The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัตว์เศรษฐกิจ-913

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัตว์เศรษฐกิจ E magazine, 2024-02-19 01:53:42

Livestock Production Magazine 913

สัตว์เศรษฐกิจ-913

LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ https://livestockemag.com/ ปี 39 ฉบับที่ 913 กุมภาพันธ์ 2567 หมู ปี 67 เหนื่อย... แบกต้นทุนสูง แต่ยังราคาผันผวน ไก่เนื้อ ปี 67 ส่งออกโตต่อ...คาดยอดทะลุ 1.12 ล้านตัน โคเนื้อไทย ปี 67 รัฐดันส่งออก ผู้เลี้ยงหวังราคาดีขึ้น โลกยิ่งร้อน (โรคจาก) แมลง..ยิ่งร้าย หมู ปี 67 เหนื่อย... แบกต้นทุนสูง แต่ยังราคาผันผวน ไก่เนื้อ ปี 67 ส่งออกโตต่อ...คาดยอดทะลุ 1.12 ล้านตัน โคเนื้อไทย ปี 67 รัฐดันส่งออก ผู้เลี้ยงหวังราคาดีขึ้น โลกยิ่งร้อน (โรคจาก) แมลง..ยิ่งร้าย


4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ “หมูเถื่อน” ปราบปรามมาราธอนมาเกินกว่า 2 ปีแต่ยังไม่หมด ยังมีอยู่และยังมีต่อไป ขณะที่คดีต้องเปลี่ยนมือโดยกรมศุลกากร ส่งมอบให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) หวังผลการสืบสวน-สอบสวนเชิงลึก และสามารถดำาเนินคดีกับผู้กระทำาผิดทั้งเบื้องหน้าและเบื้อง หลังได้โดยมีเป้าหมายสำาคัญ คือ กระชากหน้ากาก “ผู้บงการ” ตัวจริงมาลงโทษให้สมกับความผิดและความเสียหายที่เกิดขึ้นกับประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ ทำาลายห่วงโซ่การผลิตและกลไกราคาของ “หมูไทย” ถึงวันนี้ต้องแยกคดีหมูเถื่อนให้สังคมเห็นกันชัดๆ 2 ส่วนหลัก คือ 1. คดีหมูเถื่อนตกค้างที่ท่าเรือแหลมฉบัง 161 ตู้ของกลาง น้ำาหนักรวม 4,500 ตัน ขณะนี้สอบสวนได้ผู้ที่อยู่ในข่ายต้องถูกดำาเนินคดี 18 บริษัท ออกหมายจับแล้ว 10 บริษัท และจับนายทุน 2 คน และ 2. คือ หมูเถื่อนที่สำาแดงเท็จเป็นอาหารทะเลแช่แข็งและโพลิเมอร์ถูกขนย้ายออกจากท่าเรือแหลมฉบังจำานวน 2,385 ใบขน น้ำาหนักมากกว่า 60,000 ตัน ขณะนี้ยังคงซุกซ่อนอยู่ในห้องเย็นทั่วประเทศ และทยอยระบายออกมาสวมรอยเป็นหมูไทยแทรกแซงตลาด ตลอดเวลา ทำาให้เกิดปัญหาปริมาณเกินความต้องการ (Over Supply) บิดเบือนกลไกตลาด กดราคาหมูไทยจนตกต่ำากว่าต้นทุนการผลิต หลายเดือน แต่ความผิดในส่วนนี้ยังอยู่ในขั้นตอนการตั้งไข่ เพราะกรมศุลกากรเพิ่งส่งเอกสารนำาเข้าให้ DSI เมื่อไม่นานมานี้ คงต้อง สอบสวนกันยาวไป เนื่องจาก DSI เสียเวลาเบนเข็มไปทำาคดีสวมสิทธิ์ตีนไก่ 10,000 ตู้เกือบ 1 เดือน ทั้งนี้หมูเถื่อนของกลางที่จับกุมได้ระหว่างปี2565-ปัจจุบัน น้ำาหนักมากกว่า 75,000 ตัน (75 ล้านกิโลกรัม) ประเมินมูลค่าความ เสียหายเบื้องต้นไม่น้อยกว่า 50,000 ล้านบาท ขณะที่ราคาเฉลี่ยหมูมีชีวิตตกต่ำาสุดเมื่อตุลาคม 2565 ที่ 56-58 บาทต่อกิโลกรัม และ ราคาเฉลี่ยอยู่ในแนวต่ำากว่าต้นทุนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งราคาล่าสุดเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2567 อยู่ที่ 74-76 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งราคาที่ เกษตรกรตั้งเป้าหมายไว้คือ 80-82 บาทต่อกิโลกรัม ก็หวังว่าการจับกุมหมูเถื่อนจะลดปริมาณเนื้อหมูที่ออกสู่ตลาดได้ราคาก็จะกลับเข้า สู่สมดุล ช่วง 1 ปีที่ผ่านมา เป็นช่วงที่ผู้เลี้ยงหมูต้องแบกภาระสำาคัญ 2 ด้าน คือ 1. การฟื้นฟูผลผลิตให้เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ หลัง โรคระบาด ASF ในปี2565 ทำาให้หมูขุนและแม่พันธุ์สุกรหายไปกว่า 50% ซึ่งเป็นชนวนการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อน-หมูถูกจาก ต่างประเทศ มาฉวยโอกาสทำากำาไรช่วงหมูไทยไม่เพียงพอ ทั้งยังเป็นการกดราคาหมูไทยทำาให้ผู้เลี้ยงต้องการขาดทุนนานกว่า 10 เดือน 2. ต้นทุนการผลิตสูง สาเหตุจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน ดันราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ทั้งข้าวโพด ถั่วเหลือง พลังงานและปัจจัยการผลิต เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 20-30% แม้ปัจจุบันราคาจะปรับลดลงก็ตามแต่ยังคงอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับช่วงก่อนสงคราม ขณะที่สงครามยังยื้ดเยื้อ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและภาคการผลิต หลังเดือนพฤษภาคม 2566 รัฐบาลนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน สั่งการตรงไปยังผู้บริหารสูงสุดของ DSI ทำาให้คดีหมูเถื่อนที่ อืดอาดยืดยาดมีความคืบหน้าไปมาก แต่ก็ยังมีส่วนที่ต้องติดตามการสอบสวนตัวผู้กระทำาผิดทั้งบริษัทชิปปิ้งหรือบริษัทนำาเข้า ห้องเย็น จนถึงตัวบุคคล ที่มีการเปิดชื่อแล้ว เป็นเพียงตัวประกอบเท่านั้น ขณะที่ “ตัวการใหญ่” ยังไม่มีการเผยโฉมให้สังคมได้รับรู้มีเพียงลมปาก อ้างอิง นายทุน นักการเมือง ข้าราชการระดับสูง ล่าสุด DSI ประกาศจะนำาตัวคนผิดขาใหญ่มาเผยโฉมต่อสังคมให้ได้ภายในเดือน กุมภาพันธ์นี้ ถึงจุดนี้ รัฐบาลต้องวางนโยบายยกระดับราคาหมูไทยให้สอดคล้องกับโครงสร้างต้นทุนการผลิต ให้ผู้เลี้ยงอยู่ได้ ผู้บริโภคจ่ายคล่อง สร้างกลไกตลาดที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย ซึ่งการลดภาระขาดทุนของเกษตรกรถือเป็นหนึ่งในเรื่องเร่งด่วนที่ต้องการให้รัฐบาลบริหารจัดการ อย่างเหมาะสม เช่น การยกเลิกมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร โดยเฉพาะเรื่องการนำาเข้าวัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่ยังติดปัญหาโควต้าและภาษีนำาเข้า ทั้งที่ผลผลิตในประเทศขาดแคลนจำานวนมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยบั่นทอนความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ และจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารของประเทศในระยะยาว เพราะไม่มีกิจการใดที่สามารถแบกขาดทุน ได้เป็นเวลานาน ที่สำาคัญจะส่งผลกระทบต่อการบริโภคของประชาชน หากเกษตรกรเลิกอาชีพ ผลผลิตจะไม่เพียงพอและดันราคาให้สูงขึ้น “หมูเถื่อน” จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลต้องเร่งปราบปรามและดำาเนินคดีกับผู้กระทำาผิดให้ถึงที่สุดโดยเร็ว และเร่งวางแผนระยะยาว เพื่อสร้างเสถียรภาพราคา ซึ่งเป็นปัจจัยสำาคัญที่จะส่งเสริมการแข่งขันกับเนื้อสัตว์จากต่างประเทศที่มีต้นทุนถูกกว่าไทยมากได้สร้างกลไก ตลาดที่เข้มแข็งเป็นตัวช่วยปราบปรามหมูเถื่อนอย่างมีประสิทธิภาพ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “หมูเถื่อน” ปราบไม่หมด ทุกข์หนักของเกษตรกร


คอลัมน์พิเศษ 10 หมูปี67เหนื่อย...แบกต้นทุนสูง แต่ยังราคาผันผวน 16 เหตุที่ภาครัฐดูแคลนภาคปศุสัตว์โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร 19 เร่งเดินหน้าโครงการรักษาเสถียรภาพราคาหมูตามมติPig Board 20 ซีพีเอฟ ช่วยรายย่อย รับซื้อผลผลิตลดความเสี่ยงตลาดผันผวน 22 ไก่เนื้อ ปี67 ส่งออกโตต่อ...คาดยอดทะลุ1.12 ล้านตัน 28 คอมพาร์ทเมนต์ระบบป้องกันไก่ไทยปลอดไข้หวัดนก 30 เปิดฟาร์มไก่อัจฉริยะ...ต้นแบบการผลิตอาหารคุณภาพสู่ผู้บริโภค 31 โคเนื้อไทย ปี67รัฐดันส่งออก ผู้เลี้ยงหวังราคาดีขึ้น 38 เวียดนามไฟเขียวนำาเข้าโค-กระบือจากไทย 40 กรมปศุสัตว์...เตือนการระบาดของ “โรคลัมปีสกิน” ในโค กระบือ 41 โลกยิ่งร้อน (โรคจาก) แมลง..ยิ่งร้าย 44 ภาคปศุสัตว์ชมรัฐแก้ปัญหากากถั่ว พร้อมขอให้ช่วยขจัดอุปสรรคหนุนแข่งขัน 46 เร่งรัฐบังคับใช้GAP ลดช้าวโพดบุกรุกป่า ลดฝุ่น PM2.5 48 อ.ส.ค. โชว์แกร่งพร้อมรับมือเปิดเสรีโคนม 50 “ปศุสัตว์” เชื่อมโยงการจำาหน่ายข้าวโพดพร้อมฝักถึงผู้เลี้ยงโคนม 51 เปิดตัว HAN ASIA 2025 ยกระดับแพลตฟอร์มการเกษตรภูมิภาคเอเชีย 52 Farm Expoจับมือพันธมิตรดันงานเกษตรครบวงจรสัญชาติไทยครั้งแรก คอลัมน์ประจำ� 8 บอกกล่าว 54 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่913 กุมภาพันธ์2567 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 913


