาคอีสาน เริ่มเพิ่มขึ้นมาอยู่ในระดับ 70 เปอร์เซ็นต์แล้ว แม้ปริมาณหมูกำาลัง เพิ่มขึ้นแต่ก็มีอุปสรรคในด้านต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นจากวัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่แพงขึ้น สวนทางกับราคาสุกรหน้าฟาร์มตกต่ำาเหลือ เพียงกิโลกรัมละ 90 บาท และมีแนวโน้มดิ่งต่ำาลงอีก จากการลักลอบ นำาเนื้อสุกรกล่องจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามา ขณะที่ต้นทุนการผลิต เฉลี่ยทั้งปี2565 ของสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติอยู่ที่ 94.79 บาท ต่อกิโลกรัม ด้าน คุณวีระพงษ์ ปัญจวัฒนกุล ที่ปรึกษาสมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ เปิดเผยว่า ขณะนี้ผู้เลี้ยงไก่เนื้อกำาลังเดือดร้อนอย่างหนัก เนื่องจาก ต้นทุนการเลี้ยงไก่เนื้อได้ปรับสูงขึ้นต่อเนื่องจากปีก่อน ล่าสุดทำาสถิติ สูงสุดเป็นประวัติการณ์โดยต้นทุนการเลี้ยงไก่ปีนี้ขยับขึ้นมาอีก 2-3 บาท/ก.ก. ล่าสุดอยู่ที่ 45 บาท/ก.ก. สูงกว่าต้นทุนปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 42-43 บาท/ก.ก.เนื่องจากราคาอาหารสัตว์ปรับราคาขึ้นต่อเนื่อง โดยที่ผ่านมาราคาปรับเพิ่มขึ้นอีก 6 บาท/ถุงขนาด 30 ก.ก. มา อยู่ที่ 550 บาท/ถุง ขณะที่ราคาพันธุ์ไก่ก็ปรับเพิ่มขึ้นตามต้นทุน ค่าไฟฟ้าก็ปรับเพิ่มขึ้น 30% รวมถึงค่าจ้างแรงงงาน ซ้ำาเติมภาวะ ต้นทุนให้สูงขึ้นไปอีก ปัจจุบันผู้เลี้ยงไก่เนื้อเจอปัญหาหนักมาก แม้ว่าต้นทุนการเลี้ยง ไก่เป็นจะพุ่งขึ้นมาแตะที่ 45 บาท แต่ราคาขายไก่เนื้อเข้าโรงงาน ชำาแหละกลับต่ำากว่าปีก่อน โดยราคาขายเข้าโรงงานอยู่ที่ 41-45บาท/ ก.ก. เนื่องจากขณะนี้ตลาดไม่เอื้อให้ปรับขึ้นราคา เพราะซัพพลาย ล้นตลาด จากการส่งออกเนื้อไก่ที่ชะลอตัวลงอย่างมาก โดยตลาด นำาเข้าสำาคัญอย่างอียูและญี่ปุ่นลดการนำาเข้าเพราะเป็นช่วงโลว์ซีซั่น หากปรับราคาก็จะขายไม่ออก รวมถึงการเปิดประเทศของจีนก็ทำาให้ กำาลังการบริโภคภายในปรับเพิ่มขึ้นไม่มากนัก “อยากให้รัฐบาลเข้ามาช่วยเหลือดูแลเรื่องราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ อยากให้เห็นใจคนเลี้ยงไก่บ้าง ไม่ใช่ดูแลเฉพาะเกษตกร ผู้ปลูกพืชที่นำามาทำาวัตถุดิบอาหารไก่ ขณะนี้ผู้เลี้ยงขาดทุนติดต่อกัน


การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวคัซีนป้องกนัโรคกล่มุอาการระบบสืบพนัธ์ุและระบบทางเดินหายใจสกุร ชนิดเชื้อเป็ น (HIPRA, SPAIN) ที่ฉีดด้วยวิธีเข้าผิวหนัง (intradermal) และเข้ากล้าม (intramuscular) ในสุกร ดร. อรรถกร มาดาป้อง ผศ. ดร. เดชฤทธ์ินิลอบุล และคณะ ภาควิชาจลุชีววิทยา คณะสตัวแพทยศาสตร์จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประเทศไทย บทน ำ สรุปผลกำรทดลอง จุดประสงค์กำรทดลอง วสัดุอุปกรณ์และวธิีกำรทดลอง ผลกำรทดลอง 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 0 DPV 7 DPV 14 DPV 21 DPV 28 DPV 35 DPV 3 DPC 7 DPC 14 DPC 35 DPC PRRSV genomic copies/ml Days post-vaccination (DPC) / Days post-challenge (DPC) Type 2 PRRSV RNA in nasal swabs VacIM/PRRS2 VacID/PRRS2 NV/PRRS2 VacIM/PRRS1+2 VacID/PRRS1+2 NV/PRRS1+2 NV/Unch Challenge (B) a a e c c b d b c c b a b c 0 2 4 6 8 0 DPV 7 DPV 14 DPV 21 DPV 28 DPV 35 DPV 7 DPC 14 DPC 35 DPC Titers (2n) Days post-vaccination (DPV) / Days-post challenge (DPC) PRRSV-specific neutralizing antibodies aginst homologous viurs (vaccine virus) VacIM/PRRS2 VacID/PRRS2 NV/PRRS2 VacIM/PRRS1+2 VacID/PRRS1+2 NV/PRRS1+2 NV/Unch a a a a a a b b b b b Challenge b b a (A) a c a a c b a a a a c b a a c c d a ปริมาณเชอื้ PRRSV (US) ในสารคัดหล่ ังจมูก (nasal swab) 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 0 DPV 7 DPV 14 DPV 21 DPV 28 DPV 35 DPV 3 DPC 7 DPC 14 DPC 35 DPC PRRSV genomic copies/ml Days post-vaccination (DPV) / Days post-challenge (DPC) Type 2 PRRSV RNA in serum VacIM/PRRS2 VacID/PRRS2 NV/PRRSV2 VacIM/PRRS1+2 VacID/PRRS1+2 NV/PRRS1+2 NV/Unch Challenge (B) a b c d e a b c d ปริมาณเชอื้ PRRSV (US) ในซีรัม เรียบเรียงโดย เรืองอุไร กิจโชดก (สพ.บ., วท.ม.,เกียรติบัตรทางการตลาด ) และทีมวิชาการบริการและการตลาดสุกร 0.0 0.4 0.8 1.2 1.6 2.0 2.4 2.8 0 DPV 7 DPV 14 DPV 21 DPV 28 DPV 35 DPV 3 DPC 7 DPC 14 DPC 35 DPC S/P ratio Days post-vaccination (DPV) / Days post-challenge (DPC) PRRSV-specific antibodies (IDEXX) VacIM/PRRS2 VacID/PRRS2 NV/PRRS2 VacIM/PRRS1+2 VacID/PRRS1+2 NV/PRRS1+2 NV/Unch Cut-off Challenge a a a a a a a a a (A) b b b b b b b b a a b b c c a a a a a a a a a a a a a a a a a a a a a การตรวจแอนติบอดีที่จา เพาะต่อ PRRSV (IDEXX) 0 5 10 15 20 0 7 14 21 28 35 Vaccine virus-specific IL-10 (pg/ml) Days post-vaccination (DPV) Homologous virus recall (vaccine virus) VacIM/PRRS2 VacID/PRRS2 NV/PRRS2 VacIM/PRRS1+2 VacID/PRRS1+2 NV/PRRS1+2 NV/Unch a a a b a b b a a b b b b b b c c c b a a a a a b b b ฉีดวัคซีน การตรวจนิวทรลัไลซิ่งแอนติบอดี ที่จา เพาะต่อไวรสัวคัซีน การฉีดวัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) ทั้ง IM และ ID สามารถ กระตุ้นนิวทรัลไลซิ่งแอนติบอดีที่จ าเพาะต่อไวรัสวัคซีนที่ 21 วันหลังฉีดวัคซีน การฉีดวัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) ทั้ง IM และ ID สามารถ กระตุ้นการตอบสนองของแอนติบอดีได้รวดเร็วภายใน 14 วันหลังฉีดวัคซีน (พบครั้งแรกที่ 7 วันหลังฉีดวัคซีน) เมื่อตรวจด้วย IDEXX ELISA จ านวนเซลล์ที่สร้างไซโตไคน์IFN- เมื่อกระตุ้นด้วยไวรัสวัคซีน (เกี่ยวข้องกบัการทา งานของภมูิค้มุกนัชนิดพึ่งเซลลเ์พื่อทา ลายเชื้อไวรัส) กลุ่มที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) ด้วยวิธี ID พปริมา เซลล์ที่สร้าง IFN- ได้เร็วกว่า (ภายใน 28 วันหลังฉีดวัคซีน) และมีระดับที่สูงกว่ากลุ่มที่ฉีด IM • กลุ่มที่ไม่ฉีดวัคซีนมีปริมา เชื้อ PRRSV (US) ในซีรัมสูงที่สุด วันที่ 7 หลังพ่นเชื้อพิษทับ • กลุ่มที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรค PRRS (HIPRA, SPAIN) ทั้ง IM และ ID มีปริมา เชื้อ PRRSV (US) ใน ซีรัมน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ท าวัคซีน ใน วันที่ 7 และ 14 หลังพ่นเชื้อพิษทับ • กลุ่มที่ไม่ฉีดวัคซีนมีปริมา เชื้อ PRRSV (US) ในสารคัดหลั่งจมูก สูงที่สุด วันที่ 7 หลังพ่นเชื้อพิษ ทับ • กลุ่มที่ฉีดวัคซีนโรค PRRS (HIPRA, SPAIN) ทั้ง IM และ ID มีปริมา เชื้อ PRRSV (US) ใน สารคัดหลั่งจมูกน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ ฉีดวัคซีน ในวันที่ 7 และ 14 หลัง พ่นเชื้อพิษทับ ▪ แบ่งสุกรอายุ 3 สัปดาห์ จ านวน 42 ตัว ออกเป็น 7 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ตัว ท าการฉีด วัคซีน เก็บตัวอย่างเลือด ชั่งน ้าหนัก พ่นพิษทับด้วยเชื้อไวรัส และท าการุ ยฆาต ดังภาพ ▪ การป้องกันโรคพีอาร์อาร์เอส (PRRS) จากการฉีดวัคซีนด้วยวิธีเข้ากล้าม (intramuscular, IM) เป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย แต่ในปัจจุบันการฉีด วัคซีนด้วยวิธีเข้าผิวหนัง (intradermal, ID) เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะเป็น บริเว ที่มีเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ท าหน้าที่ในการดักจับแอนติเจนและน าเสนอ แอนติเจนเข้าสู่ต่อมน ้าเหลืองจ านวนมาก อีกทั้งการฉีดเข้าผิวหนัง (ID) สามารถลด การเกิดบาดแผลและลดความเจ็บปวดเมื่อเทียบกับการฉีดเข้ากล้าม (IM) อีกด้วย ▪ เพื่อทดสอบการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) เมื่อฉีดด้วยวิธีเข้ากล้าม (IM) หรือเข้าผิวหนัง (ID) ต่อการติดเชื้อไวรัส PRRS สายพันธุ์ยุโรปและอเมริกาเหนือ (HP-PRRSV) ในสุกร ไซโตไคน์อินเตอรล์ิวคิน-10 (IL-10) (ไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกบักระบวนการกดภมูิค้มุกัน) • กลุ่มที่ฉีดวัคซีนโรค PRRS (HIPRA, SPAIN) ด้วยวิธี ID สามารถกระตุ้นการสร้าง IL-10 ได้ ช้ากว่า (21 วันหลังฉีดวัคซีน) กลุ่มที่ฉีดด้วย IM (7 วันหลังฉีด วัคซีน) อีกทั้งมีระดับที่ต ่ากว่าและ ลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับ กลุ่มที่ฉีดด้วย IM ▪ วัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) เมื่อฉีดด้วยวิธีเข้ากล้าม (IM) และเข้า ผิ วหนัง (ID) สามารถกระต้นุการตอบสนองทางภมูิค้มุกนัของสกุรได้ ✓ กระตุ้นการตอบสนองของแอนติบอดีได้รวดเร็วภายใน 14 วันหลังฉีดวัคซีน ✓ กระตุ้นการตอบสนองของนิวทรัลไลซิ่งแอนติบอดีได้ใน 21 วันหลังฉีดวัคซีน ✓ สามารถกระตุ้นเซลล์ที่สร้าง IFN-γ ได้เร็วภายใน 28 วันหลังฉีดวัคซีน โดยกลุ่มที่ฉีด ID สามารถกระตุ้นได้เร็วกว่า กลุ่มที่ฉีด IM และมีระดับที่สูงกว่า ▪ วัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) เมื่อฉีดด้วยวิธีเข้ากล้าม (IM) และเข้า ผิ วหนัง (ID) ให้ความคุ้มโรคข้ามสายพันธุ์ (Partial heterologous protection) ต่อเชื้อไวรส ั PRRS ✓ สุกรที่ฉีดวัคซีนสามารถลดปริมา เชื้อ PRRSV ในกระแสเลือด ในสารคัดหลั่งจมูกและสามารถลดรอยโรคที่ปอดภายหลัง จากพ่นพิษทับด้วยเชื้อ PRRSV (ทั้ง EU และ US) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ฉีดวัคซีน ▪ วัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) เมื่อฉีดด้วยวิธีเข้าผิ วหนัง (ID) เป็ นอีก หนึ่งตัวเลือกที่ดี ✓ มีการกระตุ้นการสร้าง IL-10 ที่ช้ากว่าและมีระดับที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ฉีดเข้ากล้าม (IM) ✓ มีการกระตุ้นเซลล์ที่สร้างไซโตไคน์IFN- ที่เร็วกว่าและมีระดับที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ฉีดเข้ากล้าม (IM) กล่มุทดลอง Macroscopic scores (การสงัเกตด้วยตาเปล่า) Microscopic lesion (ผา่นกล้องจลุทรรศน์) 7 DPC* 35 DPC 7 DPC* 35 DPC VacIM/PRRS2 58.02.0c 00 1.620.11b 00 VacID/PRRS2 27.32.4e 00 1.330.14c 00 NV/PRRS2 71.33.2b 2.01.0 2.380.11a 00 VacIM/PRRS1+2 62.32.4c 2.00.3 1.880.06b 00 VacID/PRRS1+2 41.07.0d 1.00.3 1.510.10c 00 NV/PRRS1+2 84.03.5a 2.01.0 2.370.07a 00 NV/Unch 00 00 00 00 กลุ่มที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรค PRRS ชนิดเชื้อเป็น (HIPRA, SPAIN) ทั้ง IM และ ID มีคะแนนรอยโรคปอดจากการ สังเกตด้วยตาเปล่า และผ่านกล้องจุลทรรศน์ น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ฉีดวัคซีน ในวันที่ 7 และ 35 วัน หลังพ่นเชื้อพิษทับ โดยกลุ่มที่ฉีดด้วยวิธี ID มีคะแนนรอยโรคปอดน้อยที่สุด ในวันที่ 7 หลังพ่นเชื้อพิษทับ


25 สัตว์เศรษฐกิจ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ผลิตน้ำ�นมปริม�ณม�ก หรืออ�จเกิดช่วงก่อนคลอด ทำ�ให้หมดแรง เบ่ง มดลูกไม่บีบตัว เป็นส�เหตุให้คลอดย�กต�มม� ที่กล่�วม�เป็น อ�ก�รของไข้น้ำ�นม (Milk fever) โคจะกระวนกระว�ย เดินโซเซ นอนหัวตกไปข้�งตัวหรือนอนตะแคงเหยียดข� เซื่องซึม หู จมูก ปล�ยข� เย็น อุณหภูมิร่�งก�ยต่ำ�ลง ท้องอืด ห�ยใจติดขัด กล้�มเนื้อกระตุก ชัก เป็นอัมพ�ต หมดสติ ต�ย สำ�หรับในแม่สุกร อ�จพบคว�มผิดปกติในช่วงตั้งท้องเนื่องจ�กมีลูกจำ�นวนม�ก อ�จเกิดคว�มไม่สมบูรณ์พันธุ์ ลูกต�ยในท้อง ลูกคลอดอ่อนแอ รวมถึงหลังคลอดที่สร้�งน้ำ�นมม�เลี้ยงลูกจำ�นวนม�ก อ�จก่อให้เกิด อ�ก�รคล้�ยในโคได้ ในสัตว์อ�ยุน้อยที่ข�ดแคลเซียมจะก่อให้เกิด โรคกระดูกอ่อน (Ricket) สัตว์ที่โตเต็มวัยแล้วจะเป็นโรคกระดูก บ�ง เปร�ะ (Osteomalacia) แตกหักง่�ย อ�ก�รอื่น ๆ ได้แก่ เบื่ออ�ห�ร เซื่องซึม เติบโตช้� ข�แข็ง ตัวแข็ง โครงร่�งไม่แข็งแรง แคระแกร็น ชัก กระดูกหักง่�ย ข้อบวม หลังโก่ง ข�โก่งโค้งงอ อัตร�ก�รต�ยสูง ส่วนฟอสฟอรัสที่มีคว�มสัมพันธ์อย่�งใกล้ชิดกับ แคลเซียมนั้น พบว่�ถ้�ข�ดอ�จก่อให้เกิดอ�ก�รกระดูกอ่อนเปร�ะ หักง่�ยได้เช่นกัน กล้�มเนื้ออ่อนแอ ลีบ ไม่มีแรง เดินโซเซ เจริญเติบโตช้� ประสิทธิภ�พก�รใช้อ�ห�รลดลง หัวใจทำ�ง�นผิดปกติ เกิดพย�ธิสภ�พที่ไต ในไก่จะพบผลผลิตไข่ลดลง อ�ก�รอื่น ๆ คล้�ย ข�ดแคลเซียม พอก้�วเข้�สู่เดือนกุมภ�พันธ์ ก็คงต้องสวัสดีปีใหม่กันอีกครั้ง ว่� “ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้” (新正如意 新年发财) นั่นก็คือ เพิ่งผ่�นเทศก�ลตรุษจีน หรือขึ้นปีใหม่ของช�วจีนม�หม�ด ๆ แน่นอนว่�ร�ค�ของปศุสัตว์ที่เกี่ยวข้อง สุกร เป็ด ไก่ ทั้งหน้�ฟ�ร์ม และที่ตล�ดผู้บริโภค น่�จะต้องเพิ่มสูงขึ้น และดีเป็นที่น่�พอใจของ เกษตรกรในช่วงนี้แน่นอน แม้ว่�ร�ค�จะดี แต่ต้นทุนก็ยังคงสูง และ ห�ย�กไม่เปลี่ยนแปลง หนึ่งในต้นทุนที่สำ�คัญห้�มลืมก็คือ วิต�มิน แร่ธ�ตุ ในรูปพรีมิกซ์ ที่เดือนนี้เป็นเนื้อห�ต่อเนื่องในเรื่องของแร่ธ�ตุ ที่สำ�คัญไม่น้อยกว่�โภชนะหลักเช่นเดียวกัน ห�กข�ดก็อ�จส่งผลให้ สัตว์มีประสิทธิภ�พด้�นต่�ง ๆ ลดลงไปอีก ทั้งบ�งชนิดที่เสริมเพิ่ม เข้�ไป ก็อ�จช่วยให้กลับม�มีประสิทธิภ�พดีใกล้เคียงเดิม โดยที่ต้นทุน ได้ถูกลดลงม�ถึงระดับที่เหม�ะสมโดยวิธีก�รปรับเปลี่ยนสูตร ปรับ เปลี่ยนชนิดวัตถุดิบ ที่เป็นหัวใจสำ�คัญไปแล้ว แคลเซียม (Ca) และ ฟอสฟอรัส (P) เป็นแร่ธ�ตุหลักที่สำ�คัญ ม�ก ห�กข�ดอ�จก่อให้เกิดโรค หรือคว�มผิดปกติได้คล้�ยกับก�ร ข�ดวิต�มิน D ในบ�งช่วงที่ต้องก�รค่อนข้�งสูงเช่น ไก่ระยะไข่ แคลเซียมในกระดูกจะเป็นแหล่งสำ�รองในก�รสร้�งเปลือกไข่ ห�กได้ รับจ�กอ�ห�รไม่เพียงพอเป็นระยะเวล�น�น ไข่จะเปลือกบ�ง ไข่ลด กระดูกแม่ไก่จะบ�งเปร�ะ ส่วนในโคนมหลังคลอดใหม่ ๆ ในช่วง 72 ชม.แรก อ�จเกิดภ�วะแคลเซียมในเลือดต่ำ� เพร�ะดึงไปใช้สร้�งและ โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (2) LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่งใหม่ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจน ธุรกิจของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้ง โรคในหมูก็ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคาสูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุก ท่านคงมีก าลังทั้งกายและจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐาน เบาๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะหลักเช่น พลังงาน โปรตีน ที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุนเหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่ส าคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็น มีความส าคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่างๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่มเข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุนก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิ ต้านทานต ่าท าให้ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้างร่างกายผิดปกติต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการทางประสาท ความดันในไข สันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูกเจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูกท าลายมากกว่า ปกติความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์เช่น อัตราการผสมติดต ่า แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนาที่ ผิดปกติ พิการ น ้าหนักแรกคลอดต ่า ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิดปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตา บอลิสมของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติในสัตว์ที่ก าลังเติบโต (Rickets) และกระดูก เปราะบางหรือกระดูกพรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้างกระดูกผิดรูป ความผิดปกติของ กระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อนแรงและกระตุก เบื่ออาหาร น ้าหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความกระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชัก จากแคลเซียมในเลือดต ่า แม่สุกรอาจมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีกจะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ


