The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัตว์เศรษฐกิจ-903

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัตว์เศรษฐกิจ E magazine, 2023-04-11 09:16:41

Livestock Production E magazine-903

สัตว์เศรษฐกิจ-903

วิกฤตโคนมไทย... ต้องทำ�อย่�งไร ? ให้อยู่รอด ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ สามารถส่งต่อได้แล้ว เพิ่มอะไร? ช่วยให้รอด ในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกตํ่า เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสำาเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทยสู่ระดับโลก ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ สามารถส่งต่อได้แล้ว LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ ปี 39 ฉบับที่ 903 เมษายน 2566 https://livestockemag.com/ วิกฤตโคนมไทย... ต้องทำาอย่างไร ? ให้อยู่รอด เพิ่มอะไร? ช่วยให้รอด ในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกตำ่า เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสำาเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทยสู่ระดับโลก


Manufacturer: Name: Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Address: Lushang square,Jingshi road, Jinan,Shandong province,China Tel/What’s app/Line:0086-18369909316 Email: rachel@sdlachance.com Thailand distributor : Name: Feed Techno Focus Co., Ltd. Address: 554/3 Asok-Dindaeng Rd., Dindaeng, Bangkok 10400 Thailand Tel. : 0066- (0)2 641 8862-4


Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: rachel@sdlachance.com การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: rachel@sdlachance.com การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา


6 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หากติดตามราคาสุกรของไทยมาตลอดนับแต่กรมปศุสัตว์ยืดอกยอมรับว่าพบโรคระบาด ASF ในประเทศ เมื่อต้นปี2565 จากนั้นเกิดวิกฤตในวงการหมู3 เรื่องใหญ่ คือ 1. ผลผลิตหายไป 50% 2. ราคาในประเทศพุ่งขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนจากอุปสงค์ที่มากกว่าอุปทาน และ 3. “หมูเถื่อน” เกลื่อนเมือง กดราคาหมูไทยให้อยู่ในภาวะขาดทุนในปัจจุบัน ที่สำาคัญ 2 ปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงหมูเหมือน อยู่ในวิบากกรรมครั้งใหญ่ เพราะนอกจากผลผลิตเสียหายจำานวนมากที่ยากจะเยียวยาแล้ว การฟื้นฟู กิจการยังต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนพลังงานและวัตถุดิบอาหารสัตว์ทะยานขึ้น 20% และ 30% ตามลำาดับ ซึ่งเป็นผลมาจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน ทำาให้ต้นทุนการผลิตปรับขึ้นตามไปด้วย จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำาให้ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มจากราคาเฉลี่ยประมาณ 72-85 บาท ต่อกิโลกรัม ช่วงปี2562-2564 ปรับขึ้นเป็น 100-115 บาทต่อกิโลกรัม ในปี2565 เทียบกับต้นทุน ผลิตของเกษตรกรที่ 98-100 บาทต่อกิโลกรัม ที่ราคาหมูเนื้อแดงเฉลี่ยประมาณ 180-200 บาทต่อ กิโลกรัม ถือว่าเป็นราคาที่ผู้ผลิตอยู่ได้ผู้บริโภคอยู่ได้ ราคาเนื้อหมูในประเทศที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ กระตุ้นต่อมความโลภของ “มิจฉาชีพ” ให้เห็น ช่องทางทำากำาไรจากส่วนต่างราคาทำาการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนที่ต้นทุนต่ำากว่าประมาณ 2-3 เท่า มาขายในไทย สนนราคาหมูเถื่อนปีที่ผ่านมาเฉลี่ยอยู่ที่ 135-145 บาทต่อกิโลกรัม ผู้บริโภค ร้านหมูกระทะ ร้านอาหารตามสั่ง เห็นราคาต้องร้องว้าว...สั่งกันมือเป็นระวิง เพราะรูปแบบการ ค้าขายที่ทันสมัยผ่านออนไลน์ เฟสบุ๊ค สะดวกต่อการสั่งซื้อจากทั่วประเทศ เท่ากับหมูเถื่อนเข้ามา แข่งขันกับหมูไทยเต็มรูปแบบ หมูเถื่อน นำาความเดือดร้อนสาหัสมาสู่เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูไทยในช่วงที่ยากลำาบากที่สุด สมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติต้องออกโรงเรียกร้องภาครัฐให้ออกมาปกป้องอุตสาหกรรมก่อนที่จะโดนหมูเถื่อน “รุมสกรัม” จนหมูไทยล่มสลาย กระตุ้นภาครัฐให้ปราบปรามอย่างจริงจัง สาวให้ถึงตัวการใหญ่ต้นทาง สั่งนำาเข้าและเครือข่ายมิจฉาชีพทั้งขบวนการ ทั้งพ่อค้าคนกลาง บริษัทขนส่ง และชิ้ปปิ้ง และยังชี้ ช่องประตูหลักที่ลักลอบนำาเข้ามา คือ ท่าเรือแหลมฉบัง ขอให้ตรวจสอบ-จับกุมเคร่งครัด ล่วงเลยไป 1 ปีภาครัฐปราบปรามอย่างไร? ผู้เลี้ยงหมูยังคงร้องระงมว่า “หมูเถื่อน” เป็น ตัวแปรสำาคัญที่กดดันราคาหมูไทยออกจากวงโคจรเพราะยังวนเวียนสร้างความปั่นป่วนให้ราคา ยิ่งปี 2566 ผ่านไป 2 เดือน ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มร่วงไป 18 บาทต่อกิโลกรัม หลังอ่อนตัวลงตั้งแต่ ธันวาคม 2565 เฉลี่ยที่ 96-100 บาทต่อกิโลกรัม และลงไปต่ำาสุดที่ 76 บาท เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ ในฐานะตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงทั่วประเทศต้องประกาศปรับฐานราคา หมูมีชีวิตหน้าฟาร์มขึ้น 6-8 บาทต่อกิโลกรัม ช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ทำาให้ราคาเฉลี่ยนขึ้นไปที่ 84-90 บาท ขึ้นกับแต่ละพื้นที่ แต่ราคาดังกล่าวยังต่ำากว่าต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 100.70 บาทต่อ กิโลกรัม ตราบใดราคาหมูไทยยังตกต่ำา สะท้อนว่า “หมูเถื่อน” ยังอยู่เป็นหอกข้างแคร่ทิ่มแทงผู้เลี้ยงหมู ต่อไป ขัดขวางการพัฒนาวงการเลี้ยงหมูและประเทศชาติกลายเป็นคำาถามถึงภาครัฐที่เกี่ยวข้อง โดยตรงว่า “เมื่อไหร่หมูเถื่อนจะหมดไปจากประเทศเสียที?” LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ภาครัฐปราบหมูเถื่อนอย่างไร? หมูไทยฟื้นยาก


6 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หากติดตามราคาสุกรของไทยมาตลอดนับแต่กรมปศุสัตว์ยืดอกยอมรับว่าพบโรคระบาด ASF ในประเทศ เมื่อต้นปี2565 จากนั้นเกิดวิกฤตในวงการหมู3 เรื่องใหญ่ คือ 1. ผลผลิตหายไป 50% 2. ราคาในประเทศพุ่งขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนจากอุปสงค์ที่มากกว่าอุปทาน และ 3. “หมูเถื่อน” เกลื่อนเมือง กดราคาหมูไทยให้อยู่ในภาวะขาดทุนในปัจจุบัน ที่สำาคัญ 2 ปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงหมูเหมือน อยู่ในวิบากกรรมครั้งใหญ่ เพราะนอกจากผลผลิตเสียหายจำานวนมากที่ยากจะเยียวยาแล้ว การฟื้นฟู กิจการยังต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนพลังงานและวัตถุดิบอาหารสัตว์ทะยานขึ้น 20% และ 30% ตามลำาดับ ซึ่งเป็นผลมาจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน ทำาให้ต้นทุนการผลิตปรับขึ้นตามไปด้วย จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำาให้ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มจากราคาเฉลี่ยประมาณ 72-85 บาท ต่อกิโลกรัม ช่วงปี2562-2564 ปรับขึ้นเป็น 100-115 บาทต่อกิโลกรัม ในปี2565 เทียบกับต้นทุน ผลิตของเกษตรกรที่ 98-100 บาทต่อกิโลกรัม ที่ราคาหมูเนื้อแดงเฉลี่ยประมาณ 180-200 บาทต่อ กิโลกรัม ถือว่าเป็นราคาที่ผู้ผลิตอยู่ได้ผู้บริโภคอยู่ได้ ราคาเนื้อหมูในประเทศที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ กระตุ้นต่อมความโลภของ “มิจฉาชีพ” ให้เห็น ช่องทางทำากำาไรจากส่วนต่างราคาทำาการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนที่ต้นทุนต่ำากว่าประมาณ 2-3 เท่า มาขายในไทย สนนราคาหมูเถื่อนปีที่ผ่านมาเฉลี่ยอยู่ที่ 135-145 บาทต่อกิโลกรัม ผู้บริโภค ร้านหมูกระทะ ร้านอาหารตามสั่ง เห็นราคาต้องร้องว้าว...สั่งกันมือเป็นระวิง เพราะรูปแบบการ ค้าขายที่ทันสมัยผ่านออนไลน์ เฟสบุ๊ค สะดวกต่อการสั่งซื้อจากทั่วประเทศ เท่ากับหมูเถื่อนเข้ามา แข่งขันกับหมูไทยเต็มรูปแบบ หมูเถื่อน นำาความเดือดร้อนสาหัสมาสู่เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูไทยในช่วงที่ยากลำาบากที่สุด สมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติต้องออกโรงเรียกร้องภาครัฐให้ออกมาปกป้องอุตสาหกรรมก่อนที่จะโดนหมูเถื่อน “รุมสกรัม” จนหมูไทยล่มสลาย กระตุ้นภาครัฐให้ปราบปรามอย่างจริงจัง สาวให้ถึงตัวการใหญ่ต้นทาง สั่งนำาเข้าและเครือข่ายมิจฉาชีพทั้งขบวนการ ทั้งพ่อค้าคนกลาง บริษัทขนส่ง และชิ้ปปิ้ง และยังชี้ ช่องประตูหลักที่ลักลอบนำาเข้ามา คือ ท่าเรือแหลมฉบัง ขอให้ตรวจสอบ-จับกุมเคร่งครัด ล่วงเลยไป 1 ปีภาครัฐปราบปรามอย่างไร? ผู้เลี้ยงหมูยังคงร้องระงมว่า “หมูเถื่อน” เป็น ตัวแปรสำาคัญที่กดดันราคาหมูไทยออกจากวงโคจรเพราะยังวนเวียนสร้างความปั่นป่วนให้ราคา ยิ่งปี 2566 ผ่านไป 2 เดือน ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มร่วงไป 18 บาทต่อกิโลกรัม หลังอ่อนตัวลงตั้งแต่ ธันวาคม 2565 เฉลี่ยที่ 96-100 บาทต่อกิโลกรัม และลงไปต่ำาสุดที่ 76 บาท เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ ในฐานะตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงทั่วประเทศต้องประกาศปรับฐานราคา หมูมีชีวิตหน้าฟาร์มขึ้น 6-8 บาทต่อกิโลกรัม ช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ทำาให้ราคาเฉลี่ยนขึ้นไปที่ 84-90 บาท ขึ้นกับแต่ละพื้นที่ แต่ราคาดังกล่าวยังต่ำากว่าต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 100.70 บาทต่อ กิโลกรัม ตราบใดราคาหมูไทยยังตกต่ำา สะท้อนว่า “หมูเถื่อน” ยังอยู่เป็นหอกข้างแคร่ทิ่มแทงผู้เลี้ยงหมู ต่อไป ขัดขวางการพัฒนาวงการเลี้ยงหมูและประเทศชาติกลายเป็นคำาถามถึงภาครัฐที่เกี่ยวข้อง โดยตรงว่า “เมื่อไหร่หมูเถื่อนจะหมดไปจากประเทศเสียที?” LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ภาครัฐปราบหมูเถื่อนอย่างไร? หมูไทยฟื้นยาก สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482 สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482


สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 903 เมษายน 2566 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : livestockmag@gmail.com โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 903 คอลัมน์พิเศษ 12 ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ (U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) Certificates) สามารถส่งต่อได้แล้ว 14 กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองสหรัฐฯ...รุกตลาดอาหารสัตว์ไทย ด้วยคุณภาพกรดอะมิโน 16 เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล 20 ชาวหมูบุกทำาเนียบ...ร้องแก้ “หมูเถื่อน” กดราคาหน้าฟาร์ม 22 ผู้เลี้ยง ร้องพรรคการเมือง ชูนโยบายปราบ “หมูเถื่อน” 25 เพิ่มอะไร? ช่วยให้รอด ในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกตํ่า 28 “หมูเถื่อน” อุปสรรคฟื้นฟูการผลิตหมูไทย 30 ไทยเปิดตลาดไข่ไก่ไปไต้หวันสำาเร็จ...คาดส่งออกได้ 50 ล้านฟองในปี 66 32 การเลี้ยงไก่ไข่หน้าร้อนให้ประสบความสำาเร็จ 34 วิกฤตโคนมไทย...ต้องทําอย่างไร ? ให้อยู่รอด 40 ฟาร์มโคนมยุคใหม่ ต่อยอด BCG เปลี่ยนมูลเป็น “อิฐบล็อค” และ “กระถางต้นไม้” สร้างรายได้ 42 ปศุสัตว์ ไตรมาสแรกขยายตัว รับความต้องการที่เพิ่มขึ้น 44 VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสําเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทย สู่ระดับโลก 48 คาร์กิลล์ จับมือ สัตวแพทย์ มก. ยกระดับบัณฑิตปั้นบุคลากรไทยสู่ ระดับสากล คอลัมน์ประจำ� 50 บอกกล่าว 52 กิจกรรมเด่น 53 แนวโน้มราคาปศุสัตว์


สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 903 เมษายน 2566 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : livestockmag@gmail.com โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 903 คอลัมน์พิเศษ 12 ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ (U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) Certificates) สามารถส่งต่อได้แล้ว 14 กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองสหรัฐฯ...รุกตลาดอาหารสัตว์ไทย ด้วยคุณภาพกรดอะมิโน 16 เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล 20 ชาวหมูบุกทำาเนียบ...ร้องแก้ “หมูเถื่อน” กดราคาหน้าฟาร์ม 22 ผู้เลี้ยง ร้องพรรคการเมือง ชูนโยบายปราบ “หมูเถื่อน” 25 เพิ่มอะไร? ช่วยให้รอด ในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกตํ่า 28 “หมูเถื่อน” อุปสรรคฟื้นฟูการผลิตหมูไทย 30 ไทยเปิดตลาดไข่ไก่ไปไต้หวันสำาเร็จ...คาดส่งออกได้ 50 ล้านฟองในปี 66 32 การเลี้ยงไก่ไข่หน้าร้อนให้ประสบความสำาเร็จ 34 วิกฤตโคนมไทย...ต้องทําอย่างไร ? ให้อยู่รอด 40 ฟาร์มโคนมยุคใหม่ ต่อยอด BCG เปลี่ยนมูลเป็น “อิฐบล็อค” และ “กระถางต้นไม้” สร้างรายได้ 42 ปศุสัตว์ ไตรมาสแรกขยายตัว รับความต้องการที่เพิ่มขึ้น 44 VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสําเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทย สู่ระดับโลก 48 คาร์กิลล์ จับมือ สัตวแพทย์ มก. ยกระดับบัณฑิตปั้นบุคลากรไทยสู่ ระดับสากล คอลัมน์ประจำ� 50 บอกกล่าว 52 กิจกรรมเด่น 53 แนวโน้มราคาปศุสัตว์


SWINE VACCINATION HAS NEVER BEEN SO PRECISE, SO EASY OR SO QUICK IT’S TIME TO FEEL THE COMFORT


12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของกรอบการพัฒนาในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG : Environmental, Social and Governance) ของลูกค้า ตลอดจนใช้มันเพื่อรายงานความคืบหน้าที่มุ่งไปสู่เป้านั้นๆ ทั้งนี้ ผู้นำาเข้าถั่วเหลืองจากสหรัฐอเมริกาจะได้รับใบรับรองที่มีชื่อผู้นำาเข้า จากผู้ส่งออกถั่วเหลือง โดยผู้นำาเข้าถั่วเหลืองสามารถส่งต่อใบรับรอง ให้กับลูกค้าของตนได้ และใบรับรองนี้สามารถโอนให้กับลูกค้าของ ผู้นำาเข้าได้มากถึง 4 ลำาดับลงไป “การให้ความมั่นใจกับผู้ซื้อถึงแหล่งวัตถุดิบที่ตระหนักถึงความ ยั่งยืนนับเป็นหัวใจสำาคัญของความมุ่งมั่นของเราที่จะรับผิดชอบต่อ ห่วงโซ่อุปทาน เรายินดีมากที่พบว่าใบรับรองของ SSAP มีการ พัฒนาอยู่เสมอทั้งในแง่ของความโปร่งใสและวิธีการที่น่าเชื่อถือในการ ลูกค้า U.S. Soy ทั่วโลกตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานสามารถ เลือกสรรวัตถุดิบที่คำานึงถึงความยั่งยืนได้ดียิ่งขึ้น กล่าวคือในปัจจุบัน ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ หรือ U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) สามารถส่งต่อให้กับ ลูกค้าที่ใช้ผลิตภัณฑ์ของเราได้มากถึง 4 ลำาดับลงไป ลูกค้า U.S. Soy ต่างมองหาแหล่งวัตถุดิบที่มีความโปร่งใส ในเรื่องความยั่งยืนมากขึ้นเป็นเวลานานแล้ว การปรับเปลี่ยนของ SSAP ในครั้งนี้ ที่ Soy Export Sustainability, LLC ได้รับเงิน สนับสนุนบางส่วนจาก The National Soybean Checkoff ทำาให้ ลูกค้าสามารถเก็บบันทึกข้อมูลการซื้อถั่วเหลืองของสหรัฐฯที่มี การผลิตอย่างยั่งยืน และใช้ข้อมูลเหล่านั้นให้ตอบโจทย์เป้าหมาย ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ (U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) Certificates) สามารถส่งต่อได้แล้ว USSEC ยังคงก้าวต่อไป เพื่อสนับสนุนลูกค้าในการรับรองถั่วเหลืองที่ปลูกโดยคำานึงถึงความยั่งยืน โดย : U.S. SOYBEAN EXPORT COUNCIL - วันอังคารที่ 27 กันยายน 2022


สัตว์เศรษฐกิจ 13 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การเทียบกับมาตรฐานของแนวทางการจัดหาถั่วเหลืองของสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์แห่งสหภาพยุโรปโดยหน่วยงานอิสระที่ชื่อ Inter national Trade Center (ITC) และได้รับการยอมรับจาก Consumer Goods Forum’s Sustainable Soy Sourcing Guidelines และ Global Seafood Alliance’s Best Aquaculture Practices “เกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลืองชาวสหรัฐฯ มีความมุ่งมั่นในเรื่อง การพัฒนาอย่างยั่งยืน พวกเราจึงแสวงหาวิธีที่จะสามารถสนับสนุน ความพยายามของบรรดาเกษตรกรในการรับรองความยั่งยืนของ ผลผลิตเหล่านั้น ซึ่ง SSAP ก็ตอบโจทย์นั้น และในตอนนี้ใบรับรอง นี้สามารถส่งต่อไปถึงลูกค้าของลูกค้าโดยตรงของพวกเขาอีกด้วย” คุณ Abby Rinne ผู้อำานวยการด้านความยั่งยืนของ USSEC กล่าว USSEC เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง Soy Export Sustainability, LLC ซึ่งดำาเนินงานกิจกรรมที่สร้างความแตกต่าง สร้างความพึงพอใจ และสร้างตลาดใหม่ๆ ให้กับผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกา ข่าวนี้ได้รับการสนับสนุนบางส่วนจากเกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลือง ชาวสหรัฐฯ และ อุตสาหกรรมที่อยู่ในห่วงโซ่ของการผลิตถั่วเหลือง วัดการดำาเนินการที่คำานึงถึงความยั่งยืนด้วย ใบรับรองที่สามารถ ส่งต่อได้นั้น เป็นกุญแจสำาคัญที่ทำาให้ลูกค้าและธุรกิจของเราสามารถ ติดตามและมีการรับรองว่าถั่วเหลืองที่เรานำามาเสนอตลาดนั้นถูกปลูก โดยคำานึงถึงสิ่งแวดล้อม ซึ่งนำาไปสู่การคำานึงถึงความยั่งยืนใน วงกว้างของเครือข่ายอาหารระดับโลก” คุณ Dessislava Barzachka ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน กล่าว SSAP ซึ่งเริ่มได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี 2013 เป็นแนวทาง องค์รวมที่ได้รับการรับรองและตรวจสอบโดยบุคคลภายนอกเพื่อ รับรองการผลิตถั่วเหลืองที่คำานึงถึงความยั่งยืนในระดับประเทศ ระบบ นี้ได้ถูกออกแบบขึ้นมาให้สามารถรับรองถั่วเหลืองแบบยั่งยืนจำานวน มากในการส่งออกแต่ละครั้ง นอกจากนั้นการคำานวณระดับ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องถูกนำามาพิจารณาในระบบนี้ด้วย ทั้งนี้ Soy Export Sustainability, LLC. เป็นผู้ออกใบรับรองและติดตาม ใบรับรองเหล่านั้น ในระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ช่วยตอบโจทย์ผู้ซื้อให้ สามารถแสดงความรับผิดชอบในการเลือกสรรหาวัตถุดิบที่คำานึงถึง ความยั่งยืนได้ ส่วนในระยะยาวการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้จะช่วยเพิ่ม อุปทานของผลิตภัณฑ์ของพวกเขาเนื่องจากลูกค้าจะเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่คำานึงถึงความยั่งยืนมากกว่า ภายใต้แนวทางของ SSAP เกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลืองชาวสหรัฐฯ พัฒนาประสิทธิภาพในเรื่องความ ยั่งยืนอยู่เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าใน อนาคตจะมีผลผลิตที่คำานึงถึงความ ยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ถั่วเหลืองจาก สหรัฐอเมริกา ได้รับการยอมรับว่า เป็นถั่วเหลืองที่ปล่อยคาร์บอน ฟุตปริ้นท์ (Carbon footprint) ต่ำา ที่สุดเมื่อเทียบกับถั่วเหลืองจาก แหล่งอื่นๆ นอกจากนั้น SSAP ยัง มีการตรวจสอบการผลิตระดับไร่นา โดยบุคคลที่สามได้แก่กระทรวง เกษตรสหรัฐฯ เมื่อเร็วๆ นี้ SSAP ได้รับรางวัลเทียบเท่าระดับเหรียญ เงิน (Silver Level Equivalence) เมื่อเทียบกับมาตรฐานของการวัด ความยั่งยืนของฟาร์ม 3.0 (Farm Sustainability Assessment (FSA) 3.0) ของโครงการริเริ่มการเกษตรอย่างยั่งยืน (Sustainable Agriculture Initiative (SAI) Platform) นอกจากนี้ SSAP ได้มี 12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของกรอบการพัฒนาในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG : Environmental, Social and Governance) ของลูกค้า ตลอดจนใช้มันเพื่อรายงานความคืบหน้าที่มุ่งไปสู่เป้านั้นๆ ทั้งนี้ ผู้นำาเข้าถั่วเหลืองจากสหรัฐอเมริกาจะได้รับใบรับรองที่มีชื่อผู้นำาเข้า จากผู้ส่งออกถั่วเหลือง โดยผู้นำาเข้าถั่วเหลืองสามารถส่งต่อใบรับรอง ให้กับลูกค้าของตนได้ และใบรับรองนี้สามารถโอนให้กับลูกค้าของ ผู้นำาเข้าได้มากถึง 4 ลำาดับลงไป “การให้ความมั่นใจกับผู้ซื้อถึงแหล่งวัตถุดิบที่ตระหนักถึงความ ยั่งยืนนับเป็นหัวใจสำาคัญของความมุ่งมั่นของเราที่จะรับผิดชอบต่อ ห่วงโซ่อุปทาน เรายินดีมากที่พบว่าใบรับรองของ SSAP มีการ พัฒนาอยู่เสมอทั้งในแง่ของความโปร่งใสและวิธีการที่น่าเชื่อถือในการ ลูกค้า U.S. Soy ทั่วโลกตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานสามารถ เลือกสรรวัตถุดิบที่คำานึงถึงความยั่งยืนได้ดียิ่งขึ้น กล่าวคือในปัจจุบัน ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ หรือ U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) สามารถส่งต่อให้กับ ลูกค้าที่ใช้ผลิตภัณฑ์ของเราได้มากถึง 4 ลำาดับลงไป ลูกค้า U.S. Soy ต่างมองหาแหล่งวัตถุดิบที่มีความโปร่งใส ในเรื่องความยั่งยืนมากขึ้นเป็นเวลานานแล้ว การปรับเปลี่ยนของ SSAP ในครั้งนี้ ที่ Soy Export Sustainability, LLC ได้รับเงิน สนับสนุนบางส่วนจาก The National Soybean Checkoff ทำาให้ ลูกค้าสามารถเก็บบันทึกข้อมูลการซื้อถั่วเหลืองของสหรัฐฯที่มี การผลิตอย่างยั่งยืน และใช้ข้อมูลเหล่านั้นให้ตอบโจทย์เป้าหมาย ใบรับรองความยั่งยืนของถั่วเหลืองจากสหรัฐฯ (U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol (SSAP) Certificates) สามารถส่งต่อได้แล้ว USSEC ยังคงก้าวต่อไป เพื่อสนับสนุนลูกค้าในการรับรองถั่วเหลืองที่ปลูกโดยคำานึงถึงความยั่งยืน โดย : U.S. SOYBEAN EXPORT COUNCIL - วันอังคารที่ 27 กันยายน 2022


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE (Crude Protein) ในการคำานวณ เพื่อให้ต้นทุนต่ำาที่สุดเป็นหลัก มาเป็นการคำานวณด้วยการจัดสมดุลกรดอะมิโนในสูตรอาหารให้ตรง กับความต้องการของสัตว์แต่ละช่วงอายุ ถือเป็นการ Change the language ในการทำาสูตรอาหาร การประกอบสูตรอาหารโดยจัดสมดุลของกรดอะมิโน เป็นการ ยกระดับคุณภาพอาหารสัตว์ ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ผลิตอาหารสัตว์และ ผู้ใช้อาหารสัตว์ รวมทั้งช่วยให้สัตว์มีสุขภาพดี นอกจากนั้นยังเป็นการ ผลิตปศุสัตว์ที่ยั่งยืน การจัดสมดุลกรดอะมิโนช่วยลดระดับโปรตีนใน สูตรอาหาร ลดการปลดปล่อยไนโตรเจนและแอมโมเนียของสัตว์ ลงได้ ต่างจากอาหารสูตรโปรตีนสูงที่ย่อยไม่หมดกลายเป็นของเสีย ลงสู่สภาพแวดล้อมอีกด้วย ในขณะที่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทยกำาลังเผชิญกับความ ท้าทายจากภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ราคาแพง การเลือกใช้ถั่วเหลือง คุณภาพดี มาใช้ประกอบสูตรอาหารก็ช่วยให้มีประสิทธิภาพการผลิต ดี แม้ราคาวัตถุดิบอาจสูงขึ้น แต่มีคุณค่ามากกว่าก็ช่วยให้ต้นทุน กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาในนาม Northern Soy Marketing (NSM) จัดสัมมนาให้ความรู้เรื่อง “กรดอะมิโนในถั่วเหลือง จากประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานทุกเม็ดเหมาะ สำาหรับในการนำามาผลิตอาหารสัตว์ และสามารถลดต้นทุนได้เป็น อย่างดี” ให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ประกอบการผลิตอาหารสัตว์ไทย ได้ทราบถึง คุณภาพของถั่วเหลืองจากประเทศสหรัฐอเมริกา Mr. Patrick O’Leary ประธาน Northern Soy Marketing (NSM) ร่วมให้ข้อมูลกับ “สัตว์เศรษฐกิจ” ว่า Northern Soy Marketing (NSM) เป็นสมาคมผู้ปลูกถั่วเหลืองจาก 5 รัฐ ใน ตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ได้แก่ Minnesota, Nebraska, North Dakota, South Dakota และ Wisconsin ทั้งนี้สหรัฐอเมริกามี สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมสำาหรับการปลูกถั่วเหลือง ช่วยให้ผลผลิตถั่วเหลืองที่ผลิตออกมามีคุณภาพ โดยเฉพาะกรด อะมิโนสูงกว่าประเทศอื่น แต่ผู้ผลิตและนักโภชนาการอาหารสัตว์ต้อง ปรับแนวความคิดในการประกอบสูตรอาหารจากการใช้ค่าโปรตีน กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองสหรัฐฯ ...รุกตลาดอาหารสัตว์ไทย ด้วยคุณภาพกรดอะมิโน


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE (Crude Protein) ในการคำานวณ เพื่อให้ต้นทุนต่ำาที่สุดเป็นหลัก มาเป็นการคำานวณด้วยการจัดสมดุลกรดอะมิโนในสูตรอาหารให้ตรง กับความต้องการของสัตว์แต่ละช่วงอายุ ถือเป็นการ Change the language ในการทำาสูตรอาหาร การประกอบสูตรอาหารโดยจัดสมดุลของกรดอะมิโน เป็นการ ยกระดับคุณภาพอาหารสัตว์ ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ผลิตอาหารสัตว์และ ผู้ใช้อาหารสัตว์ รวมทั้งช่วยให้สัตว์มีสุขภาพดี นอกจากนั้นยังเป็นการ ผลิตปศุสัตว์ที่ยั่งยืน การจัดสมดุลกรดอะมิโนช่วยลดระดับโปรตีนใน สูตรอาหาร ลดการปลดปล่อยไนโตรเจนและแอมโมเนียของสัตว์ ลงได้ ต่างจากอาหารสูตรโปรตีนสูงที่ย่อยไม่หมดกลายเป็นของเสีย ลงสู่สภาพแวดล้อมอีกด้วย ในขณะที่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทยกำาลังเผชิญกับความ ท้าทายจากภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ราคาแพง การเลือกใช้ถั่วเหลือง คุณภาพดี มาใช้ประกอบสูตรอาหารก็ช่วยให้มีประสิทธิภาพการผลิต ดี แม้ราคาวัตถุดิบอาจสูงขึ้น แต่มีคุณค่ามากกว่าก็ช่วยให้ต้นทุน กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาในนาม Northern Soy Marketing (NSM) จัดสัมมนาให้ความรู้เรื่อง “กรดอะมิโนในถั่วเหลือง จากประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานทุกเม็ดเหมาะ สำาหรับในการนำามาผลิตอาหารสัตว์ และสามารถลดต้นทุนได้เป็น อย่างดี” ให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ประกอบการผลิตอาหารสัตว์ไทย ได้ทราบถึง คุณภาพของถั่วเหลืองจากประเทศสหรัฐอเมริกา Mr. Patrick O’Leary ประธาน Northern Soy Marketing (NSM) ร่วมให้ข้อมูลกับ “สัตว์เศรษฐกิจ” ว่า Northern Soy Marketing (NSM) เป็นสมาคมผู้ปลูกถั่วเหลืองจาก 5 รัฐ ใน ตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ได้แก่ Minnesota, Nebraska, North Dakota, South Dakota และ Wisconsin ทั้งนี้สหรัฐอเมริกามี สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมสำาหรับการปลูกถั่วเหลือง ช่วยให้ผลผลิตถั่วเหลืองที่ผลิตออกมามีคุณภาพ โดยเฉพาะกรด อะมิโนสูงกว่าประเทศอื่น แต่ผู้ผลิตและนักโภชนาการอาหารสัตว์ต้อง ปรับแนวความคิดในการประกอบสูตรอาหารจากการใช้ค่าโปรตีน กลุ่มผู้ปลูกถั่วเหลืองสหรัฐฯ ...รุกตลาดอาหารสัตว์ไทย ด้วยคุณภาพกรดอะมิโน สัตว์เศรษฐกิจ 15 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การผลิตต่อหน่วยต่ำากว่า ถือเป็นอีกแนวทางในการลดต้นทุนการผลิต ให้กับผู้ผลิตอาหารสัตว์และเกษตรกรผู้เลี้ยงปศุสัตว์ด้วย ที่ผ่านมา สหรัฐอเมริกามีการขยายโรงงานสกัดน้ำามันพืช รองรับความต้องการใช้ไบโอดีเซลที่ขยายตัว คาดว่า อีก 2-3 ปี ข้างหน้าสหรัฐอเมริกาจะมีกากถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น ราคาอาจปรับลดลง กลายเป็นทางเลือกของผู้ผลิตอาหารสัตว์ของไทยเพิ่มขึ้น อีกทั้งยัง รองรับการผลิตยั่งยืน เพราะถั่วเหลืองสหรัฐอเมริกามาจากระบบการ ผลิตที่ยั่งยืน มีระบบจัดการคาร์บอนฟู้ทปริ๊นท์ (Carbon Footprint) ดีกว่าทุกประเทศ ไม่มีปัญหาบุกรุกป่า ตรงตามความต้องการของ ผู้นำาเข้าอาหาร โดยเฉพาะสหภาพยุโรป ส่งผลให้ผู้ผลิตอาหารเพื่อ การส่งออกจำาเป็นต้องใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มาจากแหล่งการผลิตที่ ยั่งยืน เพื่อรักษาตลาดส่งออกไว้ได้ สำาหรับเป้าหมายในการพบกับผู้ประกอบการผลิตอาหารสัตว์ ไทยในครั้งนี้ เพื่อแลกเปลี่ยนทำาความเข้าใจให้ข้อมูลถึงคุณภาพของ ถั่วเหลืองและประโยชน์ของการประกอบสูตรอาหารโดยจัดสมดุลกรด อะมิโนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการเดินหน้าลดต้นทุนการผลิต ให้กับเกษตรกรไทยจากวิกฤตอาหารสัตว์แพงและนำาไปสู่การผลิตที่ ยั่งยืนได้ต่อไป...


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG เปิดเผยว่า “นโยบายของบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นยกระดับระบบ ซัพพลายเชนของเบทาโกร ตั้งแต่ต้นน้ำาจนถึงปลายน้ำา ภายใต้แนวคิด ‘PROACTIVE SUSTAINABILITY’ เบทาโกรสร้างสรรค์นวัตกรรม แห่งความยั่งยืนให้เกิดขึ้นจริง โดยเดินหน้าลงทุนกว่า 1,400 ล้าน บาท นำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่มาขับเคลื่อนรากฐานการผลิต บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ “BTG” บริษัทอาหาร ชั้นนำาระดับสากล (World-Class Branded Food Company) ยกระดับซัพพลายเชนกลุ่มธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม เปิดตัว ‘โรงงาน อาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา’ โรงงานอัจฉริยะ เต็มรูปแบบแห่งแรก ที่ขับเคลื่อนเทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหาร สัตว์และบริหารทรัพยากรด้วยการเชื่อมต่อ IoT และระบบอัตโนมัติ พร้อมคำานึงถึง ESG เพิ่มกำาลังการผลิตอาหารสัตว์กว่า 600,000 ตันต่อปี หรือเพิ่มขึ้น 18% ทำาให้เบทาโกรมีกำาลังการผลิตรวมแล้ว กว่า 4 ล้านตันต่อปี ติดสปีดเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ตอบรับความ ต้องการอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืน พร้อมประกาศแผนกลยุทธ์ ก้าวสู่แบรนด์ธุรกิจอาหารชั้นนำาระดับสากล เดินหน้าเพิ่มกำาลัง การผลิตรับดีมานด์ในประเทศ พร้อมขยายธุรกิจสู่ตลาดต่างประเทศ ปักธงการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มและช่องทาง จำาหน่าย ดันพอร์ตโฟลิโอผลิตภัณฑ์พรีเมียมโต เผยสถานการณ์ราคา สุกรมีชีวิตและไก่เนื้อเริ่มปรับขึ้น วางเป้าหมายยอดขายโต 5-10% สร้างความแข็งแกร่งและการเติบโตอย่างต่อเนื่อง นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG เปิดเผยว่า “นโยบายของบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นยกระดับระบบ ซัพพลายเชนของเบทาโกร ตั้งแต่ต้นน้ำาจนถึงปลายน้ำา ภายใต้แนวคิด ‘PROACTIVE SUSTAINABILITY’ เบทาโกรสร้างสรรค์นวัตกรรม แห่งความยั่งยืนให้เกิดขึ้นจริง โดยเดินหน้าลงทุนกว่า 1,400 ล้าน บาท นำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่มาขับเคลื่อนรากฐานการผลิต บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ “BTG” บริษัทอาหาร ชั้นนำาระดับสากล (World-Class Branded Food Company) ยกระดับซัพพลายเชนกลุ่มธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม เปิดตัว ‘โรงงาน อาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา’ โรงงานอัจฉริยะ เต็มรูปแบบแห่งแรก ที่ขับเคลื่อนเทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหาร สัตว์และบริหารทรัพยากรด้วยการเชื่อมต่อ IoT และระบบอัตโนมัติ พร้อมคำานึงถึง ESG เพิ่มกำาลังการผลิตอาหารสัตว์กว่า 600,000 ตันต่อปี หรือเพิ่มขึ้น 18% ทำาให้เบทาโกรมีกำาลังการผลิตรวมแล้ว กว่า 4 ล้านตันต่อปี ติดสปีดเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ตอบรับความ ต้องการอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืน พร้อมประกาศแผนกลยุทธ์ ก้าวสู่แบรนด์ธุรกิจอาหารชั้นนำาระดับสากล เดินหน้าเพิ่มกำาลัง การผลิตรับดีมานด์ในประเทศ พร้อมขยายธุรกิจสู่ตลาดต่างประเทศ ปักธงการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มและช่องทาง จำาหน่าย ดันพอร์ตโฟลิโอผลิตภัณฑ์พรีเมียมโต เผยสถานการณ์ราคา สุกรมีชีวิตและไก่เนื้อเริ่มปรับขึ้น วางเป้าหมายยอดขายโต 5-10% สร้างความแข็งแกร่งและการเติบโตอย่างต่อเนื่อง นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล เบทาโกร เปิดโรงงานอาหารสัตว์ใหม่ พร้อมดันแบรนด์สู่สากล สัตว์เศรษฐกิจ 17 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ก้าวสู่โรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตและการจัดการทรัพยากร ล่าสุดได้เปิดตัวโรงงาน อาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก นำาร่องแห่งแรกที่เป็นโรงงาน อัจฉริยะ (Smart Factory) เต็มรูปแบบ และจะเป็นโมเดลต้นแบบ การขยายไปสู่โรงงานของเบทาโกรอื่นๆ ต่อไป โรงงานอาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก นับว่าเป็นโรงงาน ขนาดใหญ่อันดับ 3 ของบริษัทฯ ผลิตอาหารสัตว์หลากหลายชนิด อาทิ สุกร ไก่ไข่ ไก่เนื้อ โดยนำาเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) และระบบอัตโนมัติมาใช้ภายในโรงงานซึ่งช่วยยกระดับคุณภาพ การผลิตอาหารที่มีความแม่นยำา (Smart Production) ยิ่งขึ้น ปัจจุบัน โรงงานอาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก มีอัตราการเดินเครื่อง อยู่ที่ 48% ของการผลิตรวม และจะผลิตเต็มกำาลัง 100% ภายใน สิ้นปีนี้ ส่งผลให้เบทาโกรมีกำาลังการผลิตอาหารสัตว์เพิ่มขึ้นอีกกว่า 600,000 ตันต่อปี หรือเพิ่มขึ้น 18% รวมเป็นกว่า 4 ล้านตัน ต่อปี เพื่อรองรับตลาดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและ สปป.ลาว อีกทั้งภายในโรงงานยังได้นำาระบบบริหารจัดการด้าน โลจิสติกส์มาเพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้อย่างรวดเร็วตรงเวลา พร้อม ช่วยวางแผนการทำางานที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ภายในโรงงานยังได้นำาเทคโนโลยีอันทันสมัยมายก ระดับจัดการหลากหลายมิติ ได้แก่ ระบบการบริหารจัดการโรงงาน (Smart Dashboard) ระบบการเก็บตัวอย่างและตรวจสอบคุณภาพ (Smart Sampling) ระบบการจัดเก็บวัตถุดิบที่ควบคุมแบบอัตโนมัติ (Smart Silo) รวมถึงระบบการจัดเก็บและลำาเลียงวัตถุดิบอัตโนมัติ (Smart Bulk) และการใช้หุ่นยนต์ในการบรรจุและลำาเลียง (Auto packing & Robot) โดยการลงทุนโรงงานอาหารสัตว์เบทาโกร หนองบุญมาก จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอาหารสัตว์ที่มี คุณภาพและปลอดภัย ตลอดจนช่วยลดการสูญเสีย ซึ่งเป็นความเสี่ยง ในการกระบวนผลิตและระบบขนส่ง ทั้งยังสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันอีกด้วย เบทาโกร ยังให้ความสำาคัญกับการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อการ เติบโตที่ยั่งยืน ด้วยการดำาเนินธุรกิจตามหลัก ESG (Environment, Social, Governance) ครอบคลุมด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ บรรษัทภิบาล โดยโรงงานอัจฉริยะแห่งนี้ร่วมสร้างรากฐานสังคม เข้มแข็ง ด้วยการสร้างโอกาสให้กับเกษตรกรร่วมเติบโตไปด้วยกัน รวมถึงสร้างงานให้คนในชุมชน ยกระดับทักษะทางด้านเทคโนโลยีให้ กับคนในพื้นที่ ทั้งยังส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานสะอาดเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม อาทิ ระบบผลิตไอน้ำาแบบประหยัดพลังงาน (Smart Boiler) จากเชื้อเพลิงชีวมวล (Bio-Mass Fuel) การใช้พลังงาน ทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ 20% โดยติดตั้งโซลาร์ รูฟท็อป (Solar Rooftop) ขณะนี้มีกำาลังการผลิตอยู่ที่ 2.8 เมกะวัตต์ ลดการ ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ราว 1,900 ตันต่อปี แนวโน้มอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ในปี 2566 มีโอกาส เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากข้อมูลของสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย คาดว่าจะเพิ่มเป็น 19.99 ล้านตัน หรือ 4.8% จากปี 2565 ซึ่งอยู่ ที่ 19.08 ล้านตัน เนื่องจากมีความต้องการในการผลิตสุกร ไก่เนื้อ และไก่ไข่เพิ่มขึ้น สำาหรับการก้าวสู่โรงงานอัจฉริยะด้วย IoT ผสาน กับระบบอัตโนมัติที่สมบูรณ์แบบในโรงงานอาหารสัตว์เบทาโกร