The Leading Mycotoxin Testing Solutions 9/35 ถนนบางบอน 4 บางบอนเหนือ บางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร: 02-4162586 โทรสาร 02-4162587 www.auprogression.com / E-mail : [email protected] ชุดอุปกรณ์ในการทดสอบหาปริมาณของ Mycotoxin แบบรวดเร็ว ด้วยหลักการ ของ lateral flow strip โดยสามารถทดสอบได้ทั�งในวัตถุดิบและอาหารสัตว์ทุกชนิด One Approach Delivers Full Range Afiatoxin Detection for Complete Feeds สามารถทดสอบหาปริมาณของ Aflatoxin Total (B1,B2,G1,G2),Don,Fumonisin, Zearalenone,Ochratoxin,T2/HT2 และ Glyphosate ทดสอบ Mycotoxin ท�ง 6 ชนิด ได้ด้วยการส ักดตั วอย่างเพียงคร� ั งเดียว ั ไม่ต้องใช้สารพิษ Mycotoxin ในการทํา Calibration วิเคราะห์และรายงานผลเป็นตวเลขได้ภายใน 5-10 นาที ั ใช้งานง่าย ข�นตอนน้อย ผ ั ู้ใช้งานไม่จําเป็นต้องมีทกษะในงานห้องปฏิ ับติการมาก่อน ั ผลการทดสอบเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกบผลจาก HPLC ั


8 สัตว์เศรษฐกิจ การแพทย์และกรมปศุสัตว์ เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพและการปลอมปน นมผงมาใช้ผลิตนมโรงเรียน หากพบว่า ผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ของโครงการฯ จะพิจารณาโทษตามฐานความผิดที่ตรวจ พบอย่างเด็ดขาดต่อไป สำาหรับมาตรการติดตามการส่งมอบนมโรงเรียนของผู้ประกอบ การให้แก่โรงเรียน ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา กำาหนดให้ผู้ประกอบ การแจ้งแผนส่งมอบนมโรงเรียน ให้แก่คณะทำางานขับเคลื่อนโครงการ อาหารรนมเพื่อเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด เพื่อให้คณะทำางาน ติดตามตรวจสอบการส่งมอบนมโรงเรียน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของโครงการนอกจากนี้ยังเห็นชอบให้เชิญผู้แทนจากองค์กรต่อต้าน คอร์รัปชัน (ประเทศไทย) และผู้แทนจากสำานักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เข้าร่วม สังเกตการณ์ตรวจสอบติดตามการผลิตและการจัดส่งนมโรงเรียนชนิด ยู เอช ที สำาหรับช่วงปิดภาคเรียนด้วย การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้โรงเรียนได้รับนม โรงเรียนล่วงหน้าก่อนปิดภาคเรียน เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้เด็กได้ดื่มนมที่มีคุณภาพ ครบถ้วน ไม่ล่าช้า รวมถึงเป็นไปตามข้อเสนอแนะของสำานักงานคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ต่อ หน่วยงานที่ทำาหน้าที่ในการนำานโยบายไปปฏิบัติ ให้หน่วยงานที่ รับผิดชอบในการจัดซื้อนมโรงเรียนต้องให้ความสำาคัญและเข้มงวดใน ขั้นตอนการส่งมอบและรับมอบนมโรงเรียน พร้อมกันนี้ กรมปศุสัตว์ชี้แจงรายละเอียด “โครงการโคบาล ชายแดนใต้” ตามที่ปรากฏข่าว การจัดหาแม่โคของกลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดปัตตานี ไม่ตรงตามคุณลักษณะเฉพาะของโครงการ ย้ำาขณะนี้เป็นการดำาเนินงานระยะนำาร่อง โดยกลุ่มเกษตรกรเป็น ผู้จัดหาแม่โคเอง เนื่องจากเป็นเงินกู้ที่เกษตรกรกู้ยืมจากกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร เร่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบสาเหตุที่ทำาให้ พันธุ์สัตว์ไม่เป็นตามคุณลักษณะเฉพาะที่กำาหนด หากเกิดจากความ บกพร่องของเจ้าหน้าที่ จะดำาเนินการอย่างเด็ดขาด นายสัตวแพทย์ประภาส ภิญโญชีพ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์จะตั้งคณะกรรมการไปตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณี ที่ปรากฏข่าวว่า การจัดหาแม่โคในโครงการ “โคบาลชายแดนใต้” ไม่ตรงกับที่กำาหนดในคุณลักษณะเฉพาะของแม่โคเนื้อในโครงการ โดย มีลักษณะซูบผอม เพื่อให้ทราบว่า การจัดหาพันธุ์สัตว์ในโครงการมี ปัญหาอุปสรรคใด หรือมีข้อบกพร่องตรงไหน ตามข้อสั่งการของร้อย เอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตรวจติดตามและ ประเมินผลทุกโครงการที่ดำาเนินงานเพื่อเร่งแก้ปัญหาให้เกษตรกร อย่างทันท่วงที อีกทั้งเพื่อให้เกษตรกรได้รับประโยชน์สูงสุดตาม วัตถุประสงค์โดยโครงการ “โคบาลชายแดนใต้” กรมปศุสัตว์ดำาเนิน การร่วมกับศูนย์อำานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และกระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการเมืองปศุสัตว์ตามกรอบ ระเบียงเศรษฐกิจ ฮาลาลจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อสร้างรายได้และ บอกกล่าวเล่าสิบ บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 913 เดือนกุมภาพันธ์...เริ่ม จาก อธิบดีกรมปศุสัตว์ ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกลาง โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ย้ำามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการกำากับการผลิตและส่งมอบนมโรงเรียนในช่วงปิดเทอม ให้เด็ก นักเรียนได้รับนมที่มีคุณภาพ ครบถ้วน และทันเวลาปิดเทอม โดยตั้งทีมชุดเฉพาะกิจในการเฝ้าระวัง และติดตามประสานงาน กับผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปี 2566 ให้ส่งแผนการผลิตนม ยู เอช ทีและให้ส่งมอบครบถ้วน ล่วงหน้าก่อนปิดภาคเรียน ตลอดจนควบคุมคุณภาพอย่างเข้มงวด ป้องกันการปลอมปนนมผงในผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกลางโครงการ อาหารเสริม (นม) โรงเรียน ครั้งที่ 2/2567 โดยมีคณะอนุกรรม การฯ จากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ซึ่งการประชุม ในครั้งนี้มีวาระที่สำาคัญคือ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ให้สถานศึกษาได้รับนมโรงเรียนก่อนปิดภาคเรียน ตลอดจนวาง แนวทางเฝ้าระวังกำากับติดตามตรวจสอบการจัดส่งนมยู เอช ที ในโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนช่วงปิดภาคเรียนเพื่อให้ได้ รับมอบนมที่มีคุณภาพ ครบถ้วน ทันเวลา ตามหลักเกณฑ์ของ โครงการฯ ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการฯ ร่วมกันประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน แล้ว พบว่า ความต้องการน้ำานมดิบมีแนวโน้มสูงขึ้น ประกอบกับ กลไกราคาตลาด อาจส่งผลกระทบต่อปริมาณน้ำานมดิบที่นำามาใช้ใน โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำาปี 2566 อีกทั้งต้องเฝ้า ระวังป้องกันและลดความเสี่ยงที่ผู้ประกอบการบางราย อาจจะปฏิบัติ ไม่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการดำาเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำาปีการศึกษา 2566 ฉบับที่ 2 ที่ประชุมคณะอนุกรรมการฯ จึงร่วมกันพิจารณากำาหนด แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้สถานศึกษาได้รับ นมโรงเรียนล่วงหน้าก่อนปิดภาคเรียน โดยกำาหนดมาตรการติดตาม การผลิตและการจัดส่งนมโรงเรียนชนิดยู เอช ที และกำาหนดแบบ รายงานแผนการผลิตและแผนการจัดส่งนมในโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน (ภาคเรียนที่ 2/2566) รวมถึงกำาหนดให้ผู้ประกอบ การต้องส่งแผนการผลิต แบบรายงานรายชื่อคู่สัญญาจ้างผลิต นมยูเอชทีในโครงการฯ ซึ่งอนุกรรมการขับเคลื่อนนมโรงเรียนระดับ กลุ่มพื้นที่จะแจ้งคณะทำางานตรวจสอบโรงงานหรือสถานประกอบการ ไปตรวจสต๊อกนมโรงเรียนชนิดยู เอช ที โดยมีชุดเฉพาะกิจจากส่วน กลางเข้าร่วมด้วย เพื่อสรุปรายงานคณะอนุกรรมการบริหารกลาง โครงการฯ พิจารณาความถูกต้องครบถ้วน นอกจากนี้จะสุ่มเก็บ ตัวอย่างนมยูเอชทีส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตร์ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE


สัตว์เศรษฐกิจ 9 ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยยืม เงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กรอบวงเงิน 1,566.20 ล้าน บาท การดำาเนินงานแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ปัจจุบันอยู่ในระยะนำาร่อง เกษตรกร 60 กลุ่ม แม่โคพื้นเมือง 3,000 ตัว เงินกู้ยืม 93 ล้าน บาท และเงินจ่ายขาด 1.20 ล้านบาท กิจกรรมที่สำาคัญในโครงการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในหมู่บ้านจะ ได้รับการสนับสนุนเงินกู้ยืมจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเพื่อจัดหา ปัจจัยการผลิตในระดับต้นน้ำา กลุ่มละ 1.55 ล้านบาท เพื่อดำาเนิน กิจกรรม 4 กิจกรรม ดังนี้ 1. จัดทำาแปลงพืชอาหารสัตว์ กลุ่มละ ไม่น้อยกว่า 20 ไร่ เงินกู้ยืม 100,000 บาท 2. ก่อสร้างโรงเรือน เลี้ยงโคเนื้อ (คอกกลาง) จำานวน 1 โรงเรือน เงินกู้ยืม 350,000 บาท 3. จัดหาแม่โคพื้นเมือง จำานวน 50 ตัว ตัวละไม่เกิน 17,000 บาท เงินกู้ยืม 850,000 บาท 4. การจ้างเจ้าหน้าที่ฟาร์ม จำานวน ไม่เกิน 3 คน เงินกู้ยืม 250,000 บาท สำาหรับกรณีกลุ่มเกษตรกรจังหวัดปัตตานีบางกลุ่มร้องเรียนว่า “แม่โคพื้นเมืองที่ส่งมอบให้กลุ่มมีลักษณะซูบผอม น้ำาหนักไม่ตรงกับ ที่กำาหนดในคุณลักษณะเฉพาะของแม่โคเนื้อในโครงการ” กรมปศุสัตว์ ขอชี้แจงว่า การจัดหาพันธุ์สัตว์ในโครงการที่ใช้เงินนอกงบประมาณ กล่าวคือ เป็นเงินกู้ของเกษตรกรจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ได้ ดำาเนินการตามหลักการที่สำาคัญคือ การให้กลุ่มเกษตรกรเป็นผู้จัดหา พันธุ์สัตว์เองตามคุณลักษณะเฉพาะที่กรมปศุสัตว์กำาหนด โดยกำาหนด สายพันธุ์ อายุ น้ำาหนักตัว สุขภาพสัตว์ การได้รับวัคซีน และการ ตรวจโรคที่สำาคัญ พร้อมเงื่อนไขการรับประกันหากไม่ถูกต้องตามที่ กำาหนดผู้ขายจะต้องเปลี่ยนตัวสัตว์ใหม่ให้แก่เกษตรกร ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ส่วนข้อร้องเรียนของเกษตรกรตามที่ปรากฏข่าว กรมปศุสัตว์ ได้ให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ตรวจสอบสาเหตุเบื้องต้น พบว่า ช่วงระยะ เวลาที่ได้ทยอยส่งมอบและตรวจรับแม่โคตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2567 เป็นช่วงเวลาที่พื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ประสบสภาวะฝนตกอย่างต่อเนื่องและมี น้ำาท่วมขังซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพสัตว์บางส่วนของโครงการอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยแม่โคมีความเครียด ได้รับอาหารไม่เพียงพอ และ บางตัวป่วย กรมปศุสัตว์ได้ช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน โดยเร่งฟื้นฟูสุขภาพ แม่โคเนื้อที่ได้รับผลกระทบตามหลักวิชาการ ให้วิตามิน และอาหาร เสริมแก่แม่โคพื้นเมืองเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์โดยเร็ว กรณีที่กลุ่ม เกษตรกรมีความประสงค์ขอเปลี่ยนตัวสัตว์ตามเงื่อนไขข้อกำาหนดของ โครงการ กรมปศุสัตว์ได้แจ้งให้ผู้ประกอบการหรือผู้ขายดำาเนินการ เปลี่ยนตัวสัตว์ให้ใหม่ซึ่งได้ดำาเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัด ปัตตานีเรียบร้อยแล้ว สำาหรับกลุ่มเกษตรกรระยะนำาร่องในจังหวัดอื่น จะได้ตรวจสอบ หากพบปัญหาลักษณะเดียวกัน จะช่วยเหลือฟื้นฟู สุขภาพสัตว์โดยเร่งด่วนต่อไป กรมปศุสัตว์จะตั้งคณะกรรมการไปตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ร่วมกับศอ.บต. และกระทรวงมหาดไทยเพื่อให้ทราบแน่ชัดว่า มี ปัญหาอุปสรรคอื่นใดอีกหรือไม่ หากกรณีที่เกิดขึ้น มาจากความ บกพร่องของเจ้าหน้าที่ จะดำาเนินการอย่างเด็ดขาด อีกทั้งจะร่วมกับ หน่วยงานต่างๆ จัดตั้งคณะกรรมการตรวจติดตามและประเมินผล โครงการเป็นระยะๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกรตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ...สวัสดี... “บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน)” หรือ “BTG” โดย “โรงงานอาหารสัตว์เบทาโกรสงขลา” ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นประจำา ปี 2566 ประเภทการจัดการพลังงาน (The Prime Minister’s Industry Award 2023: Energy Management)” โดยมี “นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เข้ารับโล่รางวัลจาก “นายเศรษฐา ทวีสิน” นายกรัฐมนตรี ในพิธี มอบรางวัลอุตสาหกรรม ประจำาปี 2566 ซึ่งจัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ตึกสันติไมตรี ทำาเนียบรัฐบาล “เบทาโกร” คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นประจำาปี 2566 ประเภทการจัดการพลังงาน “เบทาโกร” คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นประจำาปี 2566 ประเภทการจัดการพลังงาน


10 สัตว์เศรษฐกิจ ปี2566 หลังจากฟื้นฟูการผลิตหลังการระบาดของโรค ASF ในสุกร เกษตรกรต้องแบกรับปัญหาต้นทุนการผลิตสูงตามราคา วัตถุดิบอาหารสัตว์สวนทางกับราคาหน้าฟาร์มที่ตกต่ำา จากปัญหา การลักลอบนำาเข้า “หมูเถื่อน” จากต่างประเทศ แม้ผู้เลี้ยงได้ออกมา กดดันให้รัฐจัดการปัญหา แต่ก็ยังขยายผลไปจนถึงตัวการใหญ่ เพื่อจัดการอย่างเด็ดขาดไม่ได้ ขณะที่สภาพเศรษฐกิจก็ไม่ดีกระทบ กำาลังซื้อ ถือเป็นความท้าทายของเกษตรกรที่ต้องปรับตัวให้อยู่รอด ต่อไปได้ ภาพรวมการผลิตสุกรปี 2562 - 2566 การผลิตเนื้อสุกร ของโลกเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.45 ต่อปีโดยในปี2566 การผลิต เนื้อสุกรของโลกปริมาณรวม 115.498 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 114.533 ล้านตัน ของปี2565 ร้อยละ 0.84 ซึ่งประเทศจีนยังคงเป็นผู้ผลิต สุกรอันดับ 1 ของโลกปริมาณ 56.50 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหภาพยุโรป 21.50 ล้านตัน สหรัฐอเมริกา 12.385 ล้านตัน และ บราซิล 4.60 ล้านตัน โดยแนวโน้มการผลิตของจีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล เพิ่มขึ้นจากปี2565 ร้อยละ 1.97 ร้อยละ 1.09 และ ร้อยละ 5.75 ตามลำาดับในขณะที่สหภาพยุโรปมีการผลิตลดลงจาก ปี2565 ร้อยละ 3.49 ความต้องการบริโภค ปี2562 - 2566 ความต้องการบริโภค เนื้อสุกรของโลกเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.59 ต่อปีโดยในปี2566 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 115.005 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 113.239 ล้านตันของปี2565 ร้อยละ 1.56 ซึ่งจีนมีการบริโภค เนื้อสุกรมากที่สุด ปริมาณ 58.683 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหภาพ ยุโรป 18.40 ล้านตัน และสหรัฐอเมริกา 9.839 ล้านตัน โดย แนวโน้มการบริโภคเนื้อสุกรของจีน และสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 2.17 และร้อยละ 0.96 ตามลำาดับ ในขณะที่ สหรัฐอเมริกามีการบริโภคเนื้อสุกรลดลงจากปี2565 ร้อยละ 1.19 การส่งออก ปี2562-2566 การส่งออกเนื้อสุกรของโลกลดลง ในอัตราร้อยละ 1.83 ต่อปี โดยในปี2566 การส่งออกเนื้อสุกรมี ปริมาณรวม 10.144 ล้านตัน ลดลงจาก 10.940 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 7.28 ซึ่งสหภาพยุโรปมีการส่งออกเนื้อสุกรมากที่สุด ปริมาณ 3.20 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่สหรัฐอเมริกา 3.067 ล้าน ตันและแคนาดา 1.310 ล้านตัน โดยการส่งออกของสหภาพยุโรป และแคนาดา ลดลงจากปี2565 ร้อยละ 23.32 และร้อยละ 7.42 ตามลำาดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา มีการส่งออกเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 6.57 การนำาเข้า ปี2562-2566 การนำาเข้าเนื้อสุกรของโลกลดลง ในอัตราร้อยละ 0.91 ต่อปีโดยในปี2566 การนำาเข้าเนื้อสุกรปริมาณ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE รวม 9.641 ล้านตัน ลดลงจาก 9.797 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.59 ซึ่งจีนเป็นประเทศผู้นำาเข้าเนื้อสุกรรายใหญ่ของโลก ปริมาณ 2.275 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่น 1.490 ล้านตัน และเม็กซิโก 1.310 ล้านตัน โดยจีนและเม็กซิโกมีการนำาเข้าเนื้อสุกร เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 7.06 และร้อยละ 0.85 ตามลำาดับ ขณะที่ญี่ปุ่น มีการนำาเข้าเนื้อสุกรลดลงจากปี2565 ร้อยละ 2.17 สำาหรับประเทศไทย ปี 2562-2566 การผลิตสุกรมีแนวโน้ม ลดลงในอัตราร้อยละ 8.07 ต่อปีโดยในปี2566 มีปริมาณการผลิต สุกร 17.471 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 15.815 ล้านตัว ของปี2565 ร้อยละ 10.47 เนื่องจากการฟื้นตัวของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ทำาให้ปริมาณแม่พันธุ์เพิ่มมากขึ้น ความต้องการบริโภคปี 2562-2566 ความต้องการบริโภค เนื้อสุกรมีแนวโน้มลดลงและอัตราร้อยละ 7.54 ต่อปีซึ่งสุกรที่ผลิต ได้ใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลัก โดยในปี2566 มีปริมาณการ บริโภคสุกร 1.317 ล้านตัน เพิ่มจาก 1.128 ล้านตัน ของปี2565 ร้อยละ 16.76 เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นทำาให้ ผู้บริโภคเข้าถึงได้มากขึ้น การส่งออกปี 2562-2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสุกร พันธุ์ ลดลงในอัตราร้อยละ 63.46 และร้อยละ 52.71 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี2566 ไทยส่งออกสุกรพันธุ์ปริมาณ 55,737 ตัว มูลค่า 479 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 4,608 ตัว มูลค่า 102 ล้านบาท ของปี2565 คิดเป็น 11 เท่า และ 3.70 เท่า ตามลำาดับ ปี 2562-2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสุกรมีชีวิตอื่นๆ ลดลงในอัตราร้อยละ 5.09 และร้อยละ 1.05 ต่อปีตามลำาดับ โดย ในปี2566 ไทยส่งออกสุกรมีชีวิตปริมาณ 142,792 ตัวมูลค่า 896 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 80,228 ตัวมูลค่า 5,842 ล้านบาท ของปี2565 คิดเป็นร้อยละ 82.59 และร้อยละ 84.66 ตามลำาดับ ปี 2562-2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกและสุกรแช่เย็น แช่แข็ง ลดลงในอัตราร้อยละ 44.62 และร้อยละ 40.13 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี2566 ไทยส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งปริมาณ 1,771 ตัน มูลค่า 250 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 1,178 ตัน มูลค่า 189 ล้านบาท ของปี 2565 ร้อยละ 50.34 และร้อยละ 32.48 ตามลำาดับโดยตลาดส่งออกสำาคัญได้แก่ ฮ่องกง เมียนมาร์ และ สปป.ลาว ปี 2562-2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูป ลดลงในอัตราร้อยละ 18.81 และร้อยละ 18.05 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี 2566 ไทยส่งออกเนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ 3,733 ตัน มูลค่า 917 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,716 ตัน มูลค่า 1,162 หมู ปี 67 เหนื่อย...รับต้นทุนสูง แต่ราคาผันผวน