26 สัตว์เศรษฐกิจ ห�ยใจเร็วกว่�ปกติ เหนื่อยง่�ย ห�ยใจลำ�บ�ก เซื่องซึม ก�รทำ�ง�น ของกล้�มเนื้อและสมองลดน้อยลง ถ่�ยเหลวออกม�เป็นสีซีด โตช้� เจ็บป่วยจ�กก�รติดเชื้อจุลชีพก่อโรคอื่นได้ง่�ย ลูกสุกรจะชอบกิน เศษดิน อ�จต�ยอย่�งเฉียบพลันได้จ�กก�รที่ออกซิเจนไปเลี้ยง ร่�งก�ยไม่ทันเมื่อเครียด ทองแดง (Cu) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะ พบอ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ เจริญเติบโตลดลง พบโลหิตจ�ง เส้นเลือดเปร�ะ มีจุดเลือดออกต�มร่�งก�ย เซื่องซึม อ�ก�รท�ง ประส�ท กระดูกผิดรูป กระดูกเปร�ะ ข้อบวม ไข่ลด สีขนผิดปกติ เป็นสีอ่อน หรือขนไม่ขึ้นต�มปกติ สังกะสี (Zn) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะพบ อ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ขนร่วง ขนขึ้นช้� ผิวหนังอักเสบ หย�บแห้งหน�เป็นแผ่นแข็ง แตกระแหงเป็นชิ้นเล็ก ๆ มีร่อง หย�บ ๆ ที่เห็นลึกชัด มีแผ่นตกสะเก็ดเป็นขุย ๆ คล้�ยไรขี้เรื้อน เรียกว่�อ�ก�ร Parakeratosis โดยที่ไม่มีอ�ก�รคัน ซึม เบื่ออ�ห�ร แคระแกร็น เจริญเติบโตช้� เซลล์เยื่อบุผนังลำ�ไส้ต�ยและสร้�ง ทดแทนน้อยลง ดูดซึมอ�ห�รลดลง ท้องร่วง อ�เจียน อ�ก�รท�ง ประส�ท กระดูกมีพัฒน�ก�รผิดปกติ โครงสร้�งกระดูกไม่แข็งแรง ต่อมไทมัสเล็ก อวัยวะเพศเล็กไม่พัฒน� อัณฑะฝ่อ คว�มไม่สมบูรณ์ พันธุ์ แม่แท้งลูก ในไก่มักพบก�รเจริญของกระดูกผิดปกติ กระดูก สั้นและหน� ผิวหนังบริเวณข�ตะสะเก็ดเป็นแผ่น ขนเจริญช้� และ ขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผลผลิตไข่ลดลง เปลือกไข่บ�ง ลูกไก่อ่อนแอ แมงกานีส (Mn) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ด จะพบอ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ลูกสุกรอ่อนแอ กระดูก เจริญช้� ทรงตัวได้ไม่ดี ข�โค้งงอ ข้อต่อบวม มีก�รเจริญเติบโตช้� มีผลต่อคว�มต้�นท�นกลูโคส เป็นโรคเบ�หว�น เมื่อโตขึ้นจะเพิ่มก�ร สะสมไขมันม�กขึ้น แม่พันธุ์มีวงรอบก�รเป็นสัดไม่สม่ำ�เสมอ ลูกต�ย ก่อนคลอดและหลังคลอดสูง พ่อพันธุ์ อัณฑะฝ่อ สัตว์ปีกจะมีคว�ม ผิดปกติของกระดูก ในลูกไก่อ�จเกิดเอ็นเคลื่อน (Slipped tendon) เอ็นหลุดออกจ�กร่องทำ�ให้เดินไม่ได้ แม่ไก่จะมีอัตร�ก�รไข่ และอัตร� ก�รฟักลดลง ไข่เปลือกบ�ง ไข่ไม่มีเปลือกเพิ่มม�กขึ้น และอ�จมี แร่ธาตุหลักอื่น ๆ ได้แก่ โพแทสเซียม (K) ห�กข�ดจะพบว่� คว�มดันภ�ยในเซลล์และเลือดผิดปกติ คว�มเป็นกรดด่�งของเลือด ผิดปกติ ก�รเต้นและทำ�ง�นของหัวใจผิดปกติ ไตผิดปกติ ก�รนำ� กระแสประส�ท และหดตัวของกล้�มเนื้อผิดปกติ กล้�มเนื้ออ่อนแอ ภูมิคุ้มกันลด ก�รเจริญเติบโตลดลง เดินไม่มั่นคง โซเดียม (Na) และ คลอรีน (Cl) มักเสริมในรูปเกลือแกง จึงมักไม่ค่อยข�ด ถ้�ข�ดมักเกิดขึ้นในกรณีสัตว์สูญเสียน้ำ�ม�กเกินไป อ�เจียน ท้องเสีย คว�มดันเลือดลดลง อ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว อัมพ�ต รุนแรง อ�จถึงต�ยได้ ส่วนกรณีที่ข�ดเล็กน้อย จะกินอ�ห�รลดน้อยลง ไม่อย�กกินอ�ห�ร อ้ตร�ก�รเติบโตลดลง เซื่องซึม นัยน์ต�ตก ไม่กระฉับกระเฉง อ�จแทะเลียคอก กัดห�งตัวเอง ชอบกินของ แปลก ๆ ปริม�ณปัสส�วะน้อยลง ลูกไก่จะมีอัตร�ก�รต�ยสูง ไก่ที่ กำ�ลังให้ไข่ต้องก�รคลอรีนสูง ถ้�ได้รับไม่เพียงพอจะจิกขนและ จิกกันเอง กรณีได้รับเกลือแกงม�กเกินไป สัตว์จะกินน้ำ� และปัสส�วะ ม�กขึ้น ซัลเฟอร์ (S) มักข�ดร่วมกับก�รข�ดโปรตีน ร่�งก�ยจะ ซูบผอมอย่�งรวดเร็ว เนื้อเยื่อที่ใช้ในก�รสร้�งขน เข� กีบ ไม่เจริญ เติบโต แมกนีเซียม (Mg) ก�รข�ดจะทำ�ให้เกิดอ�ก�รชัก สั่น ไวต่อ ก�รสัมผัสท�งประส�ท ตื่นตกใจง่�ย กล้�มเนื้อกระตุก ข้อเท้�อ่อน สูญเสียคว�มสมดุล อัตร�ก�รเจริญเติบโตต่ำ�ลง ระบบก�รทำ�ง�นของ หัวใจ เม็ดเลือดข�ว สืบพันธุ์ ฮอร์โมนผิดปกติไป มักพบก�รข�ดใน โคกระบือที่กินหญ้�อ่อนในปริม�ณม�ก จะเกิดอ�ก�รที่เรียกว่� Grass tetany เนื่องจ�กหญ้�อ่อนมีโพแทสเซียมสูง จะยับยั้งก�รดูดซึม แมกนีเซียม ทำ�ให้ปริม�ณแมกนีเซียมในเลือดต่ำ� กรณีเฉียบพลันจะ ชักและต�ยในที่สุด แต่ถ้�ได้รับม�กไป จะส่งผลให้ก�รเมต�บอลิสม ของแคลเซียมและฟอสฟอรัสผิดปกติไปเช่นกัน เหล็ก (Fe) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะพบ อ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ภ�วะโลหิตจ�ง ชนิดมีฮีโมโกลบิน น้อยกว่�ปกติ และเม็ดเลือดแดงน้อย มักพบข�ดในลูกสุกร จะมี อ�ก�รบวมที่หัว ไหล่ ลำ�ตัวลูกสุกรมีลักษณะซีดหรือเหลืองเล็กน้อย เยื่อเมือก เยื่อบุต่�ง ๆ จะมีสีซีดข�ว ขอบต�ด้�นในซีด เส้นขน หย�บกระด้�ง ผิวหนังแตก ไม่เป็นมัน เจริญเติบโตช้� อัตร�ก�ร LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE แร่ธาตหุลกัอื่นๆ ได้แก่ โพแทสเซียม (K) หากขาดจะพบว่าความดันภายในเซลล์และเลือดผิดปกติความเป็นกรด ด่างของเลือดผิดปกติ การเต้นและท างานของหัวใจผิดปกติ ไตผิดปกติ การน ากระแสประสาท และหดตัวของกล้ามเนื้อ ผิดปกติกล้ามเนื้ออ่อนแอ ภูมิคุ้มกันลด การเจริญเติบโตลดลง เดินไม่มั่นคง โซเดียม (Na) และ คลอรีน (Cl) มักเสริมในรูป เกลือแกง จึงมักไม่ค่อยขาด ถ้าขาดมักเกิดขึ้นในกรณีสัตว์สูญเสียน ้ามากเกินไป อาเจียน ท้องเสีย ความดันเลือดลดลง อ่อน เปลี้ย เป็นตะคริว อัมพาต รุนแรงอาจถึงตายได้ ส่วนกรณีที่ขาดเล็กน้อย จะกินอาหารลดน้อยลง ไม่อยากกินอาหาร อ้ตราการ เติบโตลดลง เซื่องซึม นัยน์ตาตก ไม่กระฉับกระเฉง อาจแทะเลียคอก กัดหางตัวเอง ชอบกินของแปลกๆ ปริมาณปัสสาวะ น้อยลง ลูกไก่จะมีอัตราการตายสูง ไก่ที่ก าลังให้ไข่ต้องการคลอรีนสูง ถ้าได้รับไม่เพียงพอจะจิกขนและจิกกันเอง กรณีได้รับ เกลือแกงมากเกินไป สัตว์จะกินน ้า และปัสสาวะมากขึ้น ซัลเฟอร์(S) มักขาดร่วมกับการขาดโปรตีน ร่างกายจะซูบผอมอย่าง รวดเร็ว เนื้อเยื่อที่ใช้ในการสร้างขน เขา กีบ ไม่เจริญเติบโต แมกนีเซียม (Mg) การขาดจะท าให้เกิดอาการชัก สั่น ไวต่อการ สัมผัสทางประสาท ตื่นตกใจง่าย กล้ามเนื้อกระตุก ข้อเท้าอ่อน สูญเสียความสมดุล อัตราการเจริญเติบโตต ่าลง ระบบการ ท างานของหัวใจ เม็ดเลือดขาว สืบพันธุ์ ฮอร์โมนผิดปกติไป มักพบการขาดในโคกระบือที่กินหญ้าอ่อนในปริมาณมาก จะเกิด อาการที่เรียกว่า Grass tetany เนื่องจากหญ้าอ่อนมีโพแทสเซียมสูง จะยับยั้งการดูดซึมแมกนีเซียม ท าให้ปริมาณแมกนีเซียม ในเลือดต ่า กรณีเฉียบพลันจะชักและตายในที่สุด แต่ถ้าได้รับมากไป จะส่งผลให้การเมตาบอลิสมของแคลเซียมและฟอสฟอรัส ผิดปกติไปเช่นกัน เหล็ก (Fe) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ภาวะโลหิตจาง ชนิดมี ฮีโมโกลบินน้อยกว่าปกติ และเม็ดเลือดแดงน้อย มักพบขาดในลูกสุกร จะมีอาการบวมที่หัว ไหล่ ล าตัวลูกสุกรมีลักษณะซีด หรือเหลืองเล็กน้อยเยื่อเมือก เยื่อบุต่างๆ จะมีสีซีดขาว ขอบตาด้านในซีด เส้นขนหยาบกระด้าง ผิวหนังแตก ไม่เป็นมัน เจริญเติบโตช้า อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ เหนื่อยง่าย หายใจล าบาก เซื่องซึม การท างานของกล้ามเนื้อและสมองลด น้อยลง ถ่ายเหลวออกมาเป็นสีซีด โตช้า เจ็บป่วยจากการติดเชื้อจุลชีพก่อโรคอื่นได้ง่าย ลูกสุกรจะชอบกินเศษดิน อาจตาย อย่างเฉียบพลันได้จากการที่ออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายไม่ทันเมื่อเครียด ทองแดง (Cu) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้เจริญเติบโตลดลง พบ โลหิตจาง เส้นเลือดเปราะ มีจุดเลือดออกตามร่างกาย เซื่องซึม อาการทางประสาท กระดูกผิดรูป กระดูกเปราะ ข้อบวม ไข่ ลด สีขนผิดปกติเป็นสีอ่อน หรือขนไม่ขึ้นตามปกติ สังกะสี (Zn) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ขนร่วง ขนขึ้นช้า ผิวหนังอักเสบ หยาบแห้งหนาเป็นแผ่นแข็ง แตกระแหงเป็นชิ้นเล็กๆ มีร่องหยาบๆ ที่เห็นลึกชัด มีแผ่นตกสะเก็ดเป็นขุยๆ คล้ายไรขี้เรื้อน เรียกว่าอาการ Parakeratosis โดยที่ไม่มีอาการคัน ซึม เบื่ออาหาร แคระแกร็น เจริญเติบโตช้า เซลล์เยื่อบุ ผนังล าไส้ตายและสร้างทดแทนน้อยลง ดูดซึมอาหารลดลง ท้องร่วง อาเจียน อาการทางประสาท กระดูกมีพัฒนาการผิดปกติ โครงสร้างกระดูกไม่แข็งแรง ต่อมไทมัสเล็ก อวัยวะเพศเล็กไม่พัฒนา อัณฑะฝ่อ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ แม่แท้งลูก ในไก่มักพบ การเจริญของกระดูกผิดปกติ กระดูกสั้นและหนา ผิวหนังบริเวณขาตะสะเก็ดเป็นแผ่น ขนเจริญช้า และขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผลผลิตไข่ลดลง เปลือกไข่บาง ลูกไก่อ่อนแอ แมงกานีส (Mn) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ลูกสุกรอ่อนแอ กระดูกเจริญช้า ทรงตัวได้ไม่ดี ขาโค้งงอ ข้อต่อบวม มีการเจริญเติบโตช้า มีผลต่อความต้านทานกลูโคส เป็นโรคเบาหวาน เมื่อโตขึ้นจะเพิ่มการสะสมไขมันมากขึ้น แม่พันธุ์มีวงรอบการเป็นสัดไม่สม ่าเสมอ ลูกตายก่อนคลอดและหลังคลอดสูง พ่อพันธุ์


26 สัตว์เศรษฐกิจ ห�ยใจเร็วกว่�ปกติ เหนื่อยง่�ย ห�ยใจลำ�บ�ก เซื่องซึม ก�รทำ�ง�น ของกล้�มเนื้อและสมองลดน้อยลง ถ่�ยเหลวออกม�เป็นสีซีด โตช้� เจ็บป่วยจ�กก�รติดเชื้อจุลชีพก่อโรคอื่นได้ง่�ย ลูกสุกรจะชอบกิน เศษดิน อ�จต�ยอย่�งเฉียบพลันได้จ�กก�รที่ออกซิเจนไปเลี้ยง ร่�งก�ยไม่ทันเมื่อเครียด ทองแดง (Cu) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะ พบอ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ เจริญเติบโตลดลง พบโลหิตจ�ง เส้นเลือดเปร�ะ มีจุดเลือดออกต�มร่�งก�ย เซื่องซึม อ�ก�รท�ง ประส�ท กระดูกผิดรูป กระดูกเปร�ะ ข้อบวม ไข่ลด สีขนผิดปกติ เป็นสีอ่อน หรือขนไม่ขึ้นต�มปกติ สังกะสี (Zn) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะพบ อ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ขนร่วง ขนขึ้นช้� ผิวหนังอักเสบ หย�บแห้งหน�เป็นแผ่นแข็ง แตกระแหงเป็นชิ้นเล็ก ๆ มีร่อง หย�บ ๆ ที่เห็นลึกชัด มีแผ่นตกสะเก็ดเป็นขุย ๆ คล้�ยไรขี้เรื้อน เรียกว่�อ�ก�ร Parakeratosis โดยที่ไม่มีอ�ก�รคัน ซึม เบื่ออ�ห�ร แคระแกร็น เจริญเติบโตช้� เซลล์เยื่อบุผนังลำ�ไส้ต�ยและสร้�ง ทดแทนน้อยลง ดูดซึมอ�ห�รลดลง ท้องร่วง อ�เจียน อ�ก�รท�ง ประส�ท กระดูกมีพัฒน�ก�รผิดปกติ โครงสร้�งกระดูกไม่แข็งแรง ต่อมไทมัสเล็ก อวัยวะเพศเล็กไม่พัฒน� อัณฑะฝ่อ คว�มไม่สมบูรณ์ พันธุ์ แม่แท้งลูก ในไก่มักพบก�รเจริญของกระดูกผิดปกติ กระดูก สั้นและหน� ผิวหนังบริเวณข�ตะสะเก็ดเป็นแผ่น ขนเจริญช้� และ ขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผลผลิตไข่ลดลง เปลือกไข่บ�ง ลูกไก่อ่อนแอ แมงกานีส (Mn) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ด จะพบอ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ลูกสุกรอ่อนแอ กระดูก เจริญช้� ทรงตัวได้ไม่ดี ข�โค้งงอ ข้อต่อบวม มีก�รเจริญเติบโตช้� มีผลต่อคว�มต้�นท�นกลูโคส เป็นโรคเบ�หว�น เมื่อโตขึ้นจะเพิ่มก�ร สะสมไขมันม�กขึ้น แม่พันธุ์มีวงรอบก�รเป็นสัดไม่สม่ำ�เสมอ ลูกต�ย ก่อนคลอดและหลังคลอดสูง พ่อพันธุ์ อัณฑะฝ่อ สัตว์ปีกจะมีคว�ม ผิดปกติของกระดูก ในลูกไก่อ�จเกิดเอ็นเคลื่อน (Slipped tendon) เอ็นหลุดออกจ�กร่องทำ�ให้เดินไม่ได้ แม่ไก่จะมีอัตร�ก�รไข่ และอัตร� ก�รฟักลดลง ไข่เปลือกบ�ง ไข่ไม่มีเปลือกเพิ่มม�กขึ้น และอ�จมี แร่ธาตุหลักอื่น ๆ ได้แก่ โพแทสเซียม (K) ห�กข�ดจะพบว่� คว�มดันภ�ยในเซลล์และเลือดผิดปกติ คว�มเป็นกรดด่�งของเลือด ผิดปกติ ก�รเต้นและทำ�ง�นของหัวใจผิดปกติ ไตผิดปกติ ก�รนำ� กระแสประส�ท และหดตัวของกล้�มเนื้อผิดปกติ กล้�มเนื้ออ่อนแอ ภูมิคุ้มกันลด ก�รเจริญเติบโตลดลง เดินไม่มั่นคง โซเดียม (Na) และ คลอรีน (Cl) มักเสริมในรูปเกลือแกง จึงมักไม่ค่อยข�ด ถ้�ข�ดมักเกิดขึ้นในกรณีสัตว์สูญเสียน้ำ�ม�กเกินไป อ�เจียน ท้องเสีย คว�มดันเลือดลดลง อ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว อัมพ�ต รุนแรง อ�จถึงต�ยได้ ส่วนกรณีที่ข�ดเล็กน้อย จะกินอ�ห�รลดน้อยลง ไม่อย�กกินอ�ห�ร อ้ตร�ก�รเติบโตลดลง เซื่องซึม นัยน์ต�ตก ไม่กระฉับกระเฉง อ�จแทะเลียคอก กัดห�งตัวเอง ชอบกินของ แปลก ๆ ปริม�ณปัสส�วะน้อยลง ลูกไก่จะมีอัตร�ก�รต�ยสูง ไก่ที่ กำ�ลังให้ไข่ต้องก�รคลอรีนสูง ถ้�ได้รับไม่เพียงพอจะจิกขนและ จิกกันเอง กรณีได้รับเกลือแกงม�กเกินไป สัตว์จะกินน้ำ� และปัสส�วะ ม�กขึ้น ซัลเฟอร์ (S) มักข�ดร่วมกับก�รข�ดโปรตีน ร่�งก�ยจะ ซูบผอมอย่�งรวดเร็ว เนื้อเยื่อที่ใช้ในก�รสร้�งขน เข� กีบ ไม่เจริญ เติบโต แมกนีเซียม (Mg) ก�รข�ดจะทำ�ให้เกิดอ�ก�รชัก สั่น ไวต่อ ก�รสัมผัสท�งประส�ท ตื่นตกใจง่�ย กล้�มเนื้อกระตุก ข้อเท้�อ่อน สูญเสียคว�มสมดุล อัตร�ก�รเจริญเติบโตต่ำ�ลง ระบบก�รทำ�ง�นของ หัวใจ เม็ดเลือดข�ว สืบพันธุ์ ฮอร์โมนผิดปกติไป มักพบก�รข�ดใน โคกระบือที่กินหญ้�อ่อนในปริม�ณม�ก จะเกิดอ�ก�รที่เรียกว่� Grass tetany เนื่องจ�กหญ้�อ่อนมีโพแทสเซียมสูง จะยับยั้งก�รดูดซึม แมกนีเซียม ทำ�ให้ปริม�ณแมกนีเซียมในเลือดต่ำ� กรณีเฉียบพลันจะ ชักและต�ยในที่สุด แต่ถ้�ได้รับม�กไป จะส่งผลให้ก�รเมต�บอลิสม ของแคลเซียมและฟอสฟอรัสผิดปกติไปเช่นกัน เหล็ก (Fe) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะพบ อ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ ภ�วะโลหิตจ�ง ชนิดมีฮีโมโกลบิน น้อยกว่�ปกติ และเม็ดเลือดแดงน้อย มักพบข�ดในลูกสุกร จะมี อ�ก�รบวมที่หัว ไหล่ ลำ�ตัวลูกสุกรมีลักษณะซีดหรือเหลืองเล็กน้อย เยื่อเมือก เยื่อบุต่�ง ๆ จะมีสีซีดข�ว ขอบต�ด้�นในซีด เส้นขน หย�บกระด้�ง ผิวหนังแตก ไม่เป็นมัน เจริญเติบโตช้� อัตร�ก�ร LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE แร่ธาตหุลกัอื่นๆ ได้แก่ โพแทสเซียม (K) หากขาดจะพบว่าความดันภายในเซลล์และเลือดผิดปกติความเป็นกรด ด่างของเลือดผิดปกติ การเต้นและท างานของหัวใจผิดปกติ ไตผิดปกติ การน ากระแสประสาท และหดตัวของกล้ามเนื้อ ผิดปกติกล้ามเนื้ออ่อนแอ ภูมิคุ้มกันลด การเจริญเติบโตลดลง เดินไม่มั่นคง โซเดียม (Na) และ คลอรีน (Cl) มักเสริมในรูป เกลือแกง จึงมักไม่ค่อยขาด ถ้าขาดมักเกิดขึ้นในกรณีสัตว์สูญเสียน ้ามากเกินไป อาเจียน ท้องเสีย ความดันเลือดลดลง อ่อน เปลี้ย เป็นตะคริว อัมพาต รุนแรงอาจถึงตายได้ ส่วนกรณีที่ขาดเล็กน้อย จะกินอาหารลดน้อยลง ไม่อยากกินอาหาร อ้ตราการ เติบโตลดลง เซื่องซึม นัยน์ตาตก ไม่กระฉับกระเฉง อาจแทะเลียคอก กัดหางตัวเอง ชอบกินของแปลกๆ ปริมาณปัสสาวะ น้อยลง ลูกไก่จะมีอัตราการตายสูง ไก่ที่ก าลังให้ไข่ต้องการคลอรีนสูง ถ้าได้รับไม่เพียงพอจะจิกขนและจิกกันเอง กรณีได้รับ เกลือแกงมากเกินไป สัตว์จะกินน ้า และปัสสาวะมากขึ้น ซัลเฟอร์(S) มักขาดร่วมกับการขาดโปรตีน ร่างกายจะซูบผอมอย่าง รวดเร็ว เนื้อเยื่อที่ใช้ในการสร้างขน เขา กีบ ไม่เจริญเติบโต แมกนีเซียม (Mg) การขาดจะท าให้เกิดอาการชัก สั่น ไวต่อการ สัมผัสทางประสาท ตื่นตกใจง่าย กล้ามเนื้อกระตุก ข้อเท้าอ่อน สูญเสียความสมดุล อัตราการเจริญเติบโตต ่าลง ระบบการ ท างานของหัวใจ เม็ดเลือดขาว สืบพันธุ์ ฮอร์โมนผิดปกติไป มักพบการขาดในโคกระบือที่กินหญ้าอ่อนในปริมาณมาก จะเกิด อาการที่เรียกว่า Grass tetany เนื่องจากหญ้าอ่อนมีโพแทสเซียมสูง จะยับยั้งการดูดซึมแมกนีเซียม ท าให้ปริมาณแมกนีเซียม ในเลือดต ่า กรณีเฉียบพลันจะชักและตายในที่สุด แต่ถ้าได้รับมากไป จะส่งผลให้การเมตาบอลิสมของแคลเซียมและฟอสฟอรัส ผิดปกติไปเช่นกัน เหล็ก (Fe) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ภาวะโลหิตจาง ชนิดมี ฮีโมโกลบินน้อยกว่าปกติ และเม็ดเลือดแดงน้อย มักพบขาดในลูกสุกร จะมีอาการบวมที่หัว ไหล่ ล าตัวลูกสุกรมีลักษณะซีด หรือเหลืองเล็กน้อยเยื่อเมือก เยื่อบุต่างๆ จะมีสีซีดขาว ขอบตาด้านในซีด เส้นขนหยาบกระด้าง ผิวหนังแตก ไม่เป็นมัน เจริญเติบโตช้า อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ เหนื่อยง่าย หายใจล าบาก เซื่องซึม การท างานของกล้ามเนื้อและสมองลด น้อยลง ถ่ายเหลวออกมาเป็นสีซีด โตช้า เจ็บป่วยจากการติดเชื้อจุลชีพก่อโรคอื่นได้ง่าย ลูกสุกรจะชอบกินเศษดิน อาจตาย อย่างเฉียบพลันได้จากการที่ออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายไม่ทันเมื่อเครียด ทองแดง (Cu) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้เจริญเติบโตลดลง พบ โลหิตจาง เส้นเลือดเปราะ มีจุดเลือดออกตามร่างกาย เซื่องซึม อาการทางประสาท กระดูกผิดรูป กระดูกเปราะ ข้อบวม ไข่ ลด สีขนผิดปกติเป็นสีอ่อน หรือขนไม่ขึ้นตามปกติ สังกะสี (Zn) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ขนร่วง ขนขึ้นช้า ผิวหนังอักเสบ หยาบแห้งหนาเป็นแผ่นแข็ง แตกระแหงเป็นชิ้นเล็กๆ มีร่องหยาบๆ ที่เห็นลึกชัด มีแผ่นตกสะเก็ดเป็นขุยๆ คล้ายไรขี้เรื้อน เรียกว่าอาการ Parakeratosis โดยที่ไม่มีอาการคัน ซึม เบื่ออาหาร แคระแกร็น เจริญเติบโตช้า เซลล์เยื่อบุ ผนังล าไส้ตายและสร้างทดแทนน้อยลง ดูดซึมอาหารลดลง ท้องร่วง อาเจียน อาการทางประสาท กระดูกมีพัฒนาการผิดปกติ โครงสร้างกระดูกไม่แข็งแรง ต่อมไทมัสเล็ก อวัยวะเพศเล็กไม่พัฒนา อัณฑะฝ่อ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ แม่แท้งลูก ในไก่มักพบ การเจริญของกระดูกผิดปกติ กระดูกสั้นและหนา ผิวหนังบริเวณขาตะสะเก็ดเป็นแผ่น ขนเจริญช้า และขึ้นไม่เป็นระเบียบ ผลผลิตไข่ลดลง เปลือกไข่บาง ลูกไก่อ่อนแอ แมงกานีส (Mn) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้ ลูกสุกรอ่อนแอ กระดูกเจริญช้า ทรงตัวได้ไม่ดี ขาโค้งงอ ข้อต่อบวม มีการเจริญเติบโตช้า มีผลต่อความต้านทานกลูโคส เป็นโรคเบาหวาน เมื่อโตขึ้นจะเพิ่มการสะสมไขมันมากขึ้น แม่พันธุ์มีวงรอบการเป็นสัดไม่สม ่าเสมอ ลูกตายก่อนคลอดและหลังคลอดสูง พ่อพันธุ์ 27 สัตว์เศรษฐกิจ แร่ธาตุรองอื่น ๆ ได้แก่ โครเมียม (Cr) ซึ่งเป็นแร่ธ�ตุรองที่ จำ�เป็นอีกชนิด แต่สัตว์มักไม่ข�ด ได้รับเพียงพออยู่แล้ว มักใช้เสริม เพิ่มเติมเข้�ไปเพื่อปรับปรุงคุณภ�พซ�กสุกรขุน และเพิ่มสมรรถนะ ก�รผลิตของสุกรพันธุ์ กันอย่�งม�กม�ยหล�กหล�ย โคบอลต์ (Co) เป็นส่วนประกอบของวิต�มิน B12 ก�รข�ดโคบอลต์จึงทำ�ให้ข�ด วิต�มิน B12 ด้วย สัตว์ที่ข�ดจะก่อให้เกิดโรค หรือคว�มผิดปกติได้ คล้�ยกับก�รข�ดวิต�มิน B2 โลหิตจ�ง คว�มอย�กอ�ห�ร ลดลง น้ำ�หนักตัวลดลง แสดงอ�ก�รชอบแทะไม้ กระดูก กินดิน โมลิบดินัม (Mo) ร่�งก�ยสัตว์ส่วนใหญ่ต้องก�รในระดับต่ำ�ม�ก ห�ก ข�ดจะพบว่�สัตว์มีก�รเจริญเติบโตลดลง ฟลูออรีน (F) ร่�งก�ยสัตว์ ส่วนใหญ่ต้องก�รในระดับต่ำ�ม�ก ห�กข�ดจะพบว่�สัตว์จะมีกระดูก และฟันที่ไม่แข็งแรง ส่วนใหญ่สัตว์จะได้เพียงพอ หรือห�กได้รับม�ก เกินไป จะเกิดพิษ โดยมีลักษณะของกระดูกและฟันหน�ผิดปกติ ห�กไม่ได้อ่�นเนื้อห�ของเดือนที่แล้ว และเดือนนี้ หล�ยท่�น อ�จคิดว่�วิต�มิน และแร่ธ�ตุ เป็นเพียงโภชนะรอง หรือโภชนะเสริม ที่สำ�คัญไม่เท่� พลังง�น โปรตีน และไขมัน แต่เมื่อท่�นได้เห็นบรรทัด นี้แล้ว เชื่อเหลือเกินว่�คว�มคิดท่�นจะเปลี่ยนไปทั้งหมด ในท�ง ที่ดีขึ้น สติและคว�มรู้ จะช่วยให้เร�ผ่�นได้ทุกสถ�นก�รณ์ คว�มสุข คว�มทุกข์ ไม่มีใครรู้ว่�จะม�เมื่อไหร่ :D อ�ก�รท�งประส�ท เวียนหัว กล้�มเนื้อทำ�ง�นไม่สัมพันธ์กัน คอ แหงนไปด้�นหลัง ชัก ต�บอด หูหนวก ข้อต่อบวม ไอโอดีน (I) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดจะพบ อ�ก�รและคว�มผิดปกติได้ดังนี้ แท้ง อัตร�ต�ยแรกคลอดสูง เกิดม�อ่อนแอ เกิดม�ไม่มีขน มีอ�ก�รท�งประส�ท แคระแกร็น ก�รเจริญเติบโตของร่�งก�ย สมองและสติปัญญ�ช้� ประส�ทเสื่อม หูหนวก ต�เหล่ ขนร่วง คอหอยพอก (Goiter) ในคนพบว่�จะมี สมรรถภ�พของร่�งก�ย และจิตใจด้อยลง ในไก่ไข่พบมีอัตร�ก�รให้ ไข่ลดลง เปลือกไข่บ�งนิ่ม ซีลีเนียม (Se) เป็นแร่ธ�ตุชนิดรองที่ข�ดไม่ได้ ห�กข�ดอ�จ ก่อให้เกิดโรค หรือคว�มผิดปกติได้คล้�ยกับก�รข�ดวิต�มิน E นอกจ�กนี้จะพบอ�ก�รติดเชื้อง่�ย บวมน้ำ�ใต้ผิวหนัง มีน้ำ�ซึมออก จ�กเนื้อเยื่อ (Exudative diathesis) ปัญห�ผิวหนัง รังแค เป็นหมัน ต้อกระจก มีเนื้อต�ยที่ตับ ไขมันในร่�งก�ยเป็นสีเหลือง อ�ก�รท�ง ประส�ท เดินไม่รู้ทิศท�ง รุนแรงม�กอ�จถึงต�ยได้ ในโคกระบืออ�จ เกิดลักษณะของกล้�มเนื้อต�ย แกะจะแสดงอ�ก�ร White muscle เกิดก�รต�ยของเซลล์กล้�มเนื้อหัวใจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เอกสารอ้างอิง และที่มารูปภาพ http://niah.dld.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=297:calciumdeficiency&catid=72:kmseminar&Itemid=306 https://www.swinethailand.com/15349926/คว�มผิดปกติจ�กก�รข�ดส�รอ�ห�รบ�งชนิดในสุกร-โดย-รศนสพดรสุพล-เลื่องยศลือช�กุล https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/20200049/files/basic-html/page123.html (page141-158) https://www.researchgate.net/figure/Swine-with-rickets-showing-signs-of-ataxia-due-to-posterior-paralysis_fig1_345437150 https://www.researchgate.net/figure/Figure-1-Slipped-tendon-causing-leg-weakness-in-high-energy-fed-birds_fig1_270750844 https://www.researchgate.net/figure/Pig-showing-zinc-deficiency-signs-of-parakeratosis-and-decreased-growth-Courtesy-of-J_fig1_233422915 https://www.pigprogress.net/health-nutrition/chelated-copper-and-zinc-to-fight-coronary-infections/ https://blog.refitanimalcare.com/what-is-grass-tetany-treatments-symptoms-and-precautions/ https://www.nadis.org.uk/disease-a-z/pigs/vitamin-e-selenium-deficiency/ http://www.vetvip.eu/index.html%3Fq=node%252F51.html https://en.wikipedia.org/wiki/Milk_fever อัณฑะฝ่อ สัตว์ปีกจะมีความผิดปกติของกระดูก ในลูกไก่อาจเกิดเอ็นเคลื่อน (Slipped tendon) เอ็นหลุดออกจากร่องท าให้เดิน ไม่ได้ แม่ไก่จะมีอัตราการไข่ และอัตราการฟักลดลง ไข่เปลือกบาง ไข่ไม่มีเปลือกเพิ่มมากขึ้น และอาจมีอาการทางประสาท เวียนหัว กล้ามเนื้อท างานไม่สัมพันธ์กัน คอแหงนไปด้านหลัง ชัก ตาบอด หูหนวก ข้อต่อบวม ไอโอดีน (I) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้หากขาดจะพบอาการและความผิดปกติได้ดังนี้แท้ง อัตราตายแรกคลอด สูง เกิดมาอ่อนแอ เกิดมาไม่มีขน มีอาการทางประสาท แคระแกร็น การเจริญเติบโตของร่างกาย สมองและสติปัญญาช้า ประสาทเสื่อม หูหนวก ตาเหล่ ขนร่วง คอหอยพอก (Goiter) ในคนพบว่าจะมีสมรรถภาพของร่างกาย และจิตใจด้อยลง ในไก่ ไข่พบมีอัตราการให้ไข่ลดลง เปลือกไข่บางนิ่ม ซีลีเนียม (Se) เป็นแร่ธาตุชนิดรองที่ขาดไม่ได้ หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้คล้ายกับการขาด วิตามิน E นอกจากนี้จะพบอาการติดเชื้อง่าย บวมน ้าใต้ผิวหนัง มีน ้าซึมออกจากเนื้อเยื่อ (Exudative diathesis) ปัญหา ผิวหนัง รังแค เป็นหมัน ต้อกระจก มีเนื้อตายที่ตับ ไขมันในร่างกายเป็นสีเหลือง อาการทางประสาท เดินไม่รู้ทิศทาง รุนแรง มากอาจถึงตายได้ ในโคกระบืออาจเกิดลักษณะของกล้ามเนื้อตาย แกะจะแสดงอาการ White muscle เกิดการตายของเซลล์ กล้ามเนื้อหัวใจ แร่ธาตรุองอื่นๆ ได้แก่ โครเมียม (Cr) ซึ่งเป็นแร่ธาตุรองที่จ าเป็นอีกชนิด แต่สัตว์มักไม่ขาด ได้รับเพียงพออยู่แล้ว มักใช้เสริมเพิ่มเติมเข้าไปเพื่อปรับปรุงคุณภาพซากสุกรขุน และเพิ่มสมรรถนะการผลิตของสุกรพันธุ์ กันอย่างมากมาย หลากหลาย โคบอลต์(Co) เป็นส่วนประกอบของวิตามิน B12 การขาดโคบอลต์จึงท าให้ขาดวิตามิน B12 ด้วย สัตว์ที่ขาดจะ ก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้คล้ายกับการขาดวิตามิน B2 โลหิตจาง ความอยากอาหารลดลง น ้าหนักตัวลดลง แสดง อาการชอบแทะไม้ กระดูก กินดิน โมลิบดินัม (Mo) ร่างกายสัตว์ส่วนใหญ่ต้องการในระดับต ่ามาก หากขาดจะพบว่าสัตว์มี การเจริญเติบโตลดลง ฟลูออรีน (F) ร่างกายสัตว์ส่วนใหญ่ต้องการในระดับต ่ามาก หากขาดจะพบว่าสัตว์จะมีกระดูกและฟันที่ ไม่แข็งแรง ส่วนใหญ่สัตว์จะได้เพียงพอ หรือหากได้รับมากเกินไป จะเกิดพิษ โดยมีลักษณะของกระดูกและฟันหนาผิดปกติ หากไม่ได้อ่านเนื้อหาของเดือนที่แล้ว และเดือนนี้ หลายท่านอาจคิดว่าวิตามิน และแร่ธาตุ เป็นเพียงโภชนะรอง หรือ โภชนะเสริมที่ส าคัญไม่เท่า พลังงาน โปรตีน และไขมัน แต่เมื่อท่านได้เห็นบรรทัดนี้แล้ว เชื่อเหลือเกินว่าความคิดท่านจะ เปลี่ยนไปทั้งหมด ในทางที่ดีขึ้น สติและความรู้ จะช่วยให้เราผ่านได้ทุกสถานการณ์ ความสุขความทุกข์ ไม่มีใครรู้ว่าจะมา เมื่อไหร่ :D เอกสารอ้างอิง และที่มารูปภาพ http://niah.dld.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=297:calciumdeficiency&catid=72:kmseminar&Itemid=306 https://www.swinethailand.com/15349926/ความผิดปกติจากการขาดสารอาหารบางชนิดในสุกร-โดย-รศนสพดรสุพล-เลื่องยศลือชากุล https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/20200049/files/basic-html/page123.html (page141-158) https://www.researchgate.net/figure/Swine-with-rickets-showing-signs-of-ataxia-due-to-posterior-paralysis_fig1_345437150 https://www.researchgate.net/figure/Figure-1-Slipped-tendon-causing-leg-weakness-in-high-energy-fed-birds_fig1_270750844 https://www.researchgate.net/figure/Pig-showing-zinc-deficiency-signs-of-parakeratosis-and-decreased-growth-Courtesy-of-J_fig1_233422915 https://www.pigprogress.net/health-nutrition/chelated-copper-and-zinc-to-fight-coronary-infections/ https://blog.refitanimalcare.com/what-is-grass-tetany-treatments-symptoms-and-precautions/ https://www.nadis.org.uk/disease-a-z/pigs/vitamin-e-selenium-deficiency/ http://www.vetvip.eu/index.html%3Fq=node%252F51.html https://en.wikipedia.org/wiki/Milk_fever