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา จะเป็นห่วงโซ่คุณค่าต้นน้ำาในด้านฐาน การผลิตที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง และจะเป็นส่วนสำาคัญในการขับเคลื่อน เบทาโกรสู่การเป็น World-Class Branded Food Company ที่ เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน เปิดแผนกลยุทธ์ปี 66 มั่นใจยอดขายขยับ โต 5-10% นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG เปิดเผยว่า ภาพรวมการบริโภคอาหารปี 2566 มีแนวโน้ม ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง หลังจากการแพร่ระบาดโควิด-19 เริ่มคลี่คลาย และมีดีมานด์เพิ่มขึ้นจากการเปิดประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจเริ่ม ฟื้นตัวและทำาให้อัตราการบริโภคขยายตัวอย่างมีนัยสำาคัญ แม้ในระยะ สั้นสถานการณ์ราคาสุกรมีชีวิต จะมีความผันผวนได้บ้างเนื่องจากใน ช่วงปลายปีที่ผ่านมาถึงต้นปีนี้มีการลักลอบนำาเข้าสุกรตัดแต่ง และมี การเพิ่มน้ำาหนักของสุกรขุน ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างราคาสุกรใน ประเทศไทย อย่างไรก็ตามปัจจุบันทิศทางราคาสุกรเริ่มปรับตัวดีขึ้น และจะกลับมามีสเถียรภาพหากมีการบริหารซัพพลายที่ดี ขณะที่แนวโน้มราคาและการส่งออกไก่เนื้อ คาดการณ์ว่าจะกลับ มาขยายตัวดีขึ้นในไตรมาส 2 และไตรมาส 3 เทียบกับไตรมาส 1/2566 ที่ชะลอตัว จากปัจจัยดังกล่าว เบทาโกรจึงวางกลยุทธ์ใน การขับเคลื่อนธุรกิจก้าวสู่แบรนด์ธุรกิจอาหารชั้นนำาระดับสากล เพื่อ สร้างความแข็งแกร่งและการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ 4 กลยุทธ์ หลัก ได้แก่ 1) มุ่งขยายกำาลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างรากฐาน การผลิตผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่อุปทานให้มีความแข็งแกร่ง รองรับ กับการเติบโตทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยจะลงทุนขยายกำาลัง ผลิตในโรงงานแห่งใหม่ และการปรับปรุงโรงงานที่มีอยู่เดิมให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้นรองรับกับโอกาสการขายที่เพิ่มมากขึ้น 2) สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์และช่องทางจำาหน่าย เบทาโกร มุ่งให้ความสำาคัญการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุ่มธุรกิจอาหาร และโปรตีนที่มีมูลค่าเพิ่ม ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ไก่และสุกร ซึ่ง เป็นส่วนสำาคัญที่จะสร้างการเติบโตในปีนี้ อีกทั้งยังมุ่งขยายกลุ่ม ผลิตภัณฑ์อาหารสำาเร็จรูป ในกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงและ พร้อมรับประทาน เพื่อรองรับกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ที่มี ความเร่งรีบ จึงทำาให้ตลาดมีศักยภาพเติบโตต่อเนื่อง โดยวาง เป้าหมายกลุ่มอาหารสำาเร็จรูปจะมีสัดส่วนรายได้เกือบ 10% ในปี 2568 จากปี 2565 อยู่ที่ 5% พร้อมทั้งเดินหน้าขยายช่องทาง จัดจำาหน่ายที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ สู่ช่องทางร้านค้าปลีก สมัยใหม่ ช่องทางผู้ให้บริการด้านอาหาร ช่องทางจัดจำาหน่ายของ เบทาโกรช็อป และร้านเบทาโกร เดลี่ เพื่อเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่าง กว้างขวางและสร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่อง 3) มุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมียม เบทาโกรนำาความ แข็งแกร่งของศูนย์วิจัยและพัฒนา (Research and Development Center-RDC) และศูนย์นวัตกรรมที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่ม ธุรกิจมุ่งวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมียม 3 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ 1.กลุ่มธุรกิจอาหารและโปรตีน โดยศูนย์นวัตกรรมอาหาร (Food Innovation Center - FIC) ซึ่งมีแบรนด์ S-Pure เป็นผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์ซุปเปอร์พรีเมี่ยมคุณภาพสูงจากธรรมชาติ 100% (100% NATURAL PURE PRODUCT) มีความปลอดภัยสูงสุด จากการ


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา จะเป็นห่วงโซ่คุณค่าต้นน้ำาในด้านฐาน การผลิตที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง และจะเป็นส่วนสำาคัญในการขับเคลื่อน เบทาโกรสู่การเป็น World-Class Branded Food Company ที่ เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน เปิดแผนกลยุทธ์ปี 66 มั่นใจยอดขายขยับ โต 5-10% นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG เปิดเผยว่า ภาพรวมการบริโภคอาหารปี 2566 มีแนวโน้ม ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง หลังจากการแพร่ระบาดโควิด-19 เริ่มคลี่คลาย และมีดีมานด์เพิ่มขึ้นจากการเปิดประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจเริ่ม ฟื้นตัวและทำาให้อัตราการบริโภคขยายตัวอย่างมีนัยสำาคัญ แม้ในระยะ สั้นสถานการณ์ราคาสุกรมีชีวิต จะมีความผันผวนได้บ้างเนื่องจากใน ช่วงปลายปีที่ผ่านมาถึงต้นปีนี้มีการลักลอบนำาเข้าสุกรตัดแต่ง และมี การเพิ่มน้ำาหนักของสุกรขุน ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างราคาสุกรใน ประเทศไทย อย่างไรก็ตามปัจจุบันทิศทางราคาสุกรเริ่มปรับตัวดีขึ้น และจะกลับมามีสเถียรภาพหากมีการบริหารซัพพลายที่ดี ขณะที่แนวโน้มราคาและการส่งออกไก่เนื้อ คาดการณ์ว่าจะกลับ มาขยายตัวดีขึ้นในไตรมาส 2 และไตรมาส 3 เทียบกับไตรมาส 1/2566 ที่ชะลอตัว จากปัจจัยดังกล่าว เบทาโกรจึงวางกลยุทธ์ใน การขับเคลื่อนธุรกิจก้าวสู่แบรนด์ธุรกิจอาหารชั้นนำาระดับสากล เพื่อ สร้างความแข็งแกร่งและการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ 4 กลยุทธ์ หลัก ได้แก่ 1) มุ่งขยายกำาลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างรากฐาน การผลิตผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่อุปทานให้มีความแข็งแกร่ง รองรับ กับการเติบโตทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยจะลงทุนขยายกำาลัง ผลิตในโรงงานแห่งใหม่ และการปรับปรุงโรงงานที่มีอยู่เดิมให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้นรองรับกับโอกาสการขายที่เพิ่มมากขึ้น 2) สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์และช่องทางจำาหน่าย เบทาโกร มุ่งให้ความสำาคัญการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุ่มธุรกิจอาหาร และโปรตีนที่มีมูลค่าเพิ่ม ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ไก่และสุกร ซึ่ง เป็นส่วนสำาคัญที่จะสร้างการเติบโตในปีนี้ อีกทั้งยังมุ่งขยายกลุ่ม ผลิตภัณฑ์อาหารสำาเร็จรูป ในกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงและ พร้อมรับประทาน เพื่อรองรับกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ที่มี ความเร่งรีบ จึงทำาให้ตลาดมีศักยภาพเติบโตต่อเนื่อง โดยวาง เป้าหมายกลุ่มอาหารสำาเร็จรูปจะมีสัดส่วนรายได้เกือบ 10% ในปี 2568 จากปี 2565 อยู่ที่ 5% พร้อมทั้งเดินหน้าขยายช่องทาง จัดจำาหน่ายที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ สู่ช่องทางร้านค้าปลีก สมัยใหม่ ช่องทางผู้ให้บริการด้านอาหาร ช่องทางจัดจำาหน่ายของ เบทาโกรช็อป และร้านเบทาโกร เดลี่ เพื่อเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่าง กว้างขวางและสร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่อง 3) มุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมียม เบทาโกรนำาความ แข็งแกร่งของศูนย์วิจัยและพัฒนา (Research and Development Center-RDC) และศูนย์นวัตกรรมที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่ม ธุรกิจมุ่งวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมียม 3 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ 1.กลุ่มธุรกิจอาหารและโปรตีน โดยศูนย์นวัตกรรมอาหาร (Food Innovation Center - FIC) ซึ่งมีแบรนด์ S-Pure เป็นผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์ซุปเปอร์พรีเมี่ยมคุณภาพสูงจากธรรมชาติ 100% (100% NATURAL PURE PRODUCT) มีความปลอดภัยสูงสุด จากการ สัตว์เศรษฐกิจ 19 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ จากการวางกลยุทธ์แห่งปี 2566 เพื่อขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งการลงทุนสร้างรากฐานการผลิต อย่างแข็งแกร่งในภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนการไม่หยุดนิ่งสร้างสรรค์ อาหารและช่องทางจำาหน่ายที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ การขยายพอร์ตโฟลิโอผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมียม รวมทั้งความสามารถ ในการควบคุมต้นทุนราคาวัตถุดิบด้วยระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และการมุ่งเน้นสินค้าในกลุ่มธุรกิจอาหารและโปรตีนที่ได้อัตรากำาไร ที่ดีกว่า เพื่อลดผลกระทบของความผันผวนของราคาเนื้อสัตว์ จะ ผลักดันให้ยอดขายปี 2566 มีอัตราการเติบโต 5-10% ตามเป้าหมาย และตอกย้ำาเป้าหมายสู่การเป็นแบรนด์ธุรกิจอาหารชั้นนำาระดับสากล เพื่อชีวิตที่ยั่งยืนต่อไป... คัดเลือกสายพันธุ์ที่ดี การเลี้ยงโดยไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ สารเร่งการเจริญ เติบโต และสารเคมีใดๆ ตลอดการเลี้ยงดู ภายใต้การควบคุมการ ผลิตทุกขั้นตอนด้วยเทคโนโลยีทันสมัย โดย S-Pure เป็นแบรนด์แรก และหนึ่งเดียว ที่ได้รับการรับรองการเลี้ยงแบบไม่ใช้ยาปฎิชีวนะ (Raised Without Antibiotics - RWA) จาก NSF รวม 3 ผลิตภัณฑ์ ทั้งหมู ไก่ ไข่ ตอบโจทย์เทรนด์ผู้บริโภคที่ให้ความสำาคัญกับสุขภาพ และโภชนาการที่ดี มุ่งขยายฐานผู้บริโภคในระดับพรีเมียม 2. กลุ่ม ธุรกิจสัตว์เลี้ยง โดยศูนย์นวัตกรรมสัตว์เลี้ยง (Pet Innovation Center-PIC) ที่เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์พรีเมียมตอบโจทย์ Health & Wellness และ 3. กลุ่มธุรกิจเกษตร โดยศูนย์นวัตกรรม การเกษตร (Agro Innovation Center - AIC) ที่จะพัฒนาอาหาร สุกร อาหารโค และอาหารไก่ไข่ที่เป็นเกรดพรีเมียมรับกับความ ต้องการในผลิตภัณฑ์พรีเมียมที่เพิ่มขึ้น และ 4) การขยายธุรกิจสู่ตลาดต่างประเทศ ในกลุ่มธุรกิจ ต่างประเทศวางแผนลงทุนในประเทศกัมพูชา ลาว และ เมียนมา โดยสร้างโรงงานแห่งใหม่ และปรับปรุงโรงงานเดิมให้มีประสิทธิภาพ ดียิ่งขึ้น รวมทั้งสนใจการลงทุนร่วมกับผู้ประกอบการประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ยังเดินหน้าขยายตลาดส่งออกใหม่ในประเทศอื่นๆ จาก ปีที่ผ่านมามีมากกว่า 20 ประเทศทั่วโลก โดยสนใจขยายการส่งออก สู่ตลาดยุโรป ตลอดจนขยายผลิตภัณฑ์ใหม่และช่องทางจัดหน่าย ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม เช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง และส่งออกกลุ่มผลิตภัณฑ์ ปรุงสุก อาทิ ไก่ปรุงสุก บุกตลาดอาเซียน ญี่ปุ่น และยุโรป รวมทั้ง มุ่งสร้างแบรนด์ “S-Pure” และ “BETAGRO” ตอกย้ำาและสร้างการ รับรู้ให้กับกลุ่มผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรตัวแทนสมาคมและชมรมผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศบุกทำาเนียบร้องขอให้เร่งแก้ปัญหาราคาเนื้อสุกรตกต่ำาจาก เหตุลักลอบนำาเข้า“หมูกล่อง”จากต่างประเทศ “พีระพันธุ์” รับปาก จะเร่งดำาเนินการให้ ย้ำานายกรัฐมนตรีเป็นห่วงความเดือดร้อนของ ประชาชนทุกคนและให้ความเป็นธรรมทุกฝ่าย นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ประธานคณะกรรมการอำานวย ความเป็นธรรมและเร่งรัดการปฏิบัติราชการตามดำาริของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุม รับเรื่องร้องเรียนจากผู้แทนสมาคมและชมรมเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศกว่า 50 คน ขอให้หาแนวทางช่วยเหลือ กรณีราคา เนื้อสุกรตกต่ำา หลังจากได้รับผลกระทบปัญหาการลักลอบนำาเข้า เนื้อสุกรแช่แข็ง หรือที่เรียกว่า “หมูกล่อง” ผิดกฎหมายจาก ต่างประเทศ นอกจากจะเข้ามากดดันทำาให้ราคาเนื้อสุกรภายใน ประเทศตกต่ำาแล้ว ยังเป็นเนื้อสุกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานการตรวจสอบ ความปลอดภัย โดยเฉพาะเรื่องความสะอาดที่อาจจะส่งผลถึงผู้บริโภค อีกด้วย หลังจากที่กลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นำาโดย นายเดือนเด่น ยิ้มแย้ม ฟาร์มสุกรวันวิสาข์ฟาร์ม และ นายอุดมศักดิ์แก้วจันทร์วงษ์แห่งฟาร์มหมูยโสธรดอทเน็ต ในนาม ชมรมผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ยื่นร้องเรียน ผลกระทบจากการนำาเข้าหมูอย่างผิดกฎหมายต่อคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตั้งแต่ 29 กันยายน 2565 และได้มีการส่งข้อมูลเกี่ยวกับการสอบสวน ต่างๆ เป็นระยะ โดย ล่าสุดเมื่อ 8 มีนาคม 2566 ได้มีการแจ้งเบาะแสและประเด็นนำาสืบ ให้แก่เจ้าหน้าที่ของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ภาครัฐ (ปปท.) ที่ทำางานร่วมกับ ปปช.ในเรื่องร้องเรียนนี้และประชุม ร่วมกัน โดยทางเจ้าหน้าที่ได้แนะนำาให้กลุ่มผู้เลี้ยงสุกรให้ร้องเรียนใน ภาพใหญ่ต่อนายกรัฐมนตรีประยุทธ์จันทร์โอชา จึงเป็นที่มาของการ ยื่นข้อเรียกร้องในวันนี้ ทั้งนี้ ข้อเรียกร้องของตัวแทนผู้ร้องเรียน กล่าวว่า ตั้งแต่ต้น ปี2565 เป็นต้นมา หลังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไม่อนุมัติให้มีการนำาเข้าเนื้อสุกรจากสเปน จากการยื่นขออนุมัติโดย กรมปศุสัตว์ตามการอ้างคำาขอจาก 24 ผู้ประกอบการ ปรากฏว่า มีชิ้นส่วนเนื้อสุกรลักลอบนำาเข้าจากต่างประเทศเป็นจำานวนมาก แทรกซึมเข้ามาตลาดภายในประเทศ ซึ่งเป็นการเพิ่มอุปทานส่วนเกิน ให้กับสินค้าสุกรที่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรผลิตสุกรขุนมีชีวิตออกสู่ตลาด ชาวหมูบุกทำาเนียบ... ร้องแก้ “หมูเถื่อน” กดราคาหน้าฟาร์ม


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรตัวแทนสมาคมและชมรมผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศบุกทำาเนียบร้องขอให้เร่งแก้ปัญหาราคาเนื้อสุกรตกต่ำาจาก เหตุลักลอบนำาเข้า“หมูกล่อง”จากต่างประเทศ “พีระพันธุ์” รับปาก จะเร่งดำาเนินการให้ ย้ำานายกรัฐมนตรีเป็นห่วงความเดือดร้อนของ ประชาชนทุกคนและให้ความเป็นธรรมทุกฝ่าย นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ประธานคณะกรรมการอำานวย ความเป็นธรรมและเร่งรัดการปฏิบัติราชการตามดำาริของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุม รับเรื่องร้องเรียนจากผู้แทนสมาคมและชมรมเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศกว่า 50 คน ขอให้หาแนวทางช่วยเหลือ กรณีราคา เนื้อสุกรตกต่ำา หลังจากได้รับผลกระทบปัญหาการลักลอบนำาเข้า เนื้อสุกรแช่แข็ง หรือที่เรียกว่า “หมูกล่อง” ผิดกฎหมายจาก ต่างประเทศ นอกจากจะเข้ามากดดันทำาให้ราคาเนื้อสุกรภายใน ประเทศตกต่ำาแล้ว ยังเป็นเนื้อสุกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานการตรวจสอบ ความปลอดภัย โดยเฉพาะเรื่องความสะอาดที่อาจจะส่งผลถึงผู้บริโภค อีกด้วย หลังจากที่กลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นำาโดย นายเดือนเด่น ยิ้มแย้ม ฟาร์มสุกรวันวิสาข์ฟาร์ม และ นายอุดมศักดิ์แก้วจันทร์วงษ์แห่งฟาร์มหมูยโสธรดอทเน็ต ในนาม ชมรมผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ยื่นร้องเรียน ผลกระทบจากการนำาเข้าหมูอย่างผิดกฎหมายต่อคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตั้งแต่ 29 กันยายน 2565 และได้มีการส่งข้อมูลเกี่ยวกับการสอบสวน ต่างๆ เป็นระยะ โดย ล่าสุดเมื่อ 8 มีนาคม 2566 ได้มีการแจ้งเบาะแสและประเด็นนำาสืบ ให้แก่เจ้าหน้าที่ของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ภาครัฐ (ปปท.) ที่ทำางานร่วมกับ ปปช.ในเรื่องร้องเรียนนี้และประชุม ร่วมกัน โดยทางเจ้าหน้าที่ได้แนะนำาให้กลุ่มผู้เลี้ยงสุกรให้ร้องเรียนใน ภาพใหญ่ต่อนายกรัฐมนตรีประยุทธ์จันทร์โอชา จึงเป็นที่มาของการ ยื่นข้อเรียกร้องในวันนี้ ทั้งนี้ ข้อเรียกร้องของตัวแทนผู้ร้องเรียน กล่าวว่า ตั้งแต่ต้น ปี2565 เป็นต้นมา หลังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไม่อนุมัติให้มีการนำาเข้าเนื้อสุกรจากสเปน จากการยื่นขออนุมัติโดย กรมปศุสัตว์ตามการอ้างคำาขอจาก 24 ผู้ประกอบการ ปรากฏว่า มีชิ้นส่วนเนื้อสุกรลักลอบนำาเข้าจากต่างประเทศเป็นจำานวนมาก แทรกซึมเข้ามาตลาดภายในประเทศ ซึ่งเป็นการเพิ่มอุปทานส่วนเกิน ให้กับสินค้าสุกรที่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรผลิตสุกรขุนมีชีวิตออกสู่ตลาด ชาวหมูบุกทำาเนียบ... ร้องแก้ “หมูเถื่อน” กดราคาหน้าฟาร์ม สัตว์เศรษฐกิจ 21 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตามปกติและตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่ 3 ปี2565 เกษตรกรรายย่อยที่ ได้รับความเสียหาย และหยุดเลี้ยงไปช่วงการระบาดของโรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกร (ASF) ได้เริ่มนำาสุกรเข้าขุนใหม่ และการเพิ่มปริมาณ เข้าขุนจากฟาร์มที่ดำาเนินการตามปกติทำาให้ผลผลิตสุกรเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ตั้งแต่ปลายไตรมาสที่ 4 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน ทำาให้ ปริมาณสุกรขุนเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ผสมผสานกับชิ้นส่วนสุกรลักลอบ นำาเข้าทำาให้ปริมาณโดยรวม เกินกว่าความต้องการบริโภคส่งผล กระทบต่อความต้องการสุกรขุนหน้าฟาร์มเข้าโรงเชือดลดลง เป็นแรง กดดันราคาหน้าฟาร์มให้ขาดเสถียรภาพ จากข้อมูลการจับกุมชิ้นส่วนเนื้อสุกรลักลอบนำาเข้าที่เกิดขึ้น กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรประเมินว่าเป็นเพียง 5% ของสุกรลักลอบ นำาเข้าทั้งหมด เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรมีความกังวลอย่างยิ่ง ต่อท่าที การบริหารจัดการสินค้าสุกรของภาครัฐจากสื่อสาธารณะที่ผ่านมา กับ ราคาสุกรและเนื้อสุกรที่ขยับตัวขึ้นตามต้นทุนการเลี้ยงที่เป็นประเด็น ความเดือดร้อนของผู้บริโภคต่อภาระค่าครองชีพในการบริโภค เนื้อสุกร ซึ่งการขยับราคาสุกรที่ผ่านมานั้น เป็นราคาที่สะท้อนต้นทุน การผลิตและเป็นไปตามกลไกตลาด (ซึ่งกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรให้ความสำาคัญ ดูแลกันในกลุ่มไม่ให้ราคาสูงเกินกว่าต้นทุนมากนัก และให้ความ ร่วมมือกับกระทรวงพาณิชย์ด้วยดี) ทำาให้มีการเข้ามาแทรกแซงใน ระดับราคาสุกรช่วงที่เกินต้นทุนเพียงเล็กน้อยเสมอๆ สร้างความรู้สึก เหลื่อมลำ้าด้านความแตกต่างในการกำากับดูแลจากภาครัฐในฐานะ ที่เป็นสินค้าควบคุม เช่นกัน ในขณะที่ปัจจุบันราคาสุกรลดลงมากถึง 20-25% จากต้นทุน กลับมีการเข้ามากำากับดูแลน้อยมาก ทำาให้ สภาพการเลี้ยงสุกรของไทยในปัจจุบัน มีสถานะที่ขาดความมั่นคง ยั่นยืนในการประกอบอาชีพที่เกิดจากแนวทางกำากับดูแลของภาครัฐ โดยที่ผ่านมากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเป็นหนึ่งในภาคปศุสัตว์ที่ให้ ความร่วมมือกับภาครัฐด้วยดีเสมอมา วิธีการเข้ามาแทรกแซงราคาสุกรในยามราคาสุกรอยู่ในระดับ ต้นทุน หรือสูงกว่าระดับต้นทุนเพียงเล็กน้อย เช่น การแทรกแซงใน ลักษณะ “ตรวจสต๊อกหมู” ในปีที่แล้ว (ปี2565) โดยอ้างว่า “ตรวจ สต๊อกป้องกันการกักตุน” ทั้งๆ ที่ทุกจุดจำาหน่ายทั่วประเทศมีสินค้า เนื้อสุกรวางจำาหน่ายไม่ปรากฏภาพการขาดแคลน โดยข่าวที่เผยแพร่ ออกสื่อสาธารณะทั่วไปในเชิงว่าผลจากการตรวจสต๊อกตามนโยบาย ท่านนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทำาให้ราคาสุกร ขยับตัวลดลง ซึ่งเป็นการออกข่าวในลักษณะยินดีที่ราคาสุกรขยับตัว ลง ในขณะที่ทุกครั้งการปรับตัวลดลงของราคาสุกรนั้น เป็นการปรับ ลดลงต่ำากว่าต้นทุน ยิ่งทำาให้เกษตรกรไม่สบายใจเป็นอย่างยิ่งต่อท่าที การกำากับดูแลสินค้าปศุสัตว์ทั้งกรมปศุสัตว์และกรมการค้าภายใน ที่สามารถประเมินได้ว่าการกดดันให้ราคาสุกรตกต่ำาเพื่อสนอง นโยบายรัฐ เพราะห้องเย็นจะไปกดดันผู้ฝากสินค้าให้นาสินค้าสุกร จากห้องเย็นมาจำาหน่ายมากขึ้น จนกระทบคิวจำาหน่ายของสุกรมีชีวิต หน้าฟาร์ม ผลกระทบในช่วงราคาสินค้าเกษตรปศุสัตว์ตกต่ำา ส่งผลต่อเงิน หมุนเวียนในการประกอบการ ทำาให้ลดความสามารถในการชำาระค่า ใช้จ่ายด้านปัจจัยการผลิต การชำาระดอกเบี้ยให้กับสถาบันการเงิน และคุณภาพหนี้สินเกษตรกรที่เป็นส่วนหนึ่งของหนี้สินภาคครัวเรือน ซึ่งเป็นปัญหาที่ทุกภาคส่วนกำาลังกังวลอย่างยิ่ง โดยสินค้าเกษตรภาค ปศุสัตว์นั้น ไม่เคยปรากฏว่าได้รับการดูแลในลักษณะประกันราคา ขั้นต่ำาแต่อย่างใด เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรทั่วไทยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะได้รับการ บำาบัดทุกข์บรรเทาความเดือดร้อน ดังนี้ 1. ขอให้ปราบปรามเนื้อสุกรนำาเข้าผิดกฎหมายที่เข้ามาทำาลาย กลไกตลาด และการประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรของไทย สร้าง ผลเสียต่อห่วงโซ่อย่างต่อเนื่อง โดยเปิดเผยชื่อผู้กระทำาความผิด และ ดำาเนินคดีตามฐานความผิดตาม พรบ.ศุลกากร พรบ.โรคระบาดสัตว์ และประมวลกฎหมายอาญา อย่างจริงจัง 2. ขอให้ภาครัฐทบทวนแนวทางการกำากับดูแลสินค้าสุกรให้ เป็นไปตามอำานาจตามกฎหมาย ไม่ให้เกิดความเหลื่อมล้ำา โดยขอให้ เชื่อมโยงผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลกระทบทางเศรษฐกิจของ ประเทศเช่นกัน การเคลื่อนไหวของราคาสินค้าสุกรนั้น สามารถ อธิบายเชิงโครงสร้างให้กับสาธารณชนเข้าใจ ดีกว่าการออกนโยบาย ที่สันนิษฐานว่าแอบแฝง เพื่อไม่ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบของ ห่วงโซ่การค้าสุกรไทย และสร้างความไม่เห็นอก เห็นใจกัน ระหว่าง พลเมืองของไทย ที่มักมีการกล่าวอ้างว่า “ดูแลผู้บริโภคไม่ให้ เดือดร้อน” จากการเข้ามาควบคุมราคาเกินกว่าที่กฎหมายบัญญัติ เงื่อนไขและการควบคุมไว้ แม้จะทราบดีเสมอว่าผู้ผลิตต้นทางภาค ปศุสัตว์ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติการระบาดของโรคระบาด ก็ตามจึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาบรรเทาความเดือนร้อนให้กับ เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรให้ยังคงอาชีพไว้ต่อไปได้ ด้าน นายพีระพันธุ์กล่าวว่า ตนเข้าใจในความเดือดร้อนของ ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะประเด็นปัญหาเรื่องการลักลอบนำาเข้า เนื้อสุกรเถื่อน ในการทำางานของเจ้าหน้าที่จำาเป็นต้องมีข้อมูล เกี่ยวกับสิ่งที่ร้องเรียนได้เคยดำาเนินการมาทั้งหมดในการนำาไปตรวจ สอบแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อน ของผู้ประกอบการ ปัญหาตาม หนังสือร้องเรียนที่รับมา ตนจะได้นำาเรียนต่อนายกรัฐมนตรีขณะ เดียวกันก็ขอให้ผู้ร้องกลับไปนำาเอกสารต่างๆ ที่เคยได้ดำาเนินการ มาแล้ว มาให้เพื่อเป็นข้อมูลในการที่จะนำาไปพิจารณาเพื่อหาแนวทาง โดยเฉพาะการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงและหาผู้กระทำาผิดในการ ลักลอบนำาเนื้อสุกรเถื่อนเข้ามาจนเกิดปัญหา “ผมเข้าใจในปัญหาความเดือดร้อนของพวกท่าน และท่านนายก รัฐมนตรีก็เป็นห่วงในเรื่องความเดือดร้อนของประชาชนทุกคน จึงได้ มอบหมายให้ผมมาดูแลเรื่องนี้อยู่ อย่างไรก็ตาม ขอให้พวกท่านกลับ ไปนำาข้อมูลตามที่ผมได้แจ้งเพื่อจะนำามาใช้ในการทำางานติดตามแก้ไข ปัญหา เพื่อให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย” นายพีระพันธุ์กล่าวทิ้งท้าย


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ให้ราบคาบ จึงไม่ได้รับการตอบสนองให้ทัดเทียมกับความเดือนร้อน จากราคาที่ร่วงอย่างหนัก จากหมูหน้าฟาร์มที่ราคา 110-115 บาท ต่อกิโลกรัม และยืนราคา 100 บาทต่อกิโลกรัม ตลอดปี 2565 เหลือ 70-80 บาทต่อกิโลกรัมในปัจจุบัน เทียบกับต้นทุนที่ประเมินไว้ใน ไตรมาสแรกปีนี้ที่ 101.07 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรพูดได้แค่ “ทนได้ก็ทน ทนไม่ได้ก็ต้องเลิกไป” พรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน์และเข้าใจวลี “น้อยแต่มาก” เป็น อย่างดี ควรพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ประกาศนโยบายปราบปราม หมูเถื่อนแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด “จับให้เจ๊ง” ตามแนวทางของกรม ปศุสัตว์ ให้เป็นกรณีตัวอย่างสร้างผลงานให้ตรึงตาตรึงใจผู้เลี้ยงหมู ที่มีอยู่หลัก 100,000 คนทั่วประเทศ ยังครอบครัวพวกเขาอีกรวม แล้วมากกว่า 200,000-300,000 เสียง แน่นอน หากทำาได้…ก็กวาด คะแนนเสียงส่วนนี้ไป ในความเป็นจริง การปราบปรามหมูเถื่อนของภาครัฐ 1 ปีท่ี ผ่านมา ภาครัฐผนึกกำาลังกันหลายหน่วยงานนับรวมได้ประมาณ 30 กว่าครั้ง ได้หมูล้านกว่ากิโลกรัม ซึ่งประเมินว่า เป็นปริมาณเพียง ตั้งแต่วันนี้จนถึง 14 พฤษภาคม 2566 (วันเลือกตั้ง) เป็น เวลาสำาคัญของพรรคการเมืองทุกพรรค ที่ต้องสู้ศึกหาเสียงช่วงชิง คะแนนนิยมจากคนไทยทั้งประเทศ ในการเลือกตั้งที่จะมาถึงใน อนาคตอันใกล้นี้ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำานาจบริหารประเทศไทยในวาระ 4 ปีข้างหน้า แต่สำาหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรอาจจะเป็นช่วงเวลา ยากลำาบากที่สุด ที่เกษตรกรอาจจะต้องตัดสินใจเลิกอาชีพเลี้ยงหมู ก่อนจะได้รัฐบาลชุดใหม่ เพราะทนแบกภาระขาดทุนสะสมไม่ไหวจาก โรคระบาด ASF ที่บุกไทยตั้งแต่ปลายปี 2564 ทั้งยังโดนซ้ำาเติมด้วย สงครามรัสเซีย-ยูเครน ในปี 2565 ทำาให้ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้นอีก 30% และยังคงอยู่ในระดับสูงถึงปัจจุบัน สำาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู ช่วงเวลาการหาเสียงเลือกตั้ง คือ ช่วง “สุญญากาศ” ของการจับกุมหมูเถื่อนการปฏิบัติงานทุกภาคส่วน จะอืดอาดไปจนถึงหยุดนิ่งได้ เพราะพรรคการเมืองน้อย-ใหญ่จะเดิน หน้าโฆษณาชวนเชื่อขายฝันนโยบาย “ประชานิยม” แต่ทำาได้จริง หรือไม่ ให้ติดตามผลหลังการเลือกตั้ง ผู้เลี้ยงหมูจึงกลายเป็น ชนกลุ่มน้อย ในการเลือกตั้งสมัยนี้ ความใส่ใจที่จะกำาจัดหมูเถื่อน ผู้เลี้ยง ร้องพรรคการเมือง ชูนโยบายปราบ “หมูเถื่อน”


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ให้ราบคาบ จึงไม่ได้รับการตอบสนองให้ทัดเทียมกับความเดือนร้อน จากราคาที่ร่วงอย่างหนัก จากหมูหน้าฟาร์มที่ราคา 110-115 บาท ต่อกิโลกรัม และยืนราคา 100 บาทต่อกิโลกรัม ตลอดปี 2565 เหลือ 70-80 บาทต่อกิโลกรัมในปัจจุบัน เทียบกับต้นทุนที่ประเมินไว้ใน ไตรมาสแรกปีนี้ที่ 101.07 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรพูดได้แค่ “ทนได้ก็ทน ทนไม่ได้ก็ต้องเลิกไป” พรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน์และเข้าใจวลี “น้อยแต่มาก” เป็น อย่างดี ควรพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ประกาศนโยบายปราบปราม หมูเถื่อนแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด “จับให้เจ๊ง” ตามแนวทางของกรม ปศุสัตว์ ให้เป็นกรณีตัวอย่างสร้างผลงานให้ตรึงตาตรึงใจผู้เลี้ยงหมู ที่มีอยู่หลัก 100,000 คนทั่วประเทศ ยังครอบครัวพวกเขาอีกรวม แล้วมากกว่า 200,000-300,000 เสียง แน่นอน หากทำาได้…ก็กวาด คะแนนเสียงส่วนนี้ไป ในความเป็นจริง การปราบปรามหมูเถื่อนของภาครัฐ 1 ปีท่ี ผ่านมา ภาครัฐผนึกกำาลังกันหลายหน่วยงานนับรวมได้ประมาณ 30 กว่าครั้ง ได้หมูล้านกว่ากิโลกรัม ซึ่งประเมินว่า เป็นปริมาณเพียง ตั้งแต่วันนี้จนถึง 14 พฤษภาคม 2566 (วันเลือกตั้ง) เป็น เวลาสำาคัญของพรรคการเมืองทุกพรรค ที่ต้องสู้ศึกหาเสียงช่วงชิง คะแนนนิยมจากคนไทยทั้งประเทศ ในการเลือกตั้งที่จะมาถึงใน อนาคตอันใกล้นี้ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำานาจบริหารประเทศไทยในวาระ 4 ปีข้างหน้า แต่สำาหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรอาจจะเป็นช่วงเวลา ยากลำาบากที่สุด ที่เกษตรกรอาจจะต้องตัดสินใจเลิกอาชีพเลี้ยงหมู ก่อนจะได้รัฐบาลชุดใหม่ เพราะทนแบกภาระขาดทุนสะสมไม่ไหวจาก โรคระบาด ASF ที่บุกไทยตั้งแต่ปลายปี 2564 ทั้งยังโดนซ้ำาเติมด้วย สงครามรัสเซีย-ยูเครน ในปี 2565 ทำาให้ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้นอีก 30% และยังคงอยู่ในระดับสูงถึงปัจจุบัน สำาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู ช่วงเวลาการหาเสียงเลือกตั้ง คือ ช่วง “สุญญากาศ” ของการจับกุมหมูเถื่อนการปฏิบัติงานทุกภาคส่วน จะอืดอาดไปจนถึงหยุดนิ่งได้ เพราะพรรคการเมืองน้อย-ใหญ่จะเดิน หน้าโฆษณาชวนเชื่อขายฝันนโยบาย “ประชานิยม” แต่ทำาได้จริง หรือไม่ ให้ติดตามผลหลังการเลือกตั้ง ผู้เลี้ยงหมูจึงกลายเป็น ชนกลุ่มน้อย ในการเลือกตั้งสมัยนี้ ความใส่ใจที่จะกำาจัดหมูเถื่อน ผู้เลี้ยง ร้องพรรคการเมือง ชูนโยบายปราบ “หมูเถื่อน” สัตว์เศรษฐกิจ 23 การเมืองที่ลงพื้นที่หาเสียงสู้ศึกเลือกตั้งขณะนี้ ให้กำาหนดแผนการเร่ง ปราบปรามหมูเถื่อนเป็น 1 ในแนวทางส่งเสริมการเลี้ยงหมูและรักษา เสถียรภาพราคาในระยะยาว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร ภาคปศุสัตว์ เพื่อสร้างความมั่นคงในอาชีพอย่างยั่งยืน และเดินหน้า การผลิตได้อย่างต่อเนื่องเพราะผู้เลี้ยงหมูมีอาชีพเดียว ไม่มีทางเลือก เหมือนอาชีพอื่น “ขอเรียกร้องภาครัฐและพรรคการเมือง แทนพี่น้องเกษตรกร ผู้เลี้ยงหมูทุกคน อย่าปล่อยให้พวกเราแก้ปัญหากันเองตามลำาพัง เพราะเราไม่มีสรรพกำาลังและอำานาจในการจับกุมหมูเถื่อน แต่เป็น ผู้รับชะตากรรมจากผลของราคาที่ตกต่ำาทุกวันนี้ที่ผ่านมาเกษตรกร จำานวนมากเร่งฟื้นฟูผลผลิตของตัวเองเพราะมั่นใจในนโยบายรัฐ และ หวังจะยืนหยัดในอาชีพ แต่วันนี้เริ่มถอดใจเพราะเห็นราคาที่ขาดทุน อยู่ข้างหน้า” นายสุนทราภรณ์ กล่าว ที่ผ่านมา ภาครัฐทั้งกรมปศุสัตว์ กรมศุลกากร ตำารวจ ทหาร ร่วมมือกันปราบปรามและจับกุมหมูเถื่อนลักลอบนำาเข้าไทยมาได้ของ กลางมากกว่า 1 ล้านกิโลกรัม เป็นกำาลังใจอย่างดีให้เกษตรกร แต่ ยังมีหมูผิดกฎหมายอีกจำานวนมากที่ยังไม่ถูกจับกุม ทำาความเสียหาย ให้กับอุตสาหกรรมสุกรของไทย ที่สำาคัญหมูเถื่อนเหล่านี้ไม่ผ่านการ ตรวจสารปนเปื้อนและโรคระบาดสัตว์ตามมาตรฐานของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นอันตรายกับต่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภค และเป็นพาหะนำาโรค อาจจะก่อให้เกิดการระบาดของโรค ASF ซ้ำาได้ ภาครัฐจึงจำาเป็นต้องกวาดล้างให้หมด ที่สำาคัญต้องจับกุม หัวหน้าขบวนการมาลงโทษสูงสุดตามกฎหมาย ในช่วงเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ราคาสุกรมีชีวิต หน้าฟาร์มตกลงต่อเนื่องจาก 100 บาทต่อกิโลกรัม เมื่อเดือนธันวาคม 2565 ปัจจุบันเหลือเพียง 80 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่บางพื้นที่เหลือ เพียง 76 บาทต่อกิโลกรัมเท่านั้น และมีโอกาสที่จะลงไปแตะ 70 บาทได้ ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนมาดั๊มพ์ ราคาหมูไทยมานานกว่า 1 ปี หากสถานการณ์ราคายังคงลดลง ต่อเนื่องเช่นนี้ จะส่งผลกระทบต่อการฟื้นฟูภาคการผลิตเพราะ เกษตรกรขาดความมั่นใจในเสถียรภาพราคา ประกอบกับต้นทุน วัตถุดิบอาหารสัตว์ยังอยู่ในระดังสูงเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 30% ตั้งแต่ปลายปี 2564 โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รวมถึงปัจจัยการป้องกัน โรคระบาด ทำาให้ต้นทุนการผลิตสวนทางกับราคาที่ขายได้ “เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูทั่วประเทศมีไม่น้อยกว่า 120,000- 130,000 ราย และยังมีสมาชิกในครอบครัวที่ต้องเลี้ยงดูรวมแล้ว หลายแสนคน หากได้รับการใส่ใจจากพรรคการเมืองในการแก้ปัญหา หมูเถื่อน และส่งเสริมการผลิตบ้างก็จะเป็นเรื่องดีและเป็นกำาลังใจให้ มีการเลี้ยงหมูคุณภาพดี ไม่มีสารเร่งเนื้อแดง ให้คนไทยได้บริโภค อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ดังนั้น ภาครัฐอย่าปล่อย “เกียร์ว่าง” เพราะหมูเถื่อนยังคงลักลอบเข้าประเทศทุกวัน หากขาดการตรวจ สอบอย่างเข้มงวด จะเป็นผลกระทบร้ายแรงกับราคาหมูในประเทศ ให้ตกต่ำาลงไปอีก ซึ่งเป็นอีกหนึ่งปัญหาเร่งด่วนที่ต้องเร่งแก้ไข ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ 5% ของหมูเถื่อนทั้งหมดเท่านั้น หมูเถื่อนปราบไม่หมด อาจโดน บดบังด้วย “อำานาจที่มองไม่เห็น” ก็ต้องติดตามกันต่อไปว่าหมูเถื่อน จะไปออกพื้นที่ไหนของไทย ซึ่งปัจจุบันมาตามชายแดนติดประเทศ เพื่อนบ้าน เช่น สงขลา สระแก้ว มุกดาหาร เป็นต้น ที่สำาคัญอำานาจรัฐต้องสะสาง “อำานาจที่มองไม่เห็น” ตลอดจน “มาเฟีย” ที่แฝงกายอยู่ในห่วงโซ่การปฏิบัติงาน ทั้งกระบวนการของ ภาครัฐ บริษัทนำาเข้า บริษัทชิปปิ้ง บริษัทขนส่ง ห้องเย็น และ เครือข่ายพ่อค้า ที่รับของเถื่อนไปกระจายต่อ ต้องจัดการขั้นเด็ดขาด ทุกกลุ่ม เปิดหน้าผู้กระทำาผิดตัวจริงมาดำาเนินคดีตามกฎหมาย ไม่ใช่ จับแล้วปล่อย..แค่เขียนเสือให้วัวกลัวเท่านั้น ด้านสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคเหนือ วอนภาครัฐและพรรคการเมือง เร่งปราบปรามให้สิ้นซาก “หมูเถื่อน” ที่ยังมีขบวนการลักลอบนำาเข้า มาต่อเนื่อง ทำาราคาในประเทศตกต่ำาต่อเนื่อง อุปสรรคการฟื้นฟูภาค การผลิตตามเป้าหมายและส่งเสริมการผลิตเนื้อหมูปลอดภัยให้คนไทย ทั้งประเทศ ขอดูแลผู้เลี้ยงหมูใกล้ชิดก่อนทยอยเลิกกิจการเพราะแบก ขาดทุนสะสมไม่ไหว นายสุนทราภรณ์สิงห์รีวงศ์นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคเหนือ กล่าวว่า ไทยเจอปัญหา “หมูเถื่อน” มานานกว่า 1 ปี แต่ก็ยังไม่ สามารถปราบปรามได้อย่างเด็ดขาด และไม่สามารถดำาเนินคดีลงโทษ สูงสุดกับขนวนการลักลอบนำาเข้าได้ ทำาให้หมูเถื่อนยังคงเป็นปัญหา ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน จึงขอฝากพรรค