สัตว์เศรษฐกิจ 11 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ล้าน ของปี2565 ร้อยละ 20.84 และร้อยละ 21.08 โดยตามลำาดับ โดยตลาดส่งออกสำาคัญได้แก่ ญี่ปุ่น กัมพูชา ฮ่องกง และสปป.ลาว ทั้งนี้ปริมาณการส่งออกในภาพรวมลดลงเป็นผลมาจากผลผลิตสุกร เสียหายจากโรค ASF ซึ่งอยู่ระหว่างการฟื้นฟูและพัฒนาการเลี้ยง สุกรภายใต้ระบบความปลอดภัยด้านชีวภาพ การนำาเข้า ปี2562 ถึง 2566 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้า ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรลดลงในอัตราร้อยละ 9.35 และร้อยละ 3.71 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี2566 ไทยนำาเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ 250 ตันมูลค่า 85 ล้านบาทลดลงจากปริมาณ 264 ตัน มูลค่า 87 ล้านบาท ของปี2565 ร้อยละ 5.30 และร้อยละ 2.30 ตามลำาดับ โดยนำาเข้าจากประเทศในสหภาพยุโรปได้แก่ อิตาลี สเปน และ เดนมาร์ก ปี2562 ถึง 2566 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าส่วนอื่นๆ ที่ บริโภคได้ของสุกรหนังตับและเครื่องในอื่นๆ ลดลงในอัตราร้อยละ 2.92 และร้อยละ 5.76 ต่อปีตามลำาดับโดยในปี2566 ไทยนำาเข้า ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรปริมาณ 26,275 ตัน มูลค่า 435 ล้าน บาท ลดลงจากปริมาณ 29,887 ตัน มูลค่า 555 ล้านบาทของปี 2565 ร้อยละ 12.09 และร้อยละ 21.62 ตามลำาดับ โดยนำาเข้าจาก ประเทศในสหภาพยุโรป ได้แก่ เนเธอร์แลนด์สเปน และเดนมาร์ก ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี2562 ถึง 2566 ราคาที่เกษตรกรขาย ได้เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.93 ต่อปีโดยราคาสุกรที่เกษตรกรขาย ได้ปี2566 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 79.03 บาทลดลงจากกิโลกรัมละ 99.46 บาทของปี2565 ร้อยละ 20.54 เนื่องจากปริมาณผลผลิตสุกรที่ออก สู่ตลาดเพิ่มขึ้น ราคาส่งออก ปี2562-2566 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่ แข็งผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และเนื้อสุกรแปรรูปเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.12 ร้อยละ 45.3 และร้อยละ 0.32 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี 2566 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร เฉลี่ยกิโลกรัมละ 141.06 บาท และ 353.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัม ละ 160.15 บาทและ 376.28 บาท ของปี2565 ร้อยละ 11.92 และร้อยละ 6.01 ตามลำาดับ ส่วนราคาส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปเฉลี่ย กิโลกรัมละ 245.53 บาท สูงขึ้นเล็กน้อยจากกิโลกรัมละ 245.09 บาทของปี2565 ร้อยละ 0.18 ราคานำาเข้าปี2562-2566 ราคานำาเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ ของสุกรลดลงในอัตราร้อยละ 2.93 ต่อปีและราคานำาเข้าตับสูงขึ้น ร้อยละ 5.82 ต่อปีโดยในปี2566 ราคานำาเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภค ได้ของสุกรเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.57 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.57 บาทของปี2565 ร้อยละ 10.77 ส่วนราคานำาเข้าตับเฉลี่ยกิโลกรัม ละ 25.27 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.85 บาทของปี 2565 ร้อยละ 10.60 สำาหรับแนวโน้มการผลิตสุกร ปี 2567 คาดว่า การผลิต เนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณ 115.492 ล้านตัน ค่อนข้างทรงตัวเมื่อ เทียบกับปริมาณ 115.498 ล้านตัน ของปี 2566 โดยจีน และ สหภาพยุโรป มีปริมาณการผลิต 55.950 ล้านตัน และ 21.150 ล้านตัน ตามลำาดับ ลดลงจากปริมาณ 56.500 ล้านตัน และ 21.150 ล้านตัน ของปี2566 ร้อยละ 0.97 และร้อยละ 1.63 ตามลำาดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา และบราซิล มีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้นจาก การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยคาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจาก ปี2566 ร้อยละ 2.22 และร้อยละ 4.89 ตามลำาดับ ร้อยละ 1.63 ตามล าดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา และบราซิล มีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดย คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อยละ 2.22และร้อยละ 4.89 ตามล าดับ ตารางปริมาณการผลิตเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ จีน 42.550 36.340 47.500 55.410 56.500 10.40 55.950 สหภาพยุโรป* 22.996 23.219 23.615 22.277 21.500 -1.74 21.150 สหรัฐอเมริกา 12.543 12.845 12.560 12.252 12.385 -0.72 12.660 บราซิล 3.975 4.125 4.365 4.350 4.600 3.51 4.825 รัสเซีย 3.324 3.611 3.700 3.910 3.950 4.34 4.000 เวียดนาม 2.992 2.930 3.084 3.313 3.511 4.53 3.686 อื่ นๆ 13.072 13.014 13.130 13.021 13.052 -0.03 13.221 รวม 101.452 96.084 107.954 114.533 115.498 4.45 115.492 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 114.925 ล้าน ตัน ลดลงเล็กน้อยจาก 115.005 ล้านตัน ของปี 2566ร้อยละ 0.07 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลก ได้แก่ จีน และสหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรลดลงจากปี 2566ร้อยละ 0.93และร้อยละ 1.90 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้สกรของประเทศทสี่า คัญหน่วย:ล้านตันนนซาก


12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ส่วนความต้องการบริโภค ปี2567 คาดว่า ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 114.925 ล้านตัน ลดลงเล็กน้อย จาก 115.005 ล้านตัน ของปี2566 ร้อยละ 0.07 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่สำาคัญของโลกได้แก่ จีน และสหภาพยุโรป จะมี ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรลดลงจากปี2566 ร้อยละ 0.93 และร้อยละ 1.90 ตามลำาดับ การส่งออกปี25567 คาดว่า การส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.365 ล้านตันnเพิ่มขึ้นจาก 10.144 ล้านตัน ของปี2566 ร้อยละ 2.18 โดยสหภาพยุโรปมีการส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 3.200 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 3.152 ล้านตัน และแคนาดา 1.305 ล้านตัน โดยสหรัฐอเมริกา การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี2566 ร้อยละ 2.77 ขณะที่แคนาดาการส่งออกมีแนวโน้มลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 0.38 รวม 101.452 96.084 107.954 114.533 115.498 4.45 115.492 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 114.925 ล้าน ตัน ลดลงเล็กน้อยจาก 115.005 ล้านตัน ของปี 2566ร้อยละ 0.07 เนื่องจากประเทศที่บริโภคเนื้อสุกรที่ส าคัญของโลก ได้แก่ จีน และสหภาพยุโรป จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรลดลงจากปี 2566ร้อยละ 0.93และร้อยละ 1.90 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ จีน 44.865 41.517 51.724 57.434 58.683 9.00 58.140 สหภาพยุโรป* 18.894 18.204 18.720 18.225 18.400 -0.52 18.050 สหรัฐอเมริกา 10.066 10.034 9.919 9.957 9.839 -0.53 10.048 รัสเซีย 3.363 3.468 3.558 3.758 3.755 3.05 3.792 บราซิล 3.116 2.949 3.047 3.033 3.152 0.51 3.297 เวียดนาม 2.993 3.057 3.258 3.415 3.606 4.95 3.786 อื่ นๆ 16.905 16.019 17.019 17.417 17.570 1.62 17.812 รวม 100.202 95.248 107.245 113.239 115.005 4.59 114.925 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 การส่งออกปี 25567 คาดว่า การส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 10.365 ล้านตันnเพิ่มขึ้นจาก 10.144 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.18 โดยสหภาพยุโรปมีการส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 3.200 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 3.152 ล้านตัน และแคนาดา 1.305 ล้านตัน โดยสหรัฐอเมริกา การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อย ละ 2.77ขณะที่แคนาดาการส่งออกมีแนวโน้มลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 0.38 ตารางปริมาณส่งออกเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ สหภาพยุโรป* 4.266 5.175 4.993 4.173 3.200 -7.60 3.200 สหรัฐอเมริกา 2.867 3.302 3.186 2.878 3.067 -0.03 3.152 แคนาดา 1.286 1.546 1.483 1.415 1.310 -0.51 1.305 บราซิล 0.223 0.295 0.268 0.230 0.260 0.58 0.265 เม็กซิโก 0.234 0.344 0.319 0.285 0.260 0.23 0.265 สหราชอาณาจักร 0.068 0.156 0.158 0.170 0.210 26.38 0.220 อื่ นๆ 1.438 1.751 1.813 1.789 1.837 5.25 1.958 รวม 10.382 12.569 12.220 10.940 10.144 -1.83 10.365 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 การน าเข้า ปี 2567 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.749 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 9.641 ล้าน ตัน ของปี 2566ร้อยละ 1.12เนื่องจากประเทศที่ผู้น าเข้าหลัก เช่น จีน ญี่ปุ่ น มีการน าเข้าเพิ่มขึ้นโดยจีนน าเข้าเนื้อสุกรมาก ที่สุด ปริมาณ 2.300 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่ น 1.510 ล้านตัน การน าเข้าของจีนและญี่ปุ่ นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อยละ 1.10และร้อยละ 1.34 ตามล าดับ ปิ ้ื้ปี่ ั่้ั