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ดร.ไพรัตน์ ศรีชนะ ดร.ไพรัตน์ ศรีชนะ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส สำานัก วิชาการอาหารสัตว์ ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า กระบวนการเลี้ยงสัตว์ของ ซีพีเอฟ ดำาเนินการตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ และการใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างสมเหตุสมผล เพื่อป้องกันเชื้อดื้อยา โดยให้ความสำาคัญกับหลัก 5 หัวใจการเลี้ยงสัตว์ ตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดีและแข็งแรง พัฒนาอาหารสัตว์ที่เหมาะสมกับช่วงวัยของสัตว์แต่ละชนิด เลี้ยงใน โรงเรือนที่ดี มีระบบการจัดการฟาร์มมาตรฐาน ภายใต้ระบบการ ป้องกันโรคที่เข้มงวด โดยนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ อาทิ ระบบ การให้อาหารอัตโนมัติ การควบคุมอุณหภูมิและแสงสว่างในโรงเรือน ที่เหมาะสม เพื่อให้สัตว์อยู่สบาย ลดโอกาสป่วยให้น้อยลง ทำาให้ ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยอย่างแท้จริง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคิดค้นนวัตกรรมการเลี้ยงไก่ด้วย จุลินทรีย์ดี “โปรไบโอติก” เพื่อตอบโจทย์สุขภาพของผู้บริโภค ภายใต้ แนวคิดการผลิตอาหารปลอดภัย โดยให้ความสำาคัญและมุ่งมั่นที่จะ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสัตว์ จึงนำานวัตกรรมโปรไบโอติก มาใช้ในอาหารสัตว์ เพื่อทำาให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันจากภายใน ส่งผลให้สัตว์มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่ป่วย จึงไม่จำาเป็นต้องใช้ ยาปฏิชีวนะ รวมทั้งไม่มีการใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตตลอด การเลี้ยงดู ทำาให้เนื้อไก่ซีพีเอฟ ปลอดสาร ปลอดภัย ได้วัตถุดิบ อาหารประเภทเนื้อสัตว์คุณภาพดีที่ส่งผลดีไปยังสุขภาพของผู้บริโภค “บริษัทฯ คัดเลือกจุลินทรีย์โปรไบโอติกสายพันธุ์ที่ดีที่สุด และเหมาะสมกับสายพันธุ์สัตว์ โดยคัดโปรไบโอติกจาก 125,000 สายพันธุ์ จนได้โปรไบโอติกที่แข็งแรงที่สุดเพียง 9 สายพันธุ์มาผสม ในอาหารสัตว์ หลักการทำางานของโปรไบโอติกจะเข้าไปช่วยผลิต เอ็นไซม์ย่อยอาหารในลำาไส้ของสัตว์ และปรับเปลี่ยนโครงสร้าง จุลินทรีย์ให้มีจุลินทรีย์ที่ดีในทางเดินอาหาร เกิดสมดุลในร่างกาย ทำาให้สัตว์มีสุขภาพแข็งแรง โดยไม่ต้องใช้ยา ซึ่งส่งผลต่อเนื่องไปถึง การลดปัญหาเชื้อดื้อยาลงด้วย” ดร.ไพรัตน์ กล่าว ดร.ไพรัตน์ กล่าวอีกว่า ซีพีเอฟ ได้พัฒนาสินค้าสดกลุ่ม หมู ไก่ และไข่ ภายใต้แบรนด์ “CP Selection” เป็นอีกหนึ่ง กลุ่มผลิตภัณฑ์ ที่บริษัทฯ นำานวัตกรรมโปรไบโอติกมาใช้ในอาหาร สัตว์ เพื่อยกระดับความปลอดภัยให้สินค้า ด้วยหลักการ Natural Prevention เป็นการเสริมภูมิคุ้มกันให้สัตว์แข็งแรงตามธรรมชาติ โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF และ Probiotics Fed ว่า ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ และไม่ใช้ฮอร์โมนเพื่อเร่งการเจริญเติบโตตลอด การเลี้ยงดู ตอกย้ำาความเชื่อมั่นในความสด สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐานระดับโลก ซีพีเอฟ รุกใช้ “โปรไบโอติก” เสริมสุขภาพไก่ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เลี้ยงไก่ด้วยจุลินทรีย์ “โปรไบโอติก” นวัตกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจาก ภายใน ช่วยสร้างสมดุลลำาไส้ ส่งผลให้ไก่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ป่วย และไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ลดปัญหาเชื้อดื้อยา เป็นไปตามหลัก สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) มุ่งส่งต่ออาหารปลอดภัยสู่ ผู้บริโภค


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ดร.ไพรัตน์ ศรีชนะ ดร.ไพรัตน์ ศรีชนะ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส สำานัก วิชาการอาหารสัตว์ ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า กระบวนการเลี้ยงสัตว์ของ ซีพีเอฟ ดำาเนินการตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ และการใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างสมเหตุสมผล เพื่อป้องกันเชื้อดื้อยา โดยให้ความสำาคัญกับหลัก 5 หัวใจการเลี้ยงสัตว์ ตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดีและแข็งแรง พัฒนาอาหารสัตว์ที่เหมาะสมกับช่วงวัยของสัตว์แต่ละชนิด เลี้ยงใน โรงเรือนที่ดี มีระบบการจัดการฟาร์มมาตรฐาน ภายใต้ระบบการ ป้องกันโรคที่เข้มงวด โดยนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ อาทิ ระบบ การให้อาหารอัตโนมัติ การควบคุมอุณหภูมิและแสงสว่างในโรงเรือน ที่เหมาะสม เพื่อให้สัตว์อยู่สบาย ลดโอกาสป่วยให้น้อยลง ทำาให้ ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยอย่างแท้จริง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคิดค้นนวัตกรรมการเลี้ยงไก่ด้วย จุลินทรีย์ดี “โปรไบโอติก” เพื่อตอบโจทย์สุขภาพของผู้บริโภค ภายใต้ แนวคิดการผลิตอาหารปลอดภัย โดยให้ความสำาคัญและมุ่งมั่นที่จะ ลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสัตว์ จึงนำานวัตกรรมโปรไบโอติก มาใช้ในอาหารสัตว์ เพื่อทำาให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันจากภายใน ส่งผลให้สัตว์มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่ป่วย จึงไม่จำาเป็นต้องใช้ ยาปฏิชีวนะ รวมทั้งไม่มีการใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตตลอด การเลี้ยงดู ทำาให้เนื้อไก่ซีพีเอฟ ปลอดสาร ปลอดภัย ได้วัตถุดิบ อาหารประเภทเนื้อสัตว์คุณภาพดีที่ส่งผลดีไปยังสุขภาพของผู้บริโภค “บริษัทฯ คัดเลือกจุลินทรีย์โปรไบโอติกสายพันธุ์ที่ดีที่สุด และเหมาะสมกับสายพันธุ์สัตว์ โดยคัดโปรไบโอติกจาก 125,000 สายพันธุ์ จนได้โปรไบโอติกที่แข็งแรงที่สุดเพียง 9 สายพันธุ์มาผสม ในอาหารสัตว์ หลักการทำางานของโปรไบโอติกจะเข้าไปช่วยผลิต เอ็นไซม์ย่อยอาหารในลำาไส้ของสัตว์ และปรับเปลี่ยนโครงสร้าง จุลินทรีย์ให้มีจุลินทรีย์ที่ดีในทางเดินอาหาร เกิดสมดุลในร่างกาย ทำาให้สัตว์มีสุขภาพแข็งแรง โดยไม่ต้องใช้ยา ซึ่งส่งผลต่อเนื่องไปถึง การลดปัญหาเชื้อดื้อยาลงด้วย” ดร.ไพรัตน์ กล่าว ดร.ไพรัตน์ กล่าวอีกว่า ซีพีเอฟ ได้พัฒนาสินค้าสดกลุ่ม หมู ไก่ และไข่ ภายใต้แบรนด์ “CP Selection” เป็นอีกหนึ่ง กลุ่มผลิตภัณฑ์ ที่บริษัทฯ นำานวัตกรรมโปรไบโอติกมาใช้ในอาหาร สัตว์ เพื่อยกระดับความปลอดภัยให้สินค้า ด้วยหลักการ Natural Prevention เป็นการเสริมภูมิคุ้มกันให้สัตว์แข็งแรงตามธรรมชาติ โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF และ Probiotics Fed ว่า ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ และไม่ใช้ฮอร์โมนเพื่อเร่งการเจริญเติบโตตลอด การเลี้ยงดู ตอกย้ำาความเชื่อมั่นในความสด สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐานระดับโลก ซีพีเอฟ รุกใช้ “โปรไบโอติก” เสริมสุขภาพไก่ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เลี้ยงไก่ด้วยจุลินทรีย์ “โปรไบโอติก” นวัตกรรมสร้างภูมิคุ้มกันจาก ภายใน ช่วยสร้างสมดุลลำาไส้ ส่งผลให้ไก่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ป่วย และไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ลดปัญหาเชื้อดื้อยา เป็นไปตามหลัก สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) มุ่งส่งต่ออาหารปลอดภัยสู่ ผู้บริโภค สัตว์เศรษฐกิจ 29 แม้สภาพเศรษฐกิจทั่วโลกกำาลังประสบปัญหาชะลอตัว และ เงินเฟ้อ แต่จากการที่ผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อไทยได้รับการยอมรับจาก ประเทศคู่ค้า เนื่องจากมีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานส่งออกระดับ สากล รวมถึงมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ ส่งผลให้ไทยยืนหยัดเป็น ผู้ส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์อันดับ 4 ของโลก และจากการเปิดเขต การค้าเสรีช่วยดันยอดส่งออกจนไทยเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของเอเชีย ตั้งเป้าปี 2566 ส่งออกถึง 960,000 ตัน การผลิตเนื้อไก่ของโลก ปี 2561 - 2565 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 2.05 ต่อปี โดยในปี 2565 การผลิตเนื้อไก่ของโลก มีปริมาณ 100.93 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 100.51 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 0.42 ซึ่งสหรัฐอเมริกายังคงเป็นผู้ผลิตเนื้อไก่อันตับ 1 ของโลก มีปริมาณการผลิต 20.85 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ บราซิล 14.40 ล้านตัน จีน 14.30 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 10.92 ล้าน ต้น โดยสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีการผลิตเนื้อไก่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.23 และร้อยละ 0.55 เมื่อเทียบกับปี 2564 ในขณะที่ บราซิลและจีน มีการผลิตเนื้อไก่ลดลงร้อยละ 0.69 และร้อยละ 2.72 ตามลำาดับ ขณะที่ความต้องการบริโภค ปี 2561 - 2565 การบริโภคเนื้อ ไก่ของโลก มีแนวโมเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.09 ต่อปี โดยในปี 2565 การบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 98.25 ล้านตัน เพิ่มขึ้น เล็กน้อยจาก 98.08 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 0.17 ซึ่ง สหรัฐอเมริกายังคงเป็นประเทศที่มีการบริโภคเนื้อไก่มากที่สุด คือ 17.61 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.40 ล้านตัน สหภาพยุโรป 9.95 ล้านตัน และบราซิล 9.78 ล้านต้น โดยจีนและบราซิล มีการ บริโภคเนื้อไก่ลดลงร้อยละ 4.20 และร้อยละ 4.86 เมื่อเทียบกับปี 2564 ในขณะที่สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีการบริโภคเนื้อไก่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.62 และร้อยละ 2.88 ตามลำาดับ การส่งออก ปี 2561 - 2565 การส่งออกเนื้อไก่ของโลกขยาย ตัวเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.92 ต่อปี โดยในปี 2565 การส่งออก เนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 13.63 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.29 ล้าน ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 2.57 บราซิลยังคงเป็นประเทศผู้ส่งออก อันดับ 1 ของโลก ส่งออกได้ปริมาณ 4.63 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 3.27 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 1.75 ล้านตัน ตาม ลำาดับ โดยบราซิลมีการส่งออกเนื้อไก่เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.47 ในขณะ ที่สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีการส่งออกลดลงร้อยละ 2.65 และ ร้อยละ 4.79 เมื่อเทียบกับปี 2564 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 การนำาเข้าเนื้อไก่ของโลกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.38 ต่อปี โดยในปี 2565 การ นำาเข้าเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 11.01 ล้านต้น เพิ่มขึ้นจาก 10.83 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.65 ซึ่งญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศ ที่นำาเข้าเนื้อไก่มากเป็นอันดับ 1 ของโลก คือ 1.12 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กชิโก และสหราชอาณาจักร 0.92 ล้านตัน สหภาพยุโรป 0.78 ล้านตัน และจีน 0.65 ล้านตัน โดยเมื่อเทียบ กับปี 2564 ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหภาพยุโรป มีการ นำาเข้าเนื้อไก่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.53 ร้อยละ 32.80 และร้อยละ 20.16 ตามลำาดับ ในขณะที่เม็กชิโก และจีน มีการนำาเข้าลดลงร้อยละ 0.22 และร้อยละ 17.62 ตามลำาดับ สำาหรับประเทศไทย ปี 2561 - 2565 การผลิตไก่เนื้อของไทย เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.59 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการผลิตไก่เนื้อ 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน เพิ่มชั้นจาก ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ไก่เนื้อ ปี 66 ส่งออกรุ่ง...คาดยอดส่งออกทะลุ 9.6 แสนตัน


30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การส่งออก ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกไก่สดแซ่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน อัตราร้อยละ 2.84 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการส่งออกรวม 0.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.94 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 1.19 แบ่งเป็น การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ 0.392 ล้านตัน มูลค่า 42,359 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.386 ล้านตัน มูลค่า 28,819 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.24 และร้อยละ 46.98 ตามส าดับ โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่ส าคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่ น (ร้อยละ 38.60) จีน (ร้อยละ 23.40) และมาเลเซีย (ร้อยละ 19.53) การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ 0.56 ล้านตัน มูลค่า 84,133 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.55 ล้านตัน มูลค่า 73,709 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.15และร้อยละ 14.14 ตามล าตับ ตลาดส่งออกเนื้อไก่แปรรูปที่ส าคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่ น (ร้อยละ 47.87) สหราชอาณาจักร (ร้อยละ 26.01) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 13.29) และเกาหลีใต้(ร้อยละ 5.04) ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2561 – 2565 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.75 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 34.87 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 25.47 เนื่องจากมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นทดแทนเนื้อสุกรประกอบกับต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุน ค่าอาหารสัตว์ และค่าพลังงาน ราคาส่งออก ปี 2561 – 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแซ่แข็ง และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 5.53 และร้อยละ 1.50 ต่อปี ตามล าตับ โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.53 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 45.18 และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.18 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 133. 98 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 12.84 ตารางปริมาณการผลิตเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหรัฐอเมริกา 19,361 19,941 20,255 20,391 20,845 1.71 21,163 บราซิล 13,355 13,690 13,880 14,500 14,400 2.10 14,850 จีน 11,700 13,800 14,600 14,700 14,300 4.75 14,300 สหภาพยุโรป 10,618 10,836 11,030 10,860 10,920 0.58 10,970 รัสเซีย 4,684 4,668 4,680 4,600 4,750 0.13 4,850 เม็กซิโก 3,485 3,600 3,725 3,815 3,900 2.87 4,000 ไทย 3,170 3,300 3,250 3,220 3,270 0.38 3,360 ตุรกี 2,157 2,138 2,136 2,246 2,315 1.92 2,400 อาร์เจนตินา 2,068 2,171 2,215 2,290 2,335 3.01 2,380 โคลัมเบีย 1,695 1,761 1,685 1,773 1,880 2.16 1,925 เปรู 1,582 1,763 1,723 1,752 1,775 2.26 1,800 ประเทศอ่ นืๆ 18,785 19,641 20,078 20,363 20,241 1.87 20,738 รวมทงั้หมด 92,660 97,309 99,257 100,510 100,931 2.05 102,736 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 เนื้อไก่แปรรูปที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 47.87) สหราชอาณาจักร (ร้อยละ 26.01) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 13.29) และเกาหลีใต้ (ร้อย ละ 5.04) ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 - 2565 มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไก่เนื้อที่ เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.75 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัม ละ 34.87 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 25.47 เนื่องจากมีความ ต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นทดแทนเนื้อสุกรประกอบกับต้นทุนการ ผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหารสัตว์ และค่าพลังงาน ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 5.53 และร้อยละ 1.50 ต่อปี ตามลำาตับ โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.53 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 45.18 และ ราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.18 บาท สูงขึ้น จากกิโลกรัมละ 133. 98 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 12.84 สำาหรับแนวโน้ม การผลิตเนื้อไก่ของโลก ปี 2566 คาดว่า การ ผลิตเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาน 102.74 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 100.93 ร้อยละ 1.79 การผลิตเนื้อไก่ของโลกขยายตัวตามความต้องการ บริโภคที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิตที่สำาคัญ ทั้งสหรัฐอเมริกา บราซิล และสหภาพยุโรป ขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1,754.04 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.80 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.02 เนื่องจากความต้องการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ เพิ่มขึ้น จากการผ่อนคลายมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 ส่วนการบริโภคปี 2561 - 2565 การบริโภคเนื้อไก่ของไทย เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.94 ต่อปี โดยปี 2565 มีปริมาณการบริโภค เนื้อไก่ 1.88 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.86 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 0.94 เนื่องจากเนื้อสุกรมีราคาแพง ผู้บริโภคจึงหันมาบริโภค เนื้อไก่มากขึ้น การส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกไก่สดแซ่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.84 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการส่งออกรวม 0.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.94 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.19 แบ่งเป็น การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ 0.392 ล้านตัน มูลค่า 42,359 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.386 ล้านตัน มูลค่า 28,819 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.24 และร้อยละ 46.98 ตามสำา ดับ โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 38.60) จีน (ร้อยละ 23.40) และมาเลเซีย (ร้อยละ 19.53) การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ 0.56 ล้านตัน มูลค่า 84,133 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.55 ล้านตัน มูลค่า 73,709 ล้านบาท ของ ปี 2564 ร้อยละ 1.15 และร้อยละ 14.14 ตามลำาตับ ตลาดส่งออก