24 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ขณะที่ นายสิทธิพันธ์ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยง สุกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือเผยว่า หากพรรคใดจะยกการปราบ หมูเถื่อนขึ้นเป็นหนึ่งในนโยบายหาเสียง เชื่อว่าคงเรียกคะแนนจาก คนกลุ่มนี้ได้ไม่น้อย เพราะในฐานะประชาชนทั่วไปอยากเห็นนโยบาย ต่างๆ ที่ชูออกมาในการหาเสียงนั้นสามารถปฏิบัติได้จริง และในฐานะ เกษตรกรก็อยากเห็นพรรคการเมืองที่ให้ความสำาคัญกับเกษตรกร มีนโยบายที่เด่นชัด และมีการวางแผนสนับสนุนเกษตรกรอย่างเป็น รูปธรรม ที่ผ่านมานักการเมืองไทยจะให้ความสนใจเรื่องพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ข้าว ยางพารา มันสำาปะหลัง แต่กับภาคปศุสัตว์ ยังไม่ ชัดเจน โดยเฉพาะการช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูที่บอบช้ำาจาก ปัญหาโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ให้สามารถกลับมาเลี้ยงใหม่ ให้ได้ แม้คนเลี้ยงหมูทั่วประเทศจะดูแลตัวเองมาตลอด แต่นโยบาย ใหม่ต้องต่อยอดให้เกษตรกรมีรายได้ที่มีเสถียรภาพ ไม่ต้องหวั่นเกรง กับความผันผวนในอาชีพ ภายใต้นโยบายที่ชัดเจน จะทำาให้เกษตรกร ยืนได้ด้วยขาตนเองอย่างมั่นคงและยั่งยืน อดีตภาครัฐมักแก้ปัญหาแบบระยะสั้น เช่น ประเทศไทยเลี้ยง สัตว์มาก แต่ข้าวโพดไม่พอใช้ รัฐกลับกำาหนดราคาขั้นต่ำาของข้าวโพด เพื่อให้ผลตอบแทนสูงแก่ผู้ค้าพืชไร่ ทั้งที่จริงๆ แล้ว ควรส่งเสริมให้ มีการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้มากขึ้นจะดีกว่า ทุกวันนี้การที่วัตถุดิบใน ประเทศมีราคาสูงหรือแพงกว่าการนำาเข้า สะท้อนถึงการแก้ที่ไม่ถูก จุด แทนที่จะส่งเสริมให้การปลูกมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้มีผลผลิต ได้อีกเท่าตัว แต่กลับไม่ส่งเสริม พอใกล้ฤดูเก็บเกี่ยวก็มาตั้งราคา ประกัน ก่อปัญหาเป็นลูกโซ่ไปถึงภาคปศุสัตว์ เกษตรกรอยากได้พรรคการเมืองที่เข้าใจ และรู้จริงถึงการวาง รากฐานที่ยั่งยืนในระยะยาว ไม่ใช่เอาแต่ประชานิยมแจกงบ-แจกเงิน แต่ต้องสร้างอาชีพ ต้องส่งเสริมให้เกษตรกรเดินเองได้ ไม่ต้องหวัง พึ่งพารัฐ หน้าที่รัฐคือต้องให้คำาแนะนำา ช่วยเหลือสนับสนุน และ ผลักดันการขายเนื้อสัตว์ไปในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม บางครั้ง นโยบายก็ออกมาใช้ได้ แต่ไม่มีโอกาสได้ทำา เพราะพรรคนั้นๆ ไม่ได้ รับเลือก บางโครงการดีๆ ที่เป็นของเก่าก็เดินต่อไปไม่ได้จากมีการ เปลี่ยนรัฐบาล ดังนั้นเหนืออื่นใดการเมืองไทยควรมีเสถียรภาพที่ดี กว่านี้ สำาหรับปัญหาที่หมักหมมและยังแก้ไม่ได้ของคนเลี้ยงหมู คือ โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรหรือ “ASF” ที่รัฐจำาเป็นต้องวางระบบ ป้องกันโรคที่ดี โดยทุ่มเทให้เต็มที่กับการวิจัยพัฒนาวัคซีนที่กรม ปศุสัตว์กำาลังดำาเนินการอยู่ เพื่อปกป้องเกษตรกร ทุกวันนี้บางพื้นที่ ที่ประสบ ASF เกษตรกรยังไม่กล้ากลับมาลงหมูเข้าเลี้ยง เพราะการ แก้ปัญหาหนักไปกับการทำาลายทิ้ง ยังขาดการพัฒนาที่จริงจัง อีกประเด็นสำาคัญที่ขอฝากถึงทุกพรรคการเมืองคือ “ปัญหา หมูเถื่อน” ที่เยอะจนไม่รู้จะพูดอะไรเพิ่ม ล่าสุด ตู้คอนเทนเนอร์ตกค้าง ที่แหลมฉบังที่เดียวเปิดไปแล้ว 100 ตู้ พบเป็นหมูเถื่อน 57 ตู้ รวม จำานวนกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ถ้าเปิดครบ 331 ตู้จะพบจำานวนมากมาย ขนาดไหน เรียกได้ว่าหมูเถื่อนนี้เป็นปัจจัยหลักที่ทำาให้หมูไทยราคา ยังคงร่วงต่อเนื่อง ซึ่งรัฐต้องเร่งแก้ปัญหานี้โดยด่วน เชื่อว่าผู้บงการ นำาเข้าหมูเถื่อนเป็นผู้ทรงอิทธิพลมากจริงๆ จึงทำาให้ปราบไม่หมด เสียที หากพรรคการเมืองใดชูนโยบายปราบปรามทุจริตคอร์รัปชั่น ก็อยากให้ฟันธงลงมาตรงๆ ว่าจะปราบหมูเถื่อนให้สิ้น คนเลี้ยงหมู ทั่วประเทศจะเทคะแนนให้ทันที “ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นกรณีศึกษาให้พรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน์ ได้เรียนรู้ที่จะวางนโยบายอย่างเหมาะสมและให้ความสำาคัญกับห่วงโซ่ การผลิตอาหารของประเทศตั้งแต่ฐานรากหรือต้นน้ำาไปจนถึงปลายน้ำา ซึ่งเป็นจุดแข็งของประเทศ รวมถึงมีความกล้าหาญที่จะปราบ “หมูเถื่อน” เพื่อรักษาเสถียรภาพอาชีพเกษตรกร และเพื่อให้คนไทย ทั้งประเทศปลอดภัยจากหมูไร้คุณภาพ หากกล้าประกาศอย่างชัดเจน เชื่อว่าคะแนนเสียงจะไหลมาเทมาจนนับไม่ทัน” คุณสิทธิภัณฑ์กล่าว พรรคการเมือง ต้องมีนโยบาย บำาบัดทุกข์ บำารุงสุข ของ คนไทยด้วยความโปร่งใสและไม่เลือกปฏิบัติ ขจัดอุปสรรคในการ ประกอบสัมมาอาชีพและดำาเนินชีวิตให้หมดไปโดยเร็ว อย่าปล่อยให้ เกษตรกรตกทุกข์ได้ยากตามลำาพังจากปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำา โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรที่มุ่งมั่นสร้างความมั่นคงทางอาหาร ให้คนไทยและฟื้นฟูผลผลิตให้เพียงต่อความต้องการ หลังผลผลิตเสีย หายหนักจากโรคระบาด ASF เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงอาหาร อย่างทั่วถึงในราคาที่เหมาะสม ให้เกษตรกรขายผลผลิตได้ในราคาที่ เป็นธรรม ไม่ใช่โดนกดราคาจากหมูผิดกฎหมายที่ลักลอบนำาเข้า หาไม่อนาคตไทยคงต้องเป็นประเทศผู้นำาเข้าเนื้อหมูอย่างสมบูรณ์...


25 สัตว์เศรษฐกิจ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ก่อนใช้งานมากถึง 30-40% เนื่องจากปัญหาหลักคือ ไม่เป็นสัด นั่นก็หมายความว่าต้นทุนการผลิต ค่าพันธุ์ ค่าอาหาร ค่ายา ค่าวัคซีน และค่าการจัดการอื่นๆ นั้น ก็ย่อมต้องถูกนำาไปเฉลี่ยเพิ่ม ให้สุกรสาวตัวอื่นที่ใช้งานได้ ต้นทุนการผลิตของลูกสุกรแต่ละตัว ก็ย่อมจะต้องเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน เน้นทำาอย่างไรก็ได้ ให้สุกรสาวที่ นำาเข้ามา ใช้งานให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงนี้เป็นฤดูร้อน ที่อุณหภูมิสูงมาก อันแน่นอนว่ามีผลมากต่อสุกรสาวให้เป็นสัดช้า เป็นสัดยาก ไม่แสดงอาการเป็นสัด หรือถึงขั้นไม่สมบูรณ์พันธุ์ ไม่เป็นสัด จนใช้งานไม่ได้เลย ดังนั้นจึงต้องเน้นการจัดการสุกรสาว ช่วงนี้เป็นพิเศษในเรื่องอุณหภูมิ ความเครียด และการจัดการอื่นๆ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ประเด็นต่อจากเรื่องทำาอย่างไรให้สุกรสาวใช้งานได้มากที่สุด คือเรื่องการคัดทิ้งทั้งสุกรสาว และสุกรนาง ที่มีอัตราการคัดทิ้ง ประมาณ 35-40% ต่อปี การคัดทิ้งนี้เป็นประเด็นสำาคัญที่อาจมอง ได้ทั้งสองด้าน อัตราการคัดทิ้งที่สูง หรือฝูงมีแต่ลำาดับท้องน้อยๆ อาจทำาให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้นจริง แต่หากทดแทนด้วยพันธุกรรม ที่ดี มีลูกดกขึ้น ก็ทำาให้คุ้มค่าน่าคัดทิ้ง แต่ก็ต้องระวังเรื่องสถานภาพ โรคที่อาจระบาดขึ้นได้ เช่น PRRS, PED ทั้งภูมิคุ้มกันระดับฝูงอาจ ไม่นิ่ง หรือไม่สม่ำาเสมอ ในทางตรงกันข้าม หากทดแทนด้วย พันธุกรรมเดิมๆ หรือลูกไม่ดก ก็จะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่า ต้นทุน การผลิตก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงต้องเลือกอัตราการคัดทิ้งที่เหมาะสม กับฝูง ฟาร์ม พื้นที่ตั้ง หรือปัจจัยของท่านเองมากที่สุด อย่างไร ก็ตามไม่ว่าจะคัดทิ้งเท่าไร ก็ควรคัดทิ้งโดยให้มีวันที่ไม่ให้ผลผลิต (Non Productive Day, NPD) น้อยที่สุด นิยมมากที่สุดคือ คัดทิ้ง ตอนหย่านม เพื่อลดต้นทุนในส่วนนี้ให้ต่ำาที่สุด หากทำาในช่วงอื่น ก็อาจเป็นการเพิ่มต้นทุนให้สูงมากขึ้นได้ สาเหตุการคัดทิ้งส่วนใหญ่ ย่างเข้าสู่เดือนเมษายนแล้ว ทั้งเกษตรกรก็ต้องดูแลตนเอง รวมถึงสัตว์ที่เลี้ยงให้ห่างไกลจากโรคลมแดด หรือภาวะฮีท สโตรก (Heat Stroke) กันให้ดี เนื่องจากปีนี้คาดการณ์กันว่าอุณหภูมิจะสูง มากกว่า 40 ำC ในหลายพื้นที่ ส่วนในเรื่องราคาสุกรที่ขึ้นมาสักพัก แล้ว และเริ่มทรงตัว แต่อะไรก็ไม่แน่นอน โดยเฉพาะกลไกการตลาด ที่มีปัจจัยเกี่ยวข้องมากมาย ฉบับที่แล้วเป็นเรื่องของการลด ลดอะไร ที่ช่วยให้รอดในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต่ำา ในฉบับนี้ขอมาเพิ่มแข่ง กับอุณหภูมิ เพิ่มอะไรช่วยให้รอดในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต่ำา แต่ เพิ่มนี้ น่าจะช่วยดับร้อนกันได้บ้างนะครับ การเพิ่มที่สำาคัญคือ เพิ่มจำานวนลูกสุกรที่ผลิตให้ได้มากที่สุด อันเกี่ยวกับจำานวนครอก/แม่/ปี และจำานวนหย่านม/ครอก โดยที่ยัง ใช้ต้นทุนการผลิตเท่าเดิม เพียงแค่ปรับเปลี่ยนวิธีการ หรือการจัดการ ต่างๆ ให้ถูกต้องรัดกุม เหมาะสมมากยิ่งขึ้น หรืออาจลงทุนเพิ่มเติม ในส่วนต่างๆ เช่น สายพันธุ์ วัสดุ อุปกรณ์ โรงเรือน หรือค่าจ้าง แรงงาน ที่แม้จะเพิ่มต้นทุนให้สูงขึ้น แต่กลับได้ผลผลิตอันแปรเปลี่ยน เป็นค่าตอบแทนแล้วทวีคูณมากขึ้นกว่าเดิม ปัจจัยแรก เริ่มตั้งแต่กลุ่มผสม ที่ต้องเพิ่มให้มีปริมาณมาก เพียงพอ และใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพที่สุด เริ่มต้นจากสุกรสาว ต้องมีการเลือกซื้อ คัดพันธุ์ และใช้งานเฉพาะสุกรที่มีลักษณะดี มีการคลุกโรค กักโรค ด้วยเวลา และในสถานที่เหมาะสม รวมถึงได้ รับวัคซีนที่จำาเป็น และเหมาะสมกับฝูงของท่านเอง เพื่อให้ได้สุกร สาวที่แข็งแรง ต่อมาถูกกระตุ้นการเป็นสัดโดยใช้พ่อพันธุ์ในเวลา และ วิธีการที่เหมาะสม รวมถึงจัดการด้านอาหารและโภชนะที่ดีถูกต้อง มีการปรนอาหารประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนใช้งาน จนกระทั่งสุกรสาว ถึงอายุ ได้น้ำาหนัก และมีความหนาไขมันสันหลังตามมาตรฐาน และ เริ่มเป็นสัดตามวงจรที่เหมาะสม โดยบางฟาร์มอาจต้องคัดทิ้งสุกรสาว เพิ่มอะไร? ช่วยให้รอด ในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกตํ่า น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่งใหม่ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจน ธุรกิจของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้ง โรคในหมูก็ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคาสูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุก ท่านคงมีก าลังทั้งกายและจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐาน เบาๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะหลักเช่น พลังงาน โปรตีน ที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุนเหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่ส าคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็น มีความส าคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่างๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่มเข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุนก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิ ต้านทานต ่าท าให้ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้างร่างกายผิดปกติต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการทางประสาท ความดันในไข สันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูกเจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูกท าลายมากกว่า ปกติความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์เช่น อัตราการผสมติดต ่า แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนาที่ ผิดปกติ พิการ น ้าหนักแรกคลอดต ่า ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิดปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตา บอลิสมของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติในสัตว์ที่ก าลังเติบโต (Rickets) และกระดูก เปราะบางหรือกระดูกพรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้างกระดูกผิดรูป ความผิดปกติของ กระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อนแรงและกระตุก เบื่ออาหาร น ้าหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความกระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชัก จากแคลเซียมในเลือดต ่า แม่สุกรอาจมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีกจะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ย่างเข้าสู่เดือนเมษายนแล้ว ทั้งเกษตรกรก็ต้องดูแลตนเอง รวมถึงสัตว์ที่เลี้ยงให้ห่างไกลจากโรคลมแดด หรือภาวะฮีท สโตรก (Heat Stroke) กันให้ดี เนื่องจากปีนี้คาดการณ์กันว่าอุณหภูมิจะสูงมากกว่า 40 C ในหลายพื้นที่ ส่วนในเรื่องราคา สุกรที่ขึ้นมาสักพักแล้ว และเริ่มทรงตัว แต่อะไรก็ไม่แน่นอน โดยเฉพาะกลไกการตลาดที่มีปัจจัยเกี่ยวข้องมากมาย ฉบับที่ แล้วเป็นเรื่องของการลด ลดอะไร ที่ช่วยให้รอดในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต ่า ในฉบับนี้ขอมาเพิ่มแข่งกับอุณหภูมิ เพิ่มอะไร ช่วยให้รอดในภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต ่า แต่เพิ่มนี้ น่าจะช่วยดับร้อนกันได้บ้างนะครับ การเพิ่มที่ส าคัญคือ เพิ่มจ านวนลูกสุกรที่ผลิตให้ได้มากที่สุด อันเกี่ยวกับจ านวนครอก/แม่/ปีและจ านวนหย่านม/ครอก โดยที่ยังใช้ต้นทุนการผลิตเท่าเดิม เพียงแค่ปรับเปลี่ยนวิธีการ หรือการจัดการต่างๆ ให้ถูกต้องรัดกุม เหมาะสมมากยิ่งขึ้น หรืออาจลงทุนเพิ่มเติมในส่วนต่างๆ เช่น สายพันธุ์ วัสดุ อุปกรณ์ โรงเรือน หรือค่าจ้างแรงงาน ที่แม้จะเพิ่มต้นทุนให้สูงขึ้น แต่ กลับได้ผลผลิตอันแปรเปลี่ยนเป็นค่าตอบแทนแล้วทวีคูณมากขึ้นกว่าเดิม ปัจจัยแรก เริ่มตั้งแต่กลุ่มผสม ที่ต้องเพิ่มให้มีปริมาณมากเพียงพอ และใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพที่สุด เริ่มต้นจาก สุกรสาวต้องมีการเลือกซื้อ คัดพันธุ์ และใช้งานเฉพาะสุกรที่มีลักษณะดี มีการคลุกโรค กักโรค ด้วยเวลา และในสถานที่ เหมาะสม รวมถึงได้รับวัคซีนที่จ าเป็น และเหมาะสมกับฝูงของท่านเอง เพื่อให้ได้สุกรสาวที่แข็งแรง ต่อมาถูกกระตุ้นการเป็น สัดโดยใช้พ่อพันธุ์ในเวลา และวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงจัดการด้านอาหารและโภชนะที่ดีถูกต้อง มีการปรนอาหารประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนใช้งาน จนกระทั่งสุกรสาวถึงอายุ ได้น ้าหนัก และมีความหนาไขมันสันหลังตามมาตรฐาน และเริ่มเป็นสัดตาม วงจรที่เหมาะสม โดยบางฟาร์มอาจต้องคัดทิ้งสุกรสาวก่อนใช้งานมากถึง 30-40% เนื่องจากปัญหาหลักคือ ไม่เป็นสัด นั่นก็ หมายความว่าต้นทุนการผลิต ค่าพันธุ์ ค่าอาหาร ค่ายา ค่าวัคซีน และค่าการจัดการอื่นๆ นั้น ก็ย่อมต้องถูกน าไปเฉลี่ยเพิ่มให้ สุกรสาวตัวอื่นที่ใช้งานได้ ต้นทุนการผลิตของลูกสุกรแต่ละตัว ก็ย่อมจะต้องเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน เน้นท าอย่างไรก็ได้ ให้สุกรสาว ที่น าเข้ามา ใช้งานให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงนี้เป็นฤดูร้อน ที่อุณหภูมิสูงมาก อันแน่นอนว่ามีผลมากต่อสุกรสาว ให้เป็นสัดช้า เป็นสัดยาก ไม่แสดงอาการเป็นสัด หรือถึงขั้นไม่สมบูรณ์พันธุ์ ไม่เป็นสัด จนใช้งานไม่ได้เลย ดังนั้นจึงต้องเน้น การจัดการสุกรสาวช่วงนี้เป็นพิเศษในเรื่องอุณหภูมิ ความเครียด และการจัดการอื่นๆ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ประเด็นต่อจากเรื่องท าอย่างไรให้สุกรสาวใช้งานได้มากที่สุด คือเรื่องการคัดทิ้งทั้งสุกรสาว และสุกรนาง ที่มีอัตราการ คัดทิ้งประมาณ 35-40% ต่อปีการคัดทิ้งนี้เป็นประเด็นส าคัญที่อาจมองได้ทั้งสองด้าน อัตราการคัดทิ้งที่สูง หรือฝูงมีแต่ล าดับ 24 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ขณะที่ นายสิทธิพันธ์ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยง สุกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือเผยว่า หากพรรคใดจะยกการปราบ หมูเถื่อนขึ้นเป็นหนึ่งในนโยบายหาเสียง เชื่อว่าคงเรียกคะแนนจาก คนกลุ่มนี้ได้ไม่น้อย เพราะในฐานะประชาชนทั่วไปอยากเห็นนโยบาย ต่างๆ ที่ชูออกมาในการหาเสียงนั้นสามารถปฏิบัติได้จริง และในฐานะ เกษตรกรก็อยากเห็นพรรคการเมืองที่ให้ความสำาคัญกับเกษตรกร มีนโยบายที่เด่นชัด และมีการวางแผนสนับสนุนเกษตรกรอย่างเป็น รูปธรรม ที่ผ่านมานักการเมืองไทยจะให้ความสนใจเรื่องพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ข้าว ยางพารา มันสำาปะหลัง แต่กับภาคปศุสัตว์ ยังไม่ ชัดเจน โดยเฉพาะการช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูที่บอบช้ำาจาก ปัญหาโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ให้สามารถกลับมาเลี้ยงใหม่ ให้ได้ แม้คนเลี้ยงหมูทั่วประเทศจะดูแลตัวเองมาตลอด แต่นโยบาย ใหม่ต้องต่อยอดให้เกษตรกรมีรายได้ที่มีเสถียรภาพ ไม่ต้องหวั่นเกรง กับความผันผวนในอาชีพ ภายใต้นโยบายที่ชัดเจน จะทำาให้เกษตรกร ยืนได้ด้วยขาตนเองอย่างมั่นคงและยั่งยืน อดีตภาครัฐมักแก้ปัญหาแบบระยะสั้น เช่น ประเทศไทยเลี้ยง สัตว์มาก แต่ข้าวโพดไม่พอใช้ รัฐกลับกำาหนดราคาขั้นต่ำาของข้าวโพด เพื่อให้ผลตอบแทนสูงแก่ผู้ค้าพืชไร่ ทั้งที่จริงๆ แล้ว ควรส่งเสริมให้ มีการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้มากขึ้นจะดีกว่า ทุกวันนี้การที่วัตถุดิบใน ประเทศมีราคาสูงหรือแพงกว่าการนำาเข้า สะท้อนถึงการแก้ที่ไม่ถูก จุด แทนที่จะส่งเสริมให้การปลูกมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้มีผลผลิต ได้อีกเท่าตัว แต่กลับไม่ส่งเสริม พอใกล้ฤดูเก็บเกี่ยวก็มาตั้งราคา ประกัน ก่อปัญหาเป็นลูกโซ่ไปถึงภาคปศุสัตว์ เกษตรกรอยากได้พรรคการเมืองที่เข้าใจ และรู้จริงถึงการวาง รากฐานที่ยั่งยืนในระยะยาว ไม่ใช่เอาแต่ประชานิยมแจกงบ-แจกเงิน แต่ต้องสร้างอาชีพ ต้องส่งเสริมให้เกษตรกรเดินเองได้ ไม่ต้องหวัง พึ่งพารัฐ หน้าที่รัฐคือต้องให้คำาแนะนำา ช่วยเหลือสนับสนุน และ ผลักดันการขายเนื้อสัตว์ไปในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม บางครั้ง นโยบายก็ออกมาใช้ได้ แต่ไม่มีโอกาสได้ทำา เพราะพรรคนั้นๆ ไม่ได้ รับเลือก บางโครงการดีๆ ที่เป็นของเก่าก็เดินต่อไปไม่ได้จากมีการ เปลี่ยนรัฐบาล ดังนั้นเหนืออื่นใดการเมืองไทยควรมีเสถียรภาพที่ดี กว่านี้ สำาหรับปัญหาที่หมักหมมและยังแก้ไม่ได้ของคนเลี้ยงหมู คือ โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรหรือ “ASF” ที่รัฐจำาเป็นต้องวางระบบ ป้องกันโรคที่ดี โดยทุ่มเทให้เต็มที่กับการวิจัยพัฒนาวัคซีนที่กรม ปศุสัตว์กำาลังดำาเนินการอยู่ เพื่อปกป้องเกษตรกร ทุกวันนี้บางพื้นที่ ที่ประสบ ASF เกษตรกรยังไม่กล้ากลับมาลงหมูเข้าเลี้ยง เพราะการ แก้ปัญหาหนักไปกับการทำาลายทิ้ง ยังขาดการพัฒนาที่จริงจัง อีกประเด็นสำาคัญที่ขอฝากถึงทุกพรรคการเมืองคือ “ปัญหา หมูเถื่อน” ที่เยอะจนไม่รู้จะพูดอะไรเพิ่ม ล่าสุด ตู้คอนเทนเนอร์ตกค้าง ที่แหลมฉบังที่เดียวเปิดไปแล้ว 100 ตู้ พบเป็นหมูเถื่อน 57 ตู้ รวม จำานวนกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ถ้าเปิดครบ 331 ตู้จะพบจำานวนมากมาย ขนาดไหน เรียกได้ว่าหมูเถื่อนนี้เป็นปัจจัยหลักที่ทำาให้หมูไทยราคา ยังคงร่วงต่อเนื่อง ซึ่งรัฐต้องเร่งแก้ปัญหานี้โดยด่วน เชื่อว่าผู้บงการ นำาเข้าหมูเถื่อนเป็นผู้ทรงอิทธิพลมากจริงๆ จึงทำาให้ปราบไม่หมด เสียที หากพรรคการเมืองใดชูนโยบายปราบปรามทุจริตคอร์รัปชั่น ก็อยากให้ฟันธงลงมาตรงๆ ว่าจะปราบหมูเถื่อนให้สิ้น คนเลี้ยงหมู ทั่วประเทศจะเทคะแนนให้ทันที “ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นกรณีศึกษาให้พรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน์ ได้เรียนรู้ที่จะวางนโยบายอย่างเหมาะสมและให้ความสำาคัญกับห่วงโซ่ การผลิตอาหารของประเทศตั้งแต่ฐานรากหรือต้นน้ำาไปจนถึงปลายน้ำา ซึ่งเป็นจุดแข็งของประเทศ รวมถึงมีความกล้าหาญที่จะปราบ “หมูเถื่อน” เพื่อรักษาเสถียรภาพอาชีพเกษตรกร และเพื่อให้คนไทย ทั้งประเทศปลอดภัยจากหมูไร้คุณภาพ หากกล้าประกาศอย่างชัดเจน เชื่อว่าคะแนนเสียงจะไหลมาเทมาจนนับไม่ทัน” คุณสิทธิภัณฑ์กล่าว พรรคการเมือง ต้องมีนโยบาย บำาบัดทุกข์ บำารุงสุข ของ คนไทยด้วยความโปร่งใสและไม่เลือกปฏิบัติ ขจัดอุปสรรคในการ ประกอบสัมมาอาชีพและดำาเนินชีวิตให้หมดไปโดยเร็ว อย่าปล่อยให้ เกษตรกรตกทุกข์ได้ยากตามลำาพังจากปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำา โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรที่มุ่งมั่นสร้างความมั่นคงทางอาหาร ให้คนไทยและฟื้นฟูผลผลิตให้เพียงต่อความต้องการ หลังผลผลิตเสีย หายหนักจากโรคระบาด ASF เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงอาหาร อย่างทั่วถึงในราคาที่เหมาะสม ให้เกษตรกรขายผลผลิตได้ในราคาที่ เป็นธรรม ไม่ใช่โดนกดราคาจากหมูผิดกฎหมายที่ลักลอบนำาเข้า หาไม่อนาคตไทยคงต้องเป็นประเทศผู้นำาเข้าเนื้อหมูอย่างสมบูรณ์...


26 สัตว์เศรษฐกิจ ปีขึ้นไป แต่ก็ไม่ควรเกิน 3 ปี มีพันธุกรรมที่ดี ให้ลูกดก ไม่มีข้อ บกพร่องทางพันธุกรรม เช่น ไส้เลื่อน พ่อสุกรต้องไม่ดุ ควบคุมง่าย นิ่ง ต้องกำาหนดแผนการปลดและทดแทนสำารองพ่อไว้อย่างเหมาะสม และที่สำาคัญคือ อัตราการใช้งานพ่อสุกรต้องเหมาะสมด้วยเช่นกัน พ่อสุกรอายุมาก รีด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 5 วัน พ่อสุกร อายุน้อย รีด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 7 วัน เพราะการใช้งาน บ่อยเกินไป อาจส่งผลต่อปริมาณ และคุณภาพน้ำาเชื้อให้ด้อยลง อันจะส่งผลต่ออัตราการผสมติด ยาวไปจนถึงอัตราเข้าคลอดให้มาก หรือน้อยลงได้เช่นกัน คุณภาพน้ำาเชื้อเป็นปัจจัยที่ต้องให้ความสนใจ เป็นอย่างยิ่ง โดยต้องมีปริมาณที่มากพอ รีด 1 ครั้งไม่ควรได้น้อย กว่า 200 ซีซี และ 1 ซีซีควรมีจำานวนตัวอสุจิประมาณ 300-500 ล้านตัว อีกทั้งลักษณะของตัวอสุจิต้องปกติ ลักษณะที่ผิดปกติส่วนหัว ไม่ควรเกิน 10% ส่วนหางไม่ควรเกินอย่างละ 5% อื่นๆ ไม่เกิน 5% รวมทั้งคุณภาพในส่วนตัวเป็นตัวตาย และอัตราการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า น้ำาเชื้อต้องได้รับการเจือจาง เก็บรักษา และนำามาใช้อย่าง เหมาะสม เริ่มตั้งแต่การตรวจสัดให้ถูกต้องเหมาะสม แม่สุกรแสดง อาการเป็นสัด ยืนนิ่ง ผสมเทียมในช่วงเวลาที่เหมาะสมถูกต้อง มีวิธี การผสมที่ดี สะอาด ลดการปนเปื้อนให้น้อยที่สุด เทคนิคต่างๆ ที่แต่ละฟาร์มอาจเลือกมาใช้เพื่อช่วยให้ผสมติดดีขึ้น จนนำาไปสู่อัตรา การเข้าคลอดที่สูงได้แก่ ช่วงก่อนผสม - มีพ่อสุกรดุนสะโพก สวาป ก้น คนกระตุ้นใช้มืองัดช่วงสะโพก 5 ครั้ง 10 วินาที ลูบและดึง ช่วงท้องมาถึงสวาป 5 ครั้ง 10 วินาที ขย่มหลัง 5 ครั้ง 10 วินาที หงายมือ ใช้สันมือลูบสวาปลง 5 ครั้ง 10 วินาที ใช้ฝ่ามือ อุ้งมือ ดันใต้อวัยวะเพศ แม่สุกรจะตัวงอเล็กน้อย ในช่วงกำาลังผสม - พ่อ จะกัดคอ ขึ้นหลัง ให้ทดแทนโดยใช้กระสอบทรายถ่วงน้ำาหนัก คนนั่งบนหลัง ใช้เข่ากระตุ้นสีข้าง สวาป มีพ่อสุกรอยู่ด้านหน้า ต้องนิ่ง น้ำาเชื้อจะไม่ไหลย้อนออกมามาก หลังผสม - รีบเอาพ่อ ออกไป ทิ้งเดือยผสมคาไว้ ปิดจุก ทั้งนี้ในบางขั้นตอน อาจมีการใช้ ฮอร์โมนร่วมด้วย การผสมให้ได้คุณภาพที่ดีสุดนั้น นอกจากพิจารณาในส่วน พ่อสุกร และแม่สุกรขณะนั้นแล้ว ยังอาจต้องพิจารณาไปช่วงก่อน หน้าของครอกที่แล้วด้วย นั่นก็คือ ไม่ควรให้แม่สุกรเลี้ยงลูกน้อยกว่า 21 วัน เนื่องจากหากน้อยกว่านี้ ระบบสืบพันธุ์ยังอาจซ่อมแซม และ พัฒนาให้พร้อมสำาหรับการเป็นสัด ผสม และตั้งท้องรอบใหม่ได้ไม่ดี ของฟาร์มในไทยได้แก่ สุกรสาวไม่เป็นสัดนานกว่า 90 วัน แม่นาง ผสมไม่ติด กลับสัด ผสมซ้ำาเกิน 3 รอบ แม่สุกรหย่านมแล้วไม่เป็น สัด 2 รอบขึ้นไป ให้ครอกเล็ก พฤติกรรมไม่ดี กัดลูก เลี้ยงลูก ไม่ได้ น้ำานมไม่ดี พันธุกรรมไม่ดี เช่น ไส้เลื่อนสะดือ เกิดภาวะคลอด ยากหลายลำาดับท้อง และแม่สุกรอายุมาก ซึ่งล้วนแต่เป็นการคัดทิ้ง แบบตั้งใจไว้แล้ว ส่วนการคัดทิ้งโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือโดยไม่ได้คาดการณ์ มาก่อนได้แก่ แท้ง เป็นโรค เจ็บป่วย ตาย ขาเจ็บ ขาหัก บาดแผล เป็นต้น เมื่อกำาหนดขนาดกลุ่มผสมให้เหมาะสม รวมถึงมีวิธีการ ขั้นตอนคัดทิ้ง ทดแทน จนเหมาะสมตามแผนของฟาร์มแล้ว ต้อง อย่าลืมเตรียมสิ่งอำานวยความสะดวก สถานที่ ให้เหมาะสมเพียงพอ ด้วยเช่นกัน อันได้แก่ โรงเรือน วัสดุอุปกรณ์ ซองอุ้มท้อง ซองคลอด แรงงาน รวมถึงเงินทุนที่ต้องตระเตรียมไว้ให้พร้อมด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่สองคือ อัตราการเข้าคลอด เป็นที่แน่นอนว่าหากฟาร์ม หรือฝูงใดมีอัตราการเข้าคลอดที่ต่ำา ย่อมได้ลูกสุกรจำานวนน้อย ต้นทุน โดยรวมในส่วนที่แม่สุกรผสมไม่ติด กลับสัด ผสมใหม่ แท้ง หรือ ตาย ก็อาจคิดมาเฉลี่ยเพิ่มต้นทุนการผลิตให้แก่แม่ที่คลอดลูกรอด มามีชีวิตให้สูงขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้นอัตราการเข้าคลอดที่สูง จึงเป็น สิ่งที่ทุกฟาร์มปรารถนา และควรทำาให้ได้ด้วยเช่นกัน อัตราการเข้า คลอดมาตรฐานต่ำาสุดที่ควรทำาได้คือ 80% และหากจะให้ดีควรได้ มากกว่า 90% ขึ้นไป ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง หรือควบคุมอัตราการเข้า คลอดให้สูงมีหลายประการ ตั้งแต่เรื่องลำาดับท้อง ที่ประชากรฝูง ส่วนใหญ่ควรมีลำาดับท้องที่ 3-3.5 จะให้ผลดีที่สุด หากส่วนใหญ่เป็น แม่แก่ ลำาดับท้องมาก มักมีปัญหาหนองไหล แต่หากส่วนใหญ่เป็น แม่สาว ลำาดับท้องน้อย มักมีปัญหาเรื่องโรคติดเชื้อ ในเรื่องลำาดับ ท้องนี้เจ้าของฟาร์มควรควบคุม และวางแผนจัดการเองให้ดี เพราะ สำาคัญมาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเข้าคลอดต่อมาก็คือ สภาวะโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่ทำาให้อัตราการเข้าคลอดลดลง ตั้งแต่ผสม ไม่ติด กลับสัด แท้ง ที่สำาคัญคือ พีอาร์อาร์เอส (PRRS) และอีก โรคที่อาจไม่ได้มีผลต่ออัตราเข้าคลอด แต่มีผลต่อขนาดครอก หรือ จำานวนลูกหลังคลอด นั่นก็คือ พีอีดี (PED) จึงต้องจัดการ ควบคุม ป้องกันโรคเหล่านี้ในฝูงแม่พันธุ์ให้ดี จนไม่กระทบต่ออัตราการเข้า คลอด อีกปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากกับอัตราการเข้าคลอด นั่นก็คือใน ส่วนของพ่อพันธุ์ที่ให้นำาเชื้อ ควรต้องใช้พ่อสุกรที่มีอายุมากกว่า 1 LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ท้องน้อยๆ อาจท าให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้นจริง แต่หากทดแทนด้วยพันธุกรรมที่ดี มีลูกดกขึ้น ก็ท าให้คุ้มค่าน่าคัดทิ้ง แต่ก็ ต้องระวังเรื่องสถานภาพโรคที่อาจระบาดขึ้นได้ เช่น PRRS, PED ทั้งภูมิคุ้มกันระดับฝูงอาจไม่นิ่ง หรือไม่สม ่าเสมอ ในทาง ตรงกันข้าม หากทดแทนด้วยพันธุกรรมเดิมๆ หรือลูกไม่ดก ก็จะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่า ต้นทุนการผลิตก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงต้องเลือกอัตราการคัดทิ้งที่เหมาะสมกับฝูง ฟาร์ม พื้นที่ตั้ง หรือปัจจัยของท่านเองมากที่สุด อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะคัดทิ้ง เท่าไร ก็ควรคัดทิ้งโดยให้มีวันที่ไม่ให้ผลผลิต (Non Productive Day, NPD) น้อยที่สุด นิยมมากที่สุดคือ คัดทิ้งตอนหย่านม เพื่อลดต้นทุนในส่วนนี้ให้ต ่าที่สุด หากท าในช่วงอื่น ก็อาจเป็นการเพิ่มต้นทุนให้สูงมากขึ้นได้ สาเหตุการคัดทิ้งส่วนใหญ่ของ ฟาร์มในไทยได้แก่ สุกรสาวไม่เป็นสัดนานกว่า 90 วัน แม่นางผสมไม่ติด กลับสัด ผสมซ ้าเกิน 3 รอบ แม่สุกรหย่านมแล้วไม่ เป็นสัด 2 รอบขึ้นไป ให้ครอกเล็ก พฤติกรรมไม่ดี กัดลูก เลี้ยงลูกไม่ได้ น ้านมไม่ดีพันธุกรรมไม่ดีเช่น ไส้เลื่อนสะดือ เกิด ภาวะคลอดยากหลายล าดับท้อง และแม่สุกรอายุมาก ซึ่งล้วนแต่เป็นการคัดทิ้งแบบตั้งใจไว้แล้ว ส่วนการคัดทิ้งโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือโดยไม่ได้คาดการณ์มาก่อนได้แก่ แท้ง เป็นโรค เจ็บป่วย ตาย ขาเจ็บ ขาหัก บาดแผล เป็นต้น เมื่อก าหนดขนาดกลุ่มผสมให้เหมาะสม รวมถึงมีวิธีการ ขั้นตอนคัดทิ้ง ทดแทน จนเหมาะสมตามแผนของฟาร์มแล้ว ต้องอย่าลืมเตรียมสิ่งอ านวยความสะดวก สถานที่ ให้เหมาะสมเพียงพอด้วยเช่นกัน อันได้แก่ โรงเรือน วัสดุอุปกรณ์ ซองอุ้ม ท้อง ซองคลอด แรงงาน รวมถึงเงินทุนที่ต้องตระเตรียมไว้ให้พร้อมด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่สองคือ อัตราการเข้าคลอด เป็นที่แน่นอนว่าหากฟาร์ม หรือฝูงใดมีอัตราการเข้าคลอดที่ต ่า ย่อมได้ลูกสุกร จ านวนน้อย ต้นทุนโดยรวมในส่วนที่แม่สุกรผสมไม่ติด กลับสัด ผสมใหม่ แท้ง หรือตาย ก็อาจคิดมาเฉลี่ยเพิ่มต้นทุนการผลิต ให้แก่แม่ที่คลอดลูกรอดมามีชีวิตให้สูงขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้นอัตราการเข้าคลอดที่สูง จึงเป็นสิ่งที่ทุกฟาร์มปรารถนา และควรท า ให้ได้ด้วยเช่นกัน อัตราการเข้าคลอดมาตรฐานต ่าสุดที่ควรท าได้คือ 80% และหากจะให้ดีควรได้มากกว่า 90% ขึ้นไป ปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง หรือควบคุมอัตราการเข้าคลอดให้สูงมีหลายประการ ตั้งแต่เรื่องล าดับท้อง ที่ประชากรฝูงส่วนใหญ่ควรมีล าดับ ท้องที่ 3-3.5 จะให้ผลดีที่สุด หากส่วนใหญ่เป็นแม่แก่ ล าดับท้องมาก มักมีปัญหาหนองไหล แต่หากส่วนใหญ่เป็นแม่สาว ล าดับท้องน้อย มักมีปัญหาเรื่องโรคติดเชื้อ ในเรื่องล าดับท้องนี้เจ้าของฟาร์มควรควบคุม และวางแผนจัดการเองให้ดีเพราะ ส าคัญมาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเข้าคลอดต่อมาก็คือ สภาวะโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่ท าให้อัตราการเข้าคลอดลดลง ตั้งแต่ผสมไม่ติด กลับสัด แท้ง ที่ส าคัญคือ พีอาร์อาร์เอส (PRRS) และอีกโรคที่อาจไม่ได้มีผลต่ออัตราเข้าคลอด แต่มีผลต่อ ขนาดครอก หรือจ านวนลูกหลังคลอด นั่นก็คือ พีอีดี (PED) จึงต้องจัดการ ควบคุม ป้องกันโรคเหล่านี้ในฝูงแม่พันธุ์ให้ดี จน ไม่กระทบต่ออัตราการเข้าคลอด อีกปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากกับอัตราการเข้าคลอด นั่นก็คือในส่วนของพ่อพันธุ์ที่ให้น าเชื้อ ควร ต้องใช้พ่อสุกรที่มีอายุมากกว่า 1 ปีขึ้นไป แต่ก็ไม่ควรเกิน 3 ปี มีพันธุกรรมที่ดี ให้ลูกดก ไม่มีข้อบกพร่องทางพันธุกรรม เช่น ไส้เลื่อน พ่อสุกรต้องไม่ดุ ควบคุมง่าย นิ่ง ต้องก าหนดแผนการปลดและทดแทนส ารองพ่อไว้อย่างเหมาะสม และที่ส าคัญคือ อัตราการใช้งานพ่อสุกรต้องเหมาะสมด้วยเช่นกัน พ่อสุกรอายุมาก รีด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 5 วัน พ่อสุกรอายุน้อย รีด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 7 วัน เพราะการใช้งานบ่อยเกินไป อาจส่งผลต่อปริมาณ และคุณภาพน ้าเชื้อให้ด้อยลง อันจะส่งผล ต่ออัตราการผสมติด ยาวไปจนถึงอัตราเข้าคลอดให้มากหรือน้อยลงได้เช่นกัน คุณภาพน ้าเชื้อเป็นปัจจัยที่ต้องให้ความสนใจ เป็นอย่างยิ่ง โดยต้องมีปริมาณที่มากพอ รีด 1 ครั้งไม่ควรได้น้อยกว่า 200 ซีซี และ 1 ซีซีควรมีจ านวนตัวอสุจิประมาณ 300- 500 ล้านตัว อีกทั้งลักษณะของตัวอสุจิต้องปกติ ลักษณะที่ผิดปกติส่วนหัวไม่ควรเกิน 10% ส่วนหางไม่ควรเกินอย่างละ 5% อื่นๆ ไม่เกิน 5% รวมทั้งคุณภาพในส่วนตัวเป็นตัวตาย และอัตราการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า