สัตว์เศรษฐกิจ 13 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การนำาเข้า ปี2567 คาดว่าการนำาเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.749 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 9.641 ล้านตัน ของปี2566 ร้อยละ 1.12 เนื่องจากประเทศที่ผู้นำาเข้าหลัก เช่น จีน ญี่ปุ่น มีการนำาเข้าเพิ่มขึ้นโดยจีนนำาเข้าเนื้อสุกรมากที่สุด ปริมาณ 2.300 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น 1.510 ล้านตัน การนำาเข้าของจีนและญี่ปุ่นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี2566 ร้อยละ 1.10 และร้อยละ 1.34 ตามลำาดับ หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบองตน 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 การน าเข้า ปี 2567 คาดว่าการน าเข้าเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 9.749 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 9.641 ล้าน ตัน ของปี 2566ร้อยละ 1.12เนื่องจากประเทศที่ผู้น าเข้าหลัก เช่น จีน ญี่ปุ่ น มีการน าเข้าเพิ่มขึ้นโดยจีนน าเข้าเนื้อสุกรมาก ที่สุด ปริมาณ 2.300 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่ น 1.510 ล้านตัน การน าเข้าของจีนและญี่ปุ่ นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อยละ 1.10และร้อยละ 1.34 ตามล าดับ ตารางปริมาณน าเข้าเนือ้สุกรของประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน นน.ซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565/ 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ จีน 2.450 5.277 4.328 2.125 2.275 -10.04 2.300 ญี่ ปุ่น 1.493 1.412 1.420 1.523 1.490 0.72 1.510 เม็กซิโก 0.985 0.945 1.155 1.299 1.310 9.29 1.310 สหราชอาณาจักร 0.876 0.792 0.727 0.779 0.720 -4.01 0.710 เกาหลีใต้ 0.694 0.554 0.570 0.713 0.700 2.73 0.705 สหรัฐอเมริกา 0.429 0.410 0.535 0.610 0.510 7.72 0.533 อื่ นๆ 2.341 2.221 2.764 2.748 2.636 4.61 2.681 รวม 9.268 11.611 11.499 9.797 9.641 -0.91 9.749 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, USDA Foreign Agricultural Service. October 2023 ด้านแนวโน้มการผลิตของไทย ปี 2567 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 18.155 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 17.471 ล้าน ตัว ของปี 2566ร้อยละ 3.91 เนื่องจากการฟื้นตัวของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever : ASF) ด้วยการ ยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงที่เข้มงวดของกรมปศุสัตว์ อย่างไรก็ตามปริมาณแม่พันธุ์เพิ่มขึ้นไม่มากนัก เนื่องจากต้นทุนการ ผลิตยังคงมีแนวโน้มสูงจากราคาอาหารสัตว์ส่ง ผลให้ผลตอบแทนจากการเลี้ยงสุกรไม่จูงใจในการเลี้ยง ด้านแนวโน้มการผลิตของไทย ปี2567 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 18.155 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 17.471 ล้านตัว ของปี2566 ร้อยละ 3.91 เนื่องจากการฟื้นตัวของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever : ASF) ด้วยการยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงที่ เข้มงวดของกรมปศุสัตว์ อย่างไรก็ตามปริมาณแม่พันธุ์เพิ่มขึ้นไม่มากนัก เนื่องจากต้นทุนการผลิตยังคงมีแนวโน้มสูงจากราคาอาหารสัตว์ ส่ง ผลให้ผลตอบแทนจากการเลี้ยงสุกรไม่จูงใจในการเลี้ยง ส่วนความต้องการบริโภค ปี2567 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.377 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.317 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.317 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 4.56 เนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและบริการ จะส่งผลให้ความต้องการ บริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น ส่วนความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่าการบริโภคสุกรมีปริมาณ 1.377 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.317 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.317 ล้านตัน ของปี 2566ร้อยละ 4.56เนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและ บริการ จะส่งผลให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) 2567** ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 22.533 1.690 22.051 1.654 19.276 1.446 15.815 1.186 17.471 1.310 -8.07 -8.07 18.155 1.362 ปริมาณการส่งออก2/ (ล้านตัน) 0.015 0.035 0.020 0.006 0.006 -31.60 0.006 การน าเข้า2/ (ล้านตัน) 0.033 0.027 0.027 0.030 0.027 -2.99 0.027 ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 1.694 1.493 1.371 1.128 1.317 -7.54 1.377 หมายเหตุ : * ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/,3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออก ปี 2567 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2566เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า ในขณะที่การส่งออกสุกรมีชีวิตคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสู่การมีชีวิตไม่มากนัก เนื่องจากมีการฟื้นตัวของผลผลิตหลังสถานการณ์ การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวติ 25622563256425652566*ัิ่(%) การส่งออก ปี2567 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียงกับปี2566 เนื่องจาก การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า ในขณะที่การส่งออกสุกรมีชีวิตคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการ นำาเข้าสู่การมีชีวิตไม่มากนัก เนื่องจากมีการฟื้นตัวของผลผลิตหลังสถานการณ์การระบาดของโรค ASF


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ตารางการน าเข้าผลิตภัณฑเ์นือ้สุกร และส่วนอนื่ๆ ทบี่ริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่ องในต่างๆ) รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ผลิตภัณฑเ์นือ้สุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 358 101 345 89 334 94 264 87 250 85 -9.35 -3.71 ส่วนอื่ นๆ ทบี่ริโภคไดข้องสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 32,516 637 26,240 469 26,311 512 29,887 555 26,275 435 -2.92 -5.76 หมายเหตุ * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร ราคา ปี 2567 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ใกล้เคียงกับปี 2566เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จากราคาอาหารสัตว์และราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้ผลตอบแทนจากการเลี้ยงสุกรไม่จูงใจใน การเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเฉพาะรายย่อยจึงลดก าลังการผลิตลง อย่างไรก็ตาม กรมปศุสัตว์มีการผลักดันโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรผ่านคณะกรรมการรักษาเสถียรภาพ ราคาสุกรและโครงการชดเชยดอกเบี้ยเพื่อเสริมสภาพคล่องให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร หากสามารถด าเนินโครงการดังกล่าวได้จะส่งผลให้ราคาสุกรมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นได้ ราคาทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออก และราคาน าเข้า รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ราคาสุกรทเี่กษตรกรขายได้ 1/ (บาท/กก.) 66.52 71.87 73.14 99.46 79.03 6.93 การส่งออก ปี 2567 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อสุกรแปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือใกล้เคียง กับปี 2566เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า ในขณะที่การส่งออกสุกรมีชีวิตคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการน าเข้าสู่การมีชีวิตไม่มากนัก เนื่องจากมีการฟื้นตัวของผลผลิตหลังสถานการณ์ การระบาดของโรค ASF ตารางการส่งออกเนือ้สุกรชา แหละ เนือ้สุกรแปรรูป และสุกรมีชีวติ รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) สุกรมีชีวิต (สุกรพันธ์) ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 614,288 2,876 894,790 5,056 234,234 1,385 4,608 102 55,737 479 -63.46 -52.71 สุกรมีชีวติอนื่ๆ ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 135,773 694 1,529,274 10,807 820,228 5,842 820,228 5,842 142,792 896 -5.09 -1.05 เนือ้สุกรแช่เย็นแช่แข็ง ปริมาณ(ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 7,195 780 780 26,338 3,275 14,182 1,722 1,178 189 1,771 250 -44.62 -40.13 เนือ้สุกรแปรรูป ปริมาณ(ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 7,976 2,060 8,299 1,688 5,532 1,172 4,716 1,162 3,733 917 -18.81 -18.05 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2567 คาดว่าการน าเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่อง ในอื่นๆ) จะใกล้เคียงกับปี 2566 การนำาเข้า ปี 2567 คาดว่าการนำาเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่นๆ) จะใกล้เคียงกับปี2566 ราคา ปี2567 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ใกล้เคียงกับปี2566 เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้นจากราคาอาหารสัตว์ และราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้ผลตอบแทนจากการเลี้ยงสุกรไม่จูงใจในการเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเฉพาะ รายย่อยจึงลดกำาลังการผลิตลง อย่างไรก็ตาม กรมปศุสัตว์มีการผลักดันโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรผ่านคณะกรรมการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรและโครงการ ชดเชยดอกเบี้ยเพื่อเสริมสภาพคล่องให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรหากสามารถดำาเนินโครงการดังกล่าวได้จะ ส่งผลให้ราคาสุกรมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นได้