สัตว์เศรษฐกิจ 31 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของโลกมี ปริมาณ 100.11 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 98.25 ล้านตัน ในปี 2565 ร้อยละ 1.89 ผู้บริโภครายใหญ่ที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่าจะมีปริมาณการบริโภค 17.90 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.48 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.07 ล้านตัน และบราซิล 10.06 ล้านตัน โดยคาดว่าบราซิลมีปริมาณการบริโภค เพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 2.81 เมื่อเทียบกับปี 2565 ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 100.11 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 98.25 ล้านตัน ในปี 2565 ร้อยละ 1.89 ผู้บริโภครายใหญ่ที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่าจะมีปริมาณการบริโภค 17.90 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.48 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.07 ล้านตัน และบราซิล 10.06 ล้านตัน โดยคาดว่าบราซิลมี ปริมาณการบริโภคเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 2.81 เมื่อเทียบกับปี 2565 ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทส าคัญ ี่หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหรัฐอเมริกา 16,185 16,702 16,994 17,164 17,613 1.98 17,900 จีน 11,595 13,952 15,211 15,032 14,400 5.21 14,475 สหภาพยุโรป 9,354 9,458 9,653 9,667 9,945 1.45 10,065 บราซิล 9,588 9,756 10,010 10,280 9,780 0.92 10,055 ประเทศอื่ นๆ 43,441 44,788 44,892 45,937 46,512 1.63 47,611 รวมทงั้หมด 90,163 94,656 96,760 98,080 98,250 2.09 100,106 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 14.13 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.63 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.70 ผู้ผลิตรายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป) ยังคงเป็นผู้ครองตลาด โดยบราซิลยังคงเป็น ประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด คือ 4.80 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.63 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 3.78 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามล าดับ ซึ่งไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4ของโลก ตารางปริมาณการส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ บราซิล 3,770 3,939 3,875 4,225 4,625 4.91 4,800 สหรัฐอเมริกา 3,244 3,259 3,376 3,356 3,267 0.44 3,356 สหภาพยุโรป 2,004 2,148 2,037 1,838 1,750 -4.18 1,720 ไทย 925 961 941 907 965 0.27 1,000 ตุรกี 413 402 440 510 550 8.45 600 จีน 447 428 388 457 550 4.92 575 ยูเครน 317 406 428 458 420 6.98 450 ประเทศอื่ นๆ 1,361 1,556 1,631 1,537 1,503 1.88 1,633 รวมทงั้หมด 12,482 13,100 13,116 13,288 13,630 1.92 14,134 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของโลกมีปริมาณ 11.49 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.01 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 4.36 โดยญี่ปุ่ นยังคงเป็นประเทศที่น าเข้าเนื้อไก่มากที่สุด คือ 1.12 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 0.93 ล้านตัน สหราชอาณาจักร 0.88 ล้านตัน โดยแหล่งน าเข้าเนื้อไก่ที่ส าคัญของญี่ปุ่ น ได้แก่ บราซิลและไทย ด้านความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 100.11 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 98.25 ล้านตัน ในปี 2565 ร้อยละ 1.89 ผู้บริโภครายใหญ่ที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่าจะมีปริมาณการบริโภค 17.90 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.48 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.07 ล้านตัน และบราซิล 10.06 ล้านตัน โดยคาดว่าบราซิลมี ปริมาณการบริโภคเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 2.81 เมื่อเทียบกับปี 2565 ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทส าคัญ ี่หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหรัฐอเมริกา 16,185 16,702 16,994 17,164 17,613 1.98 17,900 จีน 11,595 13,952 15,211 15,032 14,400 5.21 14,475 สหภาพยุโรป 9,354 9,458 9,653 9,667 9,945 1.45 10,065 บราซิล 9,588 9,756 10,010 10,280 9,780 0.92 10,055 ประเทศอื่ นๆ 43,441 44,788 44,892 45,937 46,512 1.63 47,611 รวมทงั้หมด 90,163 94,656 96,760 98,080 98,250 2.09 100,106 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 14.13 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.63 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.70 ผู้ผลิตรายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป) ยังคงเป็นผู้ครองตลาด โดยบราซิลยังคงเป็น ประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด คือ 4.80 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.63 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 3.78 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามล าดับ ซึ่งไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4ของโลก ตารางปริมาณการส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ บราซิล 3,770 3,939 3,875 4,225 4,625 4.91 4,800 สหรัฐอเมริกา 3,244 3,259 3,376 3,356 3,267 0.44 3,356 สหภาพยุโรป 2,004 2,148 2,037 1,838 1,750 -4.18 1,720 ไทย 925 961 941 907 965 0.27 1,000 ตุรกี 413 402 440 510 550 8.45 600 จีน 447 428 388 457 550 4.92 575 ยูเครน 317 406 428 458 420 6.98 450 ประเทศอื่ นๆ 1,361 1,556 1,631 1,537 1,503 1.88 1,633 รวมทงั้หมด 12,482 13,100 13,116 13,288 13,630 1.92 14,134 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของโลกมีปริมาณ 11.49 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.01 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 4.36 โดยญี่ปุ่ นยังคงเป็นประเทศที่น าเข้าเนื้อไก่มากที่สุด คือ 1.12 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 0.93 ล้านตัน สหราชอาณาจักร 0.88 ล้านตัน โดยแหล่งน าเข้าเนื้อไก่ที่ส าคัญของญี่ปุ่ น ได้แก่ บราซิลและไทย การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 14.13 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.63 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 3.70 ผู้ผลิต รายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป) ยังคงเป็นผู้ครองตลาด โดย บราซิลยังคงเป็นประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด คือ 4.80 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 4.63 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 3.78 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามลำาดับ ซึ่งไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของโลก 30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การส่งออก ปี 2561 – 2565 ปริมาณการส่งออกไก่สดแซ่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน อัตราร้อยละ 2.84 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการส่งออกรวม 0.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.94 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 1.19 แบ่งเป็น การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ 0.392 ล้านตัน มูลค่า 42,359 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.386 ล้านตัน มูลค่า 28,819 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.24 และร้อยละ 46.98 ตามส าดับ โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่ส าคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่ น (ร้อยละ 38.60) จีน (ร้อยละ 23.40) และมาเลเซีย (ร้อยละ 19.53) การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ 0.56 ล้านตัน มูลค่า 84,133 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.55 ล้านตัน มูลค่า 73,709 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.15และร้อยละ 14.14 ตามล าตับ ตลาดส่งออกเนื้อไก่แปรรูปที่ส าคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่ น (ร้อยละ 47.87) สหราชอาณาจักร (ร้อยละ 26.01) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 13.29) และเกาหลีใต้(ร้อยละ 5.04) ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2561 – 2565 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.75 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 34.87 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 25.47 เนื่องจากมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นทดแทนเนื้อสุกรประกอบกับต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุน ค่าอาหารสัตว์ และค่าพลังงาน ราคาส่งออก ปี 2561 – 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแซ่แข็ง และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 5.53 และร้อยละ 1.50 ต่อปี ตามล าตับ โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.53 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 45.18 และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.18 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 133. 98 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 12.84 ตารางปริมาณการผลิตเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ สหรัฐอเมริกา 19,361 19,941 20,255 20,391 20,845 1.71 21,163 บราซิล 13,355 13,690 13,880 14,500 14,400 2.10 14,850 จีน 11,700 13,800 14,600 14,700 14,300 4.75 14,300 สหภาพยุโรป 10,618 10,836 11,030 10,860 10,920 0.58 10,970 รัสเซีย 4,684 4,668 4,680 4,600 4,750 0.13 4,850 เม็กซิโก 3,485 3,600 3,725 3,815 3,900 2.87 4,000 ไทย 3,170 3,300 3,250 3,220 3,270 0.38 3,360 ตุรกี 2,157 2,138 2,136 2,246 2,315 1.92 2,400 อาร์เจนตินา 2,068 2,171 2,215 2,290 2,335 3.01 2,380 โคลัมเบีย 1,695 1,761 1,685 1,773 1,880 2.16 1,925 เปรู 1,582 1,763 1,723 1,752 1,775 2.26 1,800 ประเทศอ่ นืๆ 18,785 19,641 20,078 20,363 20,241 1.87 20,738 รวมทงั้หมด 92,660 97,309 99,257 100,510 100,931 2.05 102,736 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 เนื้อไก่แปรรูปที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 47.87) สหราชอาณาจักร (ร้อยละ 26.01) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 13.29) และเกาหลีใต้ (ร้อย ละ 5.04) ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 - 2565 มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไก่เนื้อที่ เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.75 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัม ละ 34.87 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 25.47 เนื่องจากมีความ ต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นทดแทนเนื้อสุกรประกอบกับต้นทุนการ ผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหารสัตว์ และค่าพลังงาน ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 5.53 และร้อยละ 1.50 ต่อปี ตามลำาตับ โดยในปี 2565 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.53 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 45.18 และ ราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 151.18 บาท สูงขึ้น จากกิโลกรัมละ 133. 98 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 12.84 สำาหรับแนวโน้ม การผลิตเนื้อไก่ของโลก ปี 2566 คาดว่า การ ผลิตเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาน 102.74 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 100.93 ร้อยละ 1.79 การผลิตเนื้อไก่ของโลกขยายตัวตามความต้องการ บริโภคที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิตที่สำาคัญ ทั้งสหรัฐอเมริกา บราซิล และสหภาพยุโรป ขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1,754.04 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.80 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.02 เนื่องจากความต้องการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ เพิ่มขึ้น จากการผ่อนคลายมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 ส่วนการบริโภคปี 2561 - 2565 การบริโภคเนื้อไก่ของไทย เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.94 ต่อปี โดยปี 2565 มีปริมาณการบริโภค เนื้อไก่ 1.88 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.86 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 0.94 เนื่องจากเนื้อสุกรมีราคาแพง ผู้บริโภคจึงหันมาบริโภค เนื้อไก่มากขึ้น การส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกไก่สดแซ่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.84 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการส่งออกรวม 0.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.94 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.19 แบ่งเป็น การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ 0.392 ล้านตัน มูลค่า 42,359 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.386 ล้านตัน มูลค่า 28,819 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 1.24 และร้อยละ 46.98 ตามสำา ดับ โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 38.60) จีน (ร้อยละ 23.40) และมาเลเซีย (ร้อยละ 19.53) การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ 0.56 ล้านตัน มูลค่า 84,133 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 0.55 ล้านตัน มูลค่า 73,709 ล้านบาท ของ ปี 2564 ร้อยละ 1.15 และร้อยละ 14.14 ตามลำาตับ ตลาดส่งออก


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การนำาเข้า ปี 2566 คาดว่าการนำาเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ ของโลกมีปริมาณ 11.49 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.01 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 4.36 โดยญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศที่นำาเข้าเนื้อไก่ มากที่สุด คือ 1.12 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 0.93 ล้าน ตัน สหราชอาณาจักร 0.88 ล้านตัน โดยแหล่งนำาเข้าเนื้อไก่ที่สำาคัญ ของญี่ปุ่น ได้แก่ บราซิลและไทย สำาหรับแนวโน้มการผลิตเนื้อไก่ของไทย ปี 2566 คาดว่าการ ผลิตไก่เนื้อของไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามจำานวนประชากร และ ความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและ ตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อ ปริมาณ 1,781.55 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.54 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของไทย มีปริมาณ 1.89 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.88 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.17 ตามการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ ประกอบกับเนื้อไก่ เป็นอาหารโปรตีนที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่น ๆ โดยการบริโภค ในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 66.26 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด ตารางปริมาณการนา เข้าเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ ญี่ ปุ่น 1,074 1,076 1,005 1,077 1,115 0.76 1,120 เม็กซิโก 820 875 842 917 915 2.70 930 สหราชอาณาจักร 774 792 732 689 915 1.97 875 สหภาพยุโรป 740 770 660 645 775 -0.84 815 จีน 342 580 999 789 650 17.26 750 ซาอุดิอาระเบีย 629 601 618 615 500 -4.27 600 อิรัก 529 494 468 388 475 -4.47 500 ฟิ ลิปปิ นส์ 321 366 336 437 435 8.17 450 UAE 321 341 270 388 416 6.69 418 แอฟริกาใต้ 521 485 434 371 370 -9.08 380 ประเทศอื่ นๆ 3,894 4,084 4,224 4,518 4,447 3.73 4,650 รวมทงั้หมด 9,965 10,464 10,588 10,834 11,013 2.38 11,488 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตเนื้อไก่ของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตไก่เนื้อของไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามจ านวน ประชากร และความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะ ผลิตไก่เนื้อ ปริมาณ 1,781.55 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.54 ตารางการผลิต การบริโภค และส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องไทย ปี ผลผลิตไก่เนือ้ (ล้านตัว) ผลผลิต (ตัน) บริโภค (ตัน) ส่งออก (ตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม 2561 1,503.35 2,297,102 1,457,620 279,050 560,432 839,482 2562 1,713.38 2,768,854 1,588,795 312,498 589,984 902,482 2563 1,757.87 2,851,803 1,956,442 349,169 546,192 895,360 2564 1,754.04 2,801,473 1,864,631 386,697 550,146 936,843 2565* 1,771.99 2,830,133 1,882,133 391,500 556,500 948,000 อัตราเพมิ่ (%) 3.59 4.38 6.94 9.31 -0.84 2.84 2566** 1,781.55 2,845,401 1,885,401 397,000 563,000 960,000 หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร ด้านการส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของ ตลาด โดยเฉพาะญี่ปุ่ น สหราชอาณาจักร จีน และสหภาพยุโรป ที่มีแนวโน้มน าเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น จากการฟื้นตัว


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การนำาเข้า ปี 2566 คาดว่าการนำาเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ ของโลกมีปริมาณ 11.49 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.01 ล้านตัน ของ ปี 2565 ร้อยละ 4.36 โดยญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศที่นำาเข้าเนื้อไก่ มากที่สุด คือ 1.12 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 0.93 ล้าน ตัน สหราชอาณาจักร 0.88 ล้านตัน โดยแหล่งนำาเข้าเนื้อไก่ที่สำาคัญ ของญี่ปุ่น ได้แก่ บราซิลและไทย สำาหรับแนวโน้มการผลิตเนื้อไก่ของไทย ปี 2566 คาดว่าการ ผลิตไก่เนื้อของไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามจำานวนประชากร และ ความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและ ตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อ ปริมาณ 1,781.55 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.54 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของไทย มีปริมาณ 1.89 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.88 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.17 ตามการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ ประกอบกับเนื้อไก่ เป็นอาหารโปรตีนที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่น ๆ โดยการบริโภค ในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 66.26 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด ตารางปริมาณการนา เข้าเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ ญี่ ปุ่น 1,074 1,076 1,005 1,077 1,115 0.76 1,120 เม็กซิโก 820 875 842 917 915 2.70 930 สหราชอาณาจักร 774 792 732 689 915 1.97 875 สหภาพยุโรป 740 770 660 645 775 -0.84 815 จีน 342 580 999 789 650 17.26 750 ซาอุดิอาระเบีย 629 601 618 615 500 -4.27 600 อิรัก 529 494 468 388 475 -4.47 500 ฟิ ลิปปิ นส์ 321 366 336 437 435 8.17 450 UAE 321 341 270 388 416 6.69 418 แอฟริกาใต้ 521 485 434 371 370 -9.08 380 ประเทศอื่ นๆ 3,894 4,084 4,224 4,518 4,447 3.73 4,650 รวมทงั้หมด 9,965 10,464 10,588 10,834 11,013 2.38 11,488 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตเนื้อไก่ของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตไก่เนื้อของไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามจ านวน ประชากร และความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะ ผลิตไก่เนื้อ ปริมาณ 1,781.55 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.54 ตารางการผลิต การบริโภค และส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องไทย ปี ผลผลิตไก่เนือ้ (ล้านตัว) ผลผลิต (ตัน) บริโภค (ตัน) ส่งออก (ตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม 2561 1,503.35 2,297,102 1,457,620 279,050 560,432 839,482 2562 1,713.38 2,768,854 1,588,795 312,498 589,984 902,482 2563 1,757.87 2,851,803 1,956,442 349,169 546,192 895,360 2564 1,754.04 2,801,473 1,864,631 386,697 550,146 936,843 2565* 1,771.99 2,830,133 1,882,133 391,500 556,500 948,000 อัตราเพมิ่ (%) 3.59 4.38 6.94 9.31 -0.84 2.84 2566** 1,781.55 2,845,401 1,885,401 397,000 563,000 960,000 หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร ด้านการส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของ ตลาด โดยเฉพาะญี่ปุ่ น สหราชอาณาจักร จีน และสหภาพยุโรป ที่มีแนวโน้มน าเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น จากการฟื้นตัว สัตว์เศรษฐกิจ 33 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ของภาวะเศรษฐกิจโดยในปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 960,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 948,000 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.27 โดยแบ่งเป็นการส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็งมีปริมาณ 397,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 391,500 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.40 และการส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีปริมาณ 563,000 ตันเพิ่มขึ้นจาก 556,500 ตัน ของปี 2565 ร้อย ละ 1.17 ตารางปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนือ้ไก่แปรรูป ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพม ิ่ (%) 25662/ ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) 279,050 312,498 349,169 386,697 391,500 9.31 397,000 มูลค่า (ล้านบาท) 22,382 24,731 28,332 28,819 42,359 15.36 33,170 เนือ้ไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) 560,432 589,984 546,192 550,146 556,500 -0.84 563,000 มูลค่า (ล้านบาท) 78,016 80,300 75,558 73,709 84,133 0.66 77,800 รวมทงั้หมด ปริมาณ (ตัน) 839,482 902,482 895,360 936,843 948,000 2.84 960,000 มูลค่า (ล้านบาท) 89,202 105,031 103,890 102,528 126,493 4.48 110,970 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2566 คาดว่าราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีการวาง แผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มี แนวโน้มสูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2566 คาดว่าราตาส่งออกเนื้อไก่สดแซ่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ซึ่งเป็นผลมาจากอัตราแลกเปลี่ยน ตารางราคาไกเ่นือ้ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนือ้ไก่แปรรูป รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 34.40 36.85 35.44 34.87 43.75 4.35 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 80.21 139.21 79.14 136.11 81.14 138.34 74.53 133.98 108.20 151.18 5.53 1.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยด้านบวก 1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 และการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร โลกท าให้ความต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มี ไขมันต ่า รวมทั้งยังมีราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่นๆ 2. การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นผลจากการฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและซาอุดิอาระเบีย ท าให้ซาอุดิอาระเบียยกเลิกมาตรการห้าม น าเข้าไก่จากไทย รวมทั้งสงครามรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ยูเครน มีอุปสรรคในการส่งออกไก่ไปยัง EU จึงเป็นโอกาสในการ ส่งออกของไทย ด้านการส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัว เพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของตลาด โดยเฉพาะ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร จีน และสหภาพยุโรป ที่มีแนวโน้มนำาเข้า เนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น จากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ โดยในปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 960,000 ตัน เพิ่มขึ้น จากปริมาณ 948,000 ตันของปี 2565 ร้อยละ 1.27 โดย แบ่งเป็นการส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็งมีปริมาณ 397,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 391,500 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.40 และการ ส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีปริมาณ 563,000 ตันเพิ่มขึ้นจาก 556,500 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.17 ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2566 คาดว่าราคาไก่เนื้อที่เกษตรกร ตารางปริมาณการนา เข้าเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : พันตัน ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพมิ่ (%) 25662/ ญี่ ปุ่น 1,074 1,076 1,005 1,077 1,115 0.76 1,120 เม็กซิโก 820 875 842 917 915 2.70 930 สหราชอาณาจักร 774 792 732 689 915 1.97 875 สหภาพยุโรป 740 770 660 645 775 -0.84 815 จีน 342 580 999 789 650 17.26 750 ซาอุดิอาระเบีย 629 601 618 615 500 -4.27 600 อิรัก 529 494 468 388 475 -4.47 500 ฟิ ลิปปิ นส์ 321 366 336 437 435 8.17 450 UAE 321 341 270 388 416 6.69 418 แอฟริกาใต้ 521 485 434 371 370 -9.08 380 ประเทศอื่ นๆ 3,894 4,084 4,224 4,518 4,447 3.73 4,650 รวมทงั้หมด 9,965 10,464 10,588 10,834 11,013 2.38 11,488 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตเนื้อไก่ของไทย ปี 2566 คาดว่าการผลิตไก่เนื้อของไทยยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามจ านวน ประชากร และความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะ ผลิตไก่เนื้อ ปริมาณ 1,781.55 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,771.99 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 2.83 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.54 ตารางการผลิต การบริโภค และส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภณัฑข์องไทย ปี ผลผลิตไก่เนือ้ (ล้านตัว) ผลผลิต (ตัน) บริโภค (ตัน) ส่งออก (ตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม 2561 1,503.35 2,297,102 1,457,620 279,050 560,432 839,482 2562 1,713.38 2,768,854 1,588,795 312,498 589,984 902,482 2563 1,757.87 2,851,803 1,956,442 349,169 546,192 895,360 2564 1,754.04 2,801,473 1,864,631 386,697 550,146 936,843 2565* 1,771.99 2,830,133 1,882,133 391,500 556,500 948,000 อัตราเพมิ่ (%) 3.59 4.38 6.94 9.31 -0.84 2.84 2566** 1,781.55 2,845,401 1,885,401 397,000 563,000 960,000 หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร ด้านการส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของ ตลาด โดยเฉพาะญี่ปุ่ น สหราชอาณาจักร จีน และสหภาพยุโรป ที่มีแนวโน้มน าเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น จากการฟื้นตัว


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของภาวะเศรษฐกิจโดยในปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 960,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 948,000 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.27 โดยแบ่งเป็นการส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็งมีปริมาณ 397,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 391,500 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.40 และการส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีปริมาณ 563,000 ตันเพิ่มขึ้นจาก 556,500 ตัน ของปี 2565 ร้อย ละ 1.17 ตารางปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนือ้ไก่แปรรูป ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพม ิ่ (%) 25662/ ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) 279,050 312,498 349,169 386,697 391,500 9.31 397,000 มูลค่า (ล้านบาท) 22,382 24,731 28,332 28,819 42,359 15.36 33,170 เนือ้ไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) 560,432 589,984 546,192 550,146 556,500 -0.84 563,000 มูลค่า (ล้านบาท) 78,016 80,300 75,558 73,709 84,133 0.66 77,800 รวมทงั้หมด ปริมาณ (ตัน) 839,482 902,482 895,360 936,843 948,000 2.84 960,000 มูลค่า (ล้านบาท) 89,202 105,031 103,890 102,528 126,493 4.48 110,970 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2566 คาดว่าราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีการวาง แผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มี แนวโน้มสูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2566 คาดว่าราตาส่งออกเนื้อไก่สดแซ่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ซึ่งเป็นผลมาจากอัตราแลกเปลี่ยน ตารางราคาไกเ่นือ้ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนือ้ไก่แปรรูป รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 34.40 36.85 35.44 34.87 43.75 4.35 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 80.21 139.21 79.14 136.11 81.14 138.34 74.53 133.98 108.20 151.18 5.53 1.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยด้านบวก 1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 และการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร โลกท าให้ความต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มี ไขมันต ่า รวมทั้งยังมีราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่นๆ 2. การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นผลจากการฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและซาอุดิอาระเบีย ท าให้ซาอุดิอาระเบียยกเลิกมาตรการห้าม น าเข้าไก่จากไทย รวมทั้งสงครามรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ยูเครน มีอุปสรรคในการส่งออกไก่ไปยัง EU จึงเป็นโอกาสในการ ส่งออกของไทย ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยด้านบวก 1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ์ระบาดของ โรคโควิด 19 และการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากรโลกทำาให้ความ ต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีไขมันต่ำา รวมทั้งยังมีราคาถูก เมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่น ๆ 2. การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศมีแนวโน้ม ขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลางซึ่งเป็นผลจากการ ฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและซาอุดิอาระเบีย ทำาให้ ซาอุดิอาระเบียยกเลิกมาตรการห้ามนำาเข้าไก่จากไทย รวมทั้งสงคราม รัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ยูเครน มีอุปสรรคในการส่งออกไก่ไปยัง EU จึงเป็นโอกาสในการส่งออกของไทย 3. การดำาเนินการเรื่อง Compartment และ Traceability สามารถสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพการผลิตเนื้อไก่ของไทยให้ ประเทศคู่ค้ายอมรับ ซึ่งเป็นผลจากมาตรการควบคุมป้องกัน และ เฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ที่เข้มงวด ทำาให้ไทยไม่มีรายงานการพบ โรคไข้หวัดนกในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 14 ปี นับจากวันที่ทำาลาย สัตว์ปีกตัวสุดท้าย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 รวมทั้ง การที่ ประเทศคู่ค้าของไทยได้รับรองมาตรฐานโรงงานแปรรูปและส่งออกไก่ ของไทย จึงเป็นโอกาสให้ไทยสามารถส่งออกไก่ไปยังตลาดต่าง ๆ ได้ มากขึ้น ปัจจัยด้านลบ 1. ประเทศไทยต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ เช่น พันธุ์สัตว์ วัตถุดิบ อาหารสัตว์ ยาและเวชภัณฑ์ ตลอดจนต้นทุนการผลิตไก่เนื้อของไทยโดยเปรียบเทียบสูงกว่า ประเทศคู่แข่ง อาทิ บราซิล และสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะต้นทุน ด้านอาหารสัตว์ 2. ประเทศต่าง ๆ มีการนำามาตรการกีดกันทางการค้าที่มีใช่ ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) มาใช้มากขึ้น โดยนำาประเด็น ขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2566 คาดว่าราตาส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็น แช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ซึ่งเป็นผลมา จากอัตราแลกเปลี่ยน