26 สัตว์เศรษฐกิจ ปีขึ้นไป แต่ก็ไม่ควรเกิน 3 ปี มีพันธุกรรมที่ดี ให้ลูกดก ไม่มีข้อ บกพร่องทางพันธุกรรม เช่น ไส้เลื่อน พ่อสุกรต้องไม่ดุ ควบคุมง่าย นิ่ง ต้องกำาหนดแผนการปลดและทดแทนสำารองพ่อไว้อย่างเหมาะสม และที่สำาคัญคือ อัตราการใช้งานพ่อสุกรต้องเหมาะสมด้วยเช่นกัน พ่อสุกรอายุมาก รีด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 5 วัน พ่อสุกร อายุน้อย รีด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 7 วัน เพราะการใช้งาน บ่อยเกินไป อาจส่งผลต่อปริมาณ และคุณภาพน้ำาเชื้อให้ด้อยลง อันจะส่งผลต่ออัตราการผสมติด ยาวไปจนถึงอัตราเข้าคลอดให้มาก หรือน้อยลงได้เช่นกัน คุณภาพน้ำาเชื้อเป็นปัจจัยที่ต้องให้ความสนใจ เป็นอย่างยิ่ง โดยต้องมีปริมาณที่มากพอ รีด 1 ครั้งไม่ควรได้น้อย กว่า 200 ซีซี และ 1 ซีซีควรมีจำานวนตัวอสุจิประมาณ 300-500 ล้านตัว อีกทั้งลักษณะของตัวอสุจิต้องปกติ ลักษณะที่ผิดปกติส่วนหัว ไม่ควรเกิน 10% ส่วนหางไม่ควรเกินอย่างละ 5% อื่นๆ ไม่เกิน 5% รวมทั้งคุณภาพในส่วนตัวเป็นตัวตาย และอัตราการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า น้ำาเชื้อต้องได้รับการเจือจาง เก็บรักษา และนำามาใช้อย่าง เหมาะสม เริ่มตั้งแต่การตรวจสัดให้ถูกต้องเหมาะสม แม่สุกรแสดง อาการเป็นสัด ยืนนิ่ง ผสมเทียมในช่วงเวลาที่เหมาะสมถูกต้อง มีวิธี การผสมที่ดี สะอาด ลดการปนเปื้อนให้น้อยที่สุด เทคนิคต่างๆ ที่แต่ละฟาร์มอาจเลือกมาใช้เพื่อช่วยให้ผสมติดดีขึ้น จนนำาไปสู่อัตรา การเข้าคลอดที่สูงได้แก่ ช่วงก่อนผสม - มีพ่อสุกรดุนสะโพก สวาป ก้น คนกระตุ้นใช้มืองัดช่วงสะโพก 5 ครั้ง 10 วินาที ลูบและดึง ช่วงท้องมาถึงสวาป 5 ครั้ง 10 วินาที ขย่มหลัง 5 ครั้ง 10 วินาที หงายมือ ใช้สันมือลูบสวาปลง 5 ครั้ง 10 วินาที ใช้ฝ่ามือ อุ้งมือ ดันใต้อวัยวะเพศ แม่สุกรจะตัวงอเล็กน้อย ในช่วงกำาลังผสม - พ่อ จะกัดคอ ขึ้นหลัง ให้ทดแทนโดยใช้กระสอบทรายถ่วงน้ำาหนัก คนนั่งบนหลัง ใช้เข่ากระตุ้นสีข้าง สวาป มีพ่อสุกรอยู่ด้านหน้า ต้องนิ่ง น้ำาเชื้อจะไม่ไหลย้อนออกมามาก หลังผสม - รีบเอาพ่อ ออกไป ทิ้งเดือยผสมคาไว้ ปิดจุก ทั้งนี้ในบางขั้นตอน อาจมีการใช้ ฮอร์โมนร่วมด้วย การผสมให้ได้คุณภาพที่ดีสุดนั้น นอกจากพิจารณาในส่วน พ่อสุกร และแม่สุกรขณะนั้นแล้ว ยังอาจต้องพิจารณาไปช่วงก่อน หน้าของครอกที่แล้วด้วย นั่นก็คือ ไม่ควรให้แม่สุกรเลี้ยงลูกน้อยกว่า 21 วัน เนื่องจากหากน้อยกว่านี้ ระบบสืบพันธุ์ยังอาจซ่อมแซม และ พัฒนาให้พร้อมสำาหรับการเป็นสัด ผสม และตั้งท้องรอบใหม่ได้ไม่ดี ของฟาร์มในไทยได้แก่ สุกรสาวไม่เป็นสัดนานกว่า 90 วัน แม่นาง ผสมไม่ติด กลับสัด ผสมซ้ำาเกิน 3 รอบ แม่สุกรหย่านมแล้วไม่เป็น สัด 2 รอบขึ้นไป ให้ครอกเล็ก พฤติกรรมไม่ดี กัดลูก เลี้ยงลูก ไม่ได้ น้ำานมไม่ดี พันธุกรรมไม่ดี เช่น ไส้เลื่อนสะดือ เกิดภาวะคลอด ยากหลายลำาดับท้อง และแม่สุกรอายุมาก ซึ่งล้วนแต่เป็นการคัดทิ้ง แบบตั้งใจไว้แล้ว ส่วนการคัดทิ้งโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือโดยไม่ได้คาดการณ์ มาก่อนได้แก่ แท้ง เป็นโรค เจ็บป่วย ตาย ขาเจ็บ ขาหัก บาดแผล เป็นต้น เมื่อกำาหนดขนาดกลุ่มผสมให้เหมาะสม รวมถึงมีวิธีการ ขั้นตอนคัดทิ้ง ทดแทน จนเหมาะสมตามแผนของฟาร์มแล้ว ต้อง อย่าลืมเตรียมสิ่งอำานวยความสะดวก สถานที่ ให้เหมาะสมเพียงพอ ด้วยเช่นกัน อันได้แก่ โรงเรือน วัสดุอุปกรณ์ ซองอุ้มท้อง ซองคลอด แรงงาน รวมถึงเงินทุนที่ต้องตระเตรียมไว้ให้พร้อมด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่สองคือ อัตราการเข้าคลอด เป็นที่แน่นอนว่าหากฟาร์ม หรือฝูงใดมีอัตราการเข้าคลอดที่ต่ำา ย่อมได้ลูกสุกรจำานวนน้อย ต้นทุน โดยรวมในส่วนที่แม่สุกรผสมไม่ติด กลับสัด ผสมใหม่ แท้ง หรือ ตาย ก็อาจคิดมาเฉลี่ยเพิ่มต้นทุนการผลิตให้แก่แม่ที่คลอดลูกรอด มามีชีวิตให้สูงขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้นอัตราการเข้าคลอดที่สูง จึงเป็น สิ่งที่ทุกฟาร์มปรารถนา และควรทำาให้ได้ด้วยเช่นกัน อัตราการเข้า คลอดมาตรฐานต่ำาสุดที่ควรทำาได้คือ 80% และหากจะให้ดีควรได้ มากกว่า 90% ขึ้นไป ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง หรือควบคุมอัตราการเข้า คลอดให้สูงมีหลายประการ ตั้งแต่เรื่องลำาดับท้อง ที่ประชากรฝูง ส่วนใหญ่ควรมีลำาดับท้องที่ 3-3.5 จะให้ผลดีที่สุด หากส่วนใหญ่เป็น แม่แก่ ลำาดับท้องมาก มักมีปัญหาหนองไหล แต่หากส่วนใหญ่เป็น แม่สาว ลำาดับท้องน้อย มักมีปัญหาเรื่องโรคติดเชื้อ ในเรื่องลำาดับ ท้องนี้เจ้าของฟาร์มควรควบคุม และวางแผนจัดการเองให้ดี เพราะ สำาคัญมาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเข้าคลอดต่อมาก็คือ สภาวะโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่ทำาให้อัตราการเข้าคลอดลดลง ตั้งแต่ผสม ไม่ติด กลับสัด แท้ง ที่สำาคัญคือ พีอาร์อาร์เอส (PRRS) และอีก โรคที่อาจไม่ได้มีผลต่ออัตราเข้าคลอด แต่มีผลต่อขนาดครอก หรือ จำานวนลูกหลังคลอด นั่นก็คือ พีอีดี (PED) จึงต้องจัดการ ควบคุม ป้องกันโรคเหล่านี้ในฝูงแม่พันธุ์ให้ดี จนไม่กระทบต่ออัตราการเข้า คลอด อีกปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากกับอัตราการเข้าคลอด นั่นก็คือใน ส่วนของพ่อพันธุ์ที่ให้นำาเชื้อ ควรต้องใช้พ่อสุกรที่มีอายุมากกว่า 1 LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ท้องน้อยๆ อาจท าให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้นจริง แต่หากทดแทนด้วยพันธุกรรมที่ดี มีลูกดกขึ้น ก็ท าให้คุ้มค่าน่าคัดทิ้ง แต่ก็ ต้องระวังเรื่องสถานภาพโรคที่อาจระบาดขึ้นได้ เช่น PRRS, PED ทั้งภูมิคุ้มกันระดับฝูงอาจไม่นิ่ง หรือไม่สม ่าเสมอ ในทาง ตรงกันข้าม หากทดแทนด้วยพันธุกรรมเดิมๆ หรือลูกไม่ดก ก็จะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่า ต้นทุนการผลิตก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงต้องเลือกอัตราการคัดทิ้งที่เหมาะสมกับฝูง ฟาร์ม พื้นที่ตั้ง หรือปัจจัยของท่านเองมากที่สุด อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะคัดทิ้ง เท่าไร ก็ควรคัดทิ้งโดยให้มีวันที่ไม่ให้ผลผลิต (Non Productive Day, NPD) น้อยที่สุด นิยมมากที่สุดคือ คัดทิ้งตอนหย่านม เพื่อลดต้นทุนในส่วนนี้ให้ต ่าที่สุด หากท าในช่วงอื่น ก็อาจเป็นการเพิ่มต้นทุนให้สูงมากขึ้นได้ สาเหตุการคัดทิ้งส่วนใหญ่ของ ฟาร์มในไทยได้แก่ สุกรสาวไม่เป็นสัดนานกว่า 90 วัน แม่นางผสมไม่ติด กลับสัด ผสมซ ้าเกิน 3 รอบ แม่สุกรหย่านมแล้วไม่ เป็นสัด 2 รอบขึ้นไป ให้ครอกเล็ก พฤติกรรมไม่ดี กัดลูก เลี้ยงลูกไม่ได้ น ้านมไม่ดีพันธุกรรมไม่ดีเช่น ไส้เลื่อนสะดือ เกิด ภาวะคลอดยากหลายล าดับท้อง และแม่สุกรอายุมาก ซึ่งล้วนแต่เป็นการคัดทิ้งแบบตั้งใจไว้แล้ว ส่วนการคัดทิ้งโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือโดยไม่ได้คาดการณ์มาก่อนได้แก่ แท้ง เป็นโรค เจ็บป่วย ตาย ขาเจ็บ ขาหัก บาดแผล เป็นต้น เมื่อก าหนดขนาดกลุ่มผสมให้เหมาะสม รวมถึงมีวิธีการ ขั้นตอนคัดทิ้ง ทดแทน จนเหมาะสมตามแผนของฟาร์มแล้ว ต้องอย่าลืมเตรียมสิ่งอ านวยความสะดวก สถานที่ ให้เหมาะสมเพียงพอด้วยเช่นกัน อันได้แก่ โรงเรือน วัสดุอุปกรณ์ ซองอุ้ม ท้อง ซองคลอด แรงงาน รวมถึงเงินทุนที่ต้องตระเตรียมไว้ให้พร้อมด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่สองคือ อัตราการเข้าคลอด เป็นที่แน่นอนว่าหากฟาร์ม หรือฝูงใดมีอัตราการเข้าคลอดที่ต ่า ย่อมได้ลูกสุกร จ านวนน้อย ต้นทุนโดยรวมในส่วนที่แม่สุกรผสมไม่ติด กลับสัด ผสมใหม่ แท้ง หรือตาย ก็อาจคิดมาเฉลี่ยเพิ่มต้นทุนการผลิต ให้แก่แม่ที่คลอดลูกรอดมามีชีวิตให้สูงขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้นอัตราการเข้าคลอดที่สูง จึงเป็นสิ่งที่ทุกฟาร์มปรารถนา และควรท า ให้ได้ด้วยเช่นกัน อัตราการเข้าคลอดมาตรฐานต ่าสุดที่ควรท าได้คือ 80% และหากจะให้ดีควรได้มากกว่า 90% ขึ้นไป ปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง หรือควบคุมอัตราการเข้าคลอดให้สูงมีหลายประการ ตั้งแต่เรื่องล าดับท้อง ที่ประชากรฝูงส่วนใหญ่ควรมีล าดับ ท้องที่ 3-3.5 จะให้ผลดีที่สุด หากส่วนใหญ่เป็นแม่แก่ ล าดับท้องมาก มักมีปัญหาหนองไหล แต่หากส่วนใหญ่เป็นแม่สาว ล าดับท้องน้อย มักมีปัญหาเรื่องโรคติดเชื้อ ในเรื่องล าดับท้องนี้เจ้าของฟาร์มควรควบคุม และวางแผนจัดการเองให้ดีเพราะ ส าคัญมาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเข้าคลอดต่อมาก็คือ สภาวะโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่ท าให้อัตราการเข้าคลอดลดลง ตั้งแต่ผสมไม่ติด กลับสัด แท้ง ที่ส าคัญคือ พีอาร์อาร์เอส (PRRS) และอีกโรคที่อาจไม่ได้มีผลต่ออัตราเข้าคลอด แต่มีผลต่อ ขนาดครอก หรือจ านวนลูกหลังคลอด นั่นก็คือ พีอีดี (PED) จึงต้องจัดการ ควบคุม ป้องกันโรคเหล่านี้ในฝูงแม่พันธุ์ให้ดี จน ไม่กระทบต่ออัตราการเข้าคลอด อีกปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากกับอัตราการเข้าคลอด นั่นก็คือในส่วนของพ่อพันธุ์ที่ให้น าเชื้อ ควร ต้องใช้พ่อสุกรที่มีอายุมากกว่า 1 ปีขึ้นไป แต่ก็ไม่ควรเกิน 3 ปี มีพันธุกรรมที่ดี ให้ลูกดก ไม่มีข้อบกพร่องทางพันธุกรรม เช่น ไส้เลื่อน พ่อสุกรต้องไม่ดุ ควบคุมง่าย นิ่ง ต้องก าหนดแผนการปลดและทดแทนส ารองพ่อไว้อย่างเหมาะสม และที่ส าคัญคือ อัตราการใช้งานพ่อสุกรต้องเหมาะสมด้วยเช่นกัน พ่อสุกรอายุมาก รีด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 5 วัน พ่อสุกรอายุน้อย รีด 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ห่างกัน 7 วัน เพราะการใช้งานบ่อยเกินไป อาจส่งผลต่อปริมาณ และคุณภาพน ้าเชื้อให้ด้อยลง อันจะส่งผล ต่ออัตราการผสมติด ยาวไปจนถึงอัตราเข้าคลอดให้มากหรือน้อยลงได้เช่นกัน คุณภาพน ้าเชื้อเป็นปัจจัยที่ต้องให้ความสนใจ เป็นอย่างยิ่ง โดยต้องมีปริมาณที่มากพอ รีด 1 ครั้งไม่ควรได้น้อยกว่า 200 ซีซี และ 1 ซีซีควรมีจ านวนตัวอสุจิประมาณ 300- 500 ล้านตัว อีกทั้งลักษณะของตัวอสุจิต้องปกติ ลักษณะที่ผิดปกติส่วนหัวไม่ควรเกิน 10% ส่วนหางไม่ควรเกินอย่างละ 5% อื่นๆ ไม่เกิน 5% รวมทั้งคุณภาพในส่วนตัวเป็นตัวตาย และอัตราการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า 27 สัตว์เศรษฐกิจ ที่ถูกต้อง ภายใน 72 ชม. หลังผสมไม่ควรเพิ่มอาหาร ปรับการให้ อาหารตามหุ่น (BCS) รวมถึงเพิ่มอาหารในช่วงตั้งท้องระยะท้าย และหลังคลอด และหากมีระยะให้นมเลี้ยงลูกนานขึ้น เป็นสัดครั้ง ต่อไปจะมีจำานวนไข่ตกมากขึ้น และขนาดครอกก็ใหญ่ขึ้นเช่นกัน ที่สำาคัญอาหารต้องปลอดจากสารพิษเชื้อรา เช่น อะฟลาทอก ซิน ฟูโมนิซิน ซึ่งล้วนแล้วแต่มีผลต่อสุขภาพแม่สุกรให้ป่วย อ่อนแอ ลูกในท้องก็ย่อมได้รับ ทำาให้อ่อนแอ หรือตายด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งซีราลีโนนซึ่งมีผลต่อระบบสืบพันธุ์แม่สุกรในเกือบทุกรูปแบบ ตั้งแต่กลับสัด ผสมไม่ติด แท้ง ลูกตาย มัมมี่ ตายแรกคลอด หรือ เกิดมาอ่อนแอ ซึ่งล้วนทำาให้ขนาดครอกเล็กลง ในส่วนของโรคติด เชื้อที่มีผลต่อขนาดครอกทำาให้เล็กลงได้แก่ พาร์โวไวรัส (PPV) ที่ ทำาให้ลูกตาย กลายเป็นมัมมี่ เซอร์โคไวรัส (PCV2) ที่ทำาให้ไม่สมบูรณ์ พันธุ์ แท้ง ดูดซึมกลับ มัมมี่ อ่อนแอ อันทำาให้จำานวนลูกมีชีวิตแรก คลอดน้อยลง ขนาดครอกก็เล็กลง จึงจำาเป็นต้องจัดการ ควบคุม ป้องกันโรคเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ หรือ ให้วัคซีนก็ตาม สำาหรับเดือนนี้เป็นเรื่องของการเพิ่ม เพิ่มอะไร คำาตอบก็คือ เพิ่มกลุ่มผสม เพิ่มขนาดครอก และเพิ่มอัตราเข้าคลอด ท้ายที่สุดก็ เพื่อวัตถุประสงค์เดียวกันก็คือ ให้ได้จำานวนลูกสุกรเพิ่มมากขึ้นที่สุด เป็นที่แน่นอนว่าเมื่อได้จำานวนลูกสุกรแรกเกิดมีชีวิต และแข็งแรง และครอกใหญ่มากยิ่งขึ้นเท่าใด โดยที่ยังคงใช้จำานวนแม่พันธุ์เท่าเดิม หรือต้นทุนด้านอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นวัสดุอุปกรณ์ โรงเรือน อาหาร และ อื่นๆ เท่าเดิม หรือเพิ่มเติมเข้ามาไม่มากนัก ต้นทุนการผลิตลูกสุกร เฉลี่ยต่อตัวโดยรวม ไม่ว่าจะระยะไหน ตั้งแต่แรกเกิดจนขุนขายนั้น ย่อมต่ำากว่าการผลิตลูกสุกรได้แต่ครอกเล็กอย่างแน่นอน โอกาส ขาดทุนก็จะน้อยลง โอกาสได้กำาไรก็จะเพิ่มมากขึ้น การเพิ่มนี้มีส่วน ช่วยให้รอดในภาวะวิกฤติราคาที่ตกต่ำาวนกลับมาอีกรอบหนึ่งได้อย่าง แน่นอน ไม่มากก็น้อย ขึ้นกับบริบทของแต่ละฟาร์ม การเพิ่มไม่ได้ หมายความเฉพาะการเพิ่มต้นทุน แล้วต้องได้กำาไรน้อยลงเท่านั้น เพราะการเพิ่มตามที่กล่าวมาข้างต้น ทำาให้ได้ผลลัพธ์สูง มีปริมาณ และคุณภาพเพิ่มมากขึ้น จนขายและได้กำาไรจนเอาชนะต้นทุนที่ เพิ่มขึ้นนั้น สวัสดีปีใหม่ไทย สุขสันต์วันสงกรานต์ 2566......... นัก การเลี้ยงลูกที่นานก็จะช่วยทำาให้มีความสมบูรณ์พันธุ์เพิ่มมากขึ้น อัตราการผสมติด อัตราการเข้าคลอดก็จะดีขึ้น จำานวนลูกสุกรก็จะ เพิ่มขึ้น หลังหย่านมในเวลาที่เหมาะสมแล้ว แม่สุกรมากกว่า 90% ควรเป็นสัดภายใน 7 วัน แต่ที่ดีสุด และส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นคือ ไม่เกิน 5 วัน ในช่วงนี้ก็จำาเป็นต้องเสริม หรือเพิ่มความสมบูรณ์ พันธุ์ให้สูงมากขึ้น ฮอร์โมนผลิตมากขึ้น มีจำานวนไข่ที่สมบูรณ์ตกมาก ขึ้น ในช่วงนี้ด้วยการปรนอาหารให้มากที่สุด ปัจจัยสุดท้ายคือ ขนาดครอก เป็นที่แน่นอนว่าเราต้องการเพิ่ม ขนาดครอกให้ใหญ่มากขึ้น ได้จำานวนลูกเพิ่มมากขึ้น ก็ย่อมทำาให้ ต้นทุนการผลิตต่อตัวลูกสุกรลดต่ำาลง ขนาดครอกถูกกำาหนดด้วย ปัจจัยแรกที่สำาคัญสุดคือ พันธุกรรม สายพันธุ์ที่ตัวยาว มดลูกยาว เช่น ฟินนอร์ เดนมาร์ค จะทำาให้ตัวอ่อนมีโอกาสฝังตัวและรอดชีวิต มากขึ้น ขนาดครอกก็ย่อมใหญ่ขึ้นด้วย สายพันธุ์เหมยซาน ตกไข่ มากและเร็ว ฮอร์โมน P4 สูง เอ็มบริโออายุเท่ากัน ฝังตัวดี รอดดี ขนาดครอกก็ย่อมใหญ่ขึ้นเช่นกัน ขนาดครอกอาจถูกกำาหนด พันธุกรรมของพ่อสุกรด้วย การจัดการแม่สุกรเพื่อกระตุ้นให้ตกไข่ มากและพร้อมกัน เช่น ปรนอาหาร ใช้พ่อกระตุ้น มีขั้นตอนและวิธี การผสมที่เหมาะสมเช่น อายุ การยืนนิ่ง การกระตุ้น จำานวนครั้ง การผสม โดยมีข้อมูลว่าการผสม 2 ครั้ง จะให้ขนาดครอกใหญ่กว่า ผสมครั้งเดียว แต่หากผสม 3 ครั้ง อาจให้ตัวอ่อนหลายอายุ อาจ ส่งผลเสียต่อขนาดครอกมากกว่า ขั้นตอนและเทคนิคต่างๆ ของ การผสมก็ให้ผลเช่นเดียวกับเรื่องของอัตราการเข้าคลอดที่กล่าวมา ข้างต้น ปัจจัยสำาคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับขนาดครอก ได้แก่ ลำาดับท้อง ในช่วง 3-5 จะให้ขนาดครอกที่ใหญ่และมีคุณภาพมากที่สุด การ จัดการเพื่อให้มีขนาดครอกใหญ่ หรือไม่ลดลงในช่วงฤดูร้อนนี้ก็คือ อุณหภูมิ ความเครียดจากความร้อน (Heat Stress) ในช่วงหลัง หย่านม และช่วง 15 วันแรกหลังผสม มีรายงานว่าอุณหภูมิที่สูง มากกว่า 32 C จะทำ ำาให้เอ็มบริโอตายไป 1 ตัว ดังนั้นจึงเป็นประเด็น ใหญ่ที่ต้องจัดการอย่างเร่งด่วน อันจะเป็นการเพิ่มทั้งขนาดครอก และ อัตราเข้าคลอดด้วย เพื่อให้รอดพ้นภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต่ำาในหน้า ร้อนนี้ ที่สำาคัญไม่แพ้กันก็คือ อาหาร และโภชนะที่ต้องสมบูรณ์ไป ด้วยวิตามิน A, E, B2, B12, กรดโฟลิก, ไบโอติน, โคลีน, ซีลีเนียม, อาร์จีนีน, ไลซีน, บีเทน ล้วนมีรายงานว่ามีผลช่วยให้ลูกดก มีขนาด ครอกใหญ่ขึ้น ส่วนการจัดการด้านอาหาร ปรนอาหารในช่วงเวลา ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ น ้าเชื้อต้องได้รับการเจือจาง เก็บรักษา และน ามาใช้อย่างเหมาะสม เริ่มตั้งแต่การตรวจสัดให้ถูกต้องเหมาะสม แม่สุกร แสดงอาการเป็นสัด ยืนนิ่ง ผสมเทียมในช่วงเวลาที่เหมาะสมถูกต้อง มีวิธีการผสมที่ดี สะอาด ลดการปนเปื้อนให้น้อยที่สุด เทคนิคต่างๆ ที่แต่ละฟาร์มอาจเลือกมาใช้เพื่อช่วยให้ผสมติดดีขึ้น จนน าไปสู่อัตราการเข้าคลอดที่สูงได้แก่ ช่วงก่อนผสม – มี พ่อสุกรดุนสะโพก สวาป ก้น คนกระตุ้นใช้มืองัดช่วงสะโพก 5 ครั้ง 10 วินาทีลูบและดึงช่วงท้องมาถึงสวาป 5 ครั้ง 10 วินาที ขย่มหลัง 5 ครั้ง 10 วินาทีหงายมือ ใช้สันมือลูบสวาปลง 5 ครั้ง 10 วินาทีใช้ฝ่ามือ อุ้งมือดันใต้อวัยวะเพศ แม่สุกรจะตัวงอ เล็กน้อย ในช่วงก าลังผสม – พ่อจะกัดคอ ขึ้นหลัง ให้ทดแทนโดยใช้กระสอบทรายถ่วงน ้าหนัก คนนั่งบนหลัง ใช้เข่ากระตุ้น สีข้าง สวาป มีพ่อสุกรอยู่ด้านหน้าต้องนิ่ง น ้าเชื้อจะไม่ไหลย้อนออกมามาก หลังผสม – รีบเอาพ่อออกไป ทิ้งเดือยผสมคาไว้ ปิดจุก ทั้งนี้ในบางขั้นตอน อาจมีการใช้ฮอร์โมนร่วมด้วย การผสมให้ได้คุณภาพที่ดีสุดนั้น นอกจากพิจารณาในส่วนพ่อสุกร และแม่สุกรขณะนั้นแล้ว ยังอาจต้องพิจารณาไป ช่วงก่อนหน้าของครอกที่แล้วด้วย นั่นก็คือ ไม่ควรให้แม่สุกรเลี้ยงลูกน้อยกว่า 21 วัน เนื่องจากหากน้อยกว่านี้ ระบบสืบพันธุ์ ยังอาจซ่อมแซม และพัฒนาให้พร้อมส าหรับการเป็นสัด ผสม และตั้งท้องรอบใหม่ได้ไม่ดีนัก การเลี้ยงลูกที่นานก็จะช่วยท าให้ มีความสมบูรณ์พันธุ์เพิ่มมากขึ้น อัตราการผสมติด อัตราการเข้าคลอดก็จะดีขึ้น จ านวนลูกสุกรก็จะเพิ่มขึ้น หลังหย่านมใน เวลาที่เหมาะสมแล้ว แม่สุกรมากกว่า 90% ควรเป็นสัดภายใน 7 วัน แต่ที่ดีสุด และส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นคือ ไม่เกิน 5 วัน ในช่วงนี้ก็จ าเป็นต้องเสริม หรือเพิ่มความสมบูรณ์พันธุ์ให้สูงมากขึ้น ฮอร์โมนผลิตมากขึ้น มีจ านวนไข่ที่สมบูรณ์ตกมากขึ้น ในช่วงนี้ด้วยการปรนอาหารให้มากที่สุด ปัจจัยสุดท้ายคือ ขนาดครอก เป็นที่แน่นอนว่าเราต้องการเพิ่มขนาดครอกให้ใหญ่มากขึ้น ได้จ านวนลูกเพิ่มมากขึ้น ก็ ย่อมท าให้ต้นทุนการผลิตต่อตัวลูกสุกรลดต ่าลง ขนาดครอกถูกก าหนดด้วยปัจจัยแรกที่ส าคัญสุดคือ พันธุกรรม สายพันธุ์ที่ตัว ยาว มดลูกยาว เช่น ฟินนอร์ เดนมาร์ค จะท าให้ตัวอ่อนมีโอกาสฝังตัวและรอดชีวิตมากขึ้น ขนาดครอกก็ย่อมใหญ่ขึ้นด้วย สายพันธุ์เหมยซาน ตกไข่มากและเร็ว ฮอร์โมน P4 สูง เอ็มบริโออายุเท่ากัน ฝังตัวดี รอดดีขนาดครอกก็ย่อมใหญ่ขึ้นเช่นกัน ขนาดครอกอาจถูกก าหนดพันธุกรรมของพ่อสุกรด้วย การจัดการแม่สุกรเพื่อกระตุ้นให้ตกไข่มากและพร้อมกัน เช่น ปรน อาหาร ใช้พ่อกระตุ้น มีขั้นตอนและวิธีการผสมที่เหมาะสมเช่น อายุ การยืนนิ่ง การกระตุ้น จ านวนครั้งการผสม โดยมีข้อมูล ว่าการผสม 2 ครั้ง จะให้ขนาดครอกใหญ่กว่าผสมครั้งเดียว แต่หากผสม 3 ครั้ง อาจให้ตัวอ่อนหลายอายุ อาจส่งผลเสียต่อ ขนาดครอกมากกว่า ขั้นตอนและเทคนิคต่างๆ ของการผสมก็ให้ผลเช่นเดียวกับเรื่องของอัตราการเข้าคลอดที่กล่าวมาข้างต้น ปัจจัยส าคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับขนาดครอก ได้แก่ ล าดับท้องในช่วง 3-5 จะให้ขนาดครอกที่ใหญ่และมีคุณภาพมาก ที่สุด การจัดการเพื่อให้มีขนาดครอกใหญ่ หรือไม่ลดลงในช่วงฤดูร้อนนี้ก็คือ อุณหภูมิ ความเครียดจากความร้อน (Heat Stress) ในช่วงหลังหย่านม และช่วง 15 วันแรกหลังผสม มีรายงานว่าอุณหภูมิที่สูงมากกว่า 32 C จะท าให้เอ็มบริโอตายไป 1 ตัว ดังนั้นจึงเป็นประเด็นใหญ่ที่ต้องจัดการอย่างเร่งด่วน อันจะเป็นการเพิ่มทั้งขนาดครอก และอัตราเข้าคลอดด้วย เพื่อให้ รอดพ้นภาวะวิกฤติราคาสุกรตกต ่าในหน้าร้อนนี้ ที่ส าคัญไม่แพ้กันก็คือ อาหาร และโภชนะที่ต้องสมบูรณ์ไปด้วยวิตามิน A, E, B2, B12, กรดโฟลิก, ไบโอติน, โคลีน, ซีลีเนียม, อาร์จีนีน, ไลซีน, บีเทน ล้วนมีรายงานว่ามีผลช่วยให้ลูกดก มีขนาด ครอกใหญ่ขึ้น ส่วนการจัดการด้านอาหาร ปรนอาหารในช่วงเวลาที่ถูกต้อง ภายใน 72 ชม. หลังผสมไม่ควรเพิ่มอาหาร ปรับ การให้อาหารตามหุ่น (BCS) รวมถึงเพิ่มอาหารในช่วงตั้งท้องระยะท้าย และหลังคลอด และหากมีระยะให้นมเลี้ยงลูกนานขึ้น เป็นสัดครั้งต่อไปจะมีจ านวนไข่ตกมากขึ้น และขนาดครอกก็ใหญ่ขึ้นเช่นกัน


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ล่าสุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2566 ตัวแทนผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศ รวมตัวกันยื่นหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีที่ทำาเนียบรัฐบาล ขอให้ช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ของเกษตรกรจากเนื้อหมูลักลอบนำาเข้าผิดกฎหมาย โดยนายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค เลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับหนังสือและรับปาก เร่งรัดทุกหน่วยงานราชการและสำานักงานคณะกรรมการปราบปราม การทุจริตแห่งชาติที่ได้รับข้อเรียกร้องจากสมาคมฯ ดำาเนินการ แก้ปัญหา พร้อมแนะนำาให้ผู้เลี้ยงสุกรนัดเข้าพบกรมศุลกากรที่เป็นต้น ทางของการกระทำาความผิดเพื่อหารือรายละเอียดและแก้ปัญหาให้ เบ็ดเสร็จ ซึ่งก่อนหน้านี้ นายกฯ เคยออกสั่งการหน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องให้ปราบปรามหมูเถื่อนอย่างเคร่งครัดและรัดกุม ไม่ให้เกิด ผลกระทบกับผู้เลี้ยงและให้ดูแลผู้บริโภคอย่างดี นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังได้ทำาหนังสือถึงกรมศุลกากร เพื่อ เรียกร้องให้มีการเปิดตู้คอนเทนเนอร์แบบทำาความเย็นที่ตกค้างอยู่ที่ ท่าเรือแหลมฉบังทั้งหมด เพื่อตรวจสอบว่ามีหมูเถื่อนซุกซ่อนอยู่ หรือไม่ เพราะหากเล็ดลอดออกไปได้จะเป็นผลร้ายทวีคูณกดราคาหมู มีชีวิตให้ต่ำาลงไปอีก เนื่องจาก พ่อค้าคนกลางไม่จำาเป็นต้องซื้อหมู เป็นจากฟาร์ม แต่สามารถซื้อชิ้นส่วนหมูเถื่อนแช่แข็งและส่งมอบให้ “หมูเถื่อน” หรือ “หมูกล่อง” หรือชื่อใหม่ในวงการเรียกขาน คือ “หมูเทา” ที่รัฐบาลต้องกำาจัดให้หมดไปจากประเทศอย่างเร่งด่วน เพราะเป็นอุปสรรคขัดขวางการฟื้นฟูการผลิตหมูไทยให้กลับสู่ สถานการณ์ปกติที่ 19 ล้านตัวต่อปี เพื่อรองรับการบริโภคของ คนไทยอย่างเพียงพอในราคาที่เหมาะสมเข้าถึงได้เพราะหมูเถื่อนกด ราคาหมูไทยให้ต่ำากว่าต้นทุนการผลิตจากราคาหน้าฟาร์มที่เคย 100 บาทต่อกิโลกรัม ล่าสุดลดลงเหลือ 84-88 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติประกาศต้นทุนเฉลี่ยอยู่ที่ 100.70 บาท ต่อกิโลกรัม เห็นตัวเลขแบบนี้แล้ว โอกาสที่ผู้เลี้ยงหมูไทยจะลืมตา อ้าปากได้อาจจะไม่ใช่ภายในปีนี้หรือแม้แต่ปีหน้าคงเป็นเรื่องยาก ตั้งแต่ต้นปี2566 จนถึงกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงได้ รับผลกระทบจาก “หมูเถื่อน” หนักหนาสาหัส เพราะราคาสุกรมีชีวิต หน้าฟาร์มตกต่อเนื่องรวมแล้ว 18 บาท ไปอยู่ 80 บาทต่อกิโลกรัม และหากยังปล่อยหมูผิดกฎหมายเข้ามาท้าทายมีโอกาสสูงมากที่ราคา จะไหลลงไปถึง 70 บาท ได้ส่งผลให้สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติต้อง ปรับฐานราคาถึง 2 ครั้งในเดือนเดียวกันรวม 8 บาท จึงทำาให้ราคา ขยับขึ้นมาเฉลี่ยอยู่ที่ 84-88 บาทต่อกิโลกรัม เพื่อช่วยเกษตรกร ผู้เลี้ยงลดภาระขาดทุน “หมูเถื่อน” อุปสรรคฟื้นฟูการผลิตหมูไทย