สัตว์เศรษฐกิจ 15 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตารางการน าเข้าผลิตภัณฑเ์นือสุกร และส่วนอนืๆ ทบีริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื องในต่างๆ) รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ผลิตภัณฑเ์นือ้สุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 358 101 345 89 334 94 264 87 250 85 -9.35 -3.71 ส่วนอื่ นๆ ทบี่ริโภคไดข้องสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท 32,516 637 26,240 469 26,311 512 29,887 555 26,275 435 -2.92 -5.76 หมายเหตุ * ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร ราคา ปี 2567 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ใกล้เคียงกับปี 2566เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จากราคาอาหารสัตว์และราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้ผลตอบแทนจากการเลี้ยงสุกรไม่จูงใจใน การเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเฉพาะรายย่อยจึงลดก าลังการผลิตลง อย่างไรก็ตาม กรมปศุสัตว์มีการผลักดันโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรผ่านคณะกรรมการรักษาเสถียรภาพ ราคาสุกรและโครงการชดเชยดอกเบี้ยเพื่อเสริมสภาพคล่องให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร หากสามารถด าเนินโครงการดังกล่าวได้จะส่งผลให้ราคาสุกรมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นได้ ราคาทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออก และราคาน าเข้า รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ราคาสุกรทเี่กษตรกรขายได้ 1/ (บาท/กก.) 66.52 71.87 73.14 99.46 79.03 6.93 ราคาส่งออก2/ (บาท/กก.) เนื้อสุกรแช่เย็น แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร เนื้อสุกรแปรรูป 108.34 104.28 264.22 124.33 104.37 204.89 121.41 404.99 210.05 160.15 376.28 245.09 141.06 353.67 245.53 8.12 45.13 0.32 ราคาน าเข้า(บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม ตับ 19.60 20.88 17.87 19.02 19.44 22.10 18.57 22.85 16.57 25.27 -2.93 5.82 ที่มา : 1/ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ 2/กรมศุลกากร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก ปัจจัยบวก 1) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ความต้องการสุกรทั้งในและต่างประเทศเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นปัจจัยบวกที่จะจูงใจ ให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณการผลิตสุกรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2) โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) ยังคงมีอยู่ในภูมิภาคเอเชีย และสหภาพยุโรปท าให้ การผลิตในภูมิภาคดังกล่าว มีความผันผวน ถือว่าเป็นโอกาสในการส่งออกของไทย ปัจจัยลบ 1) โรคระบาดในสุกร ปัจจุบันไทยยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาด เช่น โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และโรคระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ (Porcine Reproductive and Respiratory ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก ปัจจัยบวก 1) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ความต้องการสุกรทั้งในและต่างประเทศเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นปัจจัยบวกที่จะจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มปริมาณ การผลิตสุกรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2) โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) ยังคงมีอยู่ในภูมิภาคเอเชีย และสหภาพยุโรปทำาให้การผลิตในภูมิภาค ดังกล่าว มีความผันผวน ถือว่าเป็นโอกาสในการส่งออกของไทย ปัจจัยลบ 1) โรคระบาดในสุกร ปัจจุบันไทยยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาด เช่น โรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และโรคระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) และโรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) ประกอบกับยังไม่ได้รับการรับรองให้ปลอดโรค FMD จึงเป็นข้อจำากัดการส่งออกเนื้อสุกร ชำาแหละและเนื้อสุกรแปรรูป 2) ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะต้นทุนค่าอาหารสัตว์ค่าพลังงาน และระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ ในขณะที่เนื้อสุกร เป็นหลักเป็นสินค้าที่มีมาตรการควบคุมราคา จึงอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการกลับมาเลี้ยงสุกร 3) อุปทาน และสต็อกสุกรของจีนอยู่ในระดับสูง เป็นผลทำาให้ลดการนำาเข้าจากต่างประเทศ และมีผลต่อส่วนแบ่งการตลาดของไทย


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE โดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาครัฐดูแคลนภาคปศุสัตว์ โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร การดูแคลนภาคปศุสัตว์โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรที่มีส่วนสำาคัญในการกระตุ้น เศรษฐกิจ ได้สะท้อนผ่านอัตราการเจริญเติบโตของ GDP ในปี2566 เพียงแค่ 1.8% ตามที่สำานักงานเศรษฐกิจการคลังแถลง เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา สวนทางกับการคาดการณ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ที่ระบุไว้ตอนต้นปี2566 ว่าประเทศไทยจะมีการขยายตัว 2.4% มากกว่าความเป็นจริงไป 0.6% การคาดการณ์ของ ธปท. พลาดเป้า ในมุมของผู้เขียนจึงเกิดคำาถามว่า แบบจำาลอง ที่ใช้พยากรณ์อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้รวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาค ปศุสัตว์ไปด้วยหรือไม่ ถ้ารวม...ภาคปศุสัตว์ถูกให้น้ำาหนักในแบบจำาลองมากน้อยเพียงใด พิจารณาถึงผลกระทบของประเด็นปัญหาการลักลอบเนื้อหมูเถื่อนและสินค้าปศุสัตว์เถื่อน ต่างๆ หรือไม่? ผู้เขียนอดคิดไม่ได้ว่า ธปท. เหมือนจะดูแคลน ผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเกิดจาก การลักลอบนำาเข้าสินค้าปศุสัตว์ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหมูเถื่อน โคเนื้อเถื่อน ตีนไก่เถื่อน แพะเถื่อน ฯลฯ สารพัดเถื่อนที่เกิดขึ้น สร้างหายนะให้กับเศรษฐกิจไทยเกินกว่าที่หลาย คนคาดคิด เพราะมันทำาลายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของผู้เลี้ยงปศุสัตว์โดยเฉพาะหมูโคเนื้อ และแพะจนท้อแล้วท้ออีก และประเด็นหมูเถื่อนถือว่าร้อนแรงที่สุด แต่กว่าจะได้รับการ เหลียวแลจากรัฐ ก็นานพอที่จะทำาให้ผู้เลี้ยงขาดทุนถ้วนหน้าไม่เว้นกลุ่ม integrated farm ด้วยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ำา จึงไม่แปลกที่ภาคธุรกิจและฟากรัฐบาล จะเห็นแย้งกับผลการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์2567 ที่มีมติ5 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 2.50% ต่อ อย่างน้อยก็ไม่เป็นเอกฉันท์ประชุมครั้งหน้าคงได้ลุ้นลดอัตราดอกเบี้ย


สัตว์เศรษฐกิจ 17 ในห้องเย็นเพื่อรอราคา ซึ่งยังคงแช่ค้างอยู่ในห้องเย็นชะลอการขาย เดาว่าตรุษจีนที่ผ่านมาไม่น่าจะปล่อยของหมด ซึ่งข่าวหมูเถื่อนหลัง จากนี้คงเงียบหาย คงมีแต่ข่าวหมูไทยล้นตลาด ด้วยเหตุที่ทุกฝ่าย พยายามผลักดันให้เกษตรกรมั่นใจที่จะลงหมูเข้าเลี้ยงและสนับสนุนให้ ขยายกำาลังผลิตก่อนหน้านี้ ประเด็นของปี2567 คงไม่ใช่เรื่องราคาหมูแพงเหมือนสองปี ก่อนหน้านี้ ซึ่งคงไม่ตกต่ำาตลอดทั้งปีดังเช่นปี 2566 แต่ก็ไม่ได้ สวยงามนัก เพราะต้นทุนการผลิตค้ำาคอ เนื่องจากเหตุปัจจัยสำาคัญ คือ อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ขึ้นมาต่อเนื่องก่อนหน้านี้คมดาบสำาคัญ ที่ลดทอนกำาลังซื้อของภาคประชาชน โดยเฉพาะ “คนผ่อนบ้าน” ต้องเตรียมเงินงวดส่งเพิ่มขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยที่ขึ้น เงินในกระเป๋า เพื่อการจับจ่ายใช้สอยจึงหดหาย ราคาเนื้อหมูแม้จะถูกจนแทบ จะขาดทุน ก็ยังถือว่าแพงอยู่ดีกว่าภาระหนี้สินที่มีอยู่ของครัวเรือน ขณะเดียวกัน การปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ย เป็นอีกต้นทุน ที่ทางผู้เลี้ยงต้องเผชิญนอกเหนือจากต้นทุน ค่าพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น แม้ค่าอาหารสัตว์จะไม่ได้ปรับเพิ่มขึ้น แต่ก็ถือว่าคงตัว ไม่ได้ลดลงได้ มากนัก ฟาร์มที่มีสัดส่วนเงินกู้มากเพื่อนำามาใช้เป็นทุนหมุนเวียนคง กุมขมับไม่ต่างจากผู้บริโภค ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สถานการณ์อุตสาหกรรมหมูปี2566 เปรียบเสมือนภาพจำาลอง ในอนาคต โดยมีดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (CPI) เป็นตัวชี้วัด เนื่องจากรายการสินค้ากลุ่มอาหารสดที่อิงกับราคาหมูจำานวน 6 รายการคือ หมูเนื้อแดง มันหมูแข็ง ซี่โครงหมูไส้กรอกหมูกุนเชียง และหมูหยอง เป็นตัวแทนของเนื้อหมูและผลิตภัณฑ์ที่คนไทยนิยม บริโภค CPI กับราคาหมูจึงมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างสูง จากภาพที่ 1 จะเห็นว่าช่วงปี2565 เป็นปีที่ CPI เพิ่มสูงขึ้น มากโดยมีสาเหตุสำาคัญมาจากราคาเนื้อสุกรที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจาก การระบาดของโรค ASF หากแต่หลังจากนั้น CPI ก็คงตัวในระดับ สูงอันเนื่องจากราคาพลังงานที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นจากสถานการณ์ สงครามรัสเซีย-ยูเครน ธัญพืชหลายชนิดปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (CPI) ของไทยเดือนมกราคม 2567 เท่ากับ 106.98 ทำาให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงไปได้ 1.1% สาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงาน ขณะที่ปัจจัยสำาคัญคือ กลุ่มอาหารสดที่ยังคงลดลงต่อเนื่อง แต่เดือนกุมภาพันธ์ราคากลุ่ม อาหารสดจะปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากปัจจัยเทศกาลตรุษจีน แต่คงสู้ เทศกาลปีใหม่ไม่ได้ อัตราเงินเฟ้อของไทยในเดือนกุมภาพันธ์ และ เดือนมีนาคม คงลดต่อเนื่องตามที่ กนง. ต้องการ ภาพที่ 1 ราคาสุกรหน้าฟาร์มกับดัชนีราคาผู้บริโภคเฉลี่ยรายปี 2541 - 2566 ถ้าพิจารณาจากราคาประกาศหมูขุนมีชีวิตหน้าฟาร์มเมื่อพระที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 อยู่ในช่วง 66 –76 บาท/ก.ก. โซนเมืองหลวงของหมู ณ ภาคตะวันตก ซื้อขายจริงที่ 66 บาท/ก.ก. และทุกพื้นที่ของประเทศไม่มีที่ใดไปถึงฝั่ งฝันที่ 80 บาท/ก.ก. ผู้เลี้ยงหมูทุกคนทราบดีว่าหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร ซึ่งตอนนี้ราคาลูกสุกรขุน (16 ก.ก.) ปรับตัวลงน าไปก่อนแล้ว สถานการณ์หลังตรุษจีนคงซึมยาวต่อเนื่องไปจนถึงกลางปีจากสถานการณ์หมูล้น เหตุเพราะช่วงหลังการระบาด โรค ASF หลายฟาร์มกลับมาเปิดฟาร์มและบางส่วนขยายฟาร์มโดยไม่ได้คาดคิดว่าหมูเถื่อนจะเข้ามามากมายขนาดนี้ หมู ฟาร์มจ านวนไม่น้อยถูกเก็บไว้ในห้องเย็นเพื่อรอราคา ซึ่งยังคงแช่ค้างอยู่ในห้องเย็นชะลอการขาย เดาว่าตรุษจีนที่ผ่านมา ไม่น่าจะปล่อยของหมด ซึ่งข่าวหมูเถื่อนหลังจากนี้คงเงียบหาย คงมีแต่ข่าวหมูไทยล้นตลาด ด้วยเหตุที่ทุกฝ่ ายพยายาม ผลักดันให้เกษตรกรมั่นใจที่จะลงหมูเข้าเลี้ยงและสนับสนุนให้ขยายก าลังผลิตก่อนหน้านี้ ประเด็นของปี 2567 คงไม่ใช่เรื่องราคาหมูแพงเหมือนสองปีก่อนหน้านี้ ซึ่งคงไม่ตกต ่าตลอดทั้งปีดังเช่นปี 2566 แต่ก็ไม่ได้สวยงามนัก เพราะต้นทุนการผลิตค ้าคอ เนื่องจากเหตุปัจจัยส าคัญคือ อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ขึ้นมาต่อเนื่อง ก่อนหน้านี้ คมดาบส าคัญที่ลดทอนก าลังซื้อของภาคประชาชน โดยเฉพาะ “คนผ่อนบ้าน” ต้องเตรียมเงินงวดส่งเพิ่มขึ้น ้้้ ถ้าพิจารณาจากราคาประกาศหมูขุนมีชีวิตหน้าฟาร์มเมื่อพระ ที่ 9 กุมภาพันธ์2567 อยู่ในช่วง 66 - 76 บาท/ก.ก. โซนเมือง หลวงของหมู ณ ภาคตะวันตก ซื้อขายจริงที่ 66 บาท/ก.ก. และ ทุกพื้นที่ของประเทศไม่มีที่ใดไปถึงฝั่งฝันที่ 80 บาท/ก.ก. ผู้เลี้ยงหมู ทุกคนทราบดีว่าหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร ซึ่งตอนนี้ราคาลูกสุกรขุน (16 ก.ก.) ปรับตัวลงนำาไปก่อนแล้ว สถานการณ์หลังตรุษจีนคงซึมยาวต่อเนื่องไปจนถึงกลางปีจาก สถานการณ์หมูล้น เหตุเพราะช่วงหลังการระบาดโรค ASF หลาย ฟาร์มกลับมาเปิดฟาร์มและบางส่วนขยายฟาร์มโดยไม่ได้คาดคิดว่า หมูเถื่อนจะเข้ามามากมายขนาดนี้หมูฟาร์มจำานวนไม่น้อยถูกเก็บไว้ ปี2566 สินค้าปศุสัตว์เถื่อนเต็มประเทศ ครอบครัวปศุสัตว์มี หนี้สินพอกพูนถ้วนหน้า หน้ามืดคิดอ่านอะไรไม่ออก สุดแสนจะย้อน แย้งกับ 5 รางวัลเลิศรัฐ จากสำานักงาน ก.พ.ร. ให้กับกรมปศุสัตว์ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2566 แต่ จนถึงวันนี้ยังไม่สามารถดำาเนินการ กับผู้กระทำาผิดคดีหมูเถื่อนได้ จนผู้เลี้ยงหมูถอดใจ หมดสิ้นแล้ว ความหวัง แล้วเช่นนี้จะหวังให้เศรษฐกิจไทยเติบโตได้อย่างไร เมื่อ ขบวนการทุจริตคอร์รัปชันคือกลุ่มปลวกขนาดใหญ่ที่กัดเซาะบ่อน ทำาลายเศรษฐกิจไทย คงไม่ต้องหวังว่าจะได้กำาลังเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ จะกระตุ้นอย่างไรก็ไม่ขึ้น หากรัฐบาลยังคง ดูแคลนความสำาคัญผู้เลี้ยงหมูเช่นนี้


สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482 สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482


สัตว์เศรษฐกิจ 19 เร่งเดินหน้าโครงการรักษาเสถียรภาพ ราคาหมูตามมติ Pig Board ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ 1. โมเดิร์นเทรดทุกบริษัทใช้มาตรการขอความร่วมมือผู้จัดหา สินค้าแต่ละพื้นที่ (Supplier) ให้รับซื้อสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์ม สอดคล้อง ตามราคาที่สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติประกาศแนะนำา 2. โมเดิร์นเทรดทุกบริษัทจัดซื้อเนื้อและผลิตภัณฑ์สุกรจาก โรงฆ่าหรือสถานที่รวบรวมตัดแต่งที่ได้มาตรฐานตามที่ กรมปศุสัตว์ ให้การรับรองและสามารถตรวจสอบย้อนแหล่งผลิตได้ถึงฟาร์ม 3. สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติแจ้งขอความร่วมมือจากเกษตรกร ผู้เลี้ยงสุกรให้ขายสุกรมีชีวิตตามราคาที่สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ประกาศแนะนำา 4. บริษัท Makro แสดงความจำานงพร้อมรับซื้อซากลูกสุกรใน รูปแบบแช่แข็งพร้อมปรุง เพื่อนำาไปจำาหน่ายให้แก่ผู้ประกอบการทำา หมูหัน ตามโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกร นายสัตวแพทย์สมชวนย้ำาว่า โมเดิร์นเทรดทุกบริษัทและสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติให้ความร่วมมือกับกรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกร โดยจะประสานข้อมูลกันอย่างใกล้ชิด สำาหรับความร่วมมือในการ ขับเคลื่อนการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรหน้าฟาร์มตามมติPig Board จะช่วยทำาให้ราคาสุกรหน้าฟาร์มมีเสถียรภาพในระดับที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยพออยู่ได้ ไม่ขาดทุน และไม่ทำาให้ผู้บริโภค เดือดร้อน หากยังมีปัญหาอุปสรรคระหว่าทำากิจกรรม กรมปศุสัตว์ จะประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น กรมการค้าภายใน เข้าร่วมช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรค โดยกรมปศุสัตว์ในฐานะเลขาคณะ ทำางานโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกรจะเป็นเจ้าภาพติดตามผล อย่างต่อเนื่อง อธิบดีกรมปศุสัตว์เผย ประชุมหารือกับโมเดิร์นเทรดและสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติเพื่อขับเคลื่อนโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกร ตามมติPig Board โดยโมเดิร์นเทรดพร้อมให้ Supplier รับซื้อ หมูหน้าฟาร์มในราคาที่สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติแนะนำา ตลอดจน รับซื้อจากโรงฆ่าที่ตรวจสอบย้อนกลับได้ถึงฟาร์ม มั่นใจเป็นมาตรการ ที่จะทำาให้ราคาหมูหน้าฟาร์มมีเสถียรภาพ ช่วยให้เกษตรกรรายย่อย อยู่ได้โดยผู้บริโภคไม่เดือดร้อน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ได้เป็นประธานในที่ประชุมหารือแนวทางขับเคลื่อนการรักษา เสถียรภาพราคาสุกรหน้าฟาร์ม พร้อมด้วยนายสัตวแพทย์บุญญกฤช ปิ่นประสงค์ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ โดยหารือกับตัวแทนสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาตินำาโดยนาย สิทธิพันธ์ธนเกียรติภิญโญ นายก สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และโมเดิร์นเทรด ได้แก่ ผู้บริหาร จากบริษัท Makro Lotus Top Supermarket Foodland Go wholesale เป็นต้น การประชุมหารือดังกล่าว เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ นโยบายพัฒนาสุกรและผลิตภัณฑ์ (Pig Board) ครั้งที่ 1/2567 ใน วันที่ 30 มกราคม 2567 มีเป้าหมายให้บรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรจากราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มต่ำากว่าต้นทุน การผลิต ในที่ประชุม ตัวแทนฝ่ายโมเดิร์นเทรดและสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติได้แลกเปลี่ยนข้อมูลและได้ข้อสรุปกิจกรรมที่จะดำาเนินการ ร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ เร่งเดินหน้าโครงการรักษาเสถียรภาพ ราคาหมูตามมติ Pig Board