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของภาวะเศรษฐกิจโดยในปี 2566 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 960,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 948,000 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.27 โดยแบ่งเป็นการส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็งมีปริมาณ 397,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 391,500 ตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.40 และการส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีปริมาณ 563,000 ตันเพิ่มขึ้นจาก 556,500 ตัน ของปี 2565 ร้อย ละ 1.17 ตารางปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนือ้ไก่แปรรูป ประเทศ 2561 2562 2563 2564 25651/ อัตราเพม ิ่ (%) 25662/ ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) 279,050 312,498 349,169 386,697 391,500 9.31 397,000 มูลค่า (ล้านบาท) 22,382 24,731 28,332 28,819 42,359 15.36 33,170 เนือ้ไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) 560,432 589,984 546,192 550,146 556,500 -0.84 563,000 มูลค่า (ล้านบาท) 78,016 80,300 75,558 73,709 84,133 0.66 77,800 รวมทงั้หมด ปริมาณ (ตัน) 839,482 902,482 895,360 936,843 948,000 2.84 960,000 มูลค่า (ล้านบาท) 89,202 105,031 103,890 102,528 126,493 4.48 110,970 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2566 คาดว่าราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีการวาง แผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มี แนวโน้มสูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2566 คาดว่าราตาส่งออกเนื้อไก่สดแซ่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ซึ่งเป็นผลมาจากอัตราแลกเปลี่ยน ตารางราคาไกเ่นือ้ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนือ้ไก่แปรรูป รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 34.40 36.85 35.44 34.87 43.75 4.35 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 80.21 139.21 79.14 136.11 81.14 138.34 74.53 133.98 108.20 151.18 5.53 1.50 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยด้านบวก 1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 และการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร โลกท าให้ความต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มี ไขมันต ่า รวมทั้งยังมีราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่นๆ 2. การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นผลจากการฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและซาอุดิอาระเบีย ท าให้ซาอุดิอาระเบียยกเลิกมาตรการห้าม น าเข้าไก่จากไทย รวมทั้งสงครามรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ยูเครน มีอุปสรรคในการส่งออกไก่ไปยัง EU จึงเป็นโอกาสในการ ส่งออกของไทย ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยด้านบวก 1. การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ์ระบาดของ โรคโควิด 19 และการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากรโลกทำาให้ความ ต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะเนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีไขมันต่ำา รวมทั้งยังมีราคาถูก เมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่น ๆ 2. การส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังต่างประเทศมีแนวโน้ม ขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลางซึ่งเป็นผลจากการ ฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและซาอุดิอาระเบีย ทำาให้ ซาอุดิอาระเบียยกเลิกมาตรการห้ามนำาเข้าไก่จากไทย รวมทั้งสงคราม รัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ยูเครน มีอุปสรรคในการส่งออกไก่ไปยัง EU จึงเป็นโอกาสในการส่งออกของไทย 3. การดำาเนินการเรื่อง Compartment และ Traceability สามารถสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพการผลิตเนื้อไก่ของไทยให้ ประเทศคู่ค้ายอมรับ ซึ่งเป็นผลจากมาตรการควบคุมป้องกัน และ เฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ที่เข้มงวด ทำาให้ไทยไม่มีรายงานการพบ โรคไข้หวัดนกในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 14 ปี นับจากวันที่ทำาลาย สัตว์ปีกตัวสุดท้าย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 รวมทั้ง การที่ ประเทศคู่ค้าของไทยได้รับรองมาตรฐานโรงงานแปรรูปและส่งออกไก่ ของไทย จึงเป็นโอกาสให้ไทยสามารถส่งออกไก่ไปยังตลาดต่าง ๆ ได้ มากขึ้น ปัจจัยด้านลบ 1. ประเทศไทยต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ เช่น พันธุ์สัตว์ วัตถุดิบ อาหารสัตว์ ยาและเวชภัณฑ์ ตลอดจนต้นทุนการผลิตไก่เนื้อของไทยโดยเปรียบเทียบสูงกว่า ประเทศคู่แข่ง อาทิ บราซิล และสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะต้นทุน ด้านอาหารสัตว์ 2. ประเทศต่าง ๆ มีการนำามาตรการกีดกันทางการค้าที่มีใช่ ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) มาใช้มากขึ้น โดยนำาประเด็น ขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2566 คาดว่าราตาส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็น แช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ซึ่งเป็นผลมา จากอัตราแลกเปลี่ยน สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ทางสังคมต่าง ๆ มากำาหนดเป็นมาตรฐานทางการค้าระหว่างประเทศ เช่น มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งประเทศ คู่ค้าอาจนำาประเด็นดังกล่าวมาใช้กีดกันการค้าระหว่างกัน หากไทย ไม่ได้มีการเตรียมการป้องกันและแก้ไขอย่างจริงจัง ก็อาจส่งผล กระทบต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทยได้ 3. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากสินค้าไก่เนื้อ และผลิตภัณฑ์เป็นสินค้าเกษตรส่งออกที่สำาคัญของไทย หากอัตรา แลกเปลี่ยนมีความผันผวนจะส่งผลให้ความสามารถในแข่งขันด้าน ราคากับประเทศคู่แข่งลดลง ไทยขึ้นแท่นผู้ส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์อันดับ 1 ของเอเชีย ไทยขึ้นแท่นผู้ส่งออกสินค้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์อันดับ 1 ของ เอเชีย ปี 65 ส่งออกไปตลาดคู่ FTA เงินสะพัดกว่า 2.8 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 15.9% สัดส่วนสูงถึง 70% ตลาดญี่ปุ่น จีน มาเลเซีย มาแรง คู่ FTA 10 ประเทศ ไม่ต้องเสียภาษีนำาเข้า ส่วน RCEP ทยอยลดภาษีเพิ่ม ชี้สินค้าไทยสุดฮอต FTA ช่วยหนุน ส่งออกขยายตัว พร้อมเดินหน้าผลักดันเปิดตลาดสินค้าไก่ให้ไทย เพิ่มเติม นายสินิตย์ เลิศไกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิด เผยว่า ได้มอบหมายให้กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ติดตาม สถานการณ์การส่งออกของไทย พบว่า เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์เป็น สินค้าดาวเด่นที่มีศักยภาพทั้งการผลิตและส่งออก โดยปัจจุบันไทย ครองตำาแหน่งผู้ส่งออกอันดับ 1 ของเอเชีย และเป็นอันดับ 3 ของ โลก รองจากบราซิลและสหรัฐอเมริกา ซึ่งในปี 2565 ไทยส่งออก เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปยังตลาดโลก มูลค่าสูงถึง 4,074 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ ขยายตัว 25% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า โดย เป็นการส่งออกไปตลาดที่ไทยมีความตกลงการค้าเสรี (FTA) มูลค่า 2,871.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 15.9% มีสัดส่วนถึง 70% ของการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ทั้งหมด โดยตลาดคู่ FTA ที่ไทย ส่งออกเติบโตได้ดี อาทิ ญี่ปุ่น มูลค่า 1,882.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (+10.2%) จีน มูลค่า 382.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (+15.1%) มาเลเซีย มูลค่า 165.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (+83.4%) สิงคโปร์ มูลค่า 127.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (+37.6%) เกาหลีใต้ มูลค่า 183.1 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ (+40%) และกัมพูชา มูลค่า 17.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (+20.3%) โดยปัจจัยที่ทำาให้สินค้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไทยเป็นที่นิยม เนื่องจากได้รับการยอมรับเรื่องคุณภาพมาตรฐาน เทคโนโลยีการผลิต อาหารและแปรรูปที่ทันสมัย มีระบบฟาร์มที่มีประสิทธิภาพ และ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั้ง FTA ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำาคัญที่สร้างความได้เปรียบและเพิ่ม ศักยภาพทางการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทย ทำาให้การส่งออก ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ด้าน นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ เพิ่มเติมว่า ปัจจุบัน 10 ประเทศคู่ FTA ได้แก่ อาเซียน 5 ประเทศ (สิงคโปร์ มาเลเซีย เมียนมา อินโดนีเซีย และ บรูไนฯ) จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี และฮ่องกง ไม่ต้อง เสียภาษีนำาเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ ทั้งไก่สดทั้งตัวแช่เย็น แช่แข็ง ไก่ชิ้นเนื้อแช่เย็น แช่แข็ง และไก่แปรรูป ส่วนอีก 8 ประเทศ คือ อาเซียน 4 ประเทศ (กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ และ สปป.ลาว) ยังคงเก็บภาษีนำาเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์บางรายการ อัตรา 5% ญี่ปุ่น เก็บภาษีไก่สดทั้งตัวแช่เย็น แช่แข็ง ไก่ชิ้นเนื้อ แช่เย็น แช่แข็ง อัตรา 8.5% และไก่แปรรูป อัตรา 3% เกาหลีใต้ เก็บภาษีเนื้อไก่ต๊อก อัตรา 14.4% อินเดีย เก็บภาษีไก่สดทั้งตัว แช่เย็น แช่แข็ง และไก่ชิ้นเนื้อแช่เย็น แช่แข็ง อัตรา 30-100% และ เปรู เก็บภาษีไก่สดทั้งตัวแช่เย็น แช่แข็ง และไก่ชิ้นเนื้อแช่เย็น แช่แข็ง อัตรา 17-20% นอกจากนี้ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ไทยยังได้รับการลดภาษีนำาเข้าเพิ่มเติมในสินค้าเนื้อไก่และ ผลิตภัณฑ์ อาทิ กัมพูชา ทยอยลดภาษีไก่แปรรูปเหลือศูนย์ ในปี 2579 และไก่สดทั้งตัวแช่เย็น แช่แข็ง ไก่ชิ้นเนื้อแช่เย็น แช่แข็ง ในปี 2584 เวียดนาม ทยอยลดภาษีไก่สดทั้งตัวแช่เย็น แช่แข็ง ไก่ชิ้น เนื้อแช่เย็น แช่แข็ง และไก่แปรรูปเหลือศูนย์ ในปี 2579 และ เกาหลีใต้ ลดภาษีเนื้อไก่ต๊อกเหลือศูนย์ ในปี 2579 กระทรวงพาณิชย์มุ่งเดินหน้าผลักดันให้ประเทศคู่ค้าเปิดตลาด สินค้าไก่ให้ไทยเพิ่มเติม ผ่านการทบทวน FTA ที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสรุปผล FTA ที่อยู่ระหว่างการเจรจา และการเปิดเจรจา FTA ฉบับใหม่ๆ อาทิ สมาคมการค้าเสรียุโรป สหราชอาณาจักร และ สหภาพยุโรป เพื่อสร้างแต้มต่อให้กับสินค้าของไทยในตลาดโลก อย่างยั่งยืน...


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE วิจัยสุขภาพของมนุษย์เพียงหนึ่งครั้ง โดยเป็นการประเมินผู้ชายอายุ น้อยที่แข็งแรงดี 6 คน คนหนึ่งต้องออกจากการวิจัยเพราะหัวใจของ เขาเริ่มเต้นแรงและเต้นแรงผิดปกติ [3] สารเร่งเนื้อแดง มีคุณสมบัติทนความร้อนสูง แม้ว่าจะนำาไป ประกอบอาหารด้วยการ ต้ม อบ หรือทอด ก็ยังคงมีสารตกค้างอยู่ ในเนื้อสัตว์ และข้อมูลทางการแพทย์ชี้ว่า หากร่างกายได้รับสารกลุ่ม นี้เข้าไปในปริมาณสูงส่งผลเสียไปถึงสุขภาพของผู้บริโภคโดยตรง โดย เฉพาะกลุ่มสตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ลมชัก และโรคไฮเปอร์ไทรอยด์ การใช้สารเร่งเนื้อแดงในหมูจะพบสารตกค้างมากในเครื่องใน ทั้งปอด หัวใจ และลำาไส้ the FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA) จึงประเมินความเสี่ยง (risk assessments) และกำาหนดเพดานปริมาณการสารแรคโตพามีน ตกค้างได้ในเนื้อแดง ตับ ไต และไขมัน ซึ่งเป็นชิ้นส่วนที่มีการบริโภค มาก ด้วยเหตุนี้ สารเร่งเนื้อแดงจึงห้ามใช้ใน 160 ประเทศ โดยมี กลุ่มสหภาพยุโรปเป็นผู้นำา ประกาศห้ามใช้ในปี 2539 รวมถึง รัสเซีย และจีน [4] สำาหรับประเทศไทย ได้ประกาศห้ามใช้ในปี 2546 ตาม สถานการณ์ตลาดโคขุนไทยต้องมาชะงักอีกครั้ง หลังเวียดนาม ระงับนำาเข้าโคขุนของไทยเพราะตรวจเจอสารเร่งเนื้อแดง สารต้อง ห้ามที่กฎหมายไทยไม่อนุญาต !!! สารเร่งเนื้อแดง เป็นสารสังเคราะห์ในกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ (beta-agonist) เช่น แรคโตพามีน (ractopamine) zilmax และ optaflexx เป็นต้น สารกลุ่มนี้อนุญาตให้ใช้เป็นยาในอาหารสัตว์ของ หมู โค และไก่งวง เพื่อเสริมการเจริญเติบโตของเซลล์กล้ามเนื้อ ทำาให้สัตว์โตเร็ว มีน้ำาหนักซากดี ได้เนื้อแดงมาก สารกลุ่มนี้จึงนิยม ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาหารสัตว์และลดต้นทุนอาหารสัตว์ได้ เช่น ในหมู สามารถขายได้เร็วขึ้น 4 วัน ลดปริมาณอาหารได้ 18.5 กก. [1, 2] จากรายงานของ FAO สารแรคโตพามีน อนุญาตให้ใช้ 25 ประเทศ นำาโดย สหรัฐอเมริกา แคนาดา และแมกซิโก ซึ่งจะมีการ กำาหนดปริมาณการใช้ที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย ต่อผู้บริโภค และสารกลุ่มนี้ไม่อนุญาตให้ใช้ในมนุษย์แม้ว่าจะเพื่อ วัตถุประสงค์ทางการแพทย์ก็ตาม !!! สิ่งที่ตลกคือ สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาของ สหรัฐอเมริกา (FDA) อนุมัติให้ใช้ยาแรคโตพามีนในหมูหลังจากการ โดย : ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร สารเร่งเนื้อแดง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หอกข้างแคร่กรมปศุสัตว์


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE วิจัยสุขภาพของมนุษย์เพียงหนึ่งครั้ง โดยเป็นการประเมินผู้ชายอายุ น้อยที่แข็งแรงดี 6 คน คนหนึ่งต้องออกจากการวิจัยเพราะหัวใจของ เขาเริ่มเต้นแรงและเต้นแรงผิดปกติ [3] สารเร่งเนื้อแดง มีคุณสมบัติทนความร้อนสูง แม้ว่าจะนำาไป ประกอบอาหารด้วยการ ต้ม อบ หรือทอด ก็ยังคงมีสารตกค้างอยู่ ในเนื้อสัตว์ และข้อมูลทางการแพทย์ชี้ว่า หากร่างกายได้รับสารกลุ่ม นี้เข้าไปในปริมาณสูงส่งผลเสียไปถึงสุขภาพของผู้บริโภคโดยตรง โดย เฉพาะกลุ่มสตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ลมชัก และโรคไฮเปอร์ไทรอยด์ การใช้สารเร่งเนื้อแดงในหมูจะพบสารตกค้างมากในเครื่องใน ทั้งปอด หัวใจ และลำาไส้ the FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA) จึงประเมินความเสี่ยง (risk assessments) และกำาหนดเพดานปริมาณการสารแรคโตพามีน ตกค้างได้ในเนื้อแดง ตับ ไต และไขมัน ซึ่งเป็นชิ้นส่วนที่มีการบริโภค มาก ด้วยเหตุนี้ สารเร่งเนื้อแดงจึงห้ามใช้ใน 160 ประเทศ โดยมี กลุ่มสหภาพยุโรปเป็นผู้นำา ประกาศห้ามใช้ในปี 2539 รวมถึง รัสเซีย และจีน [4] สำาหรับประเทศไทย ได้ประกาศห้ามใช้ในปี 2546 ตาม สถานการณ์ตลาดโคขุนไทยต้องมาชะงักอีกครั้ง หลังเวียดนาม ระงับนำาเข้าโคขุนของไทยเพราะตรวจเจอสารเร่งเนื้อแดง สารต้อง ห้ามที่กฎหมายไทยไม่อนุญาต !!! สารเร่งเนื้อแดง เป็นสารสังเคราะห์ในกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ (beta-agonist) เช่น แรคโตพามีน (ractopamine) zilmax และ optaflexx เป็นต้น สารกลุ่มนี้อนุญาตให้ใช้เป็นยาในอาหารสัตว์ของ หมู โค และไก่งวง เพื่อเสริมการเจริญเติบโตของเซลล์กล้ามเนื้อ ทำาให้สัตว์โตเร็ว มีน้ำาหนักซากดี ได้เนื้อแดงมาก สารกลุ่มนี้จึงนิยม ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาหารสัตว์และลดต้นทุนอาหารสัตว์ได้ เช่น ในหมู สามารถขายได้เร็วขึ้น 4 วัน ลดปริมาณอาหารได้ 18.5 กก. [1, 2] จากรายงานของ FAO สารแรคโตพามีน อนุญาตให้ใช้ 25 ประเทศ นำาโดย สหรัฐอเมริกา แคนาดา และแมกซิโก ซึ่งจะมีการ กำาหนดปริมาณการใช้ที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย ต่อผู้บริโภค และสารกลุ่มนี้ไม่อนุญาตให้ใช้ในมนุษย์แม้ว่าจะเพื่อ วัตถุประสงค์ทางการแพทย์ก็ตาม !!! สิ่งที่ตลกคือ สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาของ สหรัฐอเมริกา (FDA) อนุมัติให้ใช้ยาแรคโตพามีนในหมูหลังจากการ โดย : ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร สารเร่งเนื้อแดง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หอกข้างแคร่กรมปศุสัตว์ สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 269) พ.ศ. 2546 กำาหนด ให้อาหารทุกชนิดต้องตรวจไม่พบการปนเปื้อนของสารเคมีกลุ่มนี้ ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศห้ามใส่สารเร่งเนื้อแดง เป็นส่วนผสมในการผลิตและนำาเข้าซึ่งอาหารสัตว์ตั้งแต่ปี 2525 ประกาศเป็นสารอันตรายในประกาศกระทรวงเกษตรฯ ปี 2545 และ ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ ปี พ.ศ. 2558 โดย ผู้ละเมิด “ผู้ผลิต นำาเข้า จำาหน่าย และใช้สารต้องห้าม มีโทษจำาคุก ไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ จะเห็นได้ว่า กระทรวงเกษตรฯ ได้ทราบถึงอันตรายของสาร เร่งเนื้อแดงมาสองทศวรรษ มีการปราบปรามกันจริงจังในฟาร์มหมู ตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมา แต่ใน ‘โคเนื้อ’ กลับปิดตาข้างหนึ่ง !!! มีการขายกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เรียกว่า ขนมวัวขุน กระทบต่อการส่งออกโคไปเวียดนาม เพราะเวียดนามตรวจพบสาร เร่งเนื้อแดงในโคเนื้อนำาเข้าจากไทยมากจนต้องประกาศระงับนำาเข้า และส่งหนังสือมาถึงอธิบดีกรมปศุสัตว์ของไทยเมื่อเดือนธันวาคม 2565 ส่งผลให้ปัจจุบันราคาวัวโครงหรือวัวขนาดกลางที่ตลาดนัด โคกระบือบ้านหัน จ.มหาสารคาม ซื้อขายกันเพียง 20,000 - 25,000 บาท/ตัว (เดิมราคากลาง 30,000 บาท/ตัว) [5] กลุ่มพ่อค้าวัวจาก ภาคกลางชะลอการซื้อ สถานการณ์โคเนื้อไทยหนักขึ้นเนื่องจากไม่ สามารถส่งออกโคไปเวียดนามได้เหมือนก่อนหน้านี้ สาเหตุของการใช้สารเร่งในโคขุนคงไม่ต่างจากการใช้ในหมู คือ พ่อค้าปลายทางอยากได้เนื้อสวย ซากดี จึงแนะนำาให้เกษตรกรใส่ หากไม่ใส่ก็จะไม่ซื้อ สุดท้ายคนที่ต้องมารับเคราะห์คือ เกษตรกร ผู้เลี้ยงโคต้นน้ำาและกลางน้ำา ซึ่งเป็นเกษตรกรรายย่อย มีทุนน้อย อาศัยเลี้ยงโคเหมือนเงินออม หวังขายลูกโค วัวโครง เอาเงินมาหมุน แม้ว่าผู้เลี้ยงกลุ่มนี้จะไม่ได้ใช้สารเร่งแต่ก็ได้รับผลของความละโมบ ของพ่อค้าปลายทางด้วยเช่นกัน อีกกลุ่มที่ได้รับผลกระทบคือ ผู้บริโภคชาวไทย เมื่อส่งออกโค ไม่ได้ แล้วโคจะไปไหน ก็ต้องขายในประเทศนี่แหละ !!! ซื้อตัวโค ถูกลง ขายเนื้อราคาเดิม ผู้บริโภครับเต็ม ๆ ปศุสัตว์ต้องเข้มงวด อ้างอิงข้อมูล 1. Centner, T.J., J.C. Alvey, and A.M. Stelzleni, Beta agonists in livestock feed: Status, health concerns, and international trade. Journal of animal science, 2014. 92(9): p. 4234-4240. 2. Rathmann, R., et al., Effects of zilpaterol hydrochloride and days on the finishing diet on feedlot performance, carcass characteristics, and tenderness in beef heifers. Journal of Animal Science, 2012. 90(9): p. 3301-3311. 3. Pacelle, W. Banned in 160 Nations, Why is Ractopamine in U.S. Pork? (Op-Ed). Expert voices 2014 [cited 2023 8 February]; Available from: https:// www.livescience.com/47032-time-for-us-to-ban-ractopamine.html. 4. Barker, D., Trade matters: Transatlantic trade and investment partnership (TTIP) - Impacts on food and farming, in Trade matters, J.H. Hanson, Cameron, Editor. 2014, Center for Food Safety: Pennsylvania. 5.ThaiPBS, “วัวอีสาน”ราคาตก หลังพบสารเร่งเนื้อแดง.2566. p. https://www.thaipbs. or.th/news/gallery/455. และตรวจสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสัตว์และโคเนื้อที่เข้าโรงเชือด รวม ถึง อย. คงต้องทำางานกันหนักเพิ่มขึ้นในการตรวจสารเร่งเนื้อแดงใน เนื้อโคที่จำาหน่ายในตลาด เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคชาวไทย ปัจจุบันกรมปศุสัตว์ ส่งทีมสารวัตรปศุสัตว์ไซเบอร์ (DCU) เร่ง กวาดล้างจับกุมกลุ่มลักลอบจำาหน่ายสารเร่งเนื้อแดงทางออนไลน์ สำาหรับด้านต่างประเทศ กรมปศุสัตว์ได้ส่งรายชื่อฟาร์มปลอดการใช้ สารเร่งเนื้อแดง (beta agonist) ไปให้ฝั่งเวียดนาม รวมถึงขั้นตอน การออกใบรับรองและกระบวนการตรวจวิเคราะห์สาร และความถี่ ในการเก็บตัวอย่าง คาดส่งออกวัวไปเวียดนามได้กลางเดือน กุมภาพันธ์นี้ สิ่งที่ต้องติดตามต่อคือ ความเอาจริงเอาจังกับการกำากับดูแล ดังเช่นที่เคยทำาในฟาร์มหมู ตรวจวิเคราะห์วัวทุกตัวที่ส่งออกและวัว ที่เข้าโรงเชือดหรือโรงแปรสภาพ โดยเก็บค่าธรรมเนียมในการตรวจ เพื่อลดภาระแก่รัฐ และที่สำาคัญต้องไม่ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อ เรียกความเชื่อมันของประเทศคู่ค้ากลับคืนมา บทเรียนที่เราเคยมีจากความสำาเร็จในการปกป้องอุตสาหกรรม หมูจากแรงกดดันจากสหรัฐให้นำาเข้าเนื้อหมูในปี 2560 คงไม่ยากที่ จะนำามาใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องการใช้สารเร่งเนื้อแดงในโคเนื้อของ ไทย หากไม่จริงจัง หอกข้างแคร่นี้คงทิ่มแทงอุตสาหกรรมปศุสัตว์ และกรมปศุสัตว์ต่อไป


38 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หนังสือขอโทษต่อบริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ข้อความต่อไปนี้ เป็นข้อความที่จะนำาไปเผยแพร่ในเพจเฟซบุ๊คและลงโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ บริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ที่ได้มีการโพสต์บทความลงในเฟซบุ๊ค ดังภาพที่แสดง รวม 2 ภาพ (ท้ายหนังสือขอโทษ) ตามที่ได้มีภาพ ข้อความ ชื่อทางการค้าและรูปผลิตภัณฑ์ยา CIB Phos ของบริษัทฯไปปรากฏในเพจเฟซบุ๊ค “เสียงบ่น จากฟาร์มโคนม-โคเนื้อ : Murmur On Cattle Farm เรื่อง “การให้ยาเกินขนาด จนทำาให้เสียชีวิตในลูกโค” เมื่อวันที่ 17 ก.ย. 2565 และได้มีการแชร์บทความนี้ออกไปในวงกว้าง จนทำาให้บริษัทได้รับความเสียหายทั้งด้านชื่อเสียงของบริษัท ผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ยาและผลเสียหายทางธุรกิจ ตลอดจนสร้างความเข้าใจผิดในกลุ่มร้านจำาหน่ายยาสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์ และเกษตรกรที่เป็นผู้ใช้ยาตัวดังกล่าว ข้าพเจ้า นายสมศักดิ์ เพ็ชรศิริ วท.บ.(สัตวศาสตร์), สพ.บ. ในฐานะผู้ดูแลเพจเสียงบ่นจากฟาร์มฯ ขอแสดงความเสียใจ และน้อมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอันเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ขาดความตระหนักถึงผลเสียหายที่จะตามมา และไม่มีความ กระตือรือร้นที่จะเข้าไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างฉับไว บัดนี้ข้าพเจ้าสำานึกผิดแล้ว นอกจากกล่าวคำาขอโทษกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มายังบริษัทแล้ว ข้าพเจ้าขอโอกาสแก้ไขผลเสียหายที่เกิดขึ้นด้วยการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยาของ บริษัทลงในเพจเฟซบุ๊ค และลงโฆษณาในวารสารปศุสัตว์หรือสื่งสิ่งพิมพ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นเวลา 5 เดือน ตั้งแต่ ต.ค. 2565- ก.พ.2566 จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอกราบขอบพระคุณที่ให้อภัยต่อความผิดพลาดและไม่ติดใจเอาความมา ณ ที่นี้


38 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หนังสือขอโทษต่อบริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ข้อความต่อไปนี้ เป็นข้อความที่จะนำาไปเผยแพร่ในเพจเฟซบุ๊คและลงโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ บริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ที่ได้มีการโพสต์บทความลงในเฟซบุ๊ค ดังภาพที่แสดง รวม 2 ภาพ (ท้ายหนังสือขอโทษ) ตามที่ได้มีภาพ ข้อความ ชื่อทางการค้าและรูปผลิตภัณฑ์ยา CIB Phos ของบริษัทฯไปปรากฏในเพจเฟซบุ๊ค “เสียงบ่น จากฟาร์มโคนม-โคเนื้อ : Murmur On Cattle Farm เรื่อง “การให้ยาเกินขนาด จนทำาให้เสียชีวิตในลูกโค” เมื่อวันที่ 17 ก.ย. 2565 และได้มีการแชร์บทความนี้ออกไปในวงกว้าง จนทำาให้บริษัทได้รับความเสียหายทั้งด้านชื่อเสียงของบริษัท ผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ยาและผลเสียหายทางธุรกิจ ตลอดจนสร้างความเข้าใจผิดในกลุ่มร้านจำาหน่ายยาสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์ และเกษตรกรที่เป็นผู้ใช้ยาตัวดังกล่าว ข้าพเจ้า นายสมศักดิ์ เพ็ชรศิริ วท.บ.(สัตวศาสตร์), สพ.บ. ในฐานะผู้ดูแลเพจเสียงบ่นจากฟาร์มฯ ขอแสดงความเสียใจ และน้อมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอันเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ขาดความตระหนักถึงผลเสียหายที่จะตามมา และไม่มีความ กระตือรือร้นที่จะเข้าไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างฉับไว บัดนี้ข้าพเจ้าสำานึกผิดแล้ว นอกจากกล่าวคำาขอโทษกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มายังบริษัทแล้ว ข้าพเจ้าขอโอกาสแก้ไขผลเสียหายที่เกิดขึ้นด้วยการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยาของ บริษัทลงในเพจเฟซบุ๊ค และลงโฆษณาในวารสารปศุสัตว์หรือสื่งสิ่งพิมพ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นเวลา 5 เดือน ตั้งแต่ ต.ค. 2565- ก.พ.2566 จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอกราบขอบพระคุณที่ให้อภัยต่อความผิดพลาดและไม่ติดใจเอาความมา ณ ที่นี้ สัตว์เศรษฐกิจ 39 ประเทศที่มีการบริโภคมากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา 12.712 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 10.245 ล้านตัน และบราซิล 7.471 ล้านตัน โดยการบริโภคของจีนเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 2.58 ขณะที่ การบริโภคของบราซิล ลดลงร้อยละ 0.28 และการบริโภครวมของ ประเทศดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 53 ของการบริโภคเนื้อโค ทั้งหมดของโลก การส่งออก ปี 2561 - 2565 การส่งออกเนื้อโคมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.99 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการส่งออกเนื้อโค 12.285 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 11.445 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 7.34 ประเทศที่ส่งออกมากที่สุด คือ บราซิล 2.950 ล้าน ตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.620 ล้านตัน และอินเดีย 1.475 ล้านตัน โดยการส่งออกเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 27.16 ร้อยละ 3.78 และร้อยละ 5.58 ตามลำาดับ และการส่งออกรวมของ ประเทศดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 49 ของการส่งออกเนื้อโค ทั้งหมดของโลก การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 การนำาเข้าเนื้อโคมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.49 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการนำาเข้าเนื้อโคปริมาณ 9.912 ล้านตัน ลดลงจากปริมาณ 9.933 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 0.21 ประเทศที่นำาเข้ามากที่สุด คือ จีน 3.140 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.537 ล้านตัน และญี่ปุ่น 0.800 แม้ปีที่ผ่านมา เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อยังต้องเผชิญกับ โรคลัมปิสกินและโรคปากและเท้าเปื่อย สร้างความเสียหายอยู่เป็น ระยะ ในขณะที่การผลิตโคเนื้อในประเทศเพิ่มขึ้นจากการโครงการ ส่งเสริมการเลี้ยงของภาครัฐ ส่วนการส่งออกโคเนื้อและผลิตภัณฑ์ไป ยังประเทศเพื่อนบ้านยังมีอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยง ผู้ประกอบการต้องพัฒนาการป้องกันโรค พร้อมเพิ่มประสิทธิภาพ ผลิตเนื้อโคคุณภาพดี เพื่อแข่งขันในตลาดเสรี สถานการณ์การผลิตเนื้อโคของโลก ปี 2561 - 2565 มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.50 ต่อปี โดยปี 2565 มีการผลิตปริมาณ 59.372 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 58.371 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 1.71 ผู้ผลิตสำาคัญ คือสหรัฐอเมริกา 12.820 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 10.350 ล้านตัน และจีน 7.125 ล้านตัน โดยการผลิตของประเทศดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 0.68 ร้อยละ 6.15 และร้อยละ 2.08 ตามลำาดับ และการผลิตรวม ของประเทศดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51 ของการผลิตทั้งหมด ของโลก ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2561 - 2565 ปริมาณความ ต้องการบริโภคเนื้อโคในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 ต่อปี โดยการบริโภคเนื้อโคในปี 2565 มีปริมาณ 56.961 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 56.865 ล้านตัน ของปี 2564 ร้อยละ 0.17 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โคเนื้อ ปี 66 ส่งเสริมผู้เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ รับตลาดเสรี