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ล่าสุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2566 ตัวแทนผู้เลี้ยงสุกร ทั่วประเทศ รวมตัวกันยื่นหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีที่ทำาเนียบรัฐบาล ขอให้ช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ของเกษตรกรจากเนื้อหมูลักลอบนำาเข้าผิดกฎหมาย โดยนายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค เลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับหนังสือและรับปาก เร่งรัดทุกหน่วยงานราชการและสำานักงานคณะกรรมการปราบปราม การทุจริตแห่งชาติที่ได้รับข้อเรียกร้องจากสมาคมฯ ดำาเนินการ แก้ปัญหา พร้อมแนะนำาให้ผู้เลี้ยงสุกรนัดเข้าพบกรมศุลกากรที่เป็นต้น ทางของการกระทำาความผิดเพื่อหารือรายละเอียดและแก้ปัญหาให้ เบ็ดเสร็จ ซึ่งก่อนหน้านี้ นายกฯ เคยออกสั่งการหน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องให้ปราบปรามหมูเถื่อนอย่างเคร่งครัดและรัดกุม ไม่ให้เกิด ผลกระทบกับผู้เลี้ยงและให้ดูแลผู้บริโภคอย่างดี นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังได้ทำาหนังสือถึงกรมศุลกากร เพื่อ เรียกร้องให้มีการเปิดตู้คอนเทนเนอร์แบบทำาความเย็นที่ตกค้างอยู่ที่ ท่าเรือแหลมฉบังทั้งหมด เพื่อตรวจสอบว่ามีหมูเถื่อนซุกซ่อนอยู่ หรือไม่ เพราะหากเล็ดลอดออกไปได้จะเป็นผลร้ายทวีคูณกดราคาหมู มีชีวิตให้ต่ำาลงไปอีก เนื่องจาก พ่อค้าคนกลางไม่จำาเป็นต้องซื้อหมู เป็นจากฟาร์ม แต่สามารถซื้อชิ้นส่วนหมูเถื่อนแช่แข็งและส่งมอบให้ “หมูเถื่อน” หรือ “หมูกล่อง” หรือชื่อใหม่ในวงการเรียกขาน คือ “หมูเทา” ที่รัฐบาลต้องกำาจัดให้หมดไปจากประเทศอย่างเร่งด่วน เพราะเป็นอุปสรรคขัดขวางการฟื้นฟูการผลิตหมูไทยให้กลับสู่ สถานการณ์ปกติที่ 19 ล้านตัวต่อปี เพื่อรองรับการบริโภคของ คนไทยอย่างเพียงพอในราคาที่เหมาะสมเข้าถึงได้เพราะหมูเถื่อนกด ราคาหมูไทยให้ต่ำากว่าต้นทุนการผลิตจากราคาหน้าฟาร์มที่เคย 100 บาทต่อกิโลกรัม ล่าสุดลดลงเหลือ 84-88 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติประกาศต้นทุนเฉลี่ยอยู่ที่ 100.70 บาท ต่อกิโลกรัม เห็นตัวเลขแบบนี้แล้ว โอกาสที่ผู้เลี้ยงหมูไทยจะลืมตา อ้าปากได้อาจจะไม่ใช่ภายในปีนี้หรือแม้แต่ปีหน้าคงเป็นเรื่องยาก ตั้งแต่ต้นปี2566 จนถึงกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงได้ รับผลกระทบจาก “หมูเถื่อน” หนักหนาสาหัส เพราะราคาสุกรมีชีวิต หน้าฟาร์มตกต่อเนื่องรวมแล้ว 18 บาท ไปอยู่ 80 บาทต่อกิโลกรัม และหากยังปล่อยหมูผิดกฎหมายเข้ามาท้าทายมีโอกาสสูงมากที่ราคา จะไหลลงไปถึง 70 บาท ได้ส่งผลให้สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติต้อง ปรับฐานราคาถึง 2 ครั้งในเดือนเดียวกันรวม 8 บาท จึงทำาให้ราคา ขยับขึ้นมาเฉลี่ยอยู่ที่ 84-88 บาทต่อกิโลกรัม เพื่อช่วยเกษตรกร ผู้เลี้ยงลดภาระขาดทุน “หมูเถื่อน” อุปสรรคฟื้นฟูการผลิตหมูไทย สัตว์เศรษฐกิจ 29 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ฟังนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่กรมฯ ดำาเนินการในการป้องกัน ไม่ให้สินค้าผิดกฏหมายเข้ามาสู่ราชอาณาจักรไทย ทั้งนี้ เพื่อความ มั่นใจในการประกอบอาชีพเลี้ยงสุกรต่อไป นอกจากนี้ยังแสดงความกังวล กับจำานวนตู้คอนเทนเนอร์ ตกค้างในโครงการท่าเรือสีขาวของกรมศุลกากร ที่มีการแถลงข่าวไป เมื่อช่วงกุมภาพันธ์ 2566 ว่ามีตู้ตกค้างมากถึง 331 ตู้ และมี การสุ่มเปิดตู้ต่อหน้าสื่อมวลชนเพียง 5 ตู้พบเป็นหมูเถื่อนถึง 3 ตู้ แต่หลังจากนั้นก็ไม่พบข่าวตรวจสอบตู้ตกค้างอีก จึงขอเรียนถาม ผลการตรวจสอบตู้ทั้งหมดจากกรมศุลฯอีกครั้ง เนื่องจากเกรงว่าจะ เป็นหมูเถื่อนลักลอบนำาเข้าผิดกฏหมายอีกจำานวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุ หลักทำาลายตลาดให้เกษตรกรไทยเดือดร้อนเรื่อยมา ทั้งนี้ ตั้งแต่ต้นปี 2565 เป็นต้นมา ปรากฏชิ้นส่วนเนื้อสุกร ลักลอบนำาเข้าจากหลายประเทศเข้าสู่ประเทศไทย โดยสันนิษฐานว่า ไม่ได้รับอนุญาตจากกรมปศุสัตว์ ตามอำานาจของพระราชบัญญัติ โรคระบาดสัตว์พ.ศ.๒๕๕๘ และกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรฯได้ติดตามการจับกุม ปราบปรามหมูเถื่อนของภาครัฐ พบว่ามีปริมาณเพียงเล็กน้อยไม่ถึง 5% ของการลักลอบทั้งหมดในแต่ละเดือน ซึ่งคำานวณได้จากปริมาณ หมูเถื่อนในท้องตลาดที่มีอยู่ถึง 25,000 เมตริกตัน/เดือน ส่งผลกดดัน ราคาหมูหน้าฟาร์มในประเทศให้ตกต่ำา นำาไปสู่ภาวะขาดทุนของ เกษตรกรไทย “ต้นทุนการผลิตหมูของไทย สูงกว่าในต่างประเทศถึง 30% เนื่องจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ของบ้านเรามีราคาสูงกว่ามาก จึงไม่ สามารถแข่งขันด้านราคาขายกับหมูเถื่อนที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ มาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร ปนเปื้อนสารตกค้าง ไม่ปลอดภัย ต่อผู้บริโภค และอาจมีเชื้อโรคระบาดสัตว์ ASF เข้ามาซ้ำาเติม หมูไทย เมื่อหมูเถื่อนมีจำานวนมาก เกษตรกรก็มักถูกกดราคา หน้าฟาร์มจากผู้ซื้อ กลายเป็นวังวนปัญหาไม่รู้จบ จึงจำาเป็นต้องขอ ความร่วมมือจากกรมศุลากร ในการป้องกันที่ต้นทางตั้งแต่ก่อน หมูเถื่อนจะเข้าประเทศ” นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติกล่าว อนาคตของอุตสาหกรรมหมูไทย จะเดินหน้าต่อไปได้หรือไม่ นั้น ขึ้นกับนโยบายภาครัฐในการกำาหนดแนวทาง “ความมั่นคงทาง อาหาร” ของประเทศไว้ในทิศทางใด หากปัญหา “หมูเถื่อน” ไม่ได้ รับการแก้ไขทันท่วงทีและจริงจัง ผู้เลี้ยงหมูไทยคงถอดใจเลิกเลี้ยงหมู คุณภาพดีและปลอดภัยในไม่ช้า และในอนาคตอันใกล้ไทยอาจจะ ต้องนำาเข้าเนื้อหมูจากประเทศเพื่อนบ้านเช่น กัมพูชาและเวียดนาม ที่ราคาต่ำากว่าไทยมากซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ 60-70 บาทต่อกิโลกรัมตาม ลำาดับ ซึ่งมาตรฐานการเลี้ยงและการขนส่งของแต่ละประเทศย่อม แตกต่างกัน อาจมีสารปนเปื้อนหรือโรคระบาดติดเข้ามาได้ต่างจาก หมูไทยที่กรมปศุสัตว์กำากับดูแลอย่างใกล้ชิดตามมาตรฐานสากล ปลอดสารเร่งเนื้อแดงและควบคุมโรคระบาดอย่างเคร่งครัด เป็นหลัก ประกันอาหารปลอดภัยให้กับผู้บริโภค แต่หากหมูเถื่อนยังวนเวียน และกดดันราคาต่อเนื่องแบบนี้การฟื้นฟูการผลิตหมูไทยคงไปไม่รอด ต้องม้วนเสื่อปิดกิจการในไม่ช้า... เขียงได้ทันทีซึ่งราคาหมูเถื่อนนำาเข้าจากต่างประเทศ เช่น บราซิล เม็กซิโก หรือประเทศแถบยุโรป รวมค่าจนส่งและค่าบริหารจัดการ แล้วยังขายเนื้อแดงได้ในราคากิโลกรัม 135-145 บาทต่อกิโลกรัม คำานวณเป็นต้นทุนที่ต้นทางจะอยู่ที่ประมาณ 40-60 บาทต่อกิโลกรัม เท่านั้น สำาหรับผู้เลี้ยงหมูไทย ที่ทยอยนำาหมูเข้าเลี้ยงตั้งแต่ปลายปี 2565 อาจจะชะลอการเลี้ยงอีกครั้งหากสถานการณ์ราคายังไม่สะท้อน กับต้นทุนที่แท้จริง เพื่อลดการขาดทุนสะสมตั้งแต่ช่วงโรคระบาด ASF ประกอบกับต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์แม้จะลดลงก็เพียงเล็กน้อย ไม่มีนัยสำาคัญ สำาหรับราคาข้าวโพดปรับลดลงจาก 13.50 บาทต่อ กิโลกรัม เหลือประมาณ 12.50 บาท ถือว่ายังอยู่ในระดับสูง ต่อการ บริหารจัดการและยังมีต้นทุนค่าไฟฟ้าและค่าแรงงานที่เกษตรกรต้อง แบกภาระอยู่ ที่สำาคัญ “หมูเถื่อน” เป็นเนื้อสุกรที่ไม่ผ่านมาตรฐาน การตรวจสอบความปลอดภัย โดยเฉพาะเรื่องความสะอาดที่อาจจะ ส่งผลถึงผู้บริโภคอีกด้วย ขณะเดียวกัน นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ เปิดเผยว่าได้ทำาหนังสือถึงอธิบดีกรมศุลกากร ซึ่งเป็น หน่วยงานที่กำากับดูแลการรับสินค้าจากต่างประเทศเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อขอทราบผลการตรวจสอบตู้ตกค้างในโครงการท่าเรือสีขาวหลัง เปิดไปเพียง 5 ตู้จาก 331 ตู้ณ วันแถลงข่าวเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ หวั่นยังมีหมูเถื่อนคงค้างรอการระบายอีกหลายตู้ พร้อมขอเข้าฟัง ขั้นตอนและพิธีการศุลกากรอันรัดกุม เพื่อความมั่นใจในมาตรการ ป้องกันหมูเถื่อน เนื่องจากผู้เลี้ยงหมูไทยได้รับผลกระทบหนักจาก ปริมาณหมูส่วนเกินที่นำาเข้าจากต่างประเทศเฉลี่ยไม่ต่ำากว่า 25,000 เมตริกตัน/เดือน หมูเถื่อนจากต่างประเทศไม่ว่าจะจากยุโรปหรืออเมริกาใต้ จะผ่านเข้ามาได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับด่านกรมศุลกากร ซึ่งเกษตรกร ทุกคนเชื่อมั่นว่าพิธีการทางศุลกากรของไทย มีมาตรการที่เข้มงวด รัดกุม ยากที่สิ่งของผิดกฏหมายจะผ่านด่านเข้ามาได้แต่น่าแปลกที่ ปริมาณหมูเถื่อนกระจายอยู่ในท้องตลาดทั่วประเทศมากเหลือเกิน คณะกรรมการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติและผู้เลี้ยงสุกรจากทุก ภูมิภาค จึงทำาหนังสือขอเข้าพบท่านอธิบดีกรมศุลกากร เพื่อขอรับ


30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จุดแข็งของอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและไข่ ที่ผลิตได้อย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นที่เชื่อมั่นของประเทศคู่ค้า ซึ่งผลสำาเร็จจากการ เจรจาเปิดตลาดนี้เป็นไปตามนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” อย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เปิดเผยข่าวดี ไต้หวันไฟเขียวรับซื้อไข่ไก่สดจากไทยครั้ง แรก โดยกรมปศุสัตว์ได้หารือร่วมกับนายอิแซค เฉิง-ชาง เซีย ผู้ อำานวยการส่วนนโยบาย สำานักงานการค้าและวัฒนธรรมไต้หวัน ประจำาประเทศไทยและนายชิง ซอง เฉิง ผู้เชี่ยวชาญสำานักตรวจ สอบและกักกันพืชและสัตว์แห่งไต้หวัน (BAPHIQ) พร้อมคณะ เพื่อ กำาหนดแนวทางการเปิดตลาดไข่สดไปยังไต้หวัน โดยพิจารณาเงื่อนไข การส่งออก รูปแบบของหนังสือรับรอง ตลอดจนวิธีการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง นำาไปสู่การที่ไต้หวันอนุมัติให้มีการนำาเข้าไข่ไก่สดจาก ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยสามารถดำาเนินการได้ทันทีในเดือน มีนาคม 2566 ซึ่งจะส่งออกได้ประมาณ 5 - 8 ล้านฟอง และมีแนว โน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไต้หวันมีความต้องการบริโภค ประมาณ 20 ล้านฟองต่อวัน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ผลสำาเร็จจากการเปิดเจรจาเปิดตลาดนี้เป็นไปตามนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลกอย่างปลอดภัยและยั่งยืน” ที่ให้ขับเคลื่อนปฏิรูป พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับทราบข้อมูลจากกรมปศุสัตว์ ถึงผล การหารือกับผู้แทนสำานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำา ประเทศไทย (Taipei Economic and Cultural Office in Thailand) และผู้แทนจากกรมสุขอนามัยและการกักกันพืชและสัตว์ของไต้หวัน (Bureau of Animal and Plant Health Inspection and Quarantine - BAPHIQ) ในการเจรจาเพื่อขยายตลาดการส่งออกไข่ไก่ สดไปยังไต้หวัน การเจรจาประสบผลสำาเร็จส่งผลให้ไทยสามารถส่ง ออกไข่ไก่สดไปยังไต้หวันได้เป็นครั้งแรก รัฐบาลเดินหน้าทำางานเพื่อเจรจาหาช่องทางและโอกาสส่งออก สินค้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากผลการเจรจาระหว่างกรมปศุสัตว์ กับผู้ แทนสำานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำาประเทศไทย (Taipei Economic and Cultural Office in Thailand) และผู้แทน จาก กรมสุขอนามัยและการกักกันพืชและสัตว์ของไต้หวัน (Bureau of Animal and Plant Health Inspection and QuarantineBAPHIQ) ที่ประสบผลสำาเร็จไทยสามารถเปิดตลาดส่งออกไข่ไก่สด ไปยังไต้หวันได้เป็นครั้งแรก ซึ่งสอดคล้องตามข้อกำาหนดของกฎหมาย ในประเทศ ตามระเบียบของประเทศคู่ค้าและตามหลักสากล นอกจาก นี้ไทย ยังมีมาตรการป้องกันโรคไข้หวัดนกอย่างเข้มงวด ส่งผลให้ ไม่มีการแพร่ระบาดไข้หวัดนกในประเทศไทยมากกว่า 15 ปี ถือเป็น ไทยเปิดตลาดไข่ไก่ไปไต้หวันสำาเร็จ... คาดส่งออกได้ 50 ล้านฟองในปี 66


สัตว์เศรษฐกิจ 31 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ระบบอาหารและเกษตรสู่ความยั่งยืน สร้างความเชื่อมั่นสินค้าเกษตร และอาหารไทย โดยมอบหมายให้กรมปศุสัตว์กำากับควบคุมดูแลการ ผลิตสินค้าปศุสัตว์ตลอดห่วงโซ่การผลิต ให้ได้คุณภาพมาตรฐานเพื่อ เป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยอาหาร ตั้งแต่แหล่งที่มา ของสัตว์จากฟาร์มมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) โรงฆ่าและโรงแปรรูปที่มีการปฏิบัติ ทางสุขลักษณะที่ดี (Good Hygiene Practices: GHPs) และระบบ การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Points: HACCP) สอดคล้องตามข้อกำาหนด ของกฎหมายในประเทศ ตามระเบียบของประเทศคู่ค้าและตามหลัก สากล การที่ไต้หวันเลือกนำาเข้าไข่สดจากไทยเป็นครั้งแรก นับเป็น ข่าวดีสำาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ของประเทศไทยที่จะสามารถมี ตลาดใหม่ๆ เพิ่มเติมจากเดิมที่ส่งออกไปยังฮ่องกงและสิงคโปร์เป็น หลัก ในปี 2565 สามารถส่งออกไข่ไก่ได้ 282 ล้านฟอง มูลค่า 1,238 ล้านบาท ยอดการส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเนื่องจากประเทศ เพื่อนบ้านประสบปัญหาการขาดแคลนไข่ไก่สดเพราะการแพร่ระบาด ของไข้หวัดนก อีกทั้งต้นทุนการผลิตยังปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น แต่ ประเทศไทยโดยกรมปศุสัตว์มีมาตรการป้องกันโรคไข้หวัดนกอย่าง เข้มงวด ส่งผลให้ไม่มีการแพร่ระบาดไข้หวัดนกในประเทศไทย มากกว่า 15 ปี ซึ่งเป็นจุดแข็งของอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและไข่ที่ สามารถผลิตได้อย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นที่เชื่อมั่นของ ประเทศคู่ค้า จากนี้ไปจะมีการเปิดตลาดของไข่สดอีกหลายประเทศ เพื่อสร้างตลาดส่งออกใหม่ จะส่งผลให้ประเทศไทยสามารถรักษา ระดับการผลิตและการบริโภคให้ใกล้เคียงภาวะสมดุล ล่าสุด นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยหลังเป็นประธานในพิธีปล่อยตู้คอนเทนเนอร์บรรจุไข่ไก่สดไป ยังไต้หวัน ณ บริษัท เกษมชัย ฟู้ด จำากัด จังหวัดนครปฐม ว่าการ ส่งออกตู้คอนเทนเนอร์แรกนี้ เป็นการส่งออกจากศูนย์รวบรวมไข่ไก่ ที่ได้รับรองมาตรฐานเพื่อการส่งออกจากกรมปศุสัตว์ มีปริมาณการ ส่งออกจำานวน 325,000 ฟอง มูลค่าประมาณ 1,500,000 บาท โดยคาดการณ์ว่าในปี 2566 นี้ จะมีปริมาณการส่งออกไข่ไก่สดจาก ประเทศไทยไปยังไต้หวันได้มากกว่า 50 ล้านฟอง มูลค่ากว่า 230 ล้านบาท ซึ่งจะเป็นการสร้างตลาดใหม่ ส่งผลดีต่อการรักษาสมดุล ระหว่างการผลิตและการบริโภค และสร้างเสถียรภาพด้านราคาที่ เกษตรกรจำาหน่ายในประเทศได้ ด้าน นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้า และส่งออกไข่ไก่ กล่าวว่า การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกทั่วโลก ขณะนี้ ทำาให้หลายประเทศต้องทำาลายแม่ไก่ ส่งผลให้ไข่ไก่ขาดแคลน เช่น สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน เป็นต้น ทำาให้ผู้บริโภค ได้รับความเดือดร้อนจากราคาสูง การจำากัดปริมาณการซื้อ และเข้า ถึงยาก ขณะที่ไทยมีการปัองกันอย่างดีไม่มีปัญหาในฟาร์มสัตว์ปีก ประชาชนมีผลผลิตเพียงพอ ช่วงที่ผ่านมา สหรัฐฯ เป็นหนึ่งในประเทศที่ประสบปัญหาไข้ หวัดนก ทำาให้ขาดแคลนไข่ไก่และราคาเพิ่มขึ้นเกือบ 60% จนผู้ บริโภคเดือดร้อน ประกอบกับและต้นทุนการเลี้ยงไก่ไข่สูงขึ้น ทั้งราคา อาหารสัตว์ ค่าแรงงาน ค่าบริหารจัดการฟาร์ม เช่นเดียวกับ มาเลเซีย ที่ประสบปัญหาขาดแคลนไข่ไก่ เนื่องจากต้นทุนวัตถุดิบ อาหารปรับราคาสูงขึ้น จากผลกระทบของสงครามยูเครน กดดันให้ ผู้เลี้ยงรายเล็กต้องลดปริมาณการเลี้ยง จนต้องสั่งซื้อไข่ไก่ล็อตใหญ่ ที่สุด 50 ล้านฟอง จากอินเดีย เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลน ขณะที่ กระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น มีการทำาลายไก่และนก อื่นๆ ทั่วประเทศจากไข้หวัดนกจำานวน 15 ล้านตัว ทำาให้ราคาขายส่ง ไข่ขนาดกลางในกรุงโตเกียวอยู่ที่ 335 เยน (2.49 ดอลลาร์สหรัฐ) ต่อกิโลกรัม เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2566 เพิ่มขึ้นมากกว่า 81% เทียบ กับช่วงเดียวกันของปีก่อน “ราคาไข่ไก่ของไทย ยังถูกกว่าประเทศต่างๆมาก และเป็น ผลผลิตที่ปลอดภัยจากโรคระบาด ราคาจึงมีการปรับขึ้นตามกลไก ตลาดและเหมาะสมกับคุณภาพที่ผู้บริโภคได้รับ” นายมงคล กล่าว นายมงคล กล่าวว่า ไทยมีผลผลิตไข่ไก่เกินความต้องการ โดย เฉพาะช่วงนี้ปิดเทอมความต้องการไข่ไก่ลดลง จึงไม่กระทบต่อการ บริโภคในประเทศ ขณะเดียวกันยังเป็นสนับสนุนให้เกษตรกรขาย ผลผลิตได้ในราคาดี ไม่ขาดทุน ซึ่งราคาอาจปรับขึ้นบ้างตามกลไก ตลาด “ผู้เลี้ยงไก่ไข่ไทย ก็ประสบปัญหาราคาอาหารไก่ปรับขึ้น ประมาณ 3-4 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มที่เหมาะ สมอยู่ที่4.00 บาทต่อฟอง แต่ราคาปัจจุบันอยู่ที่ 3.60 บาทต่อฟอง เท่านั้น” นายมงคล ย้ำา นายมงคล กล่าวต่อไปว่า ไข่ไก่ เป็นโปรตีนคุณภาพดีที่คนไทย นิยมบริโภคและเข้าถึงง่ายที่สุด จึงขอให้รัฐบาลพิจารณามาตรการ ช่วยเหลือด้านวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพื่อสนับสนุนการผลิตให้ราคาและ การผลิตอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพียงพอต่อความต้องการบริโภค ไม่ เกิดปัญหาขาดแคลน ส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารทั้งในประเทศ และทั่วโลก... 30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จุดแข็งของอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและไข่ ที่ผลิตได้อย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นที่เชื่อมั่นของประเทศคู่ค้า ซึ่งผลสำาเร็จจากการ เจรจาเปิดตลาดนี้เป็นไปตามนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” อย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เปิดเผยข่าวดี ไต้หวันไฟเขียวรับซื้อไข่ไก่สดจากไทยครั้ง แรก โดยกรมปศุสัตว์ได้หารือร่วมกับนายอิแซค เฉิง-ชาง เซีย ผู้ อำานวยการส่วนนโยบาย สำานักงานการค้าและวัฒนธรรมไต้หวัน ประจำาประเทศไทยและนายชิง ซอง เฉิง ผู้เชี่ยวชาญสำานักตรวจ สอบและกักกันพืชและสัตว์แห่งไต้หวัน (BAPHIQ) พร้อมคณะ เพื่อ กำาหนดแนวทางการเปิดตลาดไข่สดไปยังไต้หวัน โดยพิจารณาเงื่อนไข การส่งออก รูปแบบของหนังสือรับรอง ตลอดจนวิธีการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง นำาไปสู่การที่ไต้หวันอนุมัติให้มีการนำาเข้าไข่ไก่สดจาก ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยสามารถดำาเนินการได้ทันทีในเดือน มีนาคม 2566 ซึ่งจะส่งออกได้ประมาณ 5 - 8 ล้านฟอง และมีแนว โน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไต้หวันมีความต้องการบริโภค ประมาณ 20 ล้านฟองต่อวัน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ผลสำาเร็จจากการเปิดเจรจาเปิดตลาดนี้เป็นไปตามนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลกอย่างปลอดภัยและยั่งยืน” ที่ให้ขับเคลื่อนปฏิรูป พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหม ได้รับทราบข้อมูลจากกรมปศุสัตว์ ถึงผล การหารือกับผู้แทนสำานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำา ประเทศไทย (Taipei Economic and Cultural Office in Thailand) และผู้แทนจากกรมสุขอนามัยและการกักกันพืชและสัตว์ของไต้หวัน (Bureau of Animal and Plant Health Inspection and Quarantine - BAPHIQ) ในการเจรจาเพื่อขยายตลาดการส่งออกไข่ไก่ สดไปยังไต้หวัน การเจรจาประสบผลสำาเร็จส่งผลให้ไทยสามารถส่ง ออกไข่ไก่สดไปยังไต้หวันได้เป็นครั้งแรก รัฐบาลเดินหน้าทำางานเพื่อเจรจาหาช่องทางและโอกาสส่งออก สินค้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากผลการเจรจาระหว่างกรมปศุสัตว์ กับผู้ แทนสำานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำาประเทศไทย (Taipei Economic and Cultural Office in Thailand) และผู้แทน จาก กรมสุขอนามัยและการกักกันพืชและสัตว์ของไต้หวัน (Bureau of Animal and Plant Health Inspection and QuarantineBAPHIQ) ที่ประสบผลสำาเร็จไทยสามารถเปิดตลาดส่งออกไข่ไก่สด ไปยังไต้หวันได้เป็นครั้งแรก ซึ่งสอดคล้องตามข้อกำาหนดของกฎหมาย ในประเทศ ตามระเบียบของประเทศคู่ค้าและตามหลักสากล นอกจาก นี้ไทย ยังมีมาตรการป้องกันโรคไข้หวัดนกอย่างเข้มงวด ส่งผลให้ ไม่มีการแพร่ระบาดไข้หวัดนกในประเทศไทยมากกว่า 15 ปี ถือเป็น ไทยเปิดตลาดไข่ไก่ไปไต้หวันสำาเร็จ... คาดส่งออกได้ 50 ล้านฟองในปี 66


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 2. แม่ไก่จะแสดงอาการหอบ นอกจากแม่ไก่สูญเสียพลังงาน ไปกับการหอบเพื่อระบายความร้อนแล้ว การหอบยังมีผลทำาให้แม่ไก่ สูญเสีย CO2 ที่จะแม่ไก่จำาเป็นต้องใช้ในขบวนการการสร้างไข่ ซึ่ง ส่งผลทำาให้คุณภาพเปลือกไข่ด้อยลง เช่น เปลือกบางลง สีซีดลง เป็นต้น 3. มูลไก่จะมีลักษณะเหลวขึ้น เนื่องจากแม่ไก่ต้องกินน้ำา เพิ่มขึ้น โดยปกติถ้าแม่ไก่อยู่ในเล้าที่อุณหภูมิอยู่ในช่วง 18-25 ำC สัดส่วนการกินน้ำาต่ออาหารของแม่ไก่จะอยู่ที่ 1.8-2.0 เท่าของอาหาร ที่กินได้ แต่ถ้าอากาศภายในเล้าร้อนขึ้น สัดส่วนการกินน้ำาต่ออาหาร อาจเพิ่มขึ้นเป็น >2.6 เท่าของอาหาร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่ แม่ไก่รู้สึก ณ เวลานั้นๆ 4. ตัวตายต่อวันจะเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับมาตรฐานการเลี้ยง ซึ่ง การตายของแม่ไก่ที่มีสาเหตุจากอากาศร้อน จะพบว่าแม่ไก่มักจะตาย เยอะในช่วงเวลาบ่าย ช่วงที่อากาศร้อนจัด และพบว่าแม่ไก่ที่ตัวอ้วนๆ จะตายมากกว่าตัวที่มีน้ำาหนักตัวได้ตามมาตรฐาน หรือตัวที่ผอม และ เมื่อผ่าซากดูจะพบวิการตับแตก เนื้อหน้าอกขาวซีด อุณหภูมิใน ช่องท้องค่อนข้างสูง แนะนำ� 2 แนวท�งก�รจัดก�รเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรือนเปิด ใน ช่วงอากาศร้อน 1.ด้านโรงเรือน 1.1 ลดการแผ่ความร้อนจากหลังคาโรงเรือนมาสู่ตัวไก่ โดย การติดสปิงเกอร์บนหลังคาโรงเรือน การเปิดสปริงเกอร์ ควรเปิดก่อน ปัจจุบันการเลี้ยงไก่ไข่ของเกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ จะอยู่ภายในโรงเรือนปิด ที่เรียกว่า Evaporative Cooling System หรือที่นิยมเรียกกันว่า โรงเรือนอีแวป (Evap) ซึ่งทำาให้แม่ไก่อยู่สบาย มากขึ้นในช่วงที่อากาศภายนอกเล้า สูงกว่า 35 ำC ทำาให้ผลกระทบ เรื่องอากาศร้อนต่อการให้ผลผลิตของแม่ไก่น้อยกว่าแม่ไก่ที่เลี้ยงอยู่ ในโรงเรือนเปิด ปกติแล้วอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อความเป็นอยู่ของ แม่ไก่ อยู่แล้วสบาย จะอยู่ในช่วงประมาณ 18-25 ำC นอกจากไก่เป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อคอยช่วยทำาหน้าที่ระบาย ความร้อนเหมือนกับมนุษย์หรือสัตว์ประเภทอื่นแล้ว ขนที่ปกคลุมอยู่ บนตัวไก่ก็เป็นอีกอุปสรรคหนึ่งในการระบายความร้อนของแม่ไก่ ดังนั้นเวลาที่อุณหภูมิภายในเล้าอยู่ที่ประมาณ 26-32 ำC แม่ไก่ก็จะ กินอาหารได้ลดลง แต่จะกินน้ำาเพิ่มขึ้น เพื่อลดความร้อนที่เกิดขึ้น ภายในร่างกาย ถ้าอุณหภูมิในเล้าสูงเกิน 35 ำC แม่ไก่ก็จะแสดง อาหารหอบ กางปีก หมอบกับพื้นกรง เกิดภาวะเครียดจากความร้อน หรือที่เรียกว่า Heat Stress (ขบวนการทางฮอร์โมนในร่างกาย เกิดการเปลี่ยนแปลง) แต่ถ้าอุณหภูมิในเล้าสูงเกินกว่า 39 ำC ก็จะ มีผลทำาให้แม่ไก่เริ่มทยอยตาย (ปกติอุณหภูมิร่างกายของไก่อยู่ที่ 41.2 ำC) ผลของการเลี้ยงไก่ไข่ในเล้าที่มีอุณภูมิสูงหรือในสภาพอากาศร้อน 1. การให้ผลผลิตไข่ลดลง ขนาดฟองไข่เล็กลง คุณภาพเปลือก ด้อยลง เนื่องจากแม่ไก่กินอาหารได้ลดลง ทำาให้แม่ไก่ได้รับสารอาหาร ไม่เพียงพอต่อการสร้างไข่ การเลี้ยงไก่ไข่หน้าร้อนให้ประสบความสำาเร็จ


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 2. แม่ไก่จะแสดงอาการหอบ นอกจากแม่ไก่สูญเสียพลังงาน ไปกับการหอบเพื่อระบายความร้อนแล้ว การหอบยังมีผลทำาให้แม่ไก่ สูญเสีย CO2 ที่จะแม่ไก่จำาเป็นต้องใช้ในขบวนการการสร้างไข่ ซึ่ง ส่งผลทำาให้คุณภาพเปลือกไข่ด้อยลง เช่น เปลือกบางลง สีซีดลง เป็นต้น 3. มูลไก่จะมีลักษณะเหลวขึ้น เนื่องจากแม่ไก่ต้องกินน้ำา เพิ่มขึ้น โดยปกติถ้าแม่ไก่อยู่ในเล้าที่อุณหภูมิอยู่ในช่วง 18-25 ำC สัดส่วนการกินน้ำาต่ออาหารของแม่ไก่จะอยู่ที่ 1.8-2.0 เท่าของอาหาร ที่กินได้ แต่ถ้าอากาศภายในเล้าร้อนขึ้น สัดส่วนการกินน้ำาต่ออาหาร อาจเพิ่มขึ้นเป็น >2.6 เท่าของอาหาร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่ แม่ไก่รู้สึก ณ เวลานั้นๆ 4. ตัวตายต่อวันจะเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับมาตรฐานการเลี้ยง ซึ่ง การตายของแม่ไก่ที่มีสาเหตุจากอากาศร้อน จะพบว่าแม่ไก่มักจะตาย เยอะในช่วงเวลาบ่าย ช่วงที่อากาศร้อนจัด และพบว่าแม่ไก่ที่ตัวอ้วนๆ จะตายมากกว่าตัวที่มีน้ำาหนักตัวได้ตามมาตรฐาน หรือตัวที่ผอม และ เมื่อผ่าซากดูจะพบวิการตับแตก เนื้อหน้าอกขาวซีด อุณหภูมิใน ช่องท้องค่อนข้างสูง แนะนำ� 2 แนวท�งก�รจัดก�รเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรือนเปิด ใน ช่วงอากาศร้อน 1.ด้านโรงเรือน 1.1 ลดการแผ่ความร้อนจากหลังคาโรงเรือนมาสู่ตัวไก่ โดย การติดสปิงเกอร์บนหลังคาโรงเรือน การเปิดสปริงเกอร์ ควรเปิดก่อน ปัจจุบันการเลี้ยงไก่ไข่ของเกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ จะอยู่ภายในโรงเรือนปิด ที่เรียกว่า Evaporative Cooling System หรือที่นิยมเรียกกันว่า โรงเรือนอีแวป (Evap) ซึ่งทำาให้แม่ไก่อยู่สบาย มากขึ้นในช่วงที่อากาศภายนอกเล้า สูงกว่า 35 ำC ทำาให้ผลกระทบ เรื่องอากาศร้อนต่อการให้ผลผลิตของแม่ไก่น้อยกว่าแม่ไก่ที่เลี้ยงอยู่ ในโรงเรือนเปิด ปกติแล้วอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อความเป็นอยู่ของ แม่ไก่ อยู่แล้วสบาย จะอยู่ในช่วงประมาณ 18-25 ำC นอกจากไก่เป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อคอยช่วยทำาหน้าที่ระบาย ความร้อนเหมือนกับมนุษย์หรือสัตว์ประเภทอื่นแล้ว ขนที่ปกคลุมอยู่ บนตัวไก่ก็เป็นอีกอุปสรรคหนึ่งในการระบายความร้อนของแม่ไก่ ดังนั้นเวลาที่อุณหภูมิภายในเล้าอยู่ที่ประมาณ 26-32 ำC แม่ไก่ก็จะ กินอาหารได้ลดลง แต่จะกินน้ำาเพิ่มขึ้น เพื่อลดความร้อนที่เกิดขึ้น ภายในร่างกาย ถ้าอุณหภูมิในเล้าสูงเกิน 35 ำC แม่ไก่ก็จะแสดง อาหารหอบ กางปีก หมอบกับพื้นกรง เกิดภาวะเครียดจากความร้อน หรือที่เรียกว่า Heat Stress (ขบวนการทางฮอร์โมนในร่างกาย เกิดการเปลี่ยนแปลง) แต่ถ้าอุณหภูมิในเล้าสูงเกินกว่า 39 ำC ก็จะ มีผลทำาให้แม่ไก่เริ่มทยอยตาย (ปกติอุณหภูมิร่างกายของไก่อยู่ที่ 41.2 ำC) ผลของการเลี้ยงไก่ไข่ในเล้าที่มีอุณภูมิสูงหรือในสภาพอากาศร้อน 1. การให้ผลผลิตไข่ลดลง ขนาดฟองไข่เล็กลง คุณภาพเปลือก ด้อยลง เนื่องจากแม่ไก่กินอาหารได้ลดลง ทำาให้แม่ไก่ได้รับสารอาหาร ไม่เพียงพอต่อการสร้างไข่ การเลี้ยงไก่ไข่หน้าร้อนให้ประสบความสำาเร็จ สัตว์เศรษฐกิจ 33 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ที่อากาศภายนอกจะร้อนเพื่อลดการสะสมของความร้อนที่หลังคา เช่น เปิดสปริงเกอร์ตั้งแต่ เวลา 9:30 - 16:00 น. เป็นต้น หรือการทำา หลังคาชั้นที่ 2 ด้วยหญ้าคา, ใบจาก ต่อจากหลังคาสังกะสีหรือ กระเบื้อง 1.2 ติดตั้งพัดลมภายในเล้า เพื่อระบายอากาศร้อนออกจากตัว ไก่และโรงเรือน 1.3 การติดตั้งระบบพ่นหมอกภายในโรงเรือนร่วมกับพัดลม ระบายอากาศ 1.4 ติดตั้งผ้าม่านป้องกันแสงแดดส่องเข้าภายในเล้า หรือใช้ การปลูกต้นไม้รอบๆ โรงเรือน เช่น ต้นกล้วย แต่ทั้งนี้ผ้าม่านจะต้อง ไม่ไปปิดกันทิศทางลมธรรมชาติที่จะเข้าเล้า 2. ด้านน้ำาและอาหาร 2.1 จัดเตรียมน้ำาสะอาดที่มีอุณหภูมิ ประมาณ 20-25 ำC ให้ แม่ไก่ได้กินตลอดช่วงที่อากาศร้อน หรือเติมน้ำาแข็งลงในถังพักน้ำาเพื่อ ปรับลดอุณหภูมิของน้ำาก่อนให้ไก่กิน 2.2 อย่าให้ถังพักน้ำาหรือท่อน้ำาที่ให้ไก่กินถูกแสงแดดส่อง เพราะ จะทำาให้อุณหภูมิของน้ำาที่อยู่ภายในสูงขึ้น ทำาให้ไก่กินน้ำาลดลง 2.3 ผสมไวตามิน เช่น ไวติมิน C, A, E และ B รวม หรือ ไวตามิน+กรดอะมิโน ในน้ำาที่ให้ไก่กิน ซึ่งช่วงเวลาที่เหมาะสมในการ ให้ไวตามิน C คือ ช่วงเวลาก่อนที่อากาศจะเริ่มร้อน อาจจะเป็นช่วง 9:00 - 10:00 โมง (ขึ้นอยู่ในแต่พื้นที่) นอกจากนั้นการเสริม สารอิเล็คโตไลน์ในน้ำาก็สามารถช่วยลดภาวะ Heat Stress ในแม่ไก่ ลงได้ 2.4 หลังจากให้น้ำาที่ผสมไวตามินเลร็จเรียบร้อย ต้องคอยหมั่น ทำาความสะอาดรางน้ำาหรือท่อนิปเปิล เพื่อป้องกันการสะสมของเมือก ภายในรางน้ำาหรือท่อน้ำากิน ซึ่งอาจจะทำาให้เกิดปัญหาไก่ท้องเสียตาม มาได้ 2.5 ให้อาหารมื้อเช้าให้เร็วขึ้น อาจจะเป็นช่วงเวลา 5:00 - 6:00 โมง เป็นต้น ส่วนมื้อบ่ายก็ให้ในช่วงที่อากาศเริ่มเย็น เช่น เวลา 17:00 - 18:00 น. ร่วมกับการเปิดไฟช่วงเวลา 23:00 - 01:00 น.ให้ไก่ตื่นขึ้นมากินอาหารเพิ่มจากโปรแกรมแสงปกติ 2.6 ควรงดการกระตุ้นการกินอาหารหรือเดินเกลี่ยอาหารใน รางในช่วงที่อากาศร้อน เช่น ช่วงเวลา 12:00 - 14:00 น. เพราะ จะทำาให้แม่ไก่เกิดการเคลื่อนไหว เกิดการสร้างความร้อนขึ้นมาได้ 2.7 เลือกใช้อาหารที่มีความสมดุลของโปรตีนและพลังงานให้ เหมาะสมต่อความต้องการของแม่ไก่ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานใน การขับสารอาหารส่วนเกินออกจากร่างกาย ที่มา https://cpffeedsolution.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2% E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B9%84%E 0%B8%82%E0%B9%88%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0 %B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD/ โดย ผู้เชี่ยวชาญซีพีเอฟ


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงทำาหลายพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการเลี้ยง โคนม หรือการปลูกพืชอาหารสัตว์ ส่งผลให้การเลี้ยงโคนมต้องปรับ รูปแบบ โดยเฉพาะพื้นที่มวกเหล็ก ปากช่อง ที่ราคาที่ดินสูงมาก ทำาให้ฟาร์มขยายหรือจัดหาแหล่งผลิตอาหารหยาบได้ยาก ข้อมูลปริมาณน้ำานมดิบจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา มีแนวโน้มลดลง โดยปี 2565 ผลิตน้ำานมดิบได้ 3,500 ตันต่อวัน ปี 2564 ผลิตได้ 3,400 ตันต่อวัน แต่ในปี 2565 ผลิต ได้เพียง 3,000 ตันต่อวัน หรือหายไปกว่า 400-500 ตันต่อวัน ส่งผลกระทบกับผู้ประกอบการอย่างรุนแรง ขณะที่ข้อมูลปริมาณโคนม จากกรมปศุสัตว์ พบว่า ประชากรโคนมและผู้เลี้ยงลดลง โดยบางส่วน ขายโคออกยกฟาร์ม โคบางส่วนมีฟาร์มอื่นมาซื้อไปเลี้ยง แต่บางส่วน ก็ถูกส่งเข้าโรงชำาแหละ ยิ่งหากเป็นโครุ่นโคสาวก็ยิ่งเสียโอกาส และ หากไม่แก้ไขจะกลายเป็นวิกฤตที่กระทบอุตสาหกรรมโคนมไทยอย่าง รุนแรงแน่นอน ซึ่งการแก้ไข ในระยะสั้นจำาเป็นต้องใช้ยาแรง คือ การปรับ ราคาน้ำานมดิบ จากนั้นต้องพิจารณานโยบายภาครัฐที่มาช่วยเหลือทั้ง ผู้เลี้ยงโคนม ผู้ประกอบการ ภาครัฐ และผู้บริโภค เพื่อให้ทุกภาค ส่วนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยราคาน้ำานมดิบจะปรับเท่าใดให้ เหมาะสม โดยข้อมูลต้นทุนการผลิตมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงโคนมต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ตามราคาอาหารข้นและอาหารหยาบที่ปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่สอดคล้องกับราคาน้ำานมดิบที่ขายได้ กระทั่ง เกษตรกรหลายราย แบกรับภาวะขาดทุนไม่ไหว จำาเป็นต้องเลิกอาชีพ ขายโคนมออกไป ส่งผลให้ปริมาณน้ำานมดิบลดลง กระทบกับผู้ประกอบการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ และอุตสาหกรรมโคนมไทยทั้งระบบ จึงจำาเป็นต้องมี มาตรการแก้ไขทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อรักษา อาชีพการเลี้ยงโคนมและอุตสาหกรรมนมไทยให้อยู่รอดได้อย่างยั่งยืน คุณวสันต์จีนหลง เจ้าของวสันต์ฟาร์ม เปิดเผยว่า ทุกวันนี้ อุตสาหกรรมโคนมไทยกำาลังเผชิญกับวิกฤต น้ำานมดิบลดลง และหาก ไม่เร่งแก้ไข ในอนาคตอาจส่งผลกระทบรุนแรงยิ่งขึ้น เพราะน้ำานม ดิบขาดแคลนกระทบกับผู้ประกอบการแปรรูปน้ำานมดิบ เกิดปัญหา ผลิตภัณฑ์นมขาดตลาด จนผู้บริโภคอาจหันไปใช้ผลิตภัณฑ์อื่นหรือ นำาเข้าจากต่างประเทศมาทดแทน ผู้เลี้ยงโคนมไทยสูญเสียโอกาสและ รายได้ วิกฤตน้ำานมดิบขาดตลาดเกิดจาก เกษตรกรบางส่วนเลิกเลี้ยง โคนม หลังจากแบกรับภาระต้นทุนการผลิตสูงตามราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์และค่าการจัดการอื่นๆ ไม่ไหว รวมถึงโรคระบาดที่สร้าง ความเสียหายทั้ง โรคปากและเท้าเปื่อย และลัมปิสกิน สุดท้าย คือ วิกฤตโคนมไทย... ต้องทำ�อย่�งไร ? ให้อยู่รอด