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ปี โดยในปี 2565 การนำาเข้าโคมีชีวิต คาดว่า มีปริมาณ 0.156 ล้านตัว มูลค่า 2,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.004 ล้าน ตัว มูลค่า 371 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 37 เท่า และ 5 เท่า ตามลำาดับ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลาย ลง โดยการนำาเข้าโคมีชีวิตของไทยเกือบทั้งหมดเพื่อการส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.33 และร้อยละ 26.61 ต่อปี โดยส่วนใหญ่เป็นการนำาเข้าเนื้อโคจากประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่นำาเข้าเพื่อการบริโภคและเป็นวัตถุดิบแปรรูป เพื่อส่งออก สำาหรับผลิตภัณฑ์นำาเข้าจากประเทศอินเดีย นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย โดยในปี 2565 คาดว่า นำาเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 25,500 ตัน มูลค่า 7,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 22,850 ตัน มูลค่า 4,697 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.60 และร้อยละ 49.03 ตามลำาดับ ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2561 - 2565 ราคาโคมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 2.89 ต่อปี โดยในปี 2565 โคมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ คาดว่า มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 99.76 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 96.54 บาทของปี 2564 ร้อยละ 3.33 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ความต้องการของธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม และการท่องเที่ยว มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกโคมีชีวิตมี แนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 4.74 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 6.70 ต่อปี โดยในปี 2565 คาดว่า ราคาส่งออกโคมีชีวิตตัวละ 20,817 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17,807 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 16.90 และราคาส่งออกเนื้อโค และผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 427.42 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 212.76 บาท ของปี 2564 ประมาณ 1 เท่า ราคานำาเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานำาเข้าโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 20.85 และร้อยละ 5.22 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 คาดว่า ราคานำาเข้าเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 274.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 205.55 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 33.55 ทั้งนี้ เนื้อโคที่นำาเข้าส่วนใหญ่เป็น เนื้อโคคุณภาพ ซึ่งการผลิตเนื้อโคคุณภาพสำาหรับตลาดบนในประเทศ มีไม่เพียงพอกับความต้องการบริโภค แนวโน้มการผลิตเนื้อโคของโลกปี 2566 คาดว่าการผลิต เนื้อโคจะมีปริมาณ 59.244 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 0.22 ผู้ผลิตรายใหญ่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 12.017 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราชิล 10.450 ล้านตัน และจีน 7.500 ล้านตัน โดย แนวโน้มการผลิตของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.26 และ ร้อยละ 0.97 ตามลำาดับ สำาหรับสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป การผลิตมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.26 และร้อยละ 1.76 ตามลำาดับ ล้านตัน โดยการนำาเข้าของจีนและสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 3.84 และร้อยละ 1.25 ตามลำาดับ ขณะที่การนำาเข้าของ ญี่ปุ่นลดลงร้อยละ 0.87 และการนำาเข้ารวมของประเทศดังกล่าวคิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 55 ของการนำาเข้าเนื้อโคทั้งหมดของโลก สำาหรับการผลิตโคเนื้อของไทย ปี 2561 - 2565 การผลิต โคเนื้อของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 1.24 ต่อปี โดยลดลงในช่วง ปี 2563 - 2564 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ คือ ลัมปี สกิน ทำาให้ผลผลิตบางส่วนเสียหาย ขณะที่บางส่วนไม่สามารถ เคลื่อนย้ายเข้าสู่โรงฆ่าและไม่สามารถจำาหน่ายได้ สำาหรับปี 2565 ปริมาณการผลิต จำานวน 1.424 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.780 ล้านตัว ของปี 2564 ร้อยละ 82.48 เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด คลี่คลายและภาครัฐมีการส่งเสริมการเลี้ยงโคแก่เกษตรกร ประกอบ กับราคาอยู่ในเกณฑ์ดี และตลาดยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง จึงจูงใจให้เกษตรกรมีการเลี้ยงเพิ่มขึ้น ส่วนความต้องการปริโภค ปี 2561 - 2565 ความต้องการ บริโภคเนื้อโคของไทยเพิ่มร้อยละ 0.15 ต่อปี เนื่องจากปี 2563 ผล กระทบจากมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และมี โรคระบาดลัมปี สกิน ในช่วงปี 2563 - 2564 ทำาให้ปริมาณเนื้อโค ในตลาดมีปริมาณน้อย กระทบกับปริมาณความต้องการของตลาด ภายในประเทศ ซึ่งปี 2565 คาดว่า ปริมาณความต้องการประมาณ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก 154 พันตัน ของปี 2564 ร้อยละ 62.81 จากการผ่อนคลายมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำาให้ความต้องการของธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม และการท่องเที่ยว มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการส่งออก มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 13.11 และร้อยละ 8.99 ต่อปี ตามลำาดับ ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว และบางส่วนส่งต่อไปยังจีน โดยในปี 2565 การส่งออกโคมีชีวิต คาดว่ามีปริมาณ 0.159 ล้านตัว มูลค่า 3,300 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.198 ล้านตัว มูลค่า 3,521 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 19.83 และร้อยละ 6.28 ตามลำาดับ เนื่องจาก ผลกระทบจากการที่จีนประกาศมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (Zero Covid) รวมทั้งปัญหาโรคระบาดสัตว์ และมาตรการห้ามเคลื่อนย้าย ตลอดจนปริมาณความต้องการของตลาดภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น กระทบต่อการส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทย มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 7.49 และร้อย ละ 13.69 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 การส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ คาดว่ามีปริมาณ 63 ตัน มูลค่า 27 ล้านบาท ปริมาณ ลดลงจาก 91 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 31.20 ขณะที่มูลค่า เพิ่มขึ้นจาก 19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 38.22 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าโค มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 24.29 และร้อยละ 8.50 ต่อ


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ปี โดยในปี 2565 การนำาเข้าโคมีชีวิต คาดว่า มีปริมาณ 0.156 ล้านตัว มูลค่า 2,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.004 ล้าน ตัว มูลค่า 371 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 37 เท่า และ 5 เท่า ตามลำาดับ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลาย ลง โดยการนำาเข้าโคมีชีวิตของไทยเกือบทั้งหมดเพื่อการส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.33 และร้อยละ 26.61 ต่อปี โดยส่วนใหญ่เป็นการนำาเข้าเนื้อโคจากประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่นำาเข้าเพื่อการบริโภคและเป็นวัตถุดิบแปรรูป เพื่อส่งออก สำาหรับผลิตภัณฑ์นำาเข้าจากประเทศอินเดีย นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย โดยในปี 2565 คาดว่า นำาเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 25,500 ตัน มูลค่า 7,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 22,850 ตัน มูลค่า 4,697 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.60 และร้อยละ 49.03 ตามลำาดับ ด้านราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2561 - 2565 ราคาโคมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 2.89 ต่อปี โดยในปี 2565 โคมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ คาดว่า มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 99.76 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 96.54 บาทของปี 2564 ร้อยละ 3.33 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ความต้องการของธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม และการท่องเที่ยว มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกโคมีชีวิตมี แนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 4.74 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 6.70 ต่อปี โดยในปี 2565 คาดว่า ราคาส่งออกโคมีชีวิตตัวละ 20,817 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17,807 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 16.90 และราคาส่งออกเนื้อโค และผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 427.42 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 212.76 บาท ของปี 2564 ประมาณ 1 เท่า ราคานำาเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานำาเข้าโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 20.85 และร้อยละ 5.22 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 คาดว่า ราคานำาเข้าเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 274.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 205.55 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 33.55 ทั้งนี้ เนื้อโคที่นำาเข้าส่วนใหญ่เป็น เนื้อโคคุณภาพ ซึ่งการผลิตเนื้อโคคุณภาพสำาหรับตลาดบนในประเทศ มีไม่เพียงพอกับความต้องการบริโภค แนวโน้มการผลิตเนื้อโคของโลกปี 2566 คาดว่าการผลิต เนื้อโคจะมีปริมาณ 59.244 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 0.22 ผู้ผลิตรายใหญ่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 12.017 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราชิล 10.450 ล้านตัน และจีน 7.500 ล้านตัน โดย แนวโน้มการผลิตของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.26 และ ร้อยละ 0.97 ตามลำาดับ สำาหรับสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป การผลิตมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.26 และร้อยละ 1.76 ตามลำาดับ ล้านตัน โดยการนำาเข้าของจีนและสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 3.84 และร้อยละ 1.25 ตามลำาดับ ขณะที่การนำาเข้าของ ญี่ปุ่นลดลงร้อยละ 0.87 และการนำาเข้ารวมของประเทศดังกล่าวคิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 55 ของการนำาเข้าเนื้อโคทั้งหมดของโลก สำาหรับการผลิตโคเนื้อของไทย ปี 2561 - 2565 การผลิต โคเนื้อของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 1.24 ต่อปี โดยลดลงในช่วง ปี 2563 - 2564 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ คือ ลัมปี สกิน ทำาให้ผลผลิตบางส่วนเสียหาย ขณะที่บางส่วนไม่สามารถ เคลื่อนย้ายเข้าสู่โรงฆ่าและไม่สามารถจำาหน่ายได้ สำาหรับปี 2565 ปริมาณการผลิต จำานวน 1.424 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.780 ล้านตัว ของปี 2564 ร้อยละ 82.48 เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด คลี่คลายและภาครัฐมีการส่งเสริมการเลี้ยงโคแก่เกษตรกร ประกอบ กับราคาอยู่ในเกณฑ์ดี และตลาดยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง จึงจูงใจให้เกษตรกรมีการเลี้ยงเพิ่มขึ้น ส่วนความต้องการปริโภค ปี 2561 - 2565 ความต้องการ บริโภคเนื้อโคของไทยเพิ่มร้อยละ 0.15 ต่อปี เนื่องจากปี 2563 ผล กระทบจากมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และมี โรคระบาดลัมปี สกิน ในช่วงปี 2563 - 2564 ทำาให้ปริมาณเนื้อโค ในตลาดมีปริมาณน้อย กระทบกับปริมาณความต้องการของตลาด ภายในประเทศ ซึ่งปี 2565 คาดว่า ปริมาณความต้องการประมาณ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก 154 พันตัน ของปี 2564 ร้อยละ 62.81 จากการผ่อนคลายมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำาให้ความต้องการของธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม และการท่องเที่ยว มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการส่งออก มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 13.11 และร้อยละ 8.99 ต่อปี ตามลำาดับ ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว และบางส่วนส่งต่อไปยังจีน โดยในปี 2565 การส่งออกโคมีชีวิต คาดว่ามีปริมาณ 0.159 ล้านตัว มูลค่า 3,300 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.198 ล้านตัว มูลค่า 3,521 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 19.83 และร้อยละ 6.28 ตามลำาดับ เนื่องจาก ผลกระทบจากการที่จีนประกาศมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (Zero Covid) รวมทั้งปัญหาโรคระบาดสัตว์ และมาตรการห้ามเคลื่อนย้าย ตลอดจนปริมาณความต้องการของตลาดภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น กระทบต่อการส่งออก ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทย มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 7.49 และร้อย ละ 13.69 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2565 การส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ คาดว่ามีปริมาณ 63 ตัน มูลค่า 27 ล้านบาท ปริมาณ ลดลงจาก 91 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 31.20 ขณะที่มูลค่า เพิ่มขึ้นจาก 19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 38.22 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าโค มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 24.29 และร้อยละ 8.50 ต่อ สัตว์เศรษฐกิจ 41 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าจะมีการบริโภค เนื้อโค ปริมาณ 56.846 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 0.20 สหรัฐอเมริกามีการบริโภคมากที่สุด ปริมาณ 12.185 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 10.330 ล้านตัน และบราซิล 7.547 ล้านตัน โดยแนวโน้มการบริโภคของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 และ ร้อยละ 1.02 ตามลำาดับ สำาหรับสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป การบริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 4.15 และร้อยละ 0.85 ตามลำาดับ ล้านตัน โดยแนวโน้มการผลิตของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.26 และร้อยละ 0.97 ตามล าดับ ส าหรับสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป การผลิตมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.26 และร้อยละ 1.76 ตามล าดับ ปริมาณการผลิตเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** สหรัฐอเมริกา 12.256 12.385 12.389 12.734 12.820 1.18 12.017 บราซิล 9.975 10.050 9.975 9.750 10.350 0.44 10.450 จีน 6.440 6.670 6.720 6.980 7.125 2.51 7.500 สหภาพยุโรป 7.067 6.964 6.882 6.865 6.820 -0.85 6.700 อินเดีย 4.240 4.270 3.760 4.195 4.350 0.34 4.425 อาร์เจนตินา 2.050 3.125 3.170 3.000 3.080 8.04 3.050 อื่นๆ 15.812 15.063 14.762 14.847 15.187 -0.95 15.102 รวม 57.840 58.527 57,660 57,777 58,117 0.51 58,117 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าจะมีการบริโภคเนื้อโคปริมาณ 56.846 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อย ละ 0.20 สหรัฐอเมริกามีการบริโภคมากที่สุด ปริมาณ 12.185 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 10.330 ล้านตัน และบราซิล 7.547 ล้านตัน โดยแนวโน้มการบริโภคของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 และร้อยละ 1.02 ตามล าดับ ส าหรับ สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป การบริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 4.15 และร้อยละ 0.85 ตามล าดับ ปริมาณการบริโภคเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** สหรัฐอเมริกา 12.181 12.409 12.531 12.712 12.712 1.10 12.185 จีน 7.808 8.826 9.485 9.987 10.245 6.90 10.330 บราซิล 8.000 7.779 7.486 7.492 7.471 -1.73 7.547 สหภาพยุโรป 6.753 6.698 6.518 6.512 6.505 -1.02 6.450 อินเดีย 2.729 2.776 2.476 2.798 2.875 1.13 2.950 อาร์เจนตินา 2.568 2.379 2.366 2.273 2.316 -2.49 2.305 อื่นๆ 15.450 15.380 15.198 15.091 14.837 -0.99 15.079 รวม 55.489 56.247 56.060 56.865 56.961 0.63 56.846 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 12.136 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 1.21 โดย บราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.975 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ออสเตรเลีย 1.510 ล้านตัน และอินเดีย 1.475 ล้านตัน ออสเตรเลีย มีการส่งออกเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 16.15 ขณะที่สหรัฐอเมริกา ส่งออกปริมาณ 1.39 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 14.01 ล้านตัน โดยแนวโน้มการผลิตของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.26 และร้อยละ 0.97 ตามล าดับ ส าหรับสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป การผลิตมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.26 และร้อยละ 1.76 ตามล าดับ ปริมาณการผลิตเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** สหรัฐอเมริกา 12.256 12.385 12.389 12.734 12.820 1.18 12.017 บราซิล 9.975 10.050 9.975 9.750 10.350 0.44 10.450 จีน 6.440 6.670 6.720 6.980 7.125 2.51 7.500 สหภาพยุโรป 7.067 6.964 6.882 6.865 6.820 -0.85 6.700 อินเดีย 4.240 4.270 3.760 4.195 4.350 0.34 4.425 อาร์เจนตินา 2.050 3.125 3.170 3.000 3.080 8.04 3.050 อื่นๆ 15.812 15.063 14.762 14.847 15.187 -0.95 15.102 รวม 57.840 58.527 57,660 57,777 58,117 0.51 58,117 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่าจะมีการบริโภคเนื้อโคปริมาณ 56.846 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อย ละ 0.20 สหรัฐอเมริกามีการบริโภคมากที่สุด ปริมาณ 12.185 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 10.330 ล้านตัน และบราซิล 7.547 ล้านตัน โดยแนวโน้มการบริโภคของจีนและบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 และร้อยละ 1.02 ตามล าดับ ส าหรับ สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป การบริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 4.15 และร้อยละ 0.85 ตามล าดับ ปริมาณการบริโภคเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** สหรัฐอเมริกา 12.181 12.409 12.531 12.712 12.712 1.10 12.185 จีน 7.808 8.826 9.485 9.987 10.245 6.90 10.330 บราซิล 8.000 7.779 7.486 7.492 7.471 -1.73 7.547 สหภาพยุโรป 6.753 6.698 6.518 6.512 6.505 -1.02 6.450 อินเดีย 2.729 2.776 2.476 2.798 2.875 1.13 2.950 อาร์เจนตินา 2.568 2.379 2.366 2.273 2.316 -2.49 2.305 อื่นๆ 15.450 15.380 15.198 15.091 14.837 -0.99 15.079 รวม 55.489 56.247 56.060 56.865 56.961 0.63 56.846 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การส่งออก ปี 2566 คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 12.136 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 1.21 โดย บราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.975 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ออสเตรเลีย 1.510 ล้านตัน และอินเดีย 1.475 ล้านตัน ออสเตรเลีย มีการส่งออกเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 16.15 ขณะที่สหรัฐอเมริกา ส่งออกปริมาณ 1.39 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 14.01


42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การส่งออก ปี 2566 คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 12.136 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 1.21 โดยบราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.975 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ออสเตรเลีย 1.510 ล้านตัน และอินเดีย 1.475 ล้านตัน ออสเตรเลีย มีการส่งออกเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 16.15 ขณะที่สหรัฐอเมริกา ส่งออกปริมาณ 1.39 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อย ละ 14.01 ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** บราซิล 2.021 2.314 2.539 2.320 2.950 7.89 2.975 สหรัฐอเมริกา 1.433 1.373 1.338 1.561 1.620 3.81 1.393 อินเดีย 1.511 1.494 1.284 1.397 1.475 -1.15 1.475 ออสเตรเลีย 1.582 1.739 1.473 1.291 1.300 -6.67 1.510 อาร์เจนตินา 0.501 0.763 0.818 0.735 0.770 8.57 0.750 สหภาพยุโรป 0.736 0.701 0.714 0.674 0.700 -1.39 0.650 อื่นๆ 2.852 2.994 3.070 3.467 3.470 5.54 3.383 รวม 10.636 11.378 11.236 11.445 12.285 2.99 12.136 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การน าเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีน น าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.805 ล้านตัน การน าเข้า ของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามล าดับ ขณะที่การน าเข้าของญี่ปุ่ นและ สหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามล าดับ ปริมาณการนา เข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** จีน 1.369 2.177 2.781 3.024 3.140 22.00 2.850 สหรัฐอเมริกา 1.360 1.387 1.515 1.518 1.537 3.41 1.520 ญี่ปุ่ น 0.840 0.853 0.832 0.807 0.800 -1.52 0.805 เกาหลีใต้ 0.515 0.550 0.549 0.588 0.610 4.14 0.620 ชิลี 0.308 0.347 0.342 0.464 0.410 9.01 0.410 สหภาพยุโรป 0.422 0.435 0.350 0.321 0.385 -4.76 0.400 อื่นๆ 3.508 3.334 3.317 3.211 3.030 -3.25 3.080 รวม 8.322 9.083 9.686 9.933 9.912 4.49 9.685 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตของไทยปี 2566 คาดว่ามีปริมาณการผลิต 1.495 ล้านตัว หรือ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 4.96 เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศมีอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และการท่องเที่ยวสามารถด าเนินการได้ตามปกติ รวมถึง ภาครัฐมีโครงการที่ช่วยสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการขยายตลาดส่งออกสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและ เวียดนาม ท าให้แนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้น ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** บราซิล 2.021 2.314 2.539 2.320 2.950 7.89 2.975 สหรัฐอเมริกา 1.433 1.373 1.338 1.561 1.620 3.81 1.393 อินเดีย 1.511 1.494 1.284 1.397 1.475 -1.15 1.475 ออสเตรเลีย 1.582 1.739 1.473 1.291 1.300 -6.67 1.510 อาร์เจนตินา 0.501 0.763 0.818 0.735 0.770 8.57 0.750 สหภาพยุโรป 0.736 0.701 0.714 0.674 0.700 -1.39 0.650 อื่นๆ 2.852 2.994 3.070 3.467 3.470 5.54 3.383 รวม 10.636 11.378 11.236 11.445 12.285 2.99 12.136 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การน าเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีน น าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.805 ล้านตัน การน าเข้า ของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามล าดับ ขณะที่การน าเข้าของญี่ปุ่ นและ สหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามล าดับ ปริมาณการนา เข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** จีน 1.369 2.177 2.781 3.024 3.140 22.00 2.850 สหรัฐอเมริกา 1.360 1.387 1.515 1.518 1.537 3.41 1.520 ญี่ปุ่ น 0.840 0.853 0.832 0.807 0.800 -1.52 0.805 เกาหลีใต้ 0.515 0.550 0.549 0.588 0.610 4.14 0.620 ชิลี 0.308 0.347 0.342 0.464 0.410 9.01 0.410 สหภาพยุโรป 0.422 0.435 0.350 0.321 0.385 -4.76 0.400 อื่นๆ 3.508 3.334 3.317 3.211 3.030 -3.25 3.080 รวม 8.322 9.083 9.686 9.933 9.912 4.49 9.685 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตของไทยปี 2566 คาดว่ามีปริมาณการผลิต 1.495 ล้านตัว หรือ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 4.96 เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศมีอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และการท่องเที่ยวสามารถด าเนินการได้ตามปกติ รวมถึง ภาครัฐมีโครงการที่ช่วยสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการขยายตลาดส่งออกสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและ เวียดนาม ท าให้แนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้น การนำาเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการนำาเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้าน ตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีนนำาเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่น 0.805 ล้านตัน การนำาเข้าของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามลำาดับ ขณะที่การนำาเข้าของญี่ปุ่นและสหภาพยุโรปมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามลำาดับ


42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การส่งออก ปี 2566 คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 12.136 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 1.21 โดยบราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.975 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ออสเตรเลีย 1.510 ล้านตัน และอินเดีย 1.475 ล้านตัน ออสเตรเลีย มีการส่งออกเพิ่มขึ้นมากที่สุดร้อยละ 16.15 ขณะที่สหรัฐอเมริกา ส่งออกปริมาณ 1.39 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อย ละ 14.01 ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** บราซิล 2.021 2.314 2.539 2.320 2.950 7.89 2.975 สหรัฐอเมริกา 1.433 1.373 1.338 1.561 1.620 3.81 1.393 อินเดีย 1.511 1.494 1.284 1.397 1.475 -1.15 1.475 ออสเตรเลีย 1.582 1.739 1.473 1.291 1.300 -6.67 1.510 อาร์เจนตินา 0.501 0.763 0.818 0.735 0.770 8.57 0.750 สหภาพยุโรป 0.736 0.701 0.714 0.674 0.700 -1.39 0.650 อื่นๆ 2.852 2.994 3.070 3.467 3.470 5.54 3.383 รวม 10.636 11.378 11.236 11.445 12.285 2.99 12.136 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การน าเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีน น าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.805 ล้านตัน การน าเข้า ของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามล าดับ ขณะที่การน าเข้าของญี่ปุ่ นและ สหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามล าดับ ปริมาณการนา เข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** จีน 1.369 2.177 2.781 3.024 3.140 22.00 2.850 สหรัฐอเมริกา 1.360 1.387 1.515 1.518 1.537 3.41 1.520 ญี่ปุ่ น 0.840 0.853 0.832 0.807 0.800 -1.52 0.805 เกาหลีใต้ 0.515 0.550 0.549 0.588 0.610 4.14 0.620 ชิลี 0.308 0.347 0.342 0.464 0.410 9.01 0.410 สหภาพยุโรป 0.422 0.435 0.350 0.321 0.385 -4.76 0.400 อื่นๆ 3.508 3.334 3.317 3.211 3.030 -3.25 3.080 รวม 8.322 9.083 9.686 9.933 9.912 4.49 9.685 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตของไทยปี 2566 คาดว่ามีปริมาณการผลิต 1.495 ล้านตัว หรือ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 4.96 เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศมีอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และการท่องเที่ยวสามารถด าเนินการได้ตามปกติ รวมถึง ภาครัฐมีโครงการที่ช่วยสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการขยายตลาดส่งออกสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและ เวียดนาม ท าให้แนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้น ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** บราซิล 2.021 2.314 2.539 2.320 2.950 7.89 2.975 สหรัฐอเมริกา 1.433 1.373 1.338 1.561 1.620 3.81 1.393 อินเดีย 1.511 1.494 1.284 1.397 1.475 -1.15 1.475 ออสเตรเลีย 1.582 1.739 1.473 1.291 1.300 -6.67 1.510 อาร์เจนตินา 0.501 0.763 0.818 0.735 0.770 8.57 0.750 สหภาพยุโรป 0.736 0.701 0.714 0.674 0.700 -1.39 0.650 อื่นๆ 2.852 2.994 3.070 3.467 3.470 5.54 3.383 รวม 10.636 11.378 11.236 11.445 12.285 2.99 12.136 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 การน าเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้านตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีน น าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.805 ล้านตัน การน าเข้า ของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามล าดับ ขณะที่การน าเข้าของญี่ปุ่ นและ สหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามล าดับ ปริมาณการนา เข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** จีน 1.369 2.177 2.781 3.024 3.140 22.00 2.850 สหรัฐอเมริกา 1.360 1.387 1.515 1.518 1.537 3.41 1.520 ญี่ปุ่ น 0.840 0.853 0.832 0.807 0.800 -1.52 0.805 เกาหลีใต้ 0.515 0.550 0.549 0.588 0.610 4.14 0.620 ชิลี 0.308 0.347 0.342 0.464 0.410 9.01 0.410 สหภาพยุโรป 0.422 0.435 0.350 0.321 0.385 -4.76 0.400 อื่นๆ 3.508 3.334 3.317 3.211 3.030 -3.25 3.080 รวม 8.322 9.083 9.686 9.933 9.912 4.49 9.685 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2022 ส าหรับแนวโน้มการผลิตของไทยปี 2566 คาดว่ามีปริมาณการผลิต 1.495 ล้านตัว หรือ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2565 ร้อยละ 4.96 เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศมีอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และการท่องเที่ยวสามารถด าเนินการได้ตามปกติ รวมถึง ภาครัฐมีโครงการที่ช่วยสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการขยายตลาดส่งออกสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและ เวียดนาม ท าให้แนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้น การนำาเข้าปี 2566 คาดว่าจะมีการนำาเข้าเนื้อโคของโลก 9.685 ล้าน ตัน ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 2.29 โดยจีนนำาเข้ามากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.520 ล้านตัน และญี่ปุ่น 0.805 ล้านตัน การนำาเข้าของจีนและสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ 9.24 และร้อยละ 1.11 ตามลำาดับ ขณะที่การนำาเข้าของญี่ปุ่นและสหภาพยุโรปมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.63 และร้อยละ 3.90 ตามลำาดับ สัตว์เศรษฐกิจ 43 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ขณะที่ความต้องการบริโภค โคเนื้อที่ผลิตได้จะใช้บริโภคในประเทศร้อยละ 97 โดยปี 2566 คาดว่าการบริโภคจะ เพิ่มขึ้น จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถด าเนินการได้ตามปกติ และการเพิ่มของจ านวนประชากร ท าให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น ปริมาณการผลิต การส่งออก การนา เข้า และการบริโภคเนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.127 1.199 1.231 0.780 1.424 -1.24 1.495 (พันตันน ้าหนักซาก) 205.464 201.432 206.811 131.100 239.229 -1.24 251.000 ส่งออก2/(พันตัน) 0.096 0.084 0.322 0.091 0.063 -7.49 0.082 น าเข้า2/(พันตัน) 13.067 13.676 18.950 22.850 25.500 20.33 26.000 การบริโภค1/(ล้านตัน) 1.261 1.262 1.342 0.916 1.491 0.15 1.565 (พันตันน ้าหนักซาก) 211.848 212.020 225.439 153.859 250.500 0.15 263.000 หมายเหตุ : *ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีความ ต้องการโคมีชีวิตจากประเทศเวียดนาม และจีนเพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากสถานการณ์ การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหารสามารถด าเนินการได้ ท าให้ความต้องการ บริโภคเนื้อโคคุณภาพจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีแรงจูงใจในการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น การน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนือ้โคและผลิตภณัฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) การส่งออก โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.252 4,103 0.319 5,841 0.304 5,409 0.198 3,521 0.159 3,300 -13.11 -8.99 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 0.096 45 0.084 30 0.322 33 0.091 19 0.063 27 -7.49 -13.69 การน าเข้า โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.137 2,058 0.086 1,330 0.063 1,144 0.004 371 0.156 2,500 -24.29 -8.50 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 13.067 2,752 13.676 2,870 18.950 3,374 22.850 4,697 25.500 7,000 20.33 26.61 หมายเหตุ: * ข้อมูลประมาณการ ที่มา: กรมศุลกากร สำาหรับแนวโน้มการผลิตของไทยปี 2566 คาดว่ามีปริมาณ การผลิต 1.495 ล้านตัว หรือ 251 พันตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 4.96 เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศและ ต่างประเทศมีอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ธุรกิจภาคบริการ และการท่องเที่ยว สามารถดำาเนินการได้ตามปกติ รวมถึง ภาครัฐมีโครงการที่ช่วย สนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการขยายตลาดส่งออกสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและเวียดนาม ทำาให้แนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้น ขณะที่ความต้องการบริโภค โคเนื้อที่ผลิตได้จะใช้บริโภคใน ประเทศร้อยละ 97 โดยปี 2566 คาดว่าการบริโภคจะเพิ่มขึ้น จาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ธุรกิจ ภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถดำาเนินการได้ตาม ปกติ และการเพิ่มของจำานวนประชากร ทำาให้ความต้องการบริโภค เนื้อโคเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีความต้องการโคมีชีวิต จากประเทศเวียดนาม และจีนเพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการบริโภค เพิ่มขึ้น การนำาเข้า ปี 2566 คาดว่าการนำาเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหาร สามารถดำาเนินการได้ ทำาให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคคุณภาพจาก ต่างประเทศเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีแรงจูงใจในการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น


44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2566 คาดว่าราคาจะใกล้เคียงกับ ปี 2565 เนื่องจากราคาปัจจัย การผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้อง บริหารจัดการราคาจำาหน่ายให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภค เนื้อโคในประเทศ ราคาส่งออก และราคานำาเข้า ปี 2566 คาดว่าราคาส่งออก โคมีชีวิตจะสูงขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์และราคา นำาเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2566 คาดว่าราคาจะใกล้เคียงกับปี 2565 เนื่องจากราคาปัจจัย การผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้องบริหารจัดการราคาจ าหน่ายให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคเนื้อโคในประเทศ ราคาส่งออก และราคาน าเข้า ปี 2566 คาดว่าราคาส่งออกโคมีชีวิตจะสูงขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์และราคาน าเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาโคเนือ้ทเี่กษตรกรขายได้และราคาส่งออก-นา เข้าโคมีชีวิต เนือ้โค และผลิตภณัฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาที่เกษตรกรขายได้1/(บาท/กก.) 90.09 89.02 93.37 96.54 99.76 2.89 ราคาส่งออก2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 16,282 469.60 18,315 352.72 17,771 102.20 17,807 212.76 20,817 427.42 4.74 -6.70 ราคาน าเข้า2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 15,027 210.62 15,530 209.85 18,279 178.02 90,835* 205.55 16,018 274.50 20.85 5.22 หมายเหตุ : * มีการน าเข้าโคอื่นๆ ที่ไม่ใช่วัวท าพันธุ์ลดลงอย่างมาก เน่ื ่ องจากโรคลมั ปีสกินระบาดในประเทศเพ่ื ่ อนบา้นและ มีการนา เขา้ววัทา พนัธุจ์ากสหรฐัอเมรกิา ในราคาท่ี ่ สงูกวา่ ปีอ่ื ่ นๆ ทา ใหร้าคานา เขา้เฉล่ียสงูผิดปกติ ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ จากการค านวณข้อมูลในตารางการน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์ของไทย ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย การผลิต 1. โรคอุบัติใหม่ ลัมปีสกิน (Lumpy skin disease: LSD) รวมทั้งโรคปากและเท้าเปื่อยระบาดเป็นระยะ ๆ ท าให้ เกษตรกรมีต้นทุนเพิ่มขึ้นในด้านค่าใช้จ่ายในการป้องกันและรักษา รวมถึงส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคใน ประเทศ 2. การผลิตโคเนื้อในประเทศยังไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภค กรมปศุสัตว์ จึงได้จัดท าโครงการเพื่อส่งเสริม ให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ – โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2559 – 2566) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 397 ราย จัดซื้อแม่โคเนื้อเป้าหมาย 1,975 ตัว ลูกเกิด สะสม 15,335 ตัว เพศผู้ 7,882 ตัว เพศเมีย 7,453 ตัว – โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2567) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 3,511 ราย จัดซื้อแม่โคเป้าหมาย 17,500 ตัว ลูกเกิด สะสม 71,762 ตัว เพศผู้ 34,506 ตัว เพศเมีย 37,256 ตัว – โครงการโคบาลบูรพา (พ.ศ. 2560 – 2566) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 ส่งมอบโคเนื้อแก่ เกษตรกร 6,000 ราย จ านวน 30,000 ตัว ลูกเกิด จ านวน 5,385 ตัว จ าหน่ายลูกโคเพศผู้ 666 ตัว มูลค่า 16.445 ล้านบาท ส่งคืนลูกเกิด 2,075 ตัว 3. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อรองรับ FTA พ.ศ. 2563 – 2570 (161.78 ล้านบาท) เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตโคเนื้อเพื่อรองรับความต้องการบริโภคทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน ผลการด าเนินงาน (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565) มีดังนี้ ขณะที่ความต้องการบริโภค โคเนื้อที่ผลิตได้จะใช้บริโภคในประเทศร้อยละ 97 โดยปี 2566 คาดว่าการบริโภคจะ เพิ่มขึ้น จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถด าเนินการได้ตามปกติ และการเพิ่มของจ านวนประชากร ท าให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น ปริมาณการผลิต การส่งออก การนา เข้า และการบริโภคเนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.127 1.199 1.231 0.780 1.424 -1.24 1.495 (พันตันน ้าหนักซาก) 205.464 201.432 206.811 131.100 239.229 -1.24 251.000 ส่งออก2/(พันตัน) 0.096 0.084 0.322 0.091 0.063 -7.49 0.082 น าเข้า2/(พันตัน) 13.067 13.676 18.950 22.850 25.500 20.33 26.000 การบริโภค1/(ล้านตัน) 1.261 1.262 1.342 0.916 1.491 0.15 1.565 (พันตันน ้าหนักซาก) 211.848 212.020 225.439 153.859 250.500 0.15 263.000 หมายเหตุ : *ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีความ ต้องการโคมีชีวิตจากประเทศเวียดนาม และจีนเพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากสถานการณ์ การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหารสามารถด าเนินการได้ ท าให้ความต้องการ บริโภคเนื้อโคคุณภาพจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีแรงจูงใจในการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น การน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนือ้โคและผลิตภณัฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) การส่งออก โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.252 4,103 0.319 5,841 0.304 5,409 0.198 3,521 0.159 3,300 -13.11 -8.99 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 0.096 45 0.084 30 0.322 33 0.091 19 0.063 27 -7.49 -13.69 การน าเข้า โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.137 2,058 0.086 1,330 0.063 1,144 0.004 371 0.156 2,500 -24.29 -8.50 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 13.067 2,752 13.676 2,870 18.950 3,374 22.850 4,697 25.500 7,000 20.33 26.61 หมายเหตุ: * ข้อมูลประมาณการ ที่มา: กรมศุลกากร


44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2566 คาดว่าราคาจะใกล้เคียงกับ ปี 2565 เนื่องจากราคาปัจจัย การผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้อง บริหารจัดการราคาจำาหน่ายให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภค เนื้อโคในประเทศ ราคาส่งออก และราคานำาเข้า ปี 2566 คาดว่าราคาส่งออก โคมีชีวิตจะสูงขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์และราคา นำาเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2566 คาดว่าราคาจะใกล้เคียงกับปี 2565 เนื่องจากราคาปัจจัย การผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้องบริหารจัดการราคาจ าหน่ายให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคเนื้อโคในประเทศ ราคาส่งออก และราคาน าเข้า ปี 2566 คาดว่าราคาส่งออกโคมีชีวิตจะสูงขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์และราคาน าเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะใกล้เคียงกับปี 2565 ราคาโคเนือ้ทเี่กษตรกรขายได้และราคาส่งออก-นา เข้าโคมีชีวิต เนือ้โค และผลิตภณัฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) ราคาที่เกษตรกรขายได้1/ (บาท/กก.) 90.09 89.02 93.37 96.54 99.76 2.89 ราคาส่งออก2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 16,282 469.60 18,315 352.72 17,771 102.20 17,807 212.76 20,817 427.42 4.74 -6.70 ราคาน าเข้า2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 15,027 210.62 15,530 209.85 18,279 178.02 90,835* 205.55 16,018 274.50 20.85 5.22 หมายเหตุ : * มีการน าเข้าโคอื่นๆ ที่ไม่ใช่วัวท าพันธุ์ลดลงอย่างมาก เน่ื ่ องจากโรคลมั ปีสกินระบาดในประเทศเพ่ื ่ อนบา้นและ มีการนา เขา้ววัทา พนัธุจ์ากสหรฐัอเมรกิา ในราคาท่ี ่ สงูกวา่ ปีอ่ื ่ นๆ ทา ใหร้าคานา เขา้เฉล่ียสงูผิดปกติ ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ จากการค านวณข้อมูลในตารางการน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์ของไทย ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย การผลิต 1. โรคอุบัติใหม่ ลัมปีสกิน (Lumpy skin disease: LSD) รวมทั้งโรคปากและเท้าเปื่อยระบาดเป็นระยะ ๆ ท าให้ เกษตรกรมีต้นทุนเพิ่มขึ้นในด้านค่าใช้จ่ายในการป้องกันและรักษา รวมถึงส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคใน ประเทศ 2. การผลิตโคเนื้อในประเทศยังไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภค กรมปศุสัตว์ จึงได้จัดท าโครงการเพื่อส่งเสริม ให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ – โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2559 – 2566) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 397 ราย จัดซื้อแม่โคเนื้อเป้าหมาย 1,975 ตัว ลูกเกิด สะสม 15,335 ตัว เพศผู้ 7,882 ตัว เพศเมีย 7,453 ตัว – โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2567) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 3,511 ราย จัดซื้อแม่โคเป้าหมาย 17,500 ตัว ลูกเกิด สะสม 71,762 ตัว เพศผู้ 34,506 ตัว เพศเมีย 37,256 ตัว – โครงการโคบาลบูรพา (พ.ศ. 2560 – 2566) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 ส่งมอบโคเนื้อแก่ เกษตรกร 6,000 ราย จ านวน 30,000 ตัว ลูกเกิด จ านวน 5,385 ตัว จ าหน่ายลูกโคเพศผู้ 666 ตัว มูลค่า 16.445 ล้านบาท ส่งคืนลูกเกิด 2,075 ตัว 3. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อรองรับ FTA พ.ศ. 2563 – 2570 (161.78 ล้านบาท) เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตโคเนื้อเพื่อรองรับความต้องการบริโภคทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน ผลการด าเนินงาน (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565) มีดังนี้ ขณะที่ความต้องการบริโภค โคเนื้อที่ผลิตได้จะใช้บริโภคในประเทศร้อยละ 97 โดยปี 2566 คาดว่าการบริโภคจะ เพิ่มขึ้น จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถด าเนินการได้ตามปกติ และการเพิ่มของจ านวนประชากร ท าให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น ปริมาณการผลิต การส่งออก การนา เข้า และการบริโภคเนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) 2566** การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.127 1.199 1.231 0.780 1.424 -1.24 1.495 (พันตันน ้าหนักซาก) 205.464 201.432 206.811 131.100 239.229 -1.24 251.000 ส่งออก2/ (พันตัน) 0.096 0.084 0.322 0.091 0.063 -7.49 0.082 น าเข้า2/ (พันตัน) 13.067 13.676 18.950 22.850 25.500 20.33 26.000 การบริโภค1/ (ล้านตัน) 1.261 1.262 1.342 0.916 1.491 0.15 1.565 (พันตันน ้าหนักซาก) 211.848 212.020 225.439 153.859 250.500 0.15 263.000 หมายเหตุ : *ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2566 คาดว่าการส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้นจากปี 2565 เนื่องจากมีความ ต้องการโคมีชีวิตจากประเทศเวียดนาม และจีนเพิ่มขึ้น รวมถึงความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น การน าเข้า ปี 2566 คาดว่าการน าเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากสถานการณ์ การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหารสามารถด าเนินการได้ ท าให้ความต้องการ บริโภคเนื้อโคคุณภาพจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีแรงจูงใจในการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น การน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนือ้โคและผลิตภณัฑข์องไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565* อัตราเพมิ่ (%) การส่งออก โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.252 4,103 0.319 5,841 0.304 5,409 0.198 3,521 0.159 3,300 -13.11 -8.99 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 0.096 45 0.084 30 0.322 33 0.091 19 0.063 27 -7.49 -13.69 การน าเข้า โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 0.137 2,058 0.086 1,330 0.063 1,144 0.004 371 0.156 2,500 -24.29 -8.50 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 13.067 2,752 13.676 2,870 18.950 3,374 22.850 4,697 25.500 7,000 20.33 26.61 หมายเหตุ: * ข้อมูลประมาณการ ที่มา: กรมศุลกากร สัตว์เศรษฐกิจ 45 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย การผลิต 1. โรคอุบัติใหม่ ลัมปีสกิน (Lumpy skin disease: LSD) รวมทั้งโรคปากและเท้าเปื่อยระบาดเป็นระยะ ๆ ทำาให้เกษตรกรมี ต้นทุนเพิ่มขึ้นในด้านค่าใช้จ่ายในการป้องกันและรักษา รวมถึงส่งผล กระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในประเทศ 2. การผลิตโคเนื้อในประเทศยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ บริโภค กรมปศุสัตว์ จึงได้จัดทำาโครงการเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร เลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2559 - 2566) ผลการดำาเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ จำานวน 397 ราย จัดซื้อแม่โคเนื้อเป้าหมาย 1,975 ตัว ลูกเกิด สะสม 15,335 ตัว เพศผู้ 7,882 ตัว เพศเมีย 7,453 ตัว - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2567) ผลการดำาเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ จำานวน 3,511 ราย จัดซื้อแม่โคเป้าหมาย 17,500 ตัว ลูกเกิด สะสม 71,762 ตัว เพศผู้ 34,506 ตัว เพศเมีย 37,256 ตัว - โครงการโคบาลบูรพา (พ.ศ. 2560 - 2566) ผลการ ดำาเนินงาน ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2565 ส่งมอบโคเนื้อแก่เกษตรกร 6,000 ราย จำานวน 30,000 ตัว ลูกเกิด จำานวน 5,385 ตัว จำาหน่ายลูกโคเพศผู้ 666 ตัว มูลค่า 16.445 ล้านบาท ส่งคืนลูก เกิด 2,075 ตัว 3. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อรองรับ FTA พ.ศ. 2563 - 2570 (161.78 ล้านบาท) เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิต โคเนื้อเพื่อรองรับความต้องการบริโภคทั้งในประเทศและประเทศ เพื่อนบ้าน ผลการดำาเนินงาน (สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2565) มีดังนี้ - กิจกรรมเพิ่มศักยภาพการผลิตโคและระบบโลจิสติกส์ครบ วงจรห่วงโซ่อุปทาน วิสาหกิจชุมชน 4 กลุ่ม (จังหวัดเชียงราย ตาก นครสวรรค์ และราชบุรี) เช่น ถ่ายทอดเทคโนโลยีพัฒนาศักยภาพ เกษตรกร 930 ราย ให้เงินกู้สำาหรับการก่อสร้าง/ปรับปรุงคอกกลาง ในจังหวัดเชียงราย ราชบุรี เลี้ยงโค ในคอกกลางเลี้ยงก่อนขุน 443 ตัว และเลี้ยงโคขุน 1,096 ตัว - กิจกรรมเพิ่มศักยภาพการแปรรูปและขยายโอกาสทางการ ตลาด บริษัทพรีเมียมบีฟ จำากัด เช่น เลี้ยงโคก่อนขุน 2,520 ตัว (1,260 ตัว/ปี) พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปเนื้อโคแช่เย็นด้วยเทคโนโลยี บรรจุภัณฑ์ สูญญากาศแบบ Skin Vacuum และซื้อโคขุนเพื่อแปรรูป ด้วยเทคโนโลยีฯ 5,606 ตัว เป็นต้น 2.3.2 การนำาเข้าและส่งออก ปัจจัยบวก 1. ประเทศผู้ผลิตเนื้อโคของโลกโดยเฉพาะออสเตรเลีย บราซิล สหรัฐอเมริกา ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ทำาให้ การส่งออกเนื้อโคของประเทศดังกล่าวลดลง เป็นโอกาสให้ไทย สามารถส่งออกเนื้อโคได้มากขึ้นโดยเฉพาะในตลาดประเทศอาเซียน 2. การใช้ประโยชน์การขนส่งทางรถไฟลาว - จีน เพื่อลด ต้นทุนโลจิสติกส์ ทำาให้สามารถขยายการ ส่งออกโคไปจีน ผ่าน สปป.ลาวได้ เพิ่มขึ้น ปัจจัยลบ 1. การเปิดเขตการค้าเสรี FTA ไทย - ออสเตรเลีย และไทย - นิวซีแลนด์ ตั้งแต่ปี 2564 ทำาให้ราคานำาเข้าเนื้อโคคุณภาพต่ำากว่า ราคาเนื้อโคคุณภาพในประเทศ ส่งผลกระทบต่อสัดส่วนการตลาดใน ธุรกิจโรงแรมและร้านอาหารลดลง 2. ผลกระทบจากมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 (Zero Covid) ของจีน ทำาให้ มีการปิดด่านชายแดน ของ สปป.ลาว และมีกระบวนการนำาเข้าที่เข้มงวด โดยต้องถูกกัก ตรวจสอบโรคที่ สปป. ลาว ระยะเวลา 45 วัน ก่อนที่จะสามารถ ส่งออกไปที่จีนได้ และเมื่อไปถึงจีนแล้วจะต้องถูกกักตรวจโรคที่ ชายแดน สปป.ลาว - จีน อย่างน้อย 30 วัน ก่อนที่จะนำาไปเข้า กระบวนการผลิตที่จีน รวมทั้งการกำาหนดให้โคนำาเข้า ต้องเป็นโค ลูกผสมอเมริกันบราห์มัน หรือลูกผสมยุโรปทุกสายพันธุ์ ต้องมี น้ำาหนักไม่ต่ำากว่า 350 - 400 กิโลกรัม ต้องมีอายุไม่เกิน 4 ปี ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย และปลอดการใช้สารเร่งเนื้อแดง 3. นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมโคเนื้อในมณฑลยูนนานเป็น เมืองแห่งโคเนื้อของจีน โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดนฝั่งตะวันตกติดกับ เมียนมา ได้แก่ เมืองหลินชาง เมืองเป่าซาน เขตฯ เต๋อหง และ เมืองผูเอ่อร์ ภายใต้แผนการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตโคเนื้อและ แพะเนื้อของจีน ที่ประกาศตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 โดยกำาหนด พื้นที่ที่มีโคเนื้อและแพะเนื้อเป็นอุตสาหกรรมชั้นนำา เพื่อกระตุ้น การผลิตในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 85 ของปริมาณความต้องการ ทั้งหมด โดยกำาหนดปริมาณผลิตเนื้อวัวไว้ที่ 6.80 ล้านตัน และ เนื้อแพะ 5.00 ล้านตัน ในปี 2568 4. มาตรการส่งเสริมการเลี้ยงโคและกระบือเพื่อส่งออกไปจีน ของ สปป. ลาวที่ใช้ประโยชน์จากการขนส่งทางรถไฟลาว - จีน โดย ในปี 2566 มีโควตาการส่งออกโคและกระบือจำานวน 500,000 ตัว ต่อปี (เป็นโควตาเฉพาะ โดยอ้างอิงตามจำานวนสัตว์ที่มีและสามารถ รวบรวมในเขตกักกันสัตว์) โดยรัฐบาลจีนออกใบอนุญาตนำาเข้าให้ 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท เมืองหล้าเฉิงค้าง พัฒนาอาหารกสิกรรม จำากัด, บริษัท ลาวโกทงพัฒนากสิกรรม และบริษัท สิบสองปันนาเยหง การค้า