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงทำาหลายพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการเลี้ยง โคนม หรือการปลูกพืชอาหารสัตว์ ส่งผลให้การเลี้ยงโคนมต้องปรับ รูปแบบ โดยเฉพาะพื้นที่มวกเหล็ก ปากช่อง ที่ราคาที่ดินสูงมาก ทำาให้ฟาร์มขยายหรือจัดหาแหล่งผลิตอาหารหยาบได้ยาก ข้อมูลปริมาณน้ำานมดิบจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา มีแนวโน้มลดลง โดยปี 2565 ผลิตน้ำานมดิบได้ 3,500 ตันต่อวัน ปี 2564 ผลิตได้ 3,400 ตันต่อวัน แต่ในปี 2565 ผลิต ได้เพียง 3,000 ตันต่อวัน หรือหายไปกว่า 400-500 ตันต่อวัน ส่งผลกระทบกับผู้ประกอบการอย่างรุนแรง ขณะที่ข้อมูลปริมาณโคนม จากกรมปศุสัตว์ พบว่า ประชากรโคนมและผู้เลี้ยงลดลง โดยบางส่วน ขายโคออกยกฟาร์ม โคบางส่วนมีฟาร์มอื่นมาซื้อไปเลี้ยง แต่บางส่วน ก็ถูกส่งเข้าโรงชำาแหละ ยิ่งหากเป็นโครุ่นโคสาวก็ยิ่งเสียโอกาส และ หากไม่แก้ไขจะกลายเป็นวิกฤตที่กระทบอุตสาหกรรมโคนมไทยอย่าง รุนแรงแน่นอน ซึ่งการแก้ไข ในระยะสั้นจำาเป็นต้องใช้ยาแรง คือ การปรับ ราคาน้ำานมดิบ จากนั้นต้องพิจารณานโยบายภาครัฐที่มาช่วยเหลือทั้ง ผู้เลี้ยงโคนม ผู้ประกอบการ ภาครัฐ และผู้บริโภค เพื่อให้ทุกภาค ส่วนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยราคาน้ำานมดิบจะปรับเท่าใดให้ เหมาะสม โดยข้อมูลต้นทุนการผลิตมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงโคนมต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ตามราคาอาหารข้นและอาหารหยาบที่ปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่สอดคล้องกับราคาน้ำานมดิบที่ขายได้ กระทั่ง เกษตรกรหลายราย แบกรับภาวะขาดทุนไม่ไหว จำาเป็นต้องเลิกอาชีพ ขายโคนมออกไป ส่งผลให้ปริมาณน้ำานมดิบลดลง กระทบกับผู้ประกอบการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ และอุตสาหกรรมโคนมไทยทั้งระบบ จึงจำาเป็นต้องมี มาตรการแก้ไขทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อรักษา อาชีพการเลี้ยงโคนมและอุตสาหกรรมนมไทยให้อยู่รอดได้อย่างยั่งยืน คุณวสันต์จีนหลง เจ้าของวสันต์ฟาร์ม เปิดเผยว่า ทุกวันนี้ อุตสาหกรรมโคนมไทยกำาลังเผชิญกับวิกฤต น้ำานมดิบลดลง และหาก ไม่เร่งแก้ไข ในอนาคตอาจส่งผลกระทบรุนแรงยิ่งขึ้น เพราะน้ำานม ดิบขาดแคลนกระทบกับผู้ประกอบการแปรรูปน้ำานมดิบ เกิดปัญหา ผลิตภัณฑ์นมขาดตลาด จนผู้บริโภคอาจหันไปใช้ผลิตภัณฑ์อื่นหรือ นำาเข้าจากต่างประเทศมาทดแทน ผู้เลี้ยงโคนมไทยสูญเสียโอกาสและ รายได้ วิกฤตน้ำานมดิบขาดตลาดเกิดจาก เกษตรกรบางส่วนเลิกเลี้ยง โคนม หลังจากแบกรับภาระต้นทุนการผลิตสูงตามราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์และค่าการจัดการอื่นๆ ไม่ไหว รวมถึงโรคระบาดที่สร้าง ความเสียหายทั้ง โรคปากและเท้าเปื่อย และลัมปิสกิน สุดท้าย คือ วิกฤตโคนมไทย... ต้องทำ�อย่�งไร ? ให้อยู่รอด สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปัจจุบันหรือไม่ เพราะเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ก็ปรับราคาน้ำานมดิบ กิโลกรัมละ 1.50 บาท ไปแล้ว แต่เกษตรกรก็ยังอยู่ไม่ได้จนต้องเลิก เลี้ยงอยู่ ดังนั้น จึงต้องหาวิธีการคำานวณต้นทุนการผลิตที่สะท้อน ความจริงมากที่สุด เพื่อให้ได้แนวทางการปรับราคาน้ำานมดิบที่ เหมาะสม โดยชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทยคาดว่า ควรปรับ กิโลกรัมละ 3 บาท แต่ก็ต้องพูดคุยกันว่า หากปรับแล้วจะกระทบ กับอุตสาหกรรมทั้งในระยะสั้น กลาง ยาวอย่างไร ด้านผู้ประกอบการ ทั้งผู้ผลิตนมพาณิชย์ หากปรับราคา 3 บาท ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อราคาขายกระทบกับผู้บริโภค ถือเป็นสิ่งที่ผู้เลี้ยงต้องทราบ เพราะสุดท้ายก็มีผลกระทบกลับมาถึง อยู่ดี ขณะที่ผู้ประกอบการนมโรงเรียน ซึ่งใช้น้ำานมดิบประมาณ 1 ใน 3 ของกำาลังการผลิต ได้งบประมาณปีละ 1.4 หมื่นล้านบาท ให้นักเรียนได้ดื่มนม 260 วัน เมื่อปรับราคาน้ำานมดิบงบประมาณ นมโรงเรียนก็ต้องเพิ่มตามทันที แต่จากการปรับราคานม 1.50 บาท ต่อกิโลกรัมในเดือนตุลาคมที่ผ่านมานั้น อนุญาตให้ปรับราคาจาก ต้นทุนน้ำานมดิบที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น และให้ปรับในเดือนมกราคม 66 แต่ ในทางปฏิบัติผู้ประกอบการเจรจาตกลงซื้อขายกับโรงเรือนเป็นเทอม ซึ่งปรับราคาระหว่างเทอมไม่ได้ ผู้ประกอบการจึงต้องแบกรับภาระ ต้นทุนการผลิตสูงต่อไป โดยราคากลางนมโรงเรียนอยู่ที่ถุง/กล่องละ 7 บาท เมื่อราคา นมดิบเพิ่มขึ้น 1.50 บาท คิดเป็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้น 31 สตางค์ ต่อ 1 บรรจุภัณฑ์ แต่ค่าจัดการอื่นๆ ทั้งค่าแรงงาน ไฟฟ้า บรรจุภัณฑ์ ทำาให้กลุ่มลูกค้านมโรงเรียนก็ได้เพียง 31 สตางค์ เท่านั้น สิ่งเหล่า นี้เป็นผลกระทบ ที่ต้องพูดคุยกันว่า เมื่อปรับราคานมดิบแล้วต้องไม่ ให้ส่วนใดส่วนหนึ่งต้องมาแบกรับภาระแต่เพียงผู้เดียว ต้องมาพูดคุย หาทางออกร่วมกันเมื่อใดจะดี สุดท้าย คือผู้บริโภค ที่นมดิบจะนำาไปแปรรูปเป็นนมพาณิชย์ ที่จำาหน่ายในห้างร้านต่างๆ อีกส่วนเป็นนมคืนรูปที่ใช้นมผงจาก ต่างประเทศ การปรับราคาก็ทำาให้ราคานมที่ใช้นมดิบเพิ่มขึ้น ซึ่งเกรง ว่าจะรับไม่ได้ ดังนั้น หากวัตถุดิบยังขาดแคลน ก็อาจทำาให้ผู้ประกอบ การอาจกลับไปใช้นมผงจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นได้ ถือเป็นวิกฤตที่ ต้องเร่งแก้ไข ด้วยการปรับราคาน้ำานมดิบจูงใจรักษาผู้เลี้ยงโคนมไว้ เพราะทุกวันนี้ก็หายไปกว่า 500 ตันต่อวัน และยิ่งรุนแรงขึ้นอีกหลัง เข้าสู่ฤดูร้อนที่ส่งผลกระทบให้ผลิตน้ำานมดิบโดยตรง ในฐานะผู้เลี้ยงโคนมใน “วสันฟาร์ม” ก็ปรับให้อยู่รอดด้วยการ พึ่งพาภายนอกให้น้อยที่สุด เพราะปัจจัยการเลี้ยงโคนมกว่า 70% คือ อาหารสัตว์ ซึ่งวันนี้ฟาร์มในประเทศกว่า 80% เปลี่ยนวิธีการเลี้ยง โคนมจากเดิมที่ใช้รถตัดหญ้าหรือปล่อยทุ่ง มาพึ่งพาปัจจัยภายนอก เกือบ 100% ทำาให้ควบคุมอะไรไม่ได้ ทั้งๆ ที่ อาหารหยาบคุณภาพ เกษตรกรยังพอจัดการเอง ขณะที่อาหารข้นก็ปรับตามราคาวัตถุดิบ แม้ควบคุมวัตถุดิบ แต่ไม่ได้คุมอาหารสัตว์สำาเร็จรูป ซึ่งที่ผ่านมาปรับ ขึ้นกว่า 30% แต่ราคาน้ำานมดิบไม่ได้ปรับขึ้นเลย จึงต้องกลับมาเลี้ยง โคนมแบบเดิม พึ่งพาภายนอกให้น้อยที่สุด ผลิตอาหารหยาบเอง หา แปลงหญ้า หรือเก็บสต็อกสินค้า ก็อยากเห็นเกษตรกรปรับมาพึ่งตัว เองมากขึ้น ซึ่งช่วงแรกอาจกระทบกับน้ำานมบ้าง แต่ไม่นานก็ปรับได้ โดยเฉพาะฟาร์มขนาดเล็กทำาได้ทันที เน้นการควบคุมโรคระบาด ทำา วัคซีน ฆ่าเชื้อเป็นระยะ ถ้าโรคไม่เกิดในฟาร์ม จัดหาอาหารสัตว์ได้ และมีรายได้เสริมจากมูลโค โคมีสุขภาพดี พักผ่อนได้ เชื่อว่า ต้นทุน จะลดลงและอยู่ได้ ด้าน ดร.ธนศาล คำาเรืองฤทธิ์บริษัท ทีเค แดรี่โกลด์จำากัด กล่าวว่า วิกฤตโคนมไทย ประกอบด้วย ผู้ประกอบการฟาร์มโคนม ลดลง จำานวนโครีดนมลดลง และน้ำานมดิบลดลง ซึ่งวิกฤตผู้ประกอบ การฟาร์มโคนมลดลง ที่ผ่านมาเกษตรกรมองว่า การเลี้ยงโคนม


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เป็นอาชีพที่ดีมั่นคงและยั่งยืน แต่วันนี้ผู้ประกอบการลดลง เมื่อฟาร์ม ลดลงการจ้างงานในฟาร์มก็ลดลงตามไปด้วย มีโอกาสทำาให้คน ว่างงานเพิ่มขึ้น กระทบกับรายได้ในครัวเรือนลดลง ส่วน จำานวนแม่โคลดลง ส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำานมดิบ ลดลง ซึ่งการสร้างแม่โคมารีดนมต้องใช้เวลา 2 ปี เมื่อแม่โคลดลง ก็ต้องใช้เวลาโครุ่นใหม่ในการเพิ่มจำานวน เพื่อเพิ่มกำาลังการผลิต น้ำานมดิบให้กลับมา ขณะที่ปริมาณน้ำานมดิบที่ลดลง ส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมโคนมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์นมลดลงตามปริมาณ วัตถุดิบ ในปีที่ผ่านมา 63-64 อาจเพียงพอ เพราะการบริโภคน้อย ไม่มีการท่องเที่ยว แต่ปี 65ที่ผ่านมา เริ่มเปิดประเทศ ความต้องการ เพิ่มขึ้นสวนทางกับปริมาณที่ลดลง ยิ่งปี 66 นี้เปิดประเทศรับ นักท่องเที่ยวต่างชาติยิ่งทำาให้ความต้องการสูงขึ้น ยิ่งไม่เพียงพอ กลายเป็นปริมาณน้ำานมไม่เพียงพอกับความต้องการบริโภค เกิด ปัญหานมขาดแคลน ดังนั้น จึงต้องปรับกลยุทธ์ เพื่ออยู่รอดโดยผู้ประกอบการฟาร์ม ที่ยังอยู่ในธุรกิจ ก็ต้องปรับด้วยการลดปริมาณการใช้อาหารโคที่มี ต้นทุนการผลิตสูงและหาแหล่งอาหารที่มีต้นทุนต่ำามาใช้ในฟาร์ม จึงต้องคัดเลือกสิ่งที่คุ้มทุน สิ่งใดแพงอาจต้องลดการใช้ลง เพื่อ ประคับประคองให้อยู่รอด คัดเลือกพันธุกรรมดีและเหมาะสมกับ การผลิต โดยต้องคัดสรรพันธุกรรมดีเข้ามาเลี้ยงเพิ่มขึ้น และการลด จำานวนโคที่ไม่ให้ผลผลิตออกจากฟาร์ม เพื่อเพิ่มจุดคุ้มทุน ลดต้นทุน การผลิต และอาจทำาให้มีรายได้เพิ่มจากการคัดโคออก จากนั้น ต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมให้เลี้ยงโค ในส่วนของแม่โครีด โคดรายท้อง โคสาวท้อง โคสาวผสม ซึ่งเป็นโคที่ควรเลี้ยงในวิกฤต ของผู้ประกอบการ โคสาว ผลิตโคสาวท้องขาย เป็นการเลี้ยงเพื่อรองรับความต้องการ ของฟาร์มโครีด โดยคำานวณหาผลตอบแทนที่เหมาะสม เป็นการสร้าง เครือข่ายการผลิตร่วมกันที่ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย รวมถึงเสริมทัพ เกษตรกรสมาชิก เพื่อร่วมกันซื้อโคนมจากเกษตรกรที่ต้องการขาย รักษาประชากรโคนมให้อยู่ในท้องถิ่นป้องกันการย้ายถิ่น หาก เคลื่อนย้ายโคจะกระทบสุขภาพ ดังนั้น จึงต้องร่วมมือกันป้องกัน การเคลื่อนย้าย เพราะคงไปห้ามคนที่ต้องการขายไม่ได้ แต่ช่วยซื้อ เพื่อรักษาการผลิตได้ จากนั้นต้องเพิ่มมูลค่า เริ่มจากสร้างรายได้จาก ปุ๋ยคอก ห่างช่องทางขาย วางแผนให้ดี อีกส่วนหนึ่งจับมือกับผู้ปลูก แปลงหญ้า แล้วนำามูลโคไปใส่ในแปลงหญ้า เป็นการอุดหนุนในพืช อาหารสัตว์ที่ผลิตได้ทั้งหมด วิกฤตโคนมครั้งนี้ ถือเป็นโอกาสเพิ่มโคนมในฟาร์ม และปริมาณ น้ำานมในฟาร์ม มีโอกาสหาพืชอาหารสัตว์ได้มากขึ้น และใช้ทรัพยากร จากฟาร์มที่เลิกเลี้ยง ทั้งเครื่องรีดนมและอุปกรณ์ผสม TMR ที่ซื้อ มาใช้ได้ เป็นการลดต้นทุนการจัดซื้อได้ สุดท้ายมีโอกาสร่วมกับ บุคลากรที่มีประสบการณ์ หากฟาร์มใดที่เลิกกิจการก็มีโอกาสนำา บุคลากรเหล่านั้นมาทำางานด้วย โดยไม่ต้องฝึกฝนเรียนรู้ใหม่ เป็นการ เพิ่มศักยภาพการผลิต จึงหวังว่า ผู้ประกอบการโคนมจะฝ่าวิกฤต โคนมนี้ไปได้ น.สพ.วีริศ วุฒิรณฤทธิ์ สำานักวิชาการอาหารสัตว์ เครือ เจริญโภคภัณฑ์เผยว่า จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และต้นทุนสูงขึ้น แต่ราคานมติดเพดาน ปรับขึ้นไม่ได้ เกษตรกรแบกรับภาวะขาดทุน ไม่ไหว จนต้องเลิกเลี้ยงไปจนปริมาณน้ำานมดิบลดลง และโคนม ลดลงกว่า 30% กระทบกับอุตสาหกรรมนม จากวิกฤตนี้ จึงอยาก ยกตัวอย่าง ฟาร์มที่ได้น้ำานมดิบเฉลี่ย 20 กิโลกรัมต่อตัวต่อวัน ว่า จัดการอย่างไร เพราะการอยู่ในอาชีพการเลี้ยงโคนมต่อไป จำาเป็น ต้องเพิ่มกำาลังการผลิตให้คุ้มค่ากับการลงทุน เพื่อให้ได้ต้นทุนต่ำาที่สุด เช่นเดียวกับต่างประเทศ แม้เป็นรายย่อยก็ต้องเพิ่มจำานวนโคในฟาร์ม จนคุ้มค่ากับการลงทุน อีกส่วนก็ต้องเพิ่มน้ำานมดิบในฟาร์ม การจัดการโคนมเพื่อให้ได้น้ำานมดิบสูง เกี่ยวข้องกับปัจจัย ทั้ง น้ำา อาหาร อากาศ การพัก พื้นที่ และแสง เริ่มจาก “น้ำา” เพราะโคผลิตน้ำานมดิบ 1 กิโลกรัม ต้องกินน้ำา 4 ลิตร ซึ่งในพื้นที่ จากนั้นต้องปรับกลยุทธ์ในการเพิ่มปริมาณน้ำานม ด้วยจำานวน โคเท่าเดิมก็เป็นการลดต้นทุนการผลิต ซึ่งต้องอาศัยความช่วยเหลือ ในการเลี้ยงโคนม เช่น นาหญ้าแพงโกล่า หรือเนเปียร์ปากช่อง ที่ เข้าช่วยเสริมศักยภาพการเลี้ยงโคนม อีกส่วนคือ กลุ่มผู้ปลูกข้าวโพด ที่ราคาแพงขึ้น แต่ต้องหา กลุ่มที่ปลูกเพื่อผู้เลี้ยงโคนมให้เจอ ส่วน เปลือกข้าวโพดไม่ว่าจะเป็นเปลือกแห้งหรือสด จากโรงงงานแปรรูป อุตสาหกรรมก็จะช่วยลดต้นทุนได้อาหารสัตว์เข้ามาช่วยบริหารจัดการ ต่อมาการเพิ่มปริมาณโคสาวทดแทน โดยให้เกษตรกรบางส่วนเลี้ยง


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เป็นอาชีพที่ดีมั่นคงและยั่งยืน แต่วันนี้ผู้ประกอบการลดลง เมื่อฟาร์ม ลดลงการจ้างงานในฟาร์มก็ลดลงตามไปด้วย มีโอกาสทำาให้คน ว่างงานเพิ่มขึ้น กระทบกับรายได้ในครัวเรือนลดลง ส่วน จำานวนแม่โคลดลง ส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำานมดิบ ลดลง ซึ่งการสร้างแม่โคมารีดนมต้องใช้เวลา 2 ปี เมื่อแม่โคลดลง ก็ต้องใช้เวลาโครุ่นใหม่ในการเพิ่มจำานวน เพื่อเพิ่มกำาลังการผลิต น้ำานมดิบให้กลับมา ขณะที่ปริมาณน้ำานมดิบที่ลดลง ส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมโคนมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์นมลดลงตามปริมาณ วัตถุดิบ ในปีที่ผ่านมา 63-64 อาจเพียงพอ เพราะการบริโภคน้อย ไม่มีการท่องเที่ยว แต่ปี 65ที่ผ่านมา เริ่มเปิดประเทศ ความต้องการ เพิ่มขึ้นสวนทางกับปริมาณที่ลดลง ยิ่งปี 66 นี้เปิดประเทศรับ นักท่องเที่ยวต่างชาติยิ่งทำาให้ความต้องการสูงขึ้น ยิ่งไม่เพียงพอ กลายเป็นปริมาณน้ำานมไม่เพียงพอกับความต้องการบริโภค เกิด ปัญหานมขาดแคลน ดังนั้น จึงต้องปรับกลยุทธ์ เพื่ออยู่รอดโดยผู้ประกอบการฟาร์ม ที่ยังอยู่ในธุรกิจ ก็ต้องปรับด้วยการลดปริมาณการใช้อาหารโคที่มี ต้นทุนการผลิตสูงและหาแหล่งอาหารที่มีต้นทุนต่ำามาใช้ในฟาร์ม จึงต้องคัดเลือกสิ่งที่คุ้มทุน สิ่งใดแพงอาจต้องลดการใช้ลง เพื่อ ประคับประคองให้อยู่รอด คัดเลือกพันธุกรรมดีและเหมาะสมกับ การผลิต โดยต้องคัดสรรพันธุกรรมดีเข้ามาเลี้ยงเพิ่มขึ้น และการลด จำานวนโคที่ไม่ให้ผลผลิตออกจากฟาร์ม เพื่อเพิ่มจุดคุ้มทุน ลดต้นทุน การผลิต และอาจทำาให้มีรายได้เพิ่มจากการคัดโคออก จากนั้น ต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมให้เลี้ยงโค ในส่วนของแม่โครีด โคดรายท้อง โคสาวท้อง โคสาวผสม ซึ่งเป็นโคที่ควรเลี้ยงในวิกฤต ของผู้ประกอบการ โคสาว ผลิตโคสาวท้องขาย เป็นการเลี้ยงเพื่อรองรับความต้องการ ของฟาร์มโครีด โดยคำานวณหาผลตอบแทนที่เหมาะสม เป็นการสร้าง เครือข่ายการผลิตร่วมกันที่ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย รวมถึงเสริมทัพ เกษตรกรสมาชิก เพื่อร่วมกันซื้อโคนมจากเกษตรกรที่ต้องการขาย รักษาประชากรโคนมให้อยู่ในท้องถิ่นป้องกันการย้ายถิ่น หาก เคลื่อนย้ายโคจะกระทบสุขภาพ ดังนั้น จึงต้องร่วมมือกันป้องกัน การเคลื่อนย้าย เพราะคงไปห้ามคนที่ต้องการขายไม่ได้ แต่ช่วยซื้อ เพื่อรักษาการผลิตได้ จากนั้นต้องเพิ่มมูลค่า เริ่มจากสร้างรายได้จาก ปุ๋ยคอก ห่างช่องทางขาย วางแผนให้ดี อีกส่วนหนึ่งจับมือกับผู้ปลูก แปลงหญ้า แล้วนำามูลโคไปใส่ในแปลงหญ้า เป็นการอุดหนุนในพืช อาหารสัตว์ที่ผลิตได้ทั้งหมด วิกฤตโคนมครั้งนี้ ถือเป็นโอกาสเพิ่มโคนมในฟาร์ม และปริมาณ น้ำานมในฟาร์ม มีโอกาสหาพืชอาหารสัตว์ได้มากขึ้น และใช้ทรัพยากร จากฟาร์มที่เลิกเลี้ยง ทั้งเครื่องรีดนมและอุปกรณ์ผสม TMR ที่ซื้อ มาใช้ได้ เป็นการลดต้นทุนการจัดซื้อได้ สุดท้ายมีโอกาสร่วมกับ บุคลากรที่มีประสบการณ์ หากฟาร์มใดที่เลิกกิจการก็มีโอกาสนำา บุคลากรเหล่านั้นมาทำางานด้วย โดยไม่ต้องฝึกฝนเรียนรู้ใหม่ เป็นการ เพิ่มศักยภาพการผลิต จึงหวังว่า ผู้ประกอบการโคนมจะฝ่าวิกฤต โคนมนี้ไปได้ น.สพ.วีริศ วุฒิรณฤทธิ์ สำานักวิชาการอาหารสัตว์ เครือ เจริญโภคภัณฑ์เผยว่า จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และต้นทุนสูงขึ้น แต่ราคานมติดเพดาน ปรับขึ้นไม่ได้ เกษตรกรแบกรับภาวะขาดทุน ไม่ไหว จนต้องเลิกเลี้ยงไปจนปริมาณน้ำานมดิบลดลง และโคนม ลดลงกว่า 30% กระทบกับอุตสาหกรรมนม จากวิกฤตนี้ จึงอยาก ยกตัวอย่าง ฟาร์มที่ได้น้ำานมดิบเฉลี่ย 20 กิโลกรัมต่อตัวต่อวัน ว่า จัดการอย่างไร เพราะการอยู่ในอาชีพการเลี้ยงโคนมต่อไป จำาเป็น ต้องเพิ่มกำาลังการผลิตให้คุ้มค่ากับการลงทุน เพื่อให้ได้ต้นทุนต่ำาที่สุด เช่นเดียวกับต่างประเทศ แม้เป็นรายย่อยก็ต้องเพิ่มจำานวนโคในฟาร์ม จนคุ้มค่ากับการลงทุน อีกส่วนก็ต้องเพิ่มน้ำานมดิบในฟาร์ม การจัดการโคนมเพื่อให้ได้น้ำานมดิบสูง เกี่ยวข้องกับปัจจัย ทั้ง น้ำา อาหาร อากาศ การพัก พื้นที่ และแสง เริ่มจาก “น้ำา” เพราะโคผลิตน้ำานมดิบ 1 กิโลกรัม ต้องกินน้ำา 4 ลิตร ซึ่งในพื้นที่ จากนั้นต้องปรับกลยุทธ์ในการเพิ่มปริมาณน้ำานม ด้วยจำานวน โคเท่าเดิมก็เป็นการลดต้นทุนการผลิต ซึ่งต้องอาศัยความช่วยเหลือ ในการเลี้ยงโคนม เช่น นาหญ้าแพงโกล่า หรือเนเปียร์ปากช่อง ที่ เข้าช่วยเสริมศักยภาพการเลี้ยงโคนม อีกส่วนคือ กลุ่มผู้ปลูกข้าวโพด ที่ราคาแพงขึ้น แต่ต้องหา กลุ่มที่ปลูกเพื่อผู้เลี้ยงโคนมให้เจอ ส่วน เปลือกข้าวโพดไม่ว่าจะเป็นเปลือกแห้งหรือสด จากโรงงงานแปรรูป อุตสาหกรรมก็จะช่วยลดต้นทุนได้อาหารสัตว์เข้ามาช่วยบริหารจัดการ ต่อมาการเพิ่มปริมาณโคสาวทดแทน โดยให้เกษตรกรบางส่วนเลี้ยง สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ อีแวป หรือการระเหยน้ำาที่ตัวโค ที่ทำาให้โคตัวเย็นด้วยตัวเอง เป็นวิธี ที่จำาเป็นต้องใช้ในการเลี้ยงโคนมในเขตร้อนชื้น ทั้งโรงเรือนปิดหรือ เปิดก็ต้องใช้ทั้งหมด และที่ผ่านมา อาจมองข้ามความเร็วลมที่เป่าให้ โคไป เพราะจากการตามความเร็วลมที่เป่าเวลานอนที่เวียดนาม พบว่า ต้องการความเร็วลมอย่างน้อย 2 เมตรต่อวินาที หรือ 400 ฟุตต่อนาที เป็นสิ่งสำาคัญเพราะความเร็วลมทำาให้โคมีความรู้สึกเย็น ขึ้น ก็ส่งผลในการลดความเครียดจากความร้อนได้ ซึ่งหากปรับ ความเร็วลมให้โคได้ตามเกณฑ์จะเห็นโคนอนมากกว่า 95% ก็ทำาให้ น้ำานมดีตามไปด้วย ส่วนโปรแกรมแสง กับการเลี้ยงโคนมในไทยอาจไม่ได้ให้ความ สำาคัญมากนัก แต่ในต่างประเทศเป็นสิ่งที่ให้ความสำาคัญ เช่นเดียว กับการเลี้ยงไก่ที่ให้แสงเร่งการเติบโต ซึ่งในโคนมการใช้โปรแกรมแสง ก็จะช่วยให้โคกินอาหารดีขึ้น โดยโครีดนมต้องได้แสง 200 lux 16 ชั่วโมง คือ ระดับที่มองเห็นชัดเจน เป็นการกระตุ้นการกินอาหาร และ 50 lux 8 ชั่วโมง ส่วนโคดรายไม่ได้รีดนมก็จะสลับโปรแกรม แสง 200 lux 8 ชั่วโมงและ 50 lux 16 ชั่วโมง ก็จะทำาให้การกิน อาหารดีขึ้น และสุดท้าย คือ พื้นที่พักของโค มีเป้าหมายเพื่อให้อยู่ สบาย หากไม่ได้เลี้ยงแบบซองนอน แต่เลี้ยงแบบปล่อย 10-20 ตร.ม.ต่อตัว โคเดินไปกินอาหารและน้ำาได้สะดวกและใกล้ ส่วนพื้น ควรปูยาง เพื่อลดการเจ็บของขา การจัดการทั้ง 6 ส่วน จะมี 3 ส่วนเกี่ยวกับตัวโค คือ น้ำา อาหาร ที่พัก และอีก 3 ส่วน ก็เป็นสภาพแวดล้อม อากาศ แสง และพื้นที่ จึงต้องพยายามปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้โค ได้กินน้ำาอย่างเพียงพอ กินอาหารได้ตามเกณฑ์ 18 กิโลน้ำาหนักแห้ง และการระบายอากาศเป็นสิ่งจำาเป็นมากในการเลี้ยงโคนมในเขตร้อน ซึ่งหลายฟาร์มติดตั้งพัดลมแล้ว แต่เพื่อให้เกิดผลสูงสุดการติดพัดลม 1 ตัว ต่อโค 8 ตัว จะช่วยให้โคนอนได้ดีขึ้น น้ำานมก็ดีตามไปด้วย ซึ่งเป็นแนวคิดที่ประยุกต์จากการเลี้ยงโคนมในต่างประเทศที่ทุกฟาร์ม ได้นม 20 ลิตร ก็จัดการตามนี้ได้ทั้งหมด คุณนที โดดสูงเนิน เจ้าของอำาพันฟาร์ม ประธานเครือข่าย ยุวเกษตรกรโคนมแห่งประเทศไทย เผยว่า วิกฤตโคนมที่เกิดขึ้นถือ เป็นวิกฤตทั้ง 2 ฝ่าย เนื่องจากเกษตรกรอยู่ไม่ได้เพราะต้นทุนวัตถุดิบ อาหารสัตว์ และต้นทุนแปรผัน ค่าน้ำา ค่าไฟ ค่าเชื้อเพลิง ค่าแรง งานต่างปรับขึ้นทั้งหมด ผู้เลี้ยงโคนมจึงต้องปรับตัวในหลายด้าน เริ่มจากการปรับเปลี่ยนด้านการจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐานและเป็น สากล และ ปัจจุบันใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเก็บข้อมูลโคทุกตัว เพื่อ ดูว่า มีพฤติกรรมอย่างไร มีอาการเป็นสัดหรือไม่ โคป่วยหรือไม่ กลายเป็นว่า ฟาร์มมีบัตรประจำาตัวของโคทุกตัว และที่สำาคัญจาก ความรู้ด้านการเลี้ยงโคนมเดิมแนะนำาให้สัดส่วนโคที่ให้ผลผลิตกับ ไม่ให้ผลผลิตอย่างละครึ่ง แต่วันนี้ฟาร์มปรับสัดส่วนเป็น 70 ต่อ 30 ยังเหนื่อย เพราะต้นทุนการผลิตสูงมาก พร้อมกันนี้ ยังปรับระบบการให้อาหารมาเป็นแบบ TMR ซึ่ง เป็นการลงทุนไว้สำาหรับอนาคตรองรับการใช้ระบบ automatic ร้อนชื้นอาจต้องการมากกว่านั้น จึงต้องจัดการให้โคได้รับน้ำาอย่าง เต็มที่ นอกจากนั้นก็ต้องจัดการพื้นที่ให้โคได้กินพร้อมกัน หรือบาง ฟาร์มที่ใช้ TMR ให้อาหารวันละ 2-3 ครั้ง แต่การเพิ่มผลผลิตน้ำานม จำาเป็นต้องให้อาหารให้ถี่ขึ้น หรือให้อาหารไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง ดังนั้น จากคำาแนะนำาให้โคกินอาหารได้ 18 กิโลน้ำาหนักแห้ง จำาเป็นต้อง วางแผนจัดการให้อาหารเพื่อให้โคกินได้ตามที่ต้องการด้วย ส่วนอาหารหยาบคุณภาพดี เชื่อมั่น ข้าวโพดหมัก ซึ่งเป็น สิ่งที่ผู้เลี้ยงโคนมนิยมทั่วโลก ถือเป็นอาหารที่มีคุณภาพมีเยื่อใยและ พลังงานสูง ใข้ง่ายในการนำามาทำา TMR แต่เกษตรกรไทยขาดการ สต็อกอาหารหยาบ มักใช้อาหารหยาบตามฤดูกาลหรือช่วงเวลา ซึ่ง ไม่ใช่ถูกต้อง จึงต้องพยายามรักษาสูตรอาหารให้คงที่ ยกตัวอย่าง ในต่างประเทศที่ต้องการใช้ข้าวโพดหมักปีละ 2.4 หมื่นตัน ก็ต้อง วางแผนผลิตให้มีใช้ได้ตลอดทั้งปี เช่นเดียวกันหากฟาร์มมีความ ต้องการใช้เท่าใดก็ต้องวางแผนให้ได้ เพราะเป็นแนวทางที่ช่วยลด ต้นทุนการผลิตได้ อีกส่วนสำาคัญ ที่ต้องให้ความสำาคัญ คือ การพักผ่อนของโค เมื่อโคนอนเลือดจะไหลไปเลี้ยงเต้านมเพิ่มขึ้น 30% จากการศึกษา พบว่า เลือดที่ไหลผ่านเต้านม 9 ลิตร จะสร้างน้ำานมได้ 1 ลิตร ดังนั้น การจัดการให้โคมีเวลาได้พักผ่อนจะทำาให้น้ำานมเพิ่มขึ้น ใน ต่างประเทศเป็นสูตรสำาเร็จที่ต้องทำาให้โคนอน 14 ชั่วโมงต่อตัว ต่อวัน โดยการจัดสรรเวลาเลี้ยงโคนม แบ่งเป็นเวลาโคพักผ่อน (นอน) 14 ชั่วโมง จึงต้องหาวิธีการทำาให้โคนอน และการที่โคนอนเคี้ยวเอื้อง ก็ยังช่วยลดปัญหาเต้านมอักเสบได้ และฟาร์มขนาดใหญ่ 100 แม่ รีดขึ้นไป ไม่ควรใช้เวลาเกิน 3 ชั่วโมง เพื่อให้โคอยู่ในโรงเรือนให้ได้ มากที่สุด เพื่อกินและนอนอย่างเต็มที่ โดยในฤดูหนาวนมใน ประเทศไทยเพิ่มขึ้น เนื่องจากอากาศเย็น โคนอนพื้นนานขึ้น แต่การ เลี้ยงโคนมไทยการนอน 14 ชั่วโมงเป็นไปได้ยาก เพราะไม่มีที่แห้ง และสะอาดพอให้นอนได้อย่างมีความสุข ในเขตร้อนชื้นการระบายอากาศ ถือ เป็นสิ่งสำาคัญมาก ซึ่ง เทียบกับเวียดนามมีปัญหา Heat stress น้อยกว่าไทย เพราะอากาศ เย็นกว่า ในกัมพูชาร้อนพอกับไทย แต่ก็มีฟาร์มที่ทำาได้ 25 กิโลกรัม ต่อตัวต่อวัน ด้วยการจัดการระบายอากาศ ในการเลี้ยงในโรงเรือน


38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE feeding ได้อย่างเต็มระบบ ถ้าภาครัฐเข้ามาสนับสนุนใส่ใจจริงจัง เชื่อว่า โคนมจะลดต้นทุนได้แน่นอน และในอนาคตหากค่าแรงแพง ขึ้น การลงทุนเครื่องจักรก็เป็นสิ่งจำาเป็น และต้องได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐด้วย ส่วนการคำานวณสูตรอาหาร TMR ไม่ให้หัวใจของ ความสำาเร็จ แต่สูตรอาหารที่ทำาโคนมประสบความสำาเร็จ เพราะต่อ ให้มีการผลิตอาหารที่ดี แต่สูตรอาหารไม่ได้ การกินได้ก็ไม่ตรงกับ ความต้องการ แต่ต้องทราบว่า โคต้องการโปรตีนเท่าใด มีสารอาหาร อย่างไร ถือเป็นการทำาฟาร์มแบบแม่นยำาที่แท้จริง ระบบการจัดการของเสียทุกฟาร์มต้องเป็น zero waste โดย นำามูลโคเข้าระบบไบโอแก๊ส ก่อนสูบไปแยกน้ำาและเนื้อออกจากกัน ส่วนของแข็งตากขายเป็นปุ๋ยมูลโค ส่วนน้ำาเข้าระบบไบโอแก๊ส ผลิต พลังงานใช้ทดแทนในฟาร์ม และหากใช้มากกว่านั้นก็นำามาปั่นไฟฟ้า ลดต้นทุนค่าพลังงานได้ ระบบการรีดนม ต้องทำาให้ประสิทธิภาพและ สุขลักษณะ ด้วยการรีดด้วยระบบไปไลน์ โดยที่นมไม่สัมผัสกับอากาศ จนถึงถังเก็บความเย็นก่อนนำาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ แม้ต้องลงทุน สูงแต่ใช้การเพิ่มมูลค่าให้กับน้ำานมดิบด้วยการแปรรูปเป็นนมพร้อม ดื่ม โยเกิร์ต สบู่ เพื่อให้รองรับต้นทุนได้ รัฐบาลและเอกชน ต้องรณรงค์ในการสร้างความตระหนักรู้ให้ กับประชาชนเพิ่มขึ้น วันนี้ข้อมูลพบว่า บริโภคนมน้ำาประมาณ 18 ลิตรต่อคนต่อปี ถือว่า น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของโลก จึงต้องให้ความรู้ ว่าการดื่มนมสดแท้ได้ประโยชน์ และดีกว่าการบริโภคนมผงอย่างไร สร้างความหลากหลายในผลิตภัณฑ์มากขึ้น เพราะหากผลิตเฉพาะ นมพร้อมดื่ม รสชาติพื้นฐานเพียงอย่างเดียว ตลาดก็ขยายได้ยาก แต่ต้องมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภค เช่น ในไต้หวันที่คนดื่มนมมากขึ้นผ่านชาไข่มุกที่ใช้นมสด 100% ทำาให้ น้ำานมดิบขายถึงกิโลกรัมละ 33 บาท ถือเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า ทำาอย่างไรให้ผู้บริโภคยอมจ่ายในราคาที่คุ้มค่ามากขึ้น การลงทุนของภาครัฐที่ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องในการเข้ามาช่วยทั้ง เงินกู้ หรืออุดหนุน โดยแผนพัฒนาประเทศในแต่ละควรมีส่วน อุตสาหกรรมโคนมว่า จะพัฒนาไปในทิศทางใดอย่างไร เพราะโคนม ของไต้หวันที่หากฟาร์มต้องการพัฒนานำาเทคโนโลยีมาใช้ก็พร้อม อุดหนุน 30-50% ทันที ถือเป็นส่วนสำาคัญในการตัดสินใจลงทุน นอกจากนั้นไทยยังขาดการลงทุนในภาคเกษตรกรรมอย่างเต็มที่ ทั้ง พืชและสัตว์ ทั้งๆ ที่ ไทยมีแสงแดดมากกว่าประเทศอื่นๆ ยกตัวอย่าง ซาอุฯ ที่ลงทุนในอุตสาหกรรมเกษตร เพราะมีแดด จึงต้องหันมา ใส่ใจมากขึ้น เพราะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทยปลูกได้น้อยกว่าอเมริกา 3-4 เท่า การปรับปรุงพันธุ์พืชอาหารสัตว์ให้ผลผลิตมากขึ้นทำาอย่างไร การใช้พืชGMOs ที่ไทยไม่อนุญาต ก็ต้องหาทางอื่น เพราะไทยอาจ นำาเข้าของมีGMOsมาเลี้ยงสัตว์ ซึ่งต้องให้ความสำาคัญ เพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลง วันนี้เกษตรกรต้องปรับและทบทวนด้านเกษตรพันธสัญญา ที่ โคนมอาจต้องมองว่า เป็นทางออกของโคนมหรือไม่ เป็นการทำาข้อ ตกลง ไม่มีราคากลาง แต่เป็นราคาระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายโดยตรง มีความเป็นไปได้หรือไม่ ปริมาณการเลี้ยงที่คุ้มค่ากับการลงทุน เพื่อ ให้เกษตรกรได้เจรจาซื้อขายโดยตรงกับผู้ประกอบการได้ โดยไม่ต้อง มีราคากลาง ที่วันนี้เป็นอุปสรรคหรือไม่ ต้องพัฒนาจนไม่มีราคากลาง แต่ขายตามคุณภาพและความต้องการ เหมือนกับเวียดนาม หรือ ประเทศอื่นๆ ดีกว่าหรือไม่ เกษตรกรรับได้มากน้อยอย่างไร ก็ต้อง ทบทวนอย่างเป็นรูปธรรม และวันนี้ทางเครือข่ายก็เก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต ซึ่งไม่ สอดคล้องกลับต้นทุนที่สศก.คำานวณ ดังนั้น วันนี้จำาเป็นต้องใช้ยาแรง ได้แล้ว เพราะคำานวณจากฟาร์มที่มีนมดิบ 12 กิโลต่อตัวต่อวัน ต้นทุนการผลิตใกล้เคียงกัน การเพิ่มราคาเป็นสิ่งที่ต้องคำานวณ จาก ราคาอาหารที่ขึ้นไป 30% ในเดือนตุลาคมที่ผ่านมา มีการปรับราคา นมไปแล้ว 1 ครั้ง ได้มาที่ 1.50 บาท ซึ่งไม่ได้เป็นการช่วยแต่ทำาให้ เกษตรกรเลิกเลี้ยงมากขึ้น เพราะราคาน้ำานมดิบเพิ่มขึ้นเพียง 8.5% ซึ่งไม่สอดคล้องกับต้นทุนอาหารสัตว์เลย ไม่รวมกับต้นทุนอื่นๆ ดังนั้น การปรับราคาควรเป็นเท่าใด จากการคำานวณต้องเพิ่ม 4.10 บาท คิดจากราคาน้ำานมดิบ 19 บาท เพื่อให้เกษตรกรได้ฝ่าวิกฤต การเลี้ยงโคนมไปได้ นายวิวัฒน์ไชยชะอุ่ม ผู้อำานวยการกองส่งเสริมและพัฒนาการ ปศุสัตว์เปิดเผยว่า จากข้อมูลของกรมปศุสัตว์ มีเกษตรกรเลี้ยงโคนม 2 หมื่นกว่าฟาร์ม และมีโคนม 8 แสนกว่าตัว ได้จากข้อมูลที่เปิด รับลงทะเบียนตั้งแต่มีโคนม 1 ตัว ทั้งตัวผู้ตัวเมียได้ทั้งหมด จาก โครงสร้างของฝูงโคนมทั้งประเทศ มีโคตัวผู้เกือบ 7% มีโครีดนมใน ระบบ 44% ที่เหลือเป็นโคต้องดูแล 56% ที่เหลือ แต่ต้นทุนที่ สศก. คำานวณเป็นต้นทุนเฉพาะโครีดนมเท่านั้น ซึ่งต่างจากเกษตรกรที่มอง ต้นทุนฟาร์มทั้งฟาร์ม ดังนั้น จึงต้องตัดสินใจว่า จะปรับโครงสร้าง ฝูงโคในฟาร์มอย่างไร ให้มีรายได้คุ้มค่ากับการลงทุน ขณะที่ฟาร์ม โคนม 2 หมื่นกว่าฟาร์ม แบ่ง มีฟาร์มขนาดย่อย (มีโคไม่เกิน 20 ตัว) มี 36% แต่มีโคในมือ 12% เท่านั้น หรือมีน้ำานมเพียง 12% สัดส่วนใหญ่จะอยู่ที่ฟาร์มขนาดเล็ก 21-100 ตัว มี 61% แต่มีโค