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE VIV Asia 2023 ฉลองครบรอบ 30 ปีครั้งแรกกับการย้าย มาจัดงานที่ ชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี8-10 มีนาคม นี้ลงทะเบียนฟรี! สิ้นสุดการรอคอยกว่า 4 ปีจากความสำาเร็จของการจัดงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ในครั้งล่าสุดเมื่อปี2019 ผู้จัดอย่าง วีเอ็น ยู เอเชีย แปซิฟิค และ วีเอ็นยู ยุโรป พร้อมแล้วที่จะเปิด ประสบการณ์การจัดงาน VIV Asia 2023 บนสถานที่จัดงานที่ ยิ่งใหญ่เต็มอาคารชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานีระหว่าง วันที่ 8-10 มีนาคม 2566 พร้อมนำาทัพผู้ประกอบการกว่า 1,200 รายจาก 62 ประเทศทั่วโลกนำาเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมสุด ไฮเทคเพื่อยกระดับภาคธุรกิจปศุสัตว์-อาหารของไทยและภูมิภาค เอเชียอย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่ต้นปี2566 งาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) เป็นงานแสดงสินค้าและ งานประชุมสัมมนาระดับโลกที่จัดมายาวนานกว่า 30 ปีครอบคลุม ทั้งห่วงโซ่อาหาร สำาหรับอุตสาหกรรมปศุสัตว์และสัตว์น้ำา ภายในงาน นำาเสนอผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีจากบริษัทชั้นนำาระดับแนวหน้า ทั่วโลก เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของตลาด ตั้งแต่ต้นน้ำาจนถึง ปลายน้ำาของห่วงโซ่การผลิต ครอบคลุมด้านการผลิตอาหารสัตว์ VIV Asia 2023 ฉลองครบ 30 ปี กับครั้งแรกที่เมืองทองธานี ลงทะเบียนฟรี การเพาะเลี้ยง การผสมพันธุ์ การดูแลสุขภาพและโภชนาการสัตว์ สำาหรับธุรกิจสัตว์ปีก สัตว์เนื้อแดง สัตว์น้ำา ผลิตภัณฑ์จากนม และ ไข่ งาน VIV Asia จึงเป็นเสมือนจุดศูนย์รวมของผู้เชี่ยวชาญและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมจากทั่วทุกมุมโลก ซึ่งเป็นเวทีเจรจา การค้าที่สำาคัญที่ก่อให้เกิดการเจรจาธุรกิจและเพิ่มโอกาสในการลงทุน ระหว่างผู้ผลิตจากนานาชาติสู่การลงทุนในตลาดเอเชีย นับเป็นเวที สำาคัญที่ผลักดันให้ภาคการเกษตรไทยได้เพิ่มขีดความสามารถใน การค้ากับคู่ค้าต่างชาติ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนนวัตกรรมและ การเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่เพื่อปรับปรุงการจัดการฟาร์มปศุสัตว์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พิเศษสำาหรับปีนี้ VIV Asia (วิฟ เอเชีย) จัดงานพร้อมกับ Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) งานแสดงสินค้าและเทคโนโลยี ที่เน้นธุรกิจกระบวนการการแปรรูปเนื้อสัตว์-อาหาร บรรจุภัณฑ์ ระบบจัดการความเย็น และขนส่งอย่างครบวงจร โดยมีต้นฉบับ จากงาน IFFA งานแสดงสินค้าด้านการแปรรูปเนื้อสัตว์ที่ใหญ่ที่สุด ในโลก ที่จัดโดย Messe Frankfurt ส่งเสริมให้งานวิฟ เอเชีย และ งานมีท โปร เอเชีย เป็นงานแสดงสินค้าที่ครอบคลุมทั้งห่วงโซ่ อาหารที่ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE VIV Asia 2023 ฉลองครบรอบ 30 ปีครั้งแรกกับการย้าย มาจัดงานที่ ชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี8-10 มีนาคม นี้ลงทะเบียนฟรี! สิ้นสุดการรอคอยกว่า 4 ปีจากความสำาเร็จของการจัดงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ในครั้งล่าสุดเมื่อปี2019 ผู้จัดอย่าง วีเอ็น ยู เอเชีย แปซิฟิค และ วีเอ็นยู ยุโรป พร้อมแล้วที่จะเปิด ประสบการณ์การจัดงาน VIV Asia 2023 บนสถานที่จัดงานที่ ยิ่งใหญ่เต็มอาคารชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานีระหว่าง วันที่ 8-10 มีนาคม 2566 พร้อมนำาทัพผู้ประกอบการกว่า 1,200 รายจาก 62 ประเทศทั่วโลกนำาเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมสุด ไฮเทคเพื่อยกระดับภาคธุรกิจปศุสัตว์-อาหารของไทยและภูมิภาค เอเชียอย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่ต้นปี2566 งาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) เป็นงานแสดงสินค้าและ งานประชุมสัมมนาระดับโลกที่จัดมายาวนานกว่า 30 ปีครอบคลุม ทั้งห่วงโซ่อาหาร สำาหรับอุตสาหกรรมปศุสัตว์และสัตว์น้ำา ภายในงาน นำาเสนอผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีจากบริษัทชั้นนำาระดับแนวหน้า ทั่วโลก เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของตลาด ตั้งแต่ต้นน้ำาจนถึง ปลายน้ำาของห่วงโซ่การผลิต ครอบคลุมด้านการผลิตอาหารสัตว์ VIV Asia 2023 ฉลองครบ 30 ปี กับครั้งแรกที่เมืองทองธานี ลงทะเบียนฟรี การเพาะเลี้ยง การผสมพันธุ์ การดูแลสุขภาพและโภชนาการสัตว์ สำาหรับธุรกิจสัตว์ปีก สัตว์เนื้อแดง สัตว์น้ำา ผลิตภัณฑ์จากนม และ ไข่ งาน VIV Asia จึงเป็นเสมือนจุดศูนย์รวมของผู้เชี่ยวชาญและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมจากทั่วทุกมุมโลก ซึ่งเป็นเวทีเจรจา การค้าที่สำาคัญที่ก่อให้เกิดการเจรจาธุรกิจและเพิ่มโอกาสในการลงทุน ระหว่างผู้ผลิตจากนานาชาติสู่การลงทุนในตลาดเอเชีย นับเป็นเวที สำาคัญที่ผลักดันให้ภาคการเกษตรไทยได้เพิ่มขีดความสามารถใน การค้ากับคู่ค้าต่างชาติ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนนวัตกรรมและ การเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่เพื่อปรับปรุงการจัดการฟาร์มปศุสัตว์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พิเศษสำาหรับปีนี้ VIV Asia (วิฟ เอเชีย) จัดงานพร้อมกับ Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) งานแสดงสินค้าและเทคโนโลยี ที่เน้นธุรกิจกระบวนการการแปรรูปเนื้อสัตว์-อาหาร บรรจุภัณฑ์ ระบบจัดการความเย็น และขนส่งอย่างครบวงจร โดยมีต้นฉบับ จากงาน IFFA งานแสดงสินค้าด้านการแปรรูปเนื้อสัตว์ที่ใหญ่ที่สุด ในโลก ที่จัดโดย Messe Frankfurt ส่งเสริมให้งานวิฟ เอเชีย และ งานมีท โปร เอเชีย เป็นงานแสดงสินค้าที่ครอบคลุมทั้งห่วงโซ่ อาหารที่ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย สัตว์เศรษฐกิจ 47 กิจกรรมและบริการสุดพิเศษสำาหรับผู้เข้าร่วมงาน • บริการรถรับส่ง (Free Shuttle Service) จากสถานี รถไฟฟ้า สถานีหมอชิต หรือ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน สถานีบางกระสอ ไปยังอาคารชาเลนเจอร์อิมแพ็ค ฟรีสำาหรับผู้ที่ลงทะเบียนล่วงหน้า และมีหลักฐานการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าเท่านั้น • บริการนำาทัวร์โดยผู้เชี่ยวชาญ (Guided Tour Service) ผู้เข้าชมงานชาวไทยที่ประสบการณ์ด้านการสื่อสารกับบริษัทต่างชาติ สามารถจองคิวเข้าร่วมทัวร์ของเรา และเลือกเส้นทางที่เหมาะสมกับ ความต้องการของท่านได้อย่างเสรีทางผู้จัดจะมีการนำาทัวร์โดย วิทยากรที่ให้บริการแปลการบรรยายผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการจาก ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยให้แก่ผู้เข้าร่วมโดยผ่านทางหูฟังแปลภาษา สำาหรับผู้เข้าร่วมทัวร์ของเราตลอด 60 นาทีต่อ เส้นทาง * บริการนี้ ไม่มีค่าใช้จ่าย แต่สงวนสิทธิ์สำาหรับผู้ลงทะเบียน และมาเข้าร่วมทัวร์ตามกำาหนดเวลาเท่านั้น จำากัดผู้เข้าร่วมที่ 15 รายต่อรอบของทัวร์เท่านั้น • ร่วมเฉลิมฉลองครบรอบ 30 ปีของการจัดงาน VIV Asia ในวันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม 2566 ณ VIV Square ชาเลนเจอร์ 2-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ลุ้นเป็นผู้โชคดี รับของที่ระลึกพิเศษ กิจกรรมเพื่อร่วมสนุกและกิจกรรม Network Event เพื่อพบปะกับ ผู้คนในอุตสาหกรรมในบรรยากาศที่เป็นกันเอง สำาหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมงาน สามารถลงทะเบียนเพื่อรับบัตร เข้างานได้ฟรีเพื่อความสะดวกในการพิมพ์บัตรเข้าร่วมงานด้วยตนเอง ที่บริเวณหน้างานได้อย่างง่ายดาย ตามรายละเอียดด้านล่างนี้! ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ทาง https://www.databadge.net/viva2023/reg/viv/?card=10009100 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ทาง https://www.databadge.net/viva2023/reg/mpa/?card=20003003 สำารวจ รายชื่อผู้ประกอบการที่เข้าร่วมงาน ได้ทาง https://vivasia.nl/visit/exhibitor-list/ สำารองรถรับส่งเพื่อเดินทางไปร่วมงาน ทาง https://shuttleservice.journeytoasia.me สำารองรอบบริการนำาทัวร์โดยผู้เชี่ยวชาญ ทาง https://forms.gle/g5i9Xx6GRJqA2GA2A แล้วพบกันที่งาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) และ Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ระหว่างวันที่ 8 - 10 มีนาคม 2566 ณ อาคารชาเลนเจอร์1 - 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานีตั้งแต่เวลา 10:00 - 18:00 น. ตลอดสามวันของการจัดงาน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.vivasia.nl หรือ www.meatpro-asia.nl โทร. 02-1116611 (วีเอ็นยูฯ) อีเมล: [email protected] ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตระการตากับสุดยอดเวทีแสดงสินค้าที่นำาเสนอเครื่องมือ เทคโนโลยีและสินค้าที่เป็นนวัตกรรมใหม่จากทั่วโลกที่คัดสรรมาเพื่อ ตลาดเอเชีย ที่คุณไม่ควรพลาด! เยี่ยมชม 1,200 คูหา ผู้ผลิตและ ตัวแทนจำาหน่ายจากทั่วโลก ที่พร้อมนำาเสนอเทคโนโลยีใหม่เพื่อผู้ซื้อ ในเอเชีย ผู้เข้าชมงานและนักลงทุนมากถึง 45,000 ราย ตลอด สามวันของการจัดงานครั้งที่ผ่านมา เชื่อมโยงธุรกิจปศุสัตว์ไปสู่ กระบวนการแปรรูปเนื้อสัตว์และบรรจุภัณฑ์กับบริษัทชั้นนำา ผ่าน งาน Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกใน อาเซียน การประชุมวิชาการและงานสัมมนาระดับนานาชาติสำาหรับ อุตสาหกรรมการผลิตโปรตีนจากสัตว์ - ปศุสัตว์ - อาหารมากกว่า 100 หัวข้อ นำาเสนอโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทเอกชน สื่อมวลชน สมาคมทั้งภาครัฐ-เอกชน พิเศษ ร่วมเฉลิมฉลอง ครบรอบ 30 ปีของการจัดงาน พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษและกิจกรรม มากมาย นอกจากนี้พบปะหน่วยงานและสมาคมพันธมิตรการจัดงานใน อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลและปรึกษาปัญหา การทำาธุรกิจ อาทิกรมปศุสัตว์ภายใต้การกำากับดูแลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์, สมาพันธ์สมาคมสัตวแพทย์แห่งเอเชีย, สมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ, สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่, สมาคมผู้เลี้ยงโคนมไทย โฮลสไจน์ฟรีเชี่ยน, สมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์ฯลฯ


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อไม่นานมานี้ เห็นเพจหนึ่งนำาเสนอเหตุปัจจัยที่เข้ามากระทบ อุตสาหกรรมกุ้ง พร้อมแนวทางที่ควรเป็น เพื่อช่วยให้ประเทศไทย ขยับตัวฟื้นฟู “สินค้าฮีโร” ให้กลับเข้าสู่สนามแข่งทวงแชมป์โลกคืน มาอีกครั้ง เป็นแนวคิดที่น่าจะกระตุ้นเตือนให้คนในวงการกุ้งหันมา ตระหนักและร่วมมือกันให้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ผู้นำา” อย่าง “กรมประมง” ที่ไม่ควรมองข้ามบทบาทหน้าที่ของตน กุ้งไทยได้ชื่อว่าเป็นกุ้งพรีเมียมและเคยเป็นสินค้าฮีโรที่ ประเทศไทยส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ด้วยจุดเด่น ที่เป็น Local Content มีกระบวนการตั้งแต่ต้นน้ำาไปจนถึงปลายน้ำา เพาะเลี้ยงเอง แปรรูปโดยใช้วัตถุดิบของไทยเอง รวมถึงการ สร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม จากการสนับสนุนอุตสาหกรรมกุ้งอย่าง เต็มกำาลังของภาครัฐ และความร่วมแรงร่วมใจของผู้ประกอบการ รวมถึง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทั้งประเทศ กระทั่งประสบความสำาเร็จ ยืนหนึ่งในเวทีโลกมายาวนาน ซึ่งไม่ง่ายเลยกว่าที่ไทยจะก้าวไปถึงจุด สูงสุดนั้นได้ แต่ปัจจุบันกุ้งไทยกลับหล่นมาอยู่อันดับ 7 ของโลก ด้วย มูลค่าและปริมาณการส่งออกกุ้งที่ลดลงไปเกินกว่าครึ่งหนึ่ง เหลือส่วน แบ่งการตลาดเพียง 4% แถมยังโดนเอกวาดอร์ อินเดีย และเวียดนาม แซงหน้า ... เหล่านี้เป็นข้อมูลที่ฉายให้เห็นสถานการณ์ของ อุตสาหกรรมกุ้งไทยได้อย่างชัดเจน “กุ้งไทย” ไปถึงไหน? สาเหตุหลัก ๆ ที่ทำาให้ “กุ้งไทย” เสียแชมป์ ... ในเพจดังกล่าว มองว่าเกิดจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome หรือ EMS) ตั้งแต่เมื่อ 12 ปีก่อน ที่ทำาให้กุ้งตายลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ตัวเลขการส่งออกกุ้งไทยลดลงจาก 240,000 ตัน เหลือเพียง 98,000 ตัน ภายใน 3 ปี อย่างไรก็ตาม ปัญหาโรค EMS ไม่ได้เกิดขึ้นที่ไทยประเทศ เดียว แต่เกิดขึ้นกับแทบทุกประเทศที่มีการเลี้ยงกุ้ง ผู้เขียนจึงเห็นว่า สาเหตุหลักที่ทำาให้การส่งออกกุ้งไทยลดลงมากอย่างรวดเร็ว น่าจะ เป็นเพราะภาครัฐของไทยไม่สามารถแก้ปัญหาโรคได้อย่างเบ็ดเสร็จ โดย :รังสรรค์ ชลาสินธุ์


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อไม่นานมานี้ เห็นเพจหนึ่งนำาเสนอเหตุปัจจัยที่เข้ามากระทบ อุตสาหกรรมกุ้ง พร้อมแนวทางที่ควรเป็น เพื่อช่วยให้ประเทศไทย ขยับตัวฟื้นฟู “สินค้าฮีโร” ให้กลับเข้าสู่สนามแข่งทวงแชมป์โลกคืน มาอีกครั้ง เป็นแนวคิดที่น่าจะกระตุ้นเตือนให้คนในวงการกุ้งหันมา ตระหนักและร่วมมือกันให้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ผู้นำา” อย่าง “กรมประมง” ที่ไม่ควรมองข้ามบทบาทหน้าที่ของตน กุ้งไทยได้ชื่อว่าเป็นกุ้งพรีเมียมและเคยเป็นสินค้าฮีโรที่ ประเทศไทยส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ด้วยจุดเด่น ที่เป็น Local Content มีกระบวนการตั้งแต่ต้นน้ำาไปจนถึงปลายน้ำา เพาะเลี้ยงเอง แปรรูปโดยใช้วัตถุดิบของไทยเอง รวมถึงการ สร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม จากการสนับสนุนอุตสาหกรรมกุ้งอย่าง เต็มกำาลังของภาครัฐ และความร่วมแรงร่วมใจของผู้ประกอบการ รวมถึง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทั้งประเทศ กระทั่งประสบความสำาเร็จ ยืนหนึ่งในเวทีโลกมายาวนาน ซึ่งไม่ง่ายเลยกว่าที่ไทยจะก้าวไปถึงจุด สูงสุดนั้นได้ แต่ปัจจุบันกุ้งไทยกลับหล่นมาอยู่อันดับ 7 ของโลก ด้วย มูลค่าและปริมาณการส่งออกกุ้งที่ลดลงไปเกินกว่าครึ่งหนึ่ง เหลือส่วน แบ่งการตลาดเพียง 4% แถมยังโดนเอกวาดอร์ อินเดีย และเวียดนาม แซงหน้า ... เหล่านี้เป็นข้อมูลที่ฉายให้เห็นสถานการณ์ของ อุตสาหกรรมกุ้งไทยได้อย่างชัดเจน “กุ้งไทย” ไปถึงไหน? สาเหตุหลัก ๆ ที่ทำาให้ “กุ้งไทย” เสียแชมป์ ... ในเพจดังกล่าว มองว่าเกิดจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome หรือ EMS) ตั้งแต่เมื่อ 12 ปีก่อน ที่ทำาให้กุ้งตายลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ตัวเลขการส่งออกกุ้งไทยลดลงจาก 240,000 ตัน เหลือเพียง 98,000 ตัน ภายใน 3 ปี อย่างไรก็ตาม ปัญหาโรค EMS ไม่ได้เกิดขึ้นที่ไทยประเทศ เดียว แต่เกิดขึ้นกับแทบทุกประเทศที่มีการเลี้ยงกุ้ง ผู้เขียนจึงเห็นว่า สาเหตุหลักที่ทำาให้การส่งออกกุ้งไทยลดลงมากอย่างรวดเร็ว น่าจะ เป็นเพราะภาครัฐของไทยไม่สามารถแก้ปัญหาโรคได้อย่างเบ็ดเสร็จ โดย :รังสรรค์ ชลาสินธุ์ สัตว์เศรษฐกิจ 49 เด็ดขาดและไม่มีการส่งเสริมเกษตรกรอย่างจริงจัง ต่างกับภาครัฐของ ประเทศคู่แข่งอย่างเอกวาดอร์ อินเดีย และเวียดนาม ที่แก้ปัญหา โรคและเพิ่มผลผลิตได้สำาเร็จ เมื่อผนวกกับสิทธิพิเศษทางภาษีจาก ประเทศลูกค้า ก็ทำาให้สามารถแย่งตลาดกุ้งของไทยไปครองได้จนถึง ทุกวันนี้ ฝากความหวัง “กรมประมง” ผ่านมากว่า 10 ปี การวิจัยพัฒนาของประเทศไทยน่าจะมี ความก้าวหน้ามากขึ้นเป็นลำาดับ แม้จะยังไม่พอที่จะเอาชนะโรคกุ้ง ก็ยังอยากเห็นการวิจัยที่ไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่ ส่วนนโยบายส่งเสริม ยกระดับอุตสาหกรรมกุ้งจากภาครัฐก็ควรที่จะชัดเจนมากขึ้น ให้ สอดคล้องกับเป้าหมายที่กรมประมงตั้งไว้ว่าจะเพิ่มผลผลิตกุ้งเป็น 400,000 ตันภายในปี 2566 นี้ เชื่อว่าทุกคนในแวดวงอุตสาหกรรม กุ้งล้วนจับตามองรายละเอียดข้อย่อยในหลาย ๆ ด้าน ที่จะทำาให้ เป้าหมายนี้สำาเร็จ ซึ่งนั่นหมายถึงกุ้งไทยจะมีเพียงพอและสมดุล กับความต้องการ ตอบโจทย์ขนาดกุ้งที่ตลาดโลกต้องการ และ ประเทศไทยไม่ต้อง “นำาเข้า” กุ้งต่างชาติอีก ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาใด ของปี ทำาให้เกษตรกรไทยมีรายได้เป็นกอบเป็นกำา พอ ๆ กับที่ห้อง เย็นสามารถนำากุ้งไทยเราไปแข่งขันในเวทีโลกได้อย่างมั่นใจ การวางแผนกลยุทธ์ การกำากับดูแลและบริหารอุตสาหกรรมกุ้ง ของประเทศ จำาเป็นต้องดูแลให้ถ้วนถี่ตลอดห่วงโซ่การผลิต มิใช่ให้ ความสำาคัญเพียงข้อต่อใดข้อต่อหนึ่ง กรณีศึกษาเมื่อปีที่ผ่านมาที่มี การอนุมัติการนำาเข้ากุ้งจนกระทบราคาในประเทศ และเกิดผลกระทบ ต่อเกษตรกรนั้น ไม่ควรเกิดขึ้นอีกในปีนี้หรือในอนาคต เป็นเรื่องดีหากกุ้งไทยจะกลับมาทวงบัลลังก์แชมป์โลกดังที่เคย เป็น กลับมาทำาหน้าที่สร้างรายได้ให้ประเทศ และเป็นอัศวินฟื้นฟู เศรษฐกิจชาติท่ามกลางเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย ความจริงใจที่จะ ร่วมมือตั้งแต่ระดับต้นน้ำา-กลางน้ำา-ปลายน้ำา เพื่อขับเคลื่อนไปพร้อม กันทั้งระบบ นับเป็นสิ่งสำาคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “กรมประมง” และ “กระทรวงเกษตรฯ” ที่ต้องมีภาวะ “ผู้นำา” เพื่อนำาทีมคณะกรรมการ กุ้ง (Shrimp Board) ร่วมกันส่งเสริมภาคการเลี้ยงกุ้งไทยอย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรม ช่วงนี้ประเทศไทยกำาลังได้รับผลดีจากการเปิด ประเทศรับนักท่องเที่ยว ส่งผลให้กุ้งมีราคาดีขึ้นด้วย เกษตรกรมีกำาลัง ใจในการเลี้ยงกุ้ง นับเป็นช่วงที่ดีที่รัฐต้องเร่งส่งเสริมการผลิต พร้อม ๆ กับการกำาจัดอุปสรรคการเลี้ยงต่าง ๆ ให้หมดไป เช่น เร่งแก้ปัญหาโรคระบาด ที่สำาคัญ ต้องสื่อสารเพื่อสร้างพลังและ แรงจูงใจ ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทั้งประเทศเชื่อมั่นว่าท่านทำาเพื่อ เกษตรกรและอุตสาหกรรมกุ้งอย่างแท้จริง เมื่อนั้นคงได้เห็น “กุ้งไทย” เข้มแข็งพอที่จะเริ่มลงแข่งทวงตำาแหน่งแชมป์กลับมาได้อีกครั้ง./ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


50 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ได้ส่งเจ้าหน้าที่กอง สารวัตรและกักกันและด่านกักกันสัตว์ราชบุรีเข้าตรวจค้นและยึดสาร เร่งเนื้อแดงและอาหารสัตว์เถื่อนในพื้นที่อำาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ทั้งนี้ “สารวัตรปศุสัตว์ไซเบอร์” (DCU) สืบค้นข้อมูลทางสื่อสังคม ออนไลน์ พบว่า มีผู้ใช้ Facebook ชื่อ Earth ขนมวัวขุน โพสต์ ขายสารเร่งเนื้อแดง จึงให้กองสารวัตรและกักกันและด่านกักกันสัตว์ ราชบุรีร่วมวางแผนล่อซื้อ ต่อมามีผู้ขับรถกระบะนำาสารเร่งเนื้อแดง และอาหารสัตว์มาส่งตามที่นัดหมาย จึงแสดงตัวเข้าตรวจค้น พบ อาหารโคขุนที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน 12 กระสอบ และวัตถุต้องสงสัยว่า เป็นสารเร่งเนื้อแดง 5 กระสอบ มูลค่ารวม 21,700 บาท เจ้าหน้าที่ จึงได้ตรวจยึดอาหารสัตว์และวัตถุต้องสงสัยดังกล่าวทั้งหมด พร้อม เก็บตัวอย่างเพื่อส่งตรวจยืนยันหาสารเร่งเนื้อแดงทางห้องปฏิบัติการ จากนั้นได้ลงบันทึกประจำาวันไว้เป็นหลักฐานที่ สภ. ปากท่อ ว่า หากตรวจพบสารเร่งเนื้อแดงในอาหารสัตว์และวัตถุต้องสงสัย จะดำาเนินการร้องทุกข์กล่าวโทษให้เอาผิด 4 ข้อหา ดังนี้ 1. ขายอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะโดยไม่ได้รับอนุญาต ตามพ.ร.บ.ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 กระทำาผิด มาตรา 17 มีโทษตามมาตรา 75 จำาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 2. ขายอาหารสัตว์ที่ต้องขึ้น ทะเบียน แต่มิได้ขึ้นทะเบียน ตาม พ.ร.บ.ควบคุมคุณภาพอาหาร สัตว์ พ.ศ. 2558 มีความผิดมาตรา 56(4) มีโทษตามมาตรา 86 ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ 1-5 ปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นถึง หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ 3. ขายยาแผนปัจจุบันโดยไม่ได้ รับอนุญาต ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 มาตรา 12 มีโทษตาม มาตรา 101 จำาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ 4. ขายยาแผนปัจจุบันที่ต้องขึ้นทะเบียนแต่ไม่ได้ขึ้น ทะเบียน ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 มาตรา 72(4) มีโทษตาม มาตรา 122 จำาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ กรมปศุสัตว์ ประสานความร่วมมือกรมการค้าภายใน แก้ปัญหา ราคาวัตถุดิบอาหารโคนมแพง ช่วยเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม นาย สัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ พร้อมด้วย นายสัตวแพทย์ประภาส ภิญโญชีพ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เข้าพบ อธิบดีกรมการค้าภายใน เพื่อขอหารือแนวทางการแก้ปัญหาราคา วัตถุดิบอาหารโคนมแพง เนื่องจากปัจจัยของวิกฤตทางเศรษฐกิจโลก ที่ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตน้ำานมเพิ่มสูงขึ้น ทำาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม เดือดร้อน โดยมีผู้แทนกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม และหัวหน้า ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้อำานวยการสำานักเทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปศุสัตว์ ผู้อำานวยการกองควบคุมอาหารและยาสัตว์ ผู้อำานวย การองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ผู้อำานวยการกองควบคุมอาหาร และยาสัตว์ เข้าร่วมประชุมฯ ณ ห้องประชุมกระทรวงพาณิชย์ ถ.ติวานนท์ จ.นนทบุรี ได้ข้อสรุปแนวทางการแก้ปัญหาราคาวัตถุดิบอาหารโคนมแพง ดังนี้ 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ ยินดี บอกกล่าวเล่าสิบ บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 901 เดือนกุมภาพันธ์...กรม ปศุสัตว์ เผย “สารวัตรปศุสัตว์ไซเบอร์” โชว์ผลงานสืบพบโรงงาน ผลิตอาหารวัวขุนที่โฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ ต้องสงสัยผสมสาร เร่งเนื้อแดง จึงส่งเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบโรงงานในจังหวัดสุโขทัย พบผลิตและจำาหน่ายอาหารสัตว์โดยไม่มีใบอนุญาต พร้อมยึดอาหาร วัวทั้งหมดไว้ตรวจสอบสารปนเปื้อน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์กล่าวว่า หน่วย “สารวัตรปศุสัตว์ ไซเบอร์” ได้ตรวจพบการโฆษณาของโรงงานผลิตอาหารสัตว์ผ่าน สื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชันติ๊กต็อกและเฟซบุ๊กชื่อ รู้รอบตอบโจทย์ วัวขุน ประกอบกับมีการร้องเรียนจากประชาชนว่า ในสื่อออนไลน์ ดังกล่าวโพสต์ขายสารเร่งเนื้อแดงและอาหารโคขุนผสมสารเร่งเนื้อแดง โดยใช้คำาโฆษณาสินค้าว่า เป็นขนมวัวและยากินเก่ง ดังนั้น จึงส่งเจ้าหน้าที่จากกองสารวัตรและกักกันร่วมกับด่าน กักกันสัตว์พิษณุโลกเข้าร่วมตรวจสอบโรงงานผลิตอาหารโคขุนแห่งนี้ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ต.บ้านสวน อ.เมือง จ.สุโขทัย พบว่า ผลิตและ ขายอาหารโคขุนโดยไม่มีใบอนุญาต เจ้าหน้าที่จึงอายัดอาหารโคขุน วัตถุดิบในการผลิต และเครื่องผสมอาหารไว้เป็นหลักฐานในการ ดำาเนินคดีตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 มาตรา 56(4) ห้ามผู้ใดผลิตเพื่อขาย นำาเข้าเพื่อขาย หรือขายอาหาร สัตว์ที่ต้องขึ้นทะเบียนแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้ มีโทษตามมาตรา 86 ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปีหรือปรับตั้งแต่ 2 หมื่นถึง 1 แสนบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ และมาตรา 15 ผู้ใดประสงค์จะผลิต เพื่อขาย หรือนำาเข้าเพื่อขายอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ ตามมาตรา 6(1) ให้ยื่นคำาขออนุญาตและเมื่อผู้อนุญาตออกใบอนุญาตให้แล้วจึง จะผลิตเพื่อขายหรือนำาเข้าเพื่อขายอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะนั้นได้ มีโทษตามมาตรา 74 ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับ ไม่เกิน 6 หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ โดยลงบันทึกประจำาวันที่ สภ.บ้านสวนเพื่อดำาเนินคดีต่อไปแล้ว สำาหรับอาหารโคขุนและวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ได้เก็บตัวอย่าง ไว้รวม 6 ตัวอย่าง เพื่อส่งตรวจหาสารเร่งเนื้อแดง หากตรวจสอบ จริง จะมีความผิดเพิ่มเติมตามมาตรา 6(4) ใช้วัตถุที่ห้ามใช้ผสมใน อาหารสัตว์ มีโทษตามมาตรา 71 ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6 หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ กรมปศุสัตว์มี กฎหมายการห้ามใช้สารตกค้างในอาหารสัตว์และในสินค้าปศุสัตว์ตาม มาตรฐานการห้ามใช้สารตกค้างของประเทศไทยและนานาชาติ เพื่อ ให้ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าปศุสัตว์ปลอดภัย ล่าสุด “สารวัตรปศุสัตว์ไซเบอร์” สืบจับผู้โพสต์ขายสารเร่ง เนื้อแดงและอาหารสัตว์เถื่อนที่ใช้ชื่อ Earth ขนมวัวขุน โดยล่อซื้อ และจับกุมได้ขณะนำามาส่งในพื้นที่อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี ส่งพนักงาน สอบสวนเตรียมดำาเนินคดี 4 ข้อหานายสัตวแพทย์สมชวน


Click to View FlipBook Version