38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE feeding ได้อย่างเต็มระบบ ถ้าภาครัฐเข้ามาสนับสนุนใส่ใจจริงจัง เชื่อว่า โคนมจะลดต้นทุนได้แน่นอน และในอนาคตหากค่าแรงแพง ขึ้น การลงทุนเครื่องจักรก็เป็นสิ่งจำาเป็น และต้องได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐด้วย ส่วนการคำานวณสูตรอาหาร TMR ไม่ให้หัวใจของ ความสำาเร็จ แต่สูตรอาหารที่ทำาโคนมประสบความสำาเร็จ เพราะต่อ ให้มีการผลิตอาหารที่ดี แต่สูตรอาหารไม่ได้ การกินได้ก็ไม่ตรงกับ ความต้องการ แต่ต้องทราบว่า โคต้องการโปรตีนเท่าใด มีสารอาหาร อย่างไร ถือเป็นการทำาฟาร์มแบบแม่นยำาที่แท้จริง ระบบการจัดการของเสียทุกฟาร์มต้องเป็น zero waste โดย นำามูลโคเข้าระบบไบโอแก๊ส ก่อนสูบไปแยกน้ำาและเนื้อออกจากกัน ส่วนของแข็งตากขายเป็นปุ๋ยมูลโค ส่วนน้ำาเข้าระบบไบโอแก๊ส ผลิต พลังงานใช้ทดแทนในฟาร์ม และหากใช้มากกว่านั้นก็นำามาปั่นไฟฟ้า ลดต้นทุนค่าพลังงานได้ ระบบการรีดนม ต้องทำาให้ประสิทธิภาพและ สุขลักษณะ ด้วยการรีดด้วยระบบไปไลน์ โดยที่นมไม่สัมผัสกับอากาศ จนถึงถังเก็บความเย็นก่อนนำาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ แม้ต้องลงทุน สูงแต่ใช้การเพิ่มมูลค่าให้กับน้ำานมดิบด้วยการแปรรูปเป็นนมพร้อม ดื่ม โยเกิร์ต สบู่ เพื่อให้รองรับต้นทุนได้ รัฐบาลและเอกชน ต้องรณรงค์ในการสร้างความตระหนักรู้ให้ กับประชาชนเพิ่มขึ้น วันนี้ข้อมูลพบว่า บริโภคนมน้ำาประมาณ 18 ลิตรต่อคนต่อปี ถือว่า น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของโลก จึงต้องให้ความรู้ ว่าการดื่มนมสดแท้ได้ประโยชน์ และดีกว่าการบริโภคนมผงอย่างไร สร้างความหลากหลายในผลิตภัณฑ์มากขึ้น เพราะหากผลิตเฉพาะ นมพร้อมดื่ม รสชาติพื้นฐานเพียงอย่างเดียว ตลาดก็ขยายได้ยาก แต่ต้องมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภค เช่น ในไต้หวันที่คนดื่มนมมากขึ้นผ่านชาไข่มุกที่ใช้นมสด 100% ทำาให้ น้ำานมดิบขายถึงกิโลกรัมละ 33 บาท ถือเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า ทำาอย่างไรให้ผู้บริโภคยอมจ่ายในราคาที่คุ้มค่ามากขึ้น การลงทุนของภาครัฐที่ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องในการเข้ามาช่วยทั้ง เงินกู้ หรืออุดหนุน โดยแผนพัฒนาประเทศในแต่ละควรมีส่วน อุตสาหกรรมโคนมว่า จะพัฒนาไปในทิศทางใดอย่างไร เพราะโคนม ของไต้หวันที่หากฟาร์มต้องการพัฒนานำาเทคโนโลยีมาใช้ก็พร้อม อุดหนุน 30-50% ทันที ถือเป็นส่วนสำาคัญในการตัดสินใจลงทุน นอกจากนั้นไทยยังขาดการลงทุนในภาคเกษตรกรรมอย่างเต็มที่ ทั้ง พืชและสัตว์ ทั้งๆ ที่ ไทยมีแสงแดดมากกว่าประเทศอื่นๆ ยกตัวอย่าง ซาอุฯ ที่ลงทุนในอุตสาหกรรมเกษตร เพราะมีแดด จึงต้องหันมา ใส่ใจมากขึ้น เพราะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทยปลูกได้น้อยกว่าอเมริกา 3-4 เท่า การปรับปรุงพันธุ์พืชอาหารสัตว์ให้ผลผลิตมากขึ้นทำาอย่างไร การใช้พืชGMOs ที่ไทยไม่อนุญาต ก็ต้องหาทางอื่น เพราะไทยอาจ นำาเข้าของมีGMOsมาเลี้ยงสัตว์ ซึ่งต้องให้ความสำาคัญ เพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลง วันนี้เกษตรกรต้องปรับและทบทวนด้านเกษตรพันธสัญญา ที่ โคนมอาจต้องมองว่า เป็นทางออกของโคนมหรือไม่ เป็นการทำาข้อ ตกลง ไม่มีราคากลาง แต่เป็นราคาระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายโดยตรง มีความเป็นไปได้หรือไม่ ปริมาณการเลี้ยงที่คุ้มค่ากับการลงทุน เพื่อ ให้เกษตรกรได้เจรจาซื้อขายโดยตรงกับผู้ประกอบการได้ โดยไม่ต้อง มีราคากลาง ที่วันนี้เป็นอุปสรรคหรือไม่ ต้องพัฒนาจนไม่มีราคากลาง แต่ขายตามคุณภาพและความต้องการ เหมือนกับเวียดนาม หรือ ประเทศอื่นๆ ดีกว่าหรือไม่ เกษตรกรรับได้มากน้อยอย่างไร ก็ต้อง ทบทวนอย่างเป็นรูปธรรม และวันนี้ทางเครือข่ายก็เก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต ซึ่งไม่ สอดคล้องกลับต้นทุนที่สศก.คำานวณ ดังนั้น วันนี้จำาเป็นต้องใช้ยาแรง ได้แล้ว เพราะคำานวณจากฟาร์มที่มีนมดิบ 12 กิโลต่อตัวต่อวัน ต้นทุนการผลิตใกล้เคียงกัน การเพิ่มราคาเป็นสิ่งที่ต้องคำานวณ จาก ราคาอาหารที่ขึ้นไป 30% ในเดือนตุลาคมที่ผ่านมา มีการปรับราคา นมไปแล้ว 1 ครั้ง ได้มาที่ 1.50 บาท ซึ่งไม่ได้เป็นการช่วยแต่ทำาให้ เกษตรกรเลิกเลี้ยงมากขึ้น เพราะราคาน้ำานมดิบเพิ่มขึ้นเพียง 8.5% ซึ่งไม่สอดคล้องกับต้นทุนอาหารสัตว์เลย ไม่รวมกับต้นทุนอื่นๆ ดังนั้น การปรับราคาควรเป็นเท่าใด จากการคำานวณต้องเพิ่ม 4.10 บาท คิดจากราคาน้ำานมดิบ 19 บาท เพื่อให้เกษตรกรได้ฝ่าวิกฤต การเลี้ยงโคนมไปได้ นายวิวัฒน์ไชยชะอุ่ม ผู้อำานวยการกองส่งเสริมและพัฒนาการ ปศุสัตว์เปิดเผยว่า จากข้อมูลของกรมปศุสัตว์ มีเกษตรกรเลี้ยงโคนม 2 หมื่นกว่าฟาร์ม และมีโคนม 8 แสนกว่าตัว ได้จากข้อมูลที่เปิด รับลงทะเบียนตั้งแต่มีโคนม 1 ตัว ทั้งตัวผู้ตัวเมียได้ทั้งหมด จาก โครงสร้างของฝูงโคนมทั้งประเทศ มีโคตัวผู้เกือบ 7% มีโครีดนมใน ระบบ 44% ที่เหลือเป็นโคต้องดูแล 56% ที่เหลือ แต่ต้นทุนที่ สศก. คำานวณเป็นต้นทุนเฉพาะโครีดนมเท่านั้น ซึ่งต่างจากเกษตรกรที่มอง ต้นทุนฟาร์มทั้งฟาร์ม ดังนั้น จึงต้องตัดสินใจว่า จะปรับโครงสร้าง ฝูงโคในฟาร์มอย่างไร ให้มีรายได้คุ้มค่ากับการลงทุน ขณะที่ฟาร์ม โคนม 2 หมื่นกว่าฟาร์ม แบ่ง มีฟาร์มขนาดย่อย (มีโคไม่เกิน 20 ตัว) มี 36% แต่มีโคในมือ 12% เท่านั้น หรือมีน้ำานมเพียง 12% สัดส่วนใหญ่จะอยู่ที่ฟาร์มขนาดเล็ก 21-100 ตัว มี 61% แต่มีโค สัตว์เศรษฐกิจ 39 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ 75% เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลก็จะทราบว่า ควรพัฒนาแก้ไขที่จุดใด ส่วน รายย่อยก็ต้องดูแลว่าจะไปต่อหรือหยุดเท่านี้ โคจากฟาร์มเหล่านั้น จะย้ายไปที่ฟาร์มอื่นหรือไม่ ดีกว่าขายเข้าโรงเชือด ซึ่งแนะนำาให้ คัดทิ้ง 25% อยู่แล้ว แต่บางฟาร์มอาจเลี้ยงโคที่ให้ผลผลิตไม่คุ้มค่า แต่ฟาร์มขนาดกลาง (100-200 ตัว) และขนาดใหญ่ (มากกว่า 200 ตัวขึ้นไป) เพิ่มขึ้น ส่วนการสำารวจข้อมูลจากศูนย์รวบรวมน้ำานมดิบ 210 แห่ง ที่รับน้ำานมดิบจากเกือบทุกฟาร์ม และ ข้อมูล ณ เดือนมกราคม มีผู้เลี้ยงที่ส่งนมที่ศูนย์รับนมเหล่านี้ 17,963 ราย ในเดือนมกราคม น้ำานมดิบทั้งระบบอยู่ที่ 3,000 ตัน มีโคนม 666,299 ตัว เฉลี่ย 37 ตัวต่อฟาร์ม สัดส่วนโค มีตัวผู้ 6% เป็นโครีด 36% เมื่อเปรียบ ข้อมูลพบการเปลี่ยนแปลงในเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคมที่ปริมาณ โคและน้ำานมดิบลดลง แม้ในช่วงดังกล่าวมีเกษตรกรหายไปเกือบพัน ฟาร์ม ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่มวกเหล็กและปากช่องเป็นหลัก แต่ก็มี บางสหกรณ์ฯที่จำานวนฟาร์มเพิ่มขึ้น ส่วนจำานวนโคที่หายไปในพัน กว่าฟาร์ม ประมาณ 1% จากข้อมูล ต่อไปในการเข้าฤดูแล้ง ที่ต้อง พยายามดูแลโคให้ดี ต้องหาอาหารให้กินอย่างเพียงพอ ดังนั้น ใน อนาคต ถ้าประเมินว่าจะแย่ คนจะหายไปอีก 5% หรือ โค 1% เชื่อว่า โคที่ผลผลิตไม่ดีคงเข้าโรงเชือดเกือบหมด แต่ถ้าหลังจากนี้มี ฟาร์มจะไม่ต่อ โคจะย้ายเป็นหลัก โครีด โคสาว โคที่มีอนาคต ซึ่ง ถือเป็นราคาที่ดีเป็นโอกาสของผู้เลี้ยงและคนที่ต้องการเข้าธุรกิจนี้ การพัฒนาโคนมไทย ต้องพัฒนาพื้นที่ที่สร้างความมั่นคงทาง อาหารให้กับฟาร์ม แม้รองรับทั้งหมดไม่ได้ก็ต้องมี และมีผลพลอย ด้านทางการเกษตรและโรงงานนำามาใช้ประโยชน์เชื่อมโยงกัน แม้ไทย มีความเหมาะสมในการผลิตพืชอาหารสัตว์แต่กลายเป็นจุดอ่อนที่ขาด ความมั่นคงทางอาหาร เพราะต้องพึ่งพาจากภายนอกทั้งหมด ซึ่ง กรมปศุสัตว์มีศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ทั่วประเทศ ที่พร้อม สนับสนุนในด้านเทคโนโลยีอาหารสัตว์ ที่จะช่วยบริหารจัดการอาหาร สัตว์เพื่อให้ต้นทุนการผลิตต่ำาที่สุด อีกส่วน คือ ทำาอย่างไรให้โคนม ได้นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ ให้โคนมได้กินอิ่มและนอนหลับ ถ้า ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำาให้ต้นทุนการผลิตลดลง แต่ค่า เฉลี่ยที่มีอยู่ในวันนี้ประมาณ 11-12 กิโลกรัม แต่ก็มีฟาร์มที่ผลิตได้ 23 กิโลกรัม ดังนั้น ถ้าทำาที่ 13-15 กิโลกรัม ได้ก็ถือว่าดีมากแล้ว สิ่งสำาคัญในการฝ่าวิกฤตโคนม เริ่มจาก 1. มีแรงเพียงพอ หรือไม่ 2. มีเวลาเพียงพอหรือไม่ 3. มีความรู้เพียงพอที่จะนำาไป ปฏิบัติได้จริงหรือไม่ 4. มีปัญญาประสบการณ์ 5. มีตัวช่วยที่ดี หรือไม่ 6. มีเครือข่าย และ 7. มีทุนหรือไม่ แต่เหนือสิ่งอื่นใด คือ ใจ เพราะในอุตสาหกรรมนมของไทย มีเกษตรกร มีโรงงานผู้ประกอบ การ และคนทำาตลาด รวมถึงเกษตรกรอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องก็เป็นสิ่งที่ เชื่อมโยงกันทั้งหมด ล่าสุด นายอภัย สุทธิสังข์รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ภายหลังเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโคนมและ ผลิตภัณฑ์นม (Milk board) ครั้งที่ 1/2566 ที่ประชุมได้มีมติเห็น ชอบเรื่อง การทบทวนราคากลางรับซื้อน้ำานมโค ณ ศูนย์รวบรวม น้ำานมดิบ และ ณ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นม ปี 2566 รายละเอียด ดังนี้ 1) เห็นชอบให้ปรับราคากลางรับซื้อน้ำานมดิบ หน้าศูนย์รวบรวม น้ำานมดิบปี 2566 จากกิโลกรัมละ 19 บาท เป็น 21.25 บาท 2) เห็นชอบให้ปรับราคากลางรับซื้อน้ำานมโค หน้าโรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม ปี 2566 จากกิโลกรัมละ 20.25 บาท เป็น 22.75 บาท 3) ให้คณะอนุกรรมการจัดทำาข้อเสนอราคาน้ำานมโคและ ผลิตภัณฑ์นม พิจารณาทบทวนการกำาหนดราคากลางรับซื้อน้ำานมโค ณ ศูนย์รวบรวมน้ำานมดิบ และ ณ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นมให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ของต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงใน แต่ละช่วงเวลา 4) ให้กระทรวงพาณิชย์พิจารณาแนวทางในการ ควบคุมราคาปัจจัยการผลิตและราคาอาหารสัตว์ 5) ให้กระทรวง พาณิชย์พิจารณาการปรับขึ้นราคาผลิตภัณฑ์นม (นมพาณิชย์) ให้ เหมาะสม สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งต้นทุนน้ำานม ดิบและต้นทุนอื่นๆ ของผู้ประกอบการ 6) ให้คณะกรรมการอาหาร นมเพื่อเด็กและเยาวชน พิจารณาการปรับขึ้นราคาผลิตภัณฑ์นม (นมโรงเรียน) ให้เหมาะสม สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งต้นทุนน้ำานมดิบและต้นทุนอื่นๆ ของผู้ประกอบการ และเสนอ งบกลางให้กับหน่วยจัดซื้อ และ 7) ให้ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ โคนมและผลิตภัณฑ์นมแจ้งมติให้คณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็ก และเยาวชนดำาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป ขณะเดียวกัน กระทรวงเกษตรฯ ยังได้พิจารณาแนวทางการ แก้ไขปัญหาต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอาหารสัตว์ รวมทั้งแนวทางอื่นๆ ในการปรับลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายอย่างเป็นรูป ธรรม เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้สามารถเลี้ยงโคนมได้อย่างยั่งยืน มิใช่เพียงการปรับขึ้นราคาน้ำานมดิบซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยัง ผู้ประกอบการและผู้บริโภคด้วย...


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นวัตกรรมยกระดับมูลโคนม ให้เป็นวัสดุธรรมชาติที่ผลิตสินค้า ได้หลากหลายเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยไอเดียของทีมนักวิจัยไทย ตอบโจทย์วิถีคนรักษ์โลก สู่ชุมชนเศรษฐกิจหมุนเวียน สร้างงาน สร้าง อาชีพ โครงการนวัตกรรมการผลิตอิฐบล็อกประสานและกระถางต้นไม้ จากมูลโคเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน เป็น โครงการที่หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถด้าน การแข่งขันของประเทศ หรือ บพข. ได้สนับสนุนทุนวิจัยใน ปีงบประมาณ 2565 โดยมีดร.ณัฐภร แก้วประทุม นักวิชาการ 7 ฝ่ายวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงโคนม องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นหัวหน้าโครงการ ร่วมกับนักวิจัยจาก 3 สถาบัน ได้แก่มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรีและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี ได้ดำาเนินงานวิจัยมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2565 ซึ่งทำาวิจัย ร่วมกับฟาร์มโคนมในอำาเภอมวกเหล็กจังหวัดสระบุรี มีนายสุกิจ สิงห์กลาง เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมเข้าร่วมโครงการกับคณะนักวิจัย ความก้าวหน้าของโครงการได้ผลเป็นที่น่าพอใจ โดยคณะนักวิจัยให้ ข้อมูลที่น่าสนใจดังนี้ ผศ.ดร.ประชุม คำาพุฒ นักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี อธิบายว่า การนำามูลโคนมมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับชุมชนและสอดคล้องกับ BCG นั้นมีแนวคิดหลากหลาย ในการนำาไปใช้ประโยชน์ โดยในโครงการนี้ เลือกเทคโนโลยี ฟาร์มโคนมยุคใหม่ ต่อยอด BCG เปลี่ยนมูลเป็น “อิฐบล็อค” และ “กระถางต้นไม้” สร้างรายได้ (1) อิฐบล็อกประสานที่ใช้ก่อสร้างผนังอาคารประหยัดพลังงาน ซึ่งในอดีตชาวบ้านใช้มูลสัตว์ร่วมกับฟางข้าวเป็นส่วนผสมในการทำา ยุ้งฉางเก็บเมล็ดพืช ใช้ทำาที่อยู่อาศัย ทำาบ้านดิน มีข้อดีที่ต้นทุนต่ำา เป็นธรรมชาติ ช่วยรักษาอุณหภูมิในห้องได้ดีนักวิจัยจึงได้นำามา พัฒนาสูตรใหม่ ให้มีความทันสมัย น่าใช้งาน แข็งแรง สวยงาม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) กระถางต้นไม้โดยนำามาผสมกับสารเชื่อมประสานและ ขึ้นรูปด้วยเครื่องอัด สามารถทำาส่วนผสมได้ทั้งแบบย่อยสลายได้เพื่อ ใช้เพาะกล้าต้นไม้ทดแทนถุงเพาะพลาสติกที่เป็นขยะหลังจากใช้งาน แล้ว เมื่อปลูกต้นไม้ในกระถางย่อยสลายได้จากมูลโคได้ระยะเวลาการ เติบโตที่พอเหมาะแล้วก็สามารถนำาไปปลูกลงดินได้ทันทีและกระถาง ต้นไม้แบบไม่ย่อยสลายเพื่อเป็นกระถางปลูกต้นไม้ตกแต่งขนาดต่างๆ ที่นิยมใช้ในท้องตลาด สามารถนำาไปปลูกต้นไม้ขนาดเล็ก เช่น แคคตัส ไม้อวบน้ำา และไม้ประดับอื่นๆ ซึ่งในอนาคตทีมวิจัยยังมีเป้าหมายทำาเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ จาก มูลโคเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผศ.ดร.ชุติมา ไวศรายุทธ์ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้รับผิดชอบในการออกแบบโซ่คุณค่า พัฒนาแบรนด์และโมเดลธุรกิจ ร่วมกับทีมนักวิจัยอีก 3 ท่าน คือ ผศ. ดร. ศศรส ใจจิตร์ (วิศวะ อุตสาหการ) ดร. พิธาลัย ผู้พัฒน์ (การออกแบบอุตสาหกรรม) และ ผศ. ดร. อภิญญา ลีลาวณิชกุล (การสร้างช่องทางตลาดออนไลน์) ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า โครงการนี้ได้ประยุกต์ใช้หลักการออกแบบ


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นวัตกรรมยกระดับมูลโคนม ให้เป็นวัสดุธรรมชาติที่ผลิตสินค้า ได้หลากหลายเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยไอเดียของทีมนักวิจัยไทย ตอบโจทย์วิถีคนรักษ์โลก สู่ชุมชนเศรษฐกิจหมุนเวียน สร้างงาน สร้าง อาชีพ โครงการนวัตกรรมการผลิตอิฐบล็อกประสานและกระถางต้นไม้ จากมูลโคเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน เป็น โครงการที่หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถด้าน การแข่งขันของประเทศ หรือ บพข. ได้สนับสนุนทุนวิจัยใน ปีงบประมาณ 2565 โดยมีดร.ณัฐภร แก้วประทุม นักวิชาการ 7 ฝ่ายวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงโคนม องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นหัวหน้าโครงการ ร่วมกับนักวิจัยจาก 3 สถาบัน ได้แก่มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรีและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี ได้ดำาเนินงานวิจัยมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2565 ซึ่งทำาวิจัย ร่วมกับฟาร์มโคนมในอำาเภอมวกเหล็กจังหวัดสระบุรี มีนายสุกิจ สิงห์กลาง เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมเข้าร่วมโครงการกับคณะนักวิจัย ความก้าวหน้าของโครงการได้ผลเป็นที่น่าพอใจ โดยคณะนักวิจัยให้ ข้อมูลที่น่าสนใจดังนี้ ผศ.ดร.ประชุม คำาพุฒ นักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี อธิบายว่า การนำามูลโคนมมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับชุมชนและสอดคล้องกับ BCG นั้นมีแนวคิดหลากหลาย ในการนำาไปใช้ประโยชน์ โดยในโครงการนี้ เลือกเทคโนโลยี ฟาร์มโคนมยุคใหม่ ต่อยอด BCG เปลี่ยนมูลเป็น “อิฐบล็อค” และ “กระถางต้นไม้” สร้างรายได้ (1) อิฐบล็อกประสานที่ใช้ก่อสร้างผนังอาคารประหยัดพลังงาน ซึ่งในอดีตชาวบ้านใช้มูลสัตว์ร่วมกับฟางข้าวเป็นส่วนผสมในการทำา ยุ้งฉางเก็บเมล็ดพืช ใช้ทำาที่อยู่อาศัย ทำาบ้านดิน มีข้อดีที่ต้นทุนต่ำา เป็นธรรมชาติ ช่วยรักษาอุณหภูมิในห้องได้ดีนักวิจัยจึงได้นำามา พัฒนาสูตรใหม่ ให้มีความทันสมัย น่าใช้งาน แข็งแรง สวยงาม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) กระถางต้นไม้โดยนำามาผสมกับสารเชื่อมประสานและ ขึ้นรูปด้วยเครื่องอัด สามารถทำาส่วนผสมได้ทั้งแบบย่อยสลายได้เพื่อ ใช้เพาะกล้าต้นไม้ทดแทนถุงเพาะพลาสติกที่เป็นขยะหลังจากใช้งาน แล้ว เมื่อปลูกต้นไม้ในกระถางย่อยสลายได้จากมูลโคได้ระยะเวลาการ เติบโตที่พอเหมาะแล้วก็สามารถนำาไปปลูกลงดินได้ทันทีและกระถาง ต้นไม้แบบไม่ย่อยสลายเพื่อเป็นกระถางปลูกต้นไม้ตกแต่งขนาดต่างๆ ที่นิยมใช้ในท้องตลาด สามารถนำาไปปลูกต้นไม้ขนาดเล็ก เช่น แคคตัส ไม้อวบน้ำา และไม้ประดับอื่นๆ ซึ่งในอนาคตทีมวิจัยยังมีเป้าหมายทำาเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ จาก มูลโคเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผศ.ดร.ชุติมา ไวศรายุทธ์ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้รับผิดชอบในการออกแบบโซ่คุณค่า พัฒนาแบรนด์และโมเดลธุรกิจ ร่วมกับทีมนักวิจัยอีก 3 ท่าน คือ ผศ. ดร. ศศรส ใจจิตร์ (วิศวะ อุตสาหการ) ดร. พิธาลัย ผู้พัฒน์ (การออกแบบอุตสาหกรรม) และ ผศ. ดร. อภิญญา ลีลาวณิชกุล (การสร้างช่องทางตลาดออนไลน์) ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า โครงการนี้ได้ประยุกต์ใช้หลักการออกแบบ สัตว์เศรษฐกิจ 41 ผศ.ดร. สุทธิจิตต์ เชิงทอง จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี ให้ข้อมูลว่า กากมูลโคเป็นผลพลอยได้จาก การใช้เทคโนโลยีเครื่องแยกกาก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ใช้จัดการน้ำาทิ้ง และมูลโคของฟาร์มโคนมตามแนวคิดระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ก่อให้เกิดผลพลอยได้หลักสองชนิดคือก๊าซชีวภาพ และกากมูลโค จากลักษณะของโครงสร้างที่มีเนื้อละเอียดของกากมูลโคที่ได้จึงเหมาะ แก่การนำาไปเป็นกระถางปลูกพืชและอิฐบล็อกประสาน ผลประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะนำาไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มที่เหนือกว่าการ จำาหน่ายในรูปแบบของปุ๋ยมูลโคมากน้อยเพียงใด จะถูกนำามาวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับต้นทุนที่ต้องจ่ายเพิ่มตามโมเดลต้นแบบที่ออกแบบใน รูปของระบบธุรกิจที่เหมาะกับกลุ่มเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชน ประกอบด้วย การลงทุนด้านโรงงานและเครื่องจักรในการผลิต ผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกประสานและกระถางจากมูลโค ตลอดจนการสร้าง ตราสินค้าของวิสาหกิจชุมชน เพื่อทราบถึงความคุ้มค่าในการลงทุน ในภาพรวมของระบบการผลิตและการตลาดที่ออกแบบเพื่อการศึกษา ครั้งนี้ ความคุ้มค่าของโมเดลต้นแบบในการผลิตผลิตภัณฑ์อิฐบล็อก ประสานและกระถางจากมูลโค จะเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ลงทุนในเชิงพาณิชย์ให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจต่อไป ด้าน คุณสุกิจ สิงห์กลาง เจ้าของ “สุกิจฟาร์ม” สมาชิกผู้เลี้ยง โคนมสหกรณ์โคนมไทยเดนมาร์คมิตรภาพ เผยว่า สนใจเข้าร่วม โครงการเนื่องจากประสบปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งกลิ่นที่มีผลกระทบกับ ชุมชนใกล้เคียง เนื่องจากพื้นที่ฟาร์มอยู่สูงกว่าเพื่อนบ้าน เมื่อเข้า ร่วมโครงการแล้วก็ได้รายได้เพิ่มขึ้น จากมูลโคที่แยกกากแล้วนำามา ตากบรรจุกระสอบขายได้อีกส่วนก็ทำาเป็นกระถางก็มีมูลโคเป็นส่วน ผสม และมีอิฐบล็อคประสาน ในอนาคตก็จะมีการเลี้ยงปลาเพิ่มขึ้น ซึ่งจากประโยชน์และสร้างรายได้จึงเข้าร่วมโครงการ โดยจุดเด่นของผลิตภัณฑ์จากมูลโค คือ อิฐบล็อค ก็มีต้นทุน ถูกกว่าท้องตลาด เพราะได้มาตรฐานมอก. ส่วนกระถางก็มีปุ๋ยในตัว ย่อยสลายได้ ไม่เป็นภาระกับสิ่งแวดล้อม ทำาให้พืชเติบโตได้ดีส่วน การช่วยเหลือชุมชน ก็พร้อมเป็นฟาร์มตัวอย่าง ศูนย์เรียนรู้ให้กับ เกษตรกรที่สนใจ และในอนาคตหากมีคำาสั่งซื้อเข้ามามากขึ้นก็คงต้อง รับซื้อมูลจากฟาร์มใกล้เคียง โดยไปติดตั้งเครื่องแยกกากในแต่ละ ฟาร์ม ในอนาคตอันใกล้มีแผนสร้างเป็นคาเฟ่ด้วยอิฐบล็อคจากมูลโค ในพื้นที่ที่นักท่องเที่ยวผ่าน พร้อมกับขายกาแฟ เครื่องดื่ม และ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากน้ำานมโค รวมถึงปลูกต้นไม้ที่ปลูกในกระถาง มูลโค มีกลิ่นสมุนไพรให้นักท่องเที่ยวชมและเลือกซื้อได้ทันที เพื่อ สร้างช่องทางตลาดอีกทางหนึ่ง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โครงสร้างธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ทำาให้สามารถลงทุน ต่อขยายโซ่คุณค่าของกิจการขายน้ำานมดิบของกลุ่มสหกรณ์โคนม ไทย-เดนมาร์ค กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และองค์การบริหารส่วนตำาบล มิตรภาพ เพื่อเป็นฟันเฟืองให้นวัตกรรมอิฐและกระถางจากมูลโค เติบโตเป็นธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการวางตำาแหน่งแบรนด์ให้สอดคล้องกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมายแรก ที่อายุอยู่ในช่วงวัยทำางาน มีวิถีชีวิตคนเมือง ใช้บริการ คาเฟ่ ปลูกพืช ท่องเที่ยว ทำาครัวและถ่ายรูปบนสื่อสังคมออนไลน์ (กลุ่ม Y2K) โดยกลุ่มเป้าหมายนี้มีพฤติกรรมสร้างสมดุลการใช้ชีวิต สนับสนุนธุรกิจที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม และมีอัตลักษณ์หรือเป็นสัญลักษณ์ เชิงพื้นที่ จึงเป็นเครือข่ายเป้าหมายที่ต้องการพัฒนาให้เป็นระบบ ลูกค้าสัมพันธ์ ที่ช่วยสื่อสารเพื่อขยายตลาด เป็นตัวแทนในการ หาประเด็นนวัตกรรมต่อเนื่อง รวมทั้งอาจสนใจร่วมหลักสูตรจาก ศูนย์เรียนรู้ และยกระดับเป็นผู้ร่วมลงทุนในกิจการ ที่เกิดจาก นวัตกรรมการผลิต อิฐกระถาง และกิจการต่อขยายจากคาเฟ่ นักวิจัยได้ร่วมทำางานกับ หัวหน้าโครงการ และเกษตรกร เจ้าของฟาร์มโคนม ในการออกแบบโรงงานต้นแบบการผลิตอิฐ กระถางที่ใช้พลังงานโซล่าเซล และก๊าซชีวภาพจากมูลโค รวมทั้งใช้ วัสดุหมุนเวียนทั้งอิฐก่อผนังและวัสดุมุงหลังคาซึ่งเป็นส่วนประกอบ ของโรงงานต้นแบบ รวมทั้งการออกแบบระบบผลิตร่วมกับนักวิจัย ด้านวัสดุและสูตรอิฐกระถางที่มีมูลโคเป็นส่วนประกอบ ซึ่งหลังจาก โรงงานต้นแบบและกระบวนการผลิตเริ่มผลิตต่อเนื่อง ต้นแบบโมเดล ธุรกิจและการสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์จะถูกพัฒนาและทวน สอบต่อไปเพื่อให้ธุรกิจเกิดเป็นวงจรหมุนเวียนและประเมินการเติบโต ต่อไป


42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงภาวะ เศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2566 (มกราคม - มีนาคม 2566) ว่า ขยายตัวร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 เนื่องจากปริมาณฝนตกสะสมตลอดปีที่ผ่านมา ทำาให้มีปริมาณ น้ำาในอ่างเก็บน้ำาและตามแหล่งน้ำาธรรมชาติเพียงพอสำาหรับการ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ขณะที่ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดที่อยู่ใน เกณฑ์ดีต่อเนื่อง จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกและเพิ่ม การผลิต ประกอบกับการสนับสนุนการนำาแนวคิดโมเดลเศรษฐกิจ BCG มาใช้ในการพัฒนา อาทิ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและปัจจัย การผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และชนิดสินค้า การบริหารจัดการ น้ำาและให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรที่ประสบภัยพิบัติอย่างทันท่วงที การเฝ้าระวังโรคพืชและสัตว์ การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรให้มี คุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และการ ขยายช่องทางการตลาดที่หลากหลาย ทำาให้เกษตรกรสามารถบริหาร จัดการการผลิตได้อย่างต่อเนื่องและจำาหน่ายสินค้าได้มากขึ้น นอกจากนี้ ความต้องการสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้นทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ เนื่องจากกิจกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว ที่ฟื้นตัว ยังเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้การผลิตทางการเกษตรปรับตัว ดีขึ้น โดยสาขาพืช ยังคงเป็นสาขาหลักที่ขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจ การเกษตรในไตรมาสนี้ขยายตัวได้ดี โดยเฉพาะข้าวนาปรังและอ้อย ปศุสัตว์ ไตรมาสแรกขยายตัว รับความต้องการที่เพิ่มขึ้น โรงงาน ซึ่งเป็นสินค้าสำาคัญ ในไตรมาส 1 ขณะที่สาขาปศุสัตว์ สาขา บริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเช่นกัน ส่วนสาขา ประมง หดตัวเล็กน้อย เนื่องจากต้นทุนด้านราคาน้ำามันเชื้อเพลิงปรับ ตัวสูงขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่แปรปรวน ส่งผลให้ผู้ประกอบ การประมงออกเรือจับสัตว์น้ำาลดลง สำาหรับรายละเอียดในแต่ละสาขา สาขาปศุสัตว์ ขยายตัวร้อยละ 0.8 สินค้าปศุสัตว์ที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ได้แก่ ไก่เนื้อ มีการขยายการผลิตเพื่อรองรับความต้องการ ของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัว ของภาวะเศรษฐกิจ และประเทศผู้ผลิตหลายประเทศประสบปัญหา โรคไข้หวัดนก สุกร ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการป้องกันและควบคุมความ ปลอดภัยทางชีวภาพภายในฟาร์มสุกรมากขึ้น ทำาให้มีจำานวนแม่พันธุ์ สุกรเพิ่มขึ้น รวมทั้งความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ ไข่ไก่ ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรมีการ บริหารจัดการปริมาณการผลิตที่เหมาะสมกับความต้องการบริโภค และ น้ำานมดิบ ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรมีการ ดูแลโคนมที่ดีขึ้น ประกอบกับการควบคุมโรคลัมปีสกินที่ดี ส่งผลให้ มีจำานวนแม่โคให้นมเพิ่มขึ้น สาขาประมง หดตัวร้อยละ 0.5 โดยสัตว์น้ำาที่นำาขึ้นท่าเทียบ เรือมีปริมาณลดลง เนื่องจากราคาน้ำามันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นต้นทุน การผลิตหลักของการทำาประมงทะเลปรับตัวสูงขึ้น ปลานิลและ


42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงภาวะ เศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2566 (มกราคม - มีนาคม 2566) ว่า ขยายตัวร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2565 เนื่องจากปริมาณฝนตกสะสมตลอดปีที่ผ่านมา ทำาให้มีปริมาณ น้ำาในอ่างเก็บน้ำาและตามแหล่งน้ำาธรรมชาติเพียงพอสำาหรับการ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ขณะที่ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดที่อยู่ใน เกณฑ์ดีต่อเนื่อง จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกและเพิ่ม การผลิต ประกอบกับการสนับสนุนการนำาแนวคิดโมเดลเศรษฐกิจ BCG มาใช้ในการพัฒนา อาทิ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและปัจจัย การผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และชนิดสินค้า การบริหารจัดการ น้ำาและให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรที่ประสบภัยพิบัติอย่างทันท่วงที การเฝ้าระวังโรคพืชและสัตว์ การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรให้มี คุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และการ ขยายช่องทางการตลาดที่หลากหลาย ทำาให้เกษตรกรสามารถบริหาร จัดการการผลิตได้อย่างต่อเนื่องและจำาหน่ายสินค้าได้มากขึ้น นอกจากนี้ ความต้องการสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้นทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ เนื่องจากกิจกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว ที่ฟื้นตัว ยังเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้การผลิตทางการเกษตรปรับตัว ดีขึ้น โดยสาขาพืช ยังคงเป็นสาขาหลักที่ขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจ การเกษตรในไตรมาสนี้ขยายตัวได้ดี โดยเฉพาะข้าวนาปรังและอ้อย ปศุสัตว์ ไตรมาสแรกขยายตัว รับความต้องการที่เพิ่มขึ้น โรงงาน ซึ่งเป็นสินค้าสำาคัญ ในไตรมาส 1 ขณะที่สาขาปศุสัตว์ สาขา บริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเช่นกัน ส่วนสาขา ประมง หดตัวเล็กน้อย เนื่องจากต้นทุนด้านราคาน้ำามันเชื้อเพลิงปรับ ตัวสูงขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่แปรปรวน ส่งผลให้ผู้ประกอบ การประมงออกเรือจับสัตว์น้ำาลดลง สำาหรับรายละเอียดในแต่ละสาขา สาขาปศุสัตว์ ขยายตัวร้อยละ 0.8 สินค้าปศุสัตว์ที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ได้แก่ ไก่เนื้อ มีการขยายการผลิตเพื่อรองรับความต้องการ ของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัว ของภาวะเศรษฐกิจ และประเทศผู้ผลิตหลายประเทศประสบปัญหา โรคไข้หวัดนก สุกร ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการป้องกันและควบคุมความ ปลอดภัยทางชีวภาพภายในฟาร์มสุกรมากขึ้น ทำาให้มีจำานวนแม่พันธุ์ สุกรเพิ่มขึ้น รวมทั้งความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ ไข่ไก่ ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรมีการ บริหารจัดการปริมาณการผลิตที่เหมาะสมกับความต้องการบริโภค และ น้ำานมดิบ ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรมีการ ดูแลโคนมที่ดีขึ้น ประกอบกับการควบคุมโรคลัมปีสกินที่ดี ส่งผลให้ มีจำานวนแม่โคให้นมเพิ่มขึ้น สาขาประมง หดตัวร้อยละ 0.5 โดยสัตว์น้ำาที่นำาขึ้นท่าเทียบ เรือมีปริมาณลดลง เนื่องจากราคาน้ำามันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นต้นทุน การผลิตหลักของการทำาประมงทะเลปรับตัวสูงขึ้น ปลานิลและ สัตว์เศรษฐกิจ 43 การเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของพืช ประกอบกับในปีที่ผ่านมา ราคาสินค้าเกษตรส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี ทำาให้เกษตรกรขยายเนื้อที่ เพาะปลูกและดูแลเอาใจใส่การผลิตมากขึ้น ส่งผลให้มีกิจกรรมการ จ้างบริการเตรียมดินและเก็บเกี่ยวผลผลิตเพิ่มขึ้น เช่น ข้าวนาปรัง อ้อยโรงงาน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สาขาป่าไม้ ขยายตัวร้อยละ 0.7 โดย ไม้ยูคาลิปตัส เพิ่มขึ้น ตามความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตเยื่อกระดาษ โดยเฉพาะในตลาดญี่ปุ่นและจีน ครั่ง เพิ่มขึ้นจากสภาพอากาศที่ เอื้ออำานวย รวมถึงมีการส่งเสริมการเลี้ยงภายในประเทศเพิ่มขึ้น รังนก เพิ่มขึ้นตามความต้องการเพื่อเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม แปรรูปรังนก และยังมีการส่งออกไปยังจีนอย่างต่อเนื่อง ถ่านไม้ เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของภาคบริการ ทั้งธุรกิจโรงแรมและ ร้านอาหาร และมีการส่งออกไปยังจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรในปี 2566 คาดว่าจะขยาย ตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 2.0 - 3.0 เมื่อเทียบกับปี 2565 โดยทุกสาขา การผลิต มีแนวโน้มขยายตัว จากปัจจัยสนับสนุนด้านสภาพอากาศ ที่เอื้ออำานวยมากขึ้น ปริมาณน้ำาในอ่างเก็บน้ำาและตามแหล่งน้ำาตาม ธรรมชาติที่มีเพียงพอสำาหรับการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทำาประมง การดำาเนินนโยบายของภาครัฐและความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ ในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิต ยกระดับคุณภาพมาตรฐาน สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ ส่งเสริมการรวมกลุ่มใน การผลิตและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและตอบโจทย์ความ ต้องการของผู้บริโภค เพิ่มช่องทางให้เกษตรกรเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ข้อมูลขนาดใหญ่ และบริหารจัดการสินค้าให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยที่มี แนวโน้มที่ดี ช่วยสนับสนุนให้ความต้องการสินค้าเกษตรและอาหาร เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพ อากาศที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่เกษตร การระบาดของโรคพืชและ สัตว์ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นจากราคา ปัจจัยการผลิตทั้งราคาน้ำามัน ปุ๋ยเคมี สารกำาจัดศัตรูพืช และอาหาร สัตว์ อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง ความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน ความขัดแย้งทางระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ สงครามทางการค้า และแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่อาจชะลอตัว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปลาดุก ผลผลิตลดลง เนื่องจากภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น โดยเฉพาะ ค่าอาหารสัตว์ ทำาให้เกษตรกรชะลอการเลี้ยง และลดปริมาณการ ปล่อยลูกปลา ส่วน กุ้งขาวแวนนาไม เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจาก เกษตรกรมีการขยายเนื้อที่เพาะเลี้ยง และปรับเพิ่มจำานวนลูกพันธุ์ และลงลูกกุ้งมากกว่าช่วงที่ผ่านมา สาขาพืช ขยายตัวร้อยละ 7.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปี 2565 พืชที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวนาปรัง อ้อยโรงงาน สับปะรดโรงงาน ยางพารา ปาล์มน้ำามัน ลำาไย ทุเรียน มังคุด และ เงาะ ภาพรวมเนื่องจากปริมาณน้ำาในอ่างเก็บน้ำาและตามแหล่งน้ำา ธรรมชาติเพิ่มขึ้นเพียงพอสำาหรับการเพาะปลูก ประกอบกับราคาที่ ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรมีการบำารุงดูแล อีกทั้งการ ระบาดของโรคใบร่วงยางพาราลดลง ส่งผลให้ผลผลิตยางเพิ่มขึ้น สำาหรับกลุ่มไม้ผล นอกจากสภาพอากาศที่เอื้ออำานวยต่อการติดดอก ออกผลแล้ว ทุเรียนที่ปลูกแทนในพื้นที่ยางพาราและไม้ผลอื่น เมื่อปี 2561 และลำาไยที่ปลูกแทนในพื้นที่ลิ้นจี่ มะนาว และไม้ผลอื่น เมื่อ ปี 2563 เริ่มให้ผลผลิตในปีนี้ อย่างไรก็ตาม พืชที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าวนาปี เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนลดการบำารุงดูแลรักษา จากต้นทุนด้านราคาปุ๋ยและสารเคมีทางการเกษตรที่สูงขึ้น ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไป ปลูกพืชชนิดอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน ขณะที่มันสำาปะหลัง ในช่วงเดือน สิงหาคมและกันยายน 2565 บางพื้นที่ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบนมีฝน ตกหนักและประสบอุทกภัย ทำาให้น้ำาท่วมขัง พื้นที่ ปลูกมันสำาปะหลังบางส่วนได้รับความเสียหาย ทำาให้ผลผลิตในไตรมาสนี้ลดลง สาขาบริการทางการเกษตร ขยายตัวร้อย ละ 4.0 ของปี 2565 เนื่องจากสภาพอากาศที่ เอื้ออำานวยและปริมาณน้ำาฝนที่เพียงพอสำาหรับ ทางการเกษตรที่สูงขึ้น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ให้ ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน ขณะที่มันส าปะหลัง ในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายน 2565 บางพื้นที่ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบนมีฝนตกหนักและประสบอุทกภัย ท าให้น ้าท่วมขัง พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง บางส่วนได้รับความเสียหาย ท าให้ผลผลิตในไตรมาสนี้ลดลง สาขาบริการทางการเกษตร ขยายตัวร้อยละ 4.0 ของปี 2565 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออ านวยและ ปริมาณน ้าฝนที่เพียงพอส าหรับการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของพืช ประกอบกับในปีที่ผ่านมาราคาสินค้าเกษตร ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี ท าให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูกและดูแลเอาใจใส่การผลิตมากขึ้น ส่งผลให้มีกิจกรรมการจ้าง บริการเตรียมดินและเก็บเกี่ยวผลผลิตเพิ่มขึ้น เช่น ข้าวนาปรัง อ้อยโรงงาน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สาขาป่ าไม้ ขยายตัวร้อยละ 0.7โดย ไม้ยูคาลิปตัส เพิ่มขึ้นตามความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตเยื่อ กระดาษ โดยเฉพาะในตลาดญี่ปุ่ นและจีน ครั่ง เพิ่มขึ้นจากสภาพอากาศที่เอื้ออ านวย รวมถึงมีการส่งเสริมการเลี้ยง ภายในประเทศเพิ่มขึ้น รังนก เพิ่มขึ้นตามความต้องการเพื่อเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมแปรรูปรังนก และยังมีการส่งออกไปยัง จีนอย่างต่อเนื่อง ถ่านไม้ เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของภาคบริการ ทั้งธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร และมีการส่งออกไปยังจีน ญี่ปุ่ น และเกาหลีใต้เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 2.0 – 3.0 เมื่อเทียบกับปี 2565 โดยทุกสาขาการผลิต มีแนวโน้มขยายตัว จากปัจจัยสนับสนุนด้านสภาพอากาศที่เอื้ออ านวยมากขึ้น ปริมาณน ้าในอ่างเก็บ น ้าและตามแหล่งน ้าตามธรรมชาติที่มีเพียงพอส าหรับการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และท าประมง การด าเนินนโยบายของ ภาครัฐและความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ ในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิต ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้า เกษตรและผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ ส่งเสริมการรวมกลุ่มในการผลิตและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและตอบ โจทย์ความต้องการของผู้บริโภค เพิ่มช่องทางให้เกษตรกรเข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ และบริหารจัดการสินค้า ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยที่มีแนวโน้มที่ดี ช่วยสนับสนุนให้ความ ต้องการสินค้าเกษตรและอาหารเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพอากาศที่อาจส่งผล กระทบต่อพื้นที่เกษตร การระบาดของโรคพืชและสัตว์ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นจากราคาปัจจัย การผลิตทั้งราคาน ้ามัน ปุ๋ ยเคมี สารก าจัดศัตรูพืช และอาหารสัตว์ อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง ความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน ความขัดแย้งทางระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ สงครามทางการค้า และแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่อาจชะลอ ตัว หน่วย: ร้อยละ สาขา ไตรมาส 1/2566 (มกราคม – มีนาคม 2566) ภาคเกษตร 5.5 พืช 7.9 ปศุสัตว์ 0.8 ประมง -0.5 บริการทางการเกษตร 4.0 ป่ าไม้ 0.7 ที่มา: กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ เดือนมีนาคม 2566)


44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE VIV ASIA 2023 งานแสดงสินค้าที่เป็นศูนย์รวมตลาดปศุสัตว์ ที่เบิกทางให้กับผู้เข้าร่วมงานกว่า 47,527 ราย รวบรวมผู้ประกอบ การชั้นนำาครอบคลุมตั้งแต่อาหารสัตว์ - อาหารเพื่อการบริโภค ทั้ง ผู้ผลิตและตัวแทนจำาหน่ายมากกว่า 1,186 รายจาก 57 ประเทศ ทั่วโลก นับเป็นการกลับมาเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่สมการรอคอยพร้อม ฉลองครบรอบ 30 ปีของการจัดงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) งานแสดงนวัตกรรม เทคโนโลยี และสัมมนาสำาหรับอุตสาหกรรม ปศุสัตว์และสัตว์น้ำาครบวงจร สำาหรับภูมิภาคเอเชีย ตั้งแต่อาหารสัตว์ จนถึงอาหารเพื่อการบริโภค จัดพร้อมกันกับ Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) งานแสดงเทคโนโลยีและสินค้าเพื่อการเจรจาธุรกิจ สำาหรับกระบวนการผลิตเนื้อสัตว์อาหาร และบรรจุภัณฑ์ครบวงจร ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ระหว่างวันที่ 8-10 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสำาเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทยสู่ระดับโลก และถือว่า สำาเร็จลุล่วงไปได้ตามความคาดหมายในฐานะเวที เจรจาการค้าเพื่อธุรกิจ B-2-B ที่แข็งแกร่งที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ตอกย้ำาถึงขีดความสามารถในการก้าวสู่ศูนย์กลางทางการค้าสำาหรับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยการต้อนรับผู้ร่วมงานกว่า 47,527 คนจาก 112 ประเทศ งาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ยังคงรักษามาตรฐานของผู้เข้าชมงานจากปีที่ผ่านๆ มาไว้ได้พร้อม กับแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆ ถึงแม้จะยังมีข้อจำากัดบางประการจาก สถานการณ์โรคระบาดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา แต่ทางผู้จัดฯ ก็ยังคง


44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE VIV ASIA 2023 งานแสดงสินค้าที่เป็นศูนย์รวมตลาดปศุสัตว์ ที่เบิกทางให้กับผู้เข้าร่วมงานกว่า 47,527 ราย รวบรวมผู้ประกอบ การชั้นนำาครอบคลุมตั้งแต่อาหารสัตว์ - อาหารเพื่อการบริโภค ทั้ง ผู้ผลิตและตัวแทนจำาหน่ายมากกว่า 1,186 รายจาก 57 ประเทศ ทั่วโลก นับเป็นการกลับมาเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่สมการรอคอยพร้อม ฉลองครบรอบ 30 ปีของการจัดงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) งานแสดงนวัตกรรม เทคโนโลยี และสัมมนาสำาหรับอุตสาหกรรม ปศุสัตว์และสัตว์น้ำาครบวงจร สำาหรับภูมิภาคเอเชีย ตั้งแต่อาหารสัตว์ จนถึงอาหารเพื่อการบริโภค จัดพร้อมกันกับ Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) งานแสดงเทคโนโลยีและสินค้าเพื่อการเจรจาธุรกิจ สำาหรับกระบวนการผลิตเนื้อสัตว์อาหาร และบรรจุภัณฑ์ครบวงจร ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ระหว่างวันที่ 8-10 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา VIV ASIA 2023 ฉลองครบ 30 ปี ด้วยความสำาเร็จยกระดับปศุสัตว์ไทยสู่ระดับโลก และถือว่า สำาเร็จลุล่วงไปได้ตามความคาดหมายในฐานะเวที เจรจาการค้าเพื่อธุรกิจ B-2-B ที่แข็งแกร่งที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ตอกย้ำาถึงขีดความสามารถในการก้าวสู่ศูนย์กลางทางการค้าสำาหรับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยการต้อนรับผู้ร่วมงานกว่า 47,527 คนจาก 112 ประเทศ งาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ยังคงรักษามาตรฐานของผู้เข้าชมงานจากปีที่ผ่านๆ มาไว้ได้พร้อม กับแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆ ถึงแม้จะยังมีข้อจำากัดบางประการจาก สถานการณ์โรคระบาดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา แต่ทางผู้จัดฯ ก็ยังคง สัตว์เศรษฐกิจ 45 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เกี่ยวกับอนาคตของการทำาฟาร์มอัจฉริยะในราชอาณาจักร วัตถุประสงค์หลักเพื่อให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางการเงิน การเกษตรที่มั่งคั่ง และเน้นการจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่าง ยั่งยืน กลยุทธ์ดังกล่าวซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ของสหประชาชาติ (SDGs) มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มรายได้ต่อทุนของ เกษตรกรไทยเป็นประมาณ 13,000 เหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 590 ภายใน 20 ปี ภาคการเกษตรของไทยกำาลังเปลี่ยนผ่านไปสู่อนาคตที่ชาญฉลาด เทคโนโลยีการเกษตรที่นำามาใช้ในปัจจุบันบางอย่างที่สามารถเห็นได้ ในฟาร์มของไทย ได้แก่ โดรนสำาหรับการเกษตรแม่นยำา เรือนกระจก อัจฉริยะ การพัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชั่นการเกษตรและ ปศุสัตว์ และปัญญาประดิษฐ์ซึ่งผมเชื่อว่ายังมีอีกมากให้เรียนรู้จาก เยี่ยมชมงานแสดงสินค้าระดับโลกอย่างงาน VIV Asia และ Meat Pro Asia ที่รวมเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากผู้ผลิตมากกว่า 1,300 บริษัท จาก 62 ประเทศทั่วโลกมาจัดแสดงให้เราชมกันในครั้งนี้ ด้าน นายจิรุตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำานวยการ สำานักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) กล่าวว่า ในเรื่องของความไม่มั่นคงทางอาหารทั่วโลกและผลกระทบจากภาวะ โลกร้อนที่เราทุกคนต้องตระหนักและร่วมมือกันแก้ปัญหาอยู่ใน ขณะนี้ ซึ่งเหตุปัจจัยส่วนหนึ่งนั้นมาจากภาคเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมปศุสัตว์ทำาให้งานแสดงสินค้าที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม ปศุสัตว์และสัตว์น้ำามีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อทั้งภาคธุรกิจและความ เป็นอยู่ของพวกเราทุกคนบนโลกในเวลานี้งานแสดงสินค้ามีส่วนสำาคัญ ต่อธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ และงานเหล่านี้สาคัญอย่างยิ่งต่อการ ำ ได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากทุกฝ่าย ตั้งแต่ผู้เข้าชมงานแสดง สินค้าไปจนถึงผู้จัดแสดงสินค้า หน่วยงานภาครัฐและสมาคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งช่วยยืนยันจุดยืนในความเป็นงานระดับโลกของ VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ได้อย่างสมบูรณ์แบบ โดยพิธีเปิดได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำากระทรวง เกษตรและสหกรณ์ นายนราพัฒน์ แก้วทอง พร้อมด้วยแขกผู้มีเกียรติ จาก สำานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การ มหาชน) เอกอัครราชทูตประจำาประเทศบราซิล สเปน ฝรั่งเศส และ เบลเยี่ยม พร้อมด้วยพันธมิตรการจัดงานจากสมาคมต่างๆ ร่วม เปิดงาน นายนราพัฒน์ แก้วทอง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำากระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กล่าวว่า “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการออก ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ระยะ 20 ปีซึ่งเป็นนโยบายระดับชาติ ครอบคลุมปี พ.ศ. 2560-2579 กำาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศไทย


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ซึ่งทีเส็บเล็งเห็นถึงความสำาคัญเสมอมาและ พร้อมสนับสนุนการจัดงานแสดงสินค้าในประเทศไทยเสมอ “วิฟ เอเชีย และ มีท โปร เอเชีย นำาเสนอผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น ไก่และเนื้อวัว กลุ่มลูกค้าจากทุกภาคส่วน อาทิเช่น ฟาร์ม โรงฆ่าสัตว์ภาคการตัดและแยกกระดูก ได้เดินทางเข้าเยี่ยมชมงาน ครั้งนี้ โดยได้กล่าวถึงการที่ประเทศไทยเป็นตลาดที่ใหญ่และมี แนวโน้มการเติบโตที่สูงขึ้น จึงมีความต้องการเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ใหม่ๆ ในการช่วยพัฒนาการผลิต ซึ่งนับว่าเป็นตลาดที่น่าลงทุน เป็นอย่างยิ่ง” นายลือเดช ประสพศรี ผู้จัดการทั่วไป บริษัท จาร์วิส (ประเทศไทย) ได้กล่าว ภายในงานปีนี้มีผู้แสดงสินค้ามากกว่า 1,186 รายจาก 57 ประเทศซึ่งเป็นตัวแทนจาก 5 ภูมิภาค ที่ร่วมจัดแสดงเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุด ณ อาคารชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานีในพื้นที่ จัดแสดงกว่า 31,544 ตารางเมตร ที่จัดร่วมกับงาน Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้าที่นำาเสนอโซลูชั่น การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ที่รวมตั้งแต่ อาหารสัตว์-อาหารเพื่อการบริโภคไว้ในที่เดียว โดยในครั้งนี้ได้รับ ผลตอบรับในทางบวกจากภาคส่วนผู้ผลิตโปรตีนจากเนื้อสัตว์ซึ่งดึงดูด ผู้เข้าร่วมเป็นจำานวนมาก ความสำาเร็จในครั้งนี้ถือเป็นอีกก้าวสำาคัญ ของงานในเครือข่าย VIV worldwide ที่ถูกจัดขึ้นทั่วโลก “งาน VIV Asia เป็นงาน VIV แรกในปี2566 ซึ่งถือเป็นงานที่ตรงกับเป้าหมาย หลัก ในการเชื่อมโยงตลาดและยกระดับการค้าอุตสาหกรรมทั้งใน ประเทศและทั่วโลก” นาง Birgit Horn ผู้อำานวยการ วิฟ เวิร์ล ไวด์ บริษัท วีเอ็นยูยุโรป ได้กล่าว “ถือเป็นเรื่องน่ายินดีและน่าตื่นเต้นเป็นอย่างมาก ที่งานแสดง สินค้าที่จัดขึ้นในครั้งแรกอย่างงาน Meat Pro Asia ได้รับการต้อนรับ อย่างอบอุ่น และได้รับความสนใจอย่างล้นหลาม” นาย Richard Li ผู้อำานวยการ บริษัท Messe Frankfurt (HK) Ltd. ได้กล่าว “ที่สำาคัญกว่านั้น เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ได้เห็นการเจรจาธุรกิจที่เกิดขึ้น ทั่วทั้งงาน จากข้อเสนอแนะที่เราได้รับ เห็นได้ชัดว่าการจัดงานแสดง สินค้าทั้งสองงานพร้อมกันนั้นเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ซื้อและผู้ประกอบการ ถือเป็นการรวมทรัพยากรจำานวนมากเข้าด้วยกันในคราวเดียว ทางเราเชื่อมั่นว่างาน Meat Pro Asia เป็นอีกงานแสดงสินค้าใหม่ ที่น่าสนใจ ที่กำาลังสร้างกระแสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” นางสาวปนัดดา ก๋งม้า ผู้อำานวยการสายงานเกษตร-ปศุสัตว์ และฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค กล่าวว่า “เรามุ่งมั่นที่จะพัฒนางาน VIV Asia อย่างต่อเนื่อง ถึงจะไม่ได้จัด งานในประเทศไทย แต่เราก็ได้จัดงานในหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็น VIV MEA ที่อาบูดาบีVIV Europe ที่เมืองอูเทร็คท์ เนเธอแลนด์


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ซึ่งทีเส็บเล็งเห็นถึงความสำาคัญเสมอมาและ พร้อมสนับสนุนการจัดงานแสดงสินค้าในประเทศไทยเสมอ “วิฟ เอเชีย และ มีท โปร เอเชีย นำาเสนอผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น ไก่และเนื้อวัว กลุ่มลูกค้าจากทุกภาคส่วน อาทิเช่น ฟาร์ม โรงฆ่าสัตว์ภาคการตัดและแยกกระดูก ได้เดินทางเข้าเยี่ยมชมงาน ครั้งนี้ โดยได้กล่าวถึงการที่ประเทศไทยเป็นตลาดที่ใหญ่และมี แนวโน้มการเติบโตที่สูงขึ้น จึงมีความต้องการเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ใหม่ๆ ในการช่วยพัฒนาการผลิต ซึ่งนับว่าเป็นตลาดที่น่าลงทุน เป็นอย่างยิ่ง” นายลือเดช ประสพศรี ผู้จัดการทั่วไป บริษัท จาร์วิส (ประเทศไทย) ได้กล่าว ภายในงานปีนี้มีผู้แสดงสินค้ามากกว่า 1,186 รายจาก 57 ประเทศซึ่งเป็นตัวแทนจาก 5 ภูมิภาค ที่ร่วมจัดแสดงเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุด ณ อาคารชาเลนเจอร์1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานีในพื้นที่ จัดแสดงกว่า 31,544 ตารางเมตร ที่จัดร่วมกับงาน Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้าที่นำาเสนอโซลูชั่น การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ที่รวมตั้งแต่ อาหารสัตว์-อาหารเพื่อการบริโภคไว้ในที่เดียว โดยในครั้งนี้ได้รับ ผลตอบรับในทางบวกจากภาคส่วนผู้ผลิตโปรตีนจากเนื้อสัตว์ซึ่งดึงดูด ผู้เข้าร่วมเป็นจำานวนมาก ความสำาเร็จในครั้งนี้ถือเป็นอีกก้าวสำาคัญ ของงานในเครือข่าย VIV worldwide ที่ถูกจัดขึ้นทั่วโลก “งาน VIV Asia เป็นงาน VIV แรกในปี2566 ซึ่งถือเป็นงานที่ตรงกับเป้าหมาย หลัก ในการเชื่อมโยงตลาดและยกระดับการค้าอุตสาหกรรมทั้งใน ประเทศและทั่วโลก” นาง Birgit Horn ผู้อำานวยการ วิฟ เวิร์ล ไวด์ บริษัท วีเอ็นยูยุโรป ได้กล่าว “ถือเป็นเรื่องน่ายินดีและน่าตื่นเต้นเป็นอย่างมาก ที่งานแสดง สินค้าที่จัดขึ้นในครั้งแรกอย่างงาน Meat Pro Asia ได้รับการต้อนรับ อย่างอบอุ่น และได้รับความสนใจอย่างล้นหลาม” นาย Richard Li ผู้อำานวยการ บริษัท Messe Frankfurt (HK) Ltd. ได้กล่าว “ที่สำาคัญกว่านั้น เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ได้เห็นการเจรจาธุรกิจที่เกิดขึ้น ทั่วทั้งงาน จากข้อเสนอแนะที่เราได้รับ เห็นได้ชัดว่าการจัดงานแสดง สินค้าทั้งสองงานพร้อมกันนั้นเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ซื้อและผู้ประกอบการ ถือเป็นการรวมทรัพยากรจำานวนมากเข้าด้วยกันในคราวเดียว ทางเราเชื่อมั่นว่างาน Meat Pro Asia เป็นอีกงานแสดงสินค้าใหม่ ที่น่าสนใจ ที่กำาลังสร้างกระแสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” นางสาวปนัดดา ก๋งม้า ผู้อำานวยการสายงานเกษตร-ปศุสัตว์ และฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค กล่าวว่า “เรามุ่งมั่นที่จะพัฒนางาน VIV Asia อย่างต่อเนื่อง ถึงจะไม่ได้จัด งานในประเทศไทย แต่เราก็ได้จัดงานในหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็น VIV MEA ที่อาบูดาบีVIV Europe ที่เมืองอูเทร็คท์ เนเธอแลนด์ สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ILDEX Vietnam ที่โฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม และ ILDEX Indonesia ที่จาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นการเตรียมความ พร้อมและรวมรวมสุดยอดผู้นำาในวงการปศุสัตว์แต่ละภูมิภาคให้มา ในงาน VIV Asia โดยในงานครบรอบ 30 ปีนี้เรามีผู้ประกอบการ มากกว่า 1,300 บริษัทชั้นนำาจาก 62 ประเทศทั่วโลกมานำาเสนอ นวัตกรรมสุดไฮไทคสำาหรับภาคธุรกิจเกษตร-ปศุสัตว์ครอบคลุมธุรกิจ ทั้งห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรม ตั้งแต่ต้นน้ำา-ปลายน้ำา ซึ่งจากผล การลงทะเบียนเข้าชมงานล่วงหน้าในปีนี้สูงกว่าการจัดงานทุกครั้งที่ ผ่านมา โดยเน้นกลุ่มจากต่างประเทศเช่นเคย แต่ในปีนี้ผู้จัดงาน ก็คาดหวังให้คนไทยมาเข้าร่วมงานมากขึ้น เพื่อยกระดับวงการ ปศุศัตว์ของเรา” ระบบนิเวศอาหารสัตว์และอาหารเพื่อการบริโภคของผู้คนจะถูกปรับ เปลี่ยนไป VIV Asia เป็นเวทีสำาหรับการแลกเปลี่ยนและเจรจาสำาหรับ ผู้นำาทางอุตสาหกรรมในเอเชีย เพื่อจัดแสดงนวัตกรรมล่าสุด โดย ในปีนี้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ รวมถึงเครื่องมือทำาฟาร์มอัตโนมัติที่ ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด ผลิตภัณฑ์การแพทย์นวัตกรรมยา และระบบควบคุมโรงเรือนไก่เนื้อที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังนำาเสนอ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมที่น่าตื่นเต้นอื่นๆ ได้แก่ การสัมมนา ระดับภูมิภาคเกี่ยวกับนวัตกรรมในการทำาฟาร์มที่ดีซึ่งนำาโดยสมาพันธ์ สมาคมสัตวแพทย์แห่งเอเชีย รวมถึงการสัมมนาที่นำาเสนอโดย Tony Hunter แห่ง Future Cubed เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่สำาหรับระบบ อาหารโลกที่ยั่งยืนและเท่าเทียมกันในอนาคต “งานแสดงสินค้าที่จัดขึ้นครั้งนี้ ถือเป็นการรวบรวมผู้คนใน อุตสาหกรรมจากหลากหลายภาคส่วนมารวมกันไว้ในที่เดียว โดยจัด แสดงเป็นบูธผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีมากสำาหรับเกษตรกรใน อุตสาหกรรมที่จะมาที่นี่และเยี่ยมชมเทคโนโลยีล่าสุดสำาหรับอาหาร สัตว์และสุขภาพสัตว์ เรามั่นใจว่าทุกท่านที่เข้าร่วมงานแสดงสินค้า หรืองานสัมมนา จะได้รับประโยชน์สูงสุดจากงานในครั้งนี้” ดร. Quaza Nizam รองประธาน สมาคมสัตวแพทย์แห่งมาเลเซีย (VAM) สมาคมสัตวแพทย์แห่งมาเลเซีย รายการกิจกรรมที่อัดแน่นไปด้วยความรู้ตลอดทั้งสามวันถือเป็น ไฮไลท์สำาคัญของงาน ด้วยหัวข้อมากกว่า 120 หัวข้อที่กระจายไป ตลอดสี่วัน โดยผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับความเข้าใจอย่างรอบด้าน เกี่ยวกับข้อมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรม เทคโนโลยีและแนวทางปฏิบัติ ที่ดีที่สุด หนึ่งวันก่อนงานแสดงสินค้าจะเริ่มต้นขึ้น งานสัมมนา Aquatic Asia Conference ซึ่งจัดโดย International Aquafeed of Perendale Publications ทางผู้จัดฯ VIV นำาเสนอผู้เชี่ยวชาญ ในอุตสาหกรรมที่หลากหลายพร้อมการนำาเสนอที่น่าสนใจเกี่ยวกับ โภชนาการปลาและกุ้งในรูปแบบใหม่ สำาหรับการจัดงาน VIV Asia 2025 มีกำาหนดจัดงานระหว่าง วันที่ 12-14 มีนาคม 2568 ทีมผู้จัดงานทั้ง วีเอ็นยู ยุโรป และ วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค พร้อมด้วยพันธมิตรทางอุตสาหกรรม รวม ถึงสื่ออุตสาหกรรมกว่า 60 สื่อ สมาคมอุตสาหกรรมระดับโลกกว่า 45 สมาคม และผู้แสดงสินค้ารู้สึกขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนับสนุน การจัดงานนี้ในกรุงเทพฯ สามารถเตรียมพร้อมเพื่อรับชมสรุป หลังงานได้ภายในเดือนเมษายนนี้...


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คาร์กิลล์ จับมือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พัฒนาความ ร่วมมือทางวิชาการ โดยการแลกเปลี่ยน ความรู้ทางด้านปศุสัตว์ การบริหารฟาร์มโดยเทคโนโลยีดิจิตัล และ การเสริมสร้างศักยภาพ ของบัณฑิตใหม่ และส่งเสริมบุคลากรด้านปศุสัตว์ ในหลากหลาย มิติสําหรับ รองรับการแข่งขันของประเทศไทย ตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG หรือ โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนที่มุ่งเน้นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มุ่งสร้างมูลค่าเพิ่มของทรัพยากรชีวภาพ เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) คํานึงถึงการใช้ทรัพยากร ให้เกิดความคุ้มค่าหรือยาวนานที่สุด และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) การพัฒนาเศรษฐกิจโดยคํานึงถึงความยั่งยืนของ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คุณอัครฤทธิ์ บุญทวี กรรมการและผู้อํานวยการธุรกิจ โภชนาการอาหารสัตว์ประเทศไทย บริษัท คาร์กิลล์สยาม จํากัด กล่าวว่า ตามที่คาร์กิลล์ เป็นผู้นําการผลิต และจัดจําหน่ายสินค้า และบริการด้านอาหารสัตว์และโภชนาการ เราดําเนินธุรกิจภายใต้ ปรัชญาที่ว่า คาร์กิลล์มุ่งมั่นที่จะช่วยให้โลกเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน นั้น หนึ่งในปัจจัยสําคัญของความสําเร็จคือต้องอาศัยการขับเคลื่อน ของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาสอดผสานเพื่อสร้างประสิทธิภาพ การผลิตที่เหมาะสมที่สุด ดังนั้นเราจึงมุ่งเน้นในการส่งเสริม สนับสนุน และให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั่วโลกในการยกระดับ อุตสาหกรรมนี้ โดยคาร์กิลล์ ในประเทศไทยเราจึงได้ขยายความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานชั้นนําของประเทศไทยในการเป็นผู้ผลิต ผู้พัฒนา คาร์กิลล์ จับมือ สัตวแพทย์ มก. ยกระดับบัณฑิตปั้นบุคลากรไทยสู่ระดับสากล


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คาร์กิลล์ จับมือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พัฒนาความ ร่วมมือทางวิชาการ โดยการแลกเปลี่ยน ความรู้ทางด้านปศุสัตว์ การบริหารฟาร์มโดยเทคโนโลยีดิจิตัล และ การเสริมสร้างศักยภาพ ของบัณฑิตใหม่ และส่งเสริมบุคลากรด้านปศุสัตว์ ในหลากหลาย มิติสําหรับ รองรับการแข่งขันของประเทศไทย ตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG หรือ โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนที่มุ่งเน้นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มุ่งสร้างมูลค่าเพิ่มของทรัพยากรชีวภาพ เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) คํานึงถึงการใช้ทรัพยากร ให้เกิดความคุ้มค่าหรือยาวนานที่สุด และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) การพัฒนาเศรษฐกิจโดยคํานึงถึงความยั่งยืนของ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คุณอัครฤทธิ์ บุญทวี กรรมการและผู้อํานวยการธุรกิจ โภชนาการอาหารสัตว์ประเทศไทย บริษัท คาร์กิลล์สยาม จํากัด กล่าวว่า ตามที่คาร์กิลล์ เป็นผู้นําการผลิต และจัดจําหน่ายสินค้า และบริการด้านอาหารสัตว์และโภชนาการ เราดําเนินธุรกิจภายใต้ ปรัชญาที่ว่า คาร์กิลล์มุ่งมั่นที่จะช่วยให้โลกเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน นั้น หนึ่งในปัจจัยสําคัญของความสําเร็จคือต้องอาศัยการขับเคลื่อน ของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาสอดผสานเพื่อสร้างประสิทธิภาพ การผลิตที่เหมาะสมที่สุด ดังนั้นเราจึงมุ่งเน้นในการส่งเสริม สนับสนุน และให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั่วโลกในการยกระดับ อุตสาหกรรมนี้ โดยคาร์กิลล์ ในประเทศไทยเราจึงได้ขยายความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานชั้นนําของประเทศไทยในการเป็นผู้ผลิต ผู้พัฒนา คาร์กิลล์ จับมือ สัตวแพทย์ มก. ยกระดับบัณฑิตปั้นบุคลากรไทยสู่ระดับสากล สัตว์เศรษฐกิจ 49 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ และจากความร่วมมือนี้จะยิ่งสามารถส่งเสริมการผลิต สัตวแพทย์และบุคลากรในการยกระดับขีดความสามารถที่ส่งผลดี ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตาม BCG โมเดลหรือแนวคิด เศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ขอเชิญผู้ที่สนใจนวัตกรรมต่างๆ และเข้าร่วมโครงการต่างๆ ในการยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการและบุคลากรด้านปศุสัตว์ พร้อมทั้งข้อมูลข่าวสารของทางคาร์กิลล์ผ่านช่องทางออนไลน์ได้ที่ FB : อาหารสัตว์บก : Cargill Thailand หรือ LINE : @CargillFeeds “คาร์กิลล์มุ่งมั่นที่จะช่วยให้โลกเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน” ศัยกภาพให้กับบุคคลากรในอุตสาหกรรมปศุสัตว์ เราจึงได้รับโอกาส เข้ามามีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน ความรู้ เพื่อเป็นการการเพิ่ม ขีดความสามารถร่วมกับคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เพื่อต่อยอดและสร้างบุคคลากรที่รอบรับแนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับสากล ผู้ช่วยศาสตราจารย์.น.สพ. คงศักดิ์ เที่ยงธรรม คณบดี คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า คณะ สัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันการศึกษา ทางสัตวแพทยศาสตร์ชั้นนําของประเทศไทยทําหน้าที่ผลิตสัตวแพทย์ ที่มีความรู้ ความสามารถ ออกไปปฏิบัติงานในฐานะพลเมืองไทย และพลเมืองโลก อีกทั้งเป็นแหล่งผลิตองค์ความรู้ใหม่ๆ ทาง สัตวแพทย์ ตลอดจนให้บริการทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการ สัตวแพทย์ทั้งนี้เพื่อให้สุขภาพสัตว์สุขภาพคน และชีวิตความเป็น อยู่ของประชาชนดีขึ้น จนได้รับการกล่าวถึงว่า “สัตวแพทย์เกษตร สัตวแพทย์ของประชาชน” และเรามีความยินดีอย่างยิ่งที่ทางคาร์กิลล์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจัดจําหน่ายสินค้า และบริการด้านเกษตรกรรมใน ระดับโลกได้เข้ามามีส่วนร่วมในการยกระดับศักยภาพนิสิต และ สัตวแพทย์ของประเทศไทยโดยครอบคลุมในด้านต่างๆ 4 ด้าน ดังนี้ (1) ด้านการฝึกศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพของนิสิตบัณฑิตศึกษา และบุคลากรของหน่วยงานทั้งสอง (2) ด้านการพัฒนาความรู้ด้านวิชาการ (3) ด้านการวิจัยและพัฒนา (4) ด้านการบริการวิชาการ


50 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คดีนี้เป็นกรณีตัวอย่างสำาหรับคนที่เกี่ยวข้องอยู่ใน “ขบวนการ ลักลอบนำาเข้าหมูผิดกฏหมาย” ที่ควรต้องตระหนัก และยุติการ กระทำาทันทีการเป็นคนดีๆ ทำาการค้าปกติก็ไม่ต้องมีชนักติดหลัง ไม่ต้องมีประวัติผู้ร้ายติดตัวย่อมดีกว่าเป็นไหนๆ ขณะที่ปัจจุบันยังมี อีกหลายคดีที่อยู่ในกระบวนการทางกฏหมาย ซึ่งคงได้เห็นความผิด ตาม พ.ร.บ.กรมศุลกากร ที่มีโทษหนักโดยไม่รอลงอาญาในเร็วๆ นี้ และเชื่อว่าสังคมจะค่อยๆ ได้เห็นหน้าตาผู้เกี่ยวข้องที่จะถูกกระชาก หน้ากากออกมาทีละคน และในที่สุดจะได้เห็น “ตัวบงการ” ที่ทำาร้าย คนไทยอย่างเลือดเย็นมานานปี ขณะที่ “ไข่ครอบสงขลา” สินค้าปศุสัตว์ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ (GI) ตัวใหม่ของประเทศไทย ตามที่ ดร. เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สนับสนุนและ ผลักดันให้ “ไข่ครอบสงขลา” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์หรือ GI ซึ่งจะเป็นสินค้าปศุสัตว์GI ลำาดับที่ 5 ต่อจาก ไข่เค็มไชยา หมูย่างเมืองตรัง เนื้อโคขุนโพนยางคำา และผ้าฝ้ายทอ ผสมขนแกะบ้านห้วยห้อม ทั้งนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ ประกาศสนับสนุนให้ไข่ครอบสงขลา เป็นสินค้า GI เพื่อเพิ่มโอกาส ด้านการตลาดและช่องทางการจำาหน่ายตลอดห่วงโซ่การผลิต ให้แก่ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ผู้แปรรูปไข่ครอบ และผู้ประกอบการร้านอาหาร ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ตลอดจนกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดสงขลา ให้เติบโตอย่างยั่งยืน และที่ผ่านมากรมปศุสัตว์ร่วมกับจังหวัดสงขลา และองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ “ไข่ครอบสงขลา” โดยมีการสาธิตการทำาอาหารจากไข่ครอบสงขลา เป็นเมนูต่างๆ ได้แก่ ทาร์ตไข่ครอบ สปาเก็ตตี้คาโบนาร่าไข่ครอบ และยำาไข่ครอบ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไข่ครอบสงขลาให้แก่ ประชาชนทั่วไป สำาหรับเป็นข้อมูลในการบริโภคและเป็นแนวทางให้ กับผู้จำาหน่ายในการเพิ่มมูลค่าไข่ครอบ บัดนี้กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ได้ประกาศขึ้น ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ไข่ครอบสงขลาเป็นสินค้า GI ตัวใหม่ของไทย เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา ซึ่งในปัจจุบัน ไทยมีสินค้า GI ที่ประกาศขึ้นทะเบียนแล้ว 177 สินค้าครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ ไข่ครอบสงขลา (Songkhla Steamed Egg Yolks หรือ Khai Khrop Songkhla) เป็นอาหารพื้นถิ่นที่ผลิตและ แปรรูปในอำาเภอสทิงพระ อำาเภอกระแสสินธุ์ อำาเภอระโนด และ อำาเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นวิธีการถนอมอาหารจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในพื้นที่ที่สืบทอดกันมานานกว่า 100 ปี โดยการนำาไข่แดงจากไข่เป็ด 2 ใบ ใส่ลงในเปลือกไข่ 1 ใบที่ตัดแต่ง ขอบ แล้วนำาไปนึ่งจะมีสีแดงอมส้ม ผิวมันวาว โดดเด่นด้วยเนื้อสัมผัส 3 ระดับ คือ เนื้อลาวา เนื้อยางมะตูม เนื้อดั้งเดิม มีรสหวานและ เค็มเล็กน้อย ไม่มีกลิ่นคาว ด้านกรมปศุสัตว์ ได้เชิญสมาคมการค้าอาหารสัตว์เลี้ยงไทย นำาโดย นายชนินทร์ ชลิศราพงศ์ นายกสมาคมการค้าอาหารสัตว์ เลี้ยงไทย (Thai Pet Food Trade Association) บริษัท ซีพีเอฟ บอกกล่าวเล่าสิบ บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 903 เดือนเมษายน... โดนแล้ว!! ทั้งจำาทั้งปรับ ... คดี“หมูเถื่อน” ที่เข้ามาเบียดเบียนตลาด หมูไทยขายหมูตัดราคาสร้างความเดือดร้อนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงหมู ไทยทั่วประเทศมาตั้งแต่ต้นปี2565 หมูเหล่านี้ไม่ผ่านการตรวจสอบ ด้านความปลอดภัยทางอาหาร เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไทยอย่างยิ่ง ขณะที่ภาครัฐลงมือตรวจสอบจับกุมและติดตามเส้นทางหมูเถื่อน อย่างใกล้ชิด โดย “ห้องเย็น” เป็นหนึ่งในห่วงโซ่มิจฉาชีพ โดยทำา หน้าที่เป็น “แหล่งพัก” หมูเถื่อนหลังขึ้นจากท่าเรือ ก่อนส่งกระจาย ขายสู่ตลาดทั่วไทย จึงทำาการตรวจค้นห้องเย็นหลายแห่ง หากยังจำากันได้เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2565 กรมปศุสัตว์แถลง ข่าวการสนธิกำาลังกับ ปคบ. เข้าตรวจสอบ “อนุสรณ์ห้องเย็น” ใน จังหวัดสมุทรสาคร และพบ “หมูเถื่อน” ถูกเก็บสต็อกอยู่ในห้องเย็น แห่งนี้จำานวนมากถึง 439,599 กิโลกรัม ในที่สุดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2566 ศาลจังหวัดจังหวัดสมุทรสาครได้พิจารณาคดีดังกล่าว โดยพิพากษาตามฐานความผิด “นำาเข้า ส่งออก หรือ นำาผ่าน ราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์ หรือซากสัตว์ โดยไม่ได้รับอนุญาตฯ และ เคลื่อนย้ายซากสัตว์เข้า ออก ผ่าน หรือภายในเขตพื้นที่ประกาศเขต กำาหนดโรคระบาด หรือเขตเฝ้าระวังโรคระบาด ตามมาตรา 21 โดย ไม่ได้รับอนุญาต อันเป็นความผิดตามมาตรา 22, 31 ต้องระวาง โทษตามมาตรา 65, 68 แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558” กล่าวโดยสรุปคือจำาเลยมีความผิดตาม พ.ร.บ.ไม่มีใบอนุญาต นำาเข้า พ.ร.บ.ไม่มีใบเคลื่อนย้าย โดยศาลตัดสินลงโทษจำาคุกจำาเลย 2 ราย เป็นเวลา 15 เดือน และ 9 เดือน รวมจำาคุก 2 ปี โทษปรับ 35,000 บาท และ 25,000 บาท โดยโทษจำาคุกให้รอ ลงอาญา 2 ปี และคุมประพฤติ 1 ปี นับเป็นความสำาเร็จใน การดำาเนินคดีต่อผู้กระทำาผิดอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม กรณีนี้ต้อง ปรบมือให้กับความพยายามและจริงจังของเจ้าหน้าที่ทุกภาคส่วน แม้ “ห้องเย็น” จะเป็นเพียงห่วงโซ่มิจฉาชีพส่วนหนึ่งของการกระทำาผิด เพราะหมูเถื่อนเป็นเรื่องของ “กระบวนการ” ที่ยังมีผู้เกี่ยวข้อง อีกหลายขั้นตอน ตั้งแต่ผู้นำาเข้า การผ่านแดน ชิปปิ้ง การขนส่ง ห้องเย็น ผู้กระจายสินค้าสู่ผู้บริโภค และอื่นๆ ซึ่งหากเจ้าหน้าที่ เอาจริงเอาจัง การกวาดล้างทั้งกระบวนการก็ไม่น่าจะเกินวิสัยที่จะ ทำาได้ ซึ่งจะส่งผลดีโดยตรงต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูและป้องกัน โรคระบาดสัตว์แล้ว ยังจะส่งผลดีต่อสุขอนามัยของผู้บริโภคชาวไทย ด้วย


Click to View FlipBook Version