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ซีพีเอฟ ช่วยรายย่อย รับซื้อผลผลิตลดความเสี่ยงตลาดผันผวน บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เดินหน้าหนุน เกษตรกรรายย่อย มากกว่า 5,500 รายทั่วประเทศ รับหน้าที่เป็นตลาดรับผลผลิตแทน ลดความเสี่ยงตลาดผันผวน เกษตรกรมีรายได้แน่นอน มุ่งถ่ายทอดองค์ความรู้-เทคโนโลยี สู่เกษตรกรรายย่อย-รายกลาง สร้างความมั่นคงในอาชีพ ร่วมสร้างอาหารมั่นคง ส่งมอบอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภค นายสมพร เจิมพงศ์ผู้อำานวยการใหญ่ ธุรกิจสุกร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ซีพีเอฟ มุ่งยกระดับการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกรรายย่อย ทั่วประเทศมากกว่า 5,500 ราย ใน รูปแบบคอนแทรคฟาร์มมิ่ง โดยให้ความสำาคัญกับกระบวนการเลี้ยงสัตว์ที่ดี ภายใต้การ บริหารจัดการด้านการเลี้ยงสัตว์ที่มีมาตรฐาน ด้วยการนำาขีดความสามารถของบริษัทฯ มาถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเลี้ยงแก่เกษตรกร ที่สำาคัญ เกษตรกรต้องมีตลาดรองรับผลผลิต บริษัทฯจึงทำาหน้าที่เป็นตลาดรับซื้อผลผลิตคืนจาก เกษตรกร เพื่อให้มีอาชีพที่ไร้ความเสี่ยงด้านราคาและการตลาด และมีหลักประกัน รายได้ที่มั่นคง โดยเฉพาะในช่วงที่ผ่านมาที่ราคาสุกรผันผวนมาก จากการเข้ามาของ ขบวนการลักลอบนำาเข้าเนื้อสุกรเถื่อน หากแต่เกษตรกรรายย่อยที่เลี้ยงสุกรกับซีพีเอฟ ไม่ได้รับผลกระทบเนื่องจากมีการทำาสัญญาตกลงราคากันไว้ล่วงหน้า และบริษัทฯ รับซื้อผลผลิตของเกษตรกรไว้ทั้งหมด “นอกจากการส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยได้รับทั้งความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์อย่าง มีประสิทธิภาพ และการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ทำาให้เกษตรกรสามารถดำาเนินกิจการได้ อย่างต่อเนื่อง ที่สำาคัญคือเกษตรกรไม่ได้รับความเสี่ยงตลาดผันผวน โดยสินค้าที่ซีพีเอฟ ผลิตส่งจำาหน่ายในตลาดและห้างโมเดิร์นเทรดต่างๆ ก็มาจากเกษตรกรรายย่อยที่บริษัทฯ รับความเสี่ยงโดยตรง และยังมีเกษตรกรรายกลางอีกร่วม 500 ราย ที่ซีพีเอฟ เข้าไป ช่วยสนับสนุนองค์ความรู้ โดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัยในอาหาร เพื่อส่งเสริมให้ เกษตรกรในห่วงโซ่คุณค่าเติบโตไปด้วยกัน” นายสมพร กล่าว


สัตว์เศรษฐกิจ 21 ตอกย้ำาความมั่นใจให้กับเกษตรกร ว่าเป็นผู้ผลิตที่มีตลาดรองรับ ผลผลิตที่แน่นอน ขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็มั่นใจได้ว่าได้บริโภคเนื้อ หมูที่มีมาตรฐาน มีคุณภาพ และยังมีส่วนร่วมสนับสนุนเกษตรกรไทย ให้มีอาชีพที่ยั่งยืน นายสมพร เจิมพงศ์ ผู้อำานวยการใหญ่ ธุรกิจสุกร ซีพีเอฟ กล่าวต่อว่า ในช่วงที่ผ่านมาราคาหมูผันผวนมาก จากหมูเถื่อนที่มา ตีตลาดหมูไทย สำาหรับซีพีเอฟที่ได้ดำาเนินโครงการส่งเสริมอาชีพ เกษตรกร ในรูปแบบคอนแทรคฟาร์มมิ่ง ที่ปัจจุบันมีเกษตรกรย่อย อยู่ในโครงการนี้ร่วม 5,000 ราย ถือเป็นเกราะป้องกันสำาคัญที่ช่วย ให้เกษตรกรไม่ต้องเผชิญปัญหาความผันผวนของราคาหมู เนื่องจาก เกษตรกรและบริษัทฯ มีการทำาสัญญาตกลงราคากันไว้ และบริษัทฯ เป็นผู้รับซื้อผลผลิตทั้งหมดของเกษตรกรไว้ จึงไม่ต้องกังวลว่าผลิต แล้วจะไม่มีตลาดรองรับ ทำาให้เกษตรกรมีอาชีพที่ไร้ความเสี่ยงทั้งด้าน ราคาและการตลาด มีหลักประกันรายได้ที่มั่นคง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ปี 2518 ที่ซีพีเอฟ นำาระบบคอนแทรค ฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรมแบบครบวงจร เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์แบบพันธ สัญญาแก่เกษตรกรรายย่อย ภายใต้หลักคิด “เกษตรกรคือคู่ชีวิต” ร่วมสนับสนุนความมั่นคงทางอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร รายย่อยของไทย มีความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืน พึ่งพาตนเองอย่าง เข้มแข็ง มีส่วนช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ ควบคู่กับการผลิตเนื้อสัตว์ที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ร่วมกันผลิตและส่งมอบสินค้าอาหารคุณภาพมาตรฐานสูง สร้างความ มั่นคงด้านอาหารให้คนไทย เนื้อหมูจากฟาร์มเกษตรกรรายย่อย สู่ร้านค้าปลีก-ค้าส่งขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมหมูไทยที่ถูกหมูเถื่อนเข้ามาตีตลาด กระทบกับ อาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูอย่างหนักในช่วงหลายปีที่ผ่านมา บางราย ต้องเลิกเลี้ยงเพราะทนแบกรับภาวะขาดทุนไม่ไหว แต่เรื่องนี้สำาหรับ กลุ่มเกษตรกรรายย่อย ร่วม 5,000 ราย ในโครงการส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงสุกรกับ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ไม่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เพราะมีบริษัทรับหน้าที่ ช่วยหาตลาดรับซื้อผลผลิตหมูของเกษตรกรทั้งหมด เพื่อนำามาเข้า กระบวนการผลิตเป็นเนื้อหมูคุณภาพ สำาหรับส่งจำาหน่ายในร้านค้า ปลีก-ค้าส่งขนาดใหญ่ (โมเดิร์นเทรด) อาทิ แม็คโคร โลตัส เป็นการ ที่สำาคัญ ผลผลิตหมูจากฝีมือเกษตรกรไทย ถูกส่งเข้าโรงงาน เชือดชำาแหละที่ได้มาตรฐานของซีพีเอฟ ผลิตเป็นเนื้อหมูที่จำาหน่าย ผ่านตลาดสด ร้านจำาหน่ายเนื้อสัตว์ ร้านค้าปลีก และร้านโมเดิร์น เทรดต่างๆ เพื่อให้เนื้อหมูคุณภาพส่งตรงถึงมือผู้บริโภค นอกจากนี้ ซีพีเอฟยังถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ และสนับสนุนด้านการตลาดให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูรายกลางอีกร่วม 500 ราย ที่ถือเป็นการสร้างห่วงโซ่การผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อ ผู้บริโภคชาวไทย การรับบท ‘ผู้ช่วยหาตลาดรองรับผลผลิต’ จากเกษตรกร รายย่อย ที่ซีพีเอฟทำามาตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี จึงมีส่วนช่วย ให้เกษตรกรไม่ต้องกังวลเรื่องตลาดผันผวน ช่วยตัดวงจรเสี่ยงด้าน ราคาให้แก่เกษตรกร และยังเป็น “ตัวกลาง” ในการส่งต่อเนื้อหมูที่ ผลิตจากฝีมือคนไทยเพื่อผู้บริโภคชาวไทยได้อย่างแท้จริง


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ไก่เนื้อ ปี 67 ส่งออกโตต่อ...คาดยอดทะลุ 1.12 ล้านตัน ไก่เนื้อ ปี 67 ส่งออกโตต่อ...คาดยอดทะลุ 1.12 ล้านตัน จากสภาพเศรษฐกิจทั่วโลกที่ดีขึ้น แม้ในบางประเทศยังมีปัญหา อยู่บ้าง แต่จากการที่ผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อไทยได้รับการยอมรับจาก ประเทศคู่ค้า เนื่องจากมีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานส่งออกระดับ สากล รวมถึงมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ ส่งผลให้ไทยยืนหยัดเป็น ผู้ส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์อันดับ 4 ของโลก และจากการเปิดเขต การค้าเสรีช่วยดันยอดส่งออกจนไทยเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของเอเชีย ตั้งเป้าปี 2567 ส่งออกถึง 1,120,000 ตัน ภาพรวมไก่เนื้อ ปี 2562 - 2566 การผลิตเนื้อไก่ของโลกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.22 ต่อปี โดยในปี 2566 การผลิต เนื้อไก่ของโลกมีปริมาณรวม 102.259 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 101.815 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.44 ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิต เนื้อไก่อันดับ 1 ของโลก ปริมาณ 21.125 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 14.900 ล้านตัน จีน 14.300 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 11.030 ล้านตัน โดยสหรัฐอเมริกา บราซิล และสหภาพยุโรปมีการ ผลิตเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 0.63 ร้อยละ 3.01 และ ร้อยละ 1.47 ตามลำาดับ ด้านการบริโภค ปี 2562 - 2566 การบริโภคเนื้อไก่ของโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.27 ต่อปี โดยในปี 2566 การบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณรวม 99.880 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 99.248 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.64 ซึ่งสหรัฐอเมริกา มีการบริโภคเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 17.866 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.575 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.025 ล้านตัน และ บราซิล 10.057 ล้านตัน โดยสหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และ บราซิล มีการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 1.09 ร้อยละ 1.21 ร้อยละ 1.79 และร้อยละ 0.34 ตามลำาดับ การส่งออก ปี 2562 - 2566 การส่งออกเนื้อไก่ของโลกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.16 ต่อปี โดยในปี 2566 การ ส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณรวม 13.606 ล้านตัน เพิ่มขึ้น เล็กน้อยจาก 13.574 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 0.24 ซึ่งบราซิล เป็นประเทศผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลก ปริมาณ 4.845 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 3.324 ล้านตัน สหภาพยุโรป 1.725 ล้านตัน และไทย 1.090 ล้านตัน โดยบราซิล สหรัฐอเมริกา และไทย มีการส่งออกเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 8.95 ร้อยละ 0.24 และร้อยละ 6.76 ตามลำาดับ การนำาเข้า ปี 2562 - 2566 การนำาเข้าเนื้อไก่ของโลกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.65 ต่อปี โดยในปี 2566 การ นำาเข้าเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณรวม 11.232 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.090 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.28 ซึ่งญี่ปุ่นนำาเข้าเนื้อไก่ เป็นอันดับ 1 ของโลก ปริมาณ 1.090 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 0.975 ล้านตัน สหราชอาณาจักร 0.890 ล้านตัน และจีน 0.800 ล้านตัน โดยญี่ปุ่นและสหราชอาณาจักร มีการนำาเข้าเนื้อไก่ ลดลงเล็กน้อยจากปี 2565 ร้อยละ 1.00 และร้อยละ 1.44 ตาม ลำาดับ ขณะที่เม็กซิโก และจีน มีการนำาเข้าเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 6.56 และร้อยละ 26.38 การผลิตไก่เนื้อของไทย ปี 2562 - 2566 การผลิตไก่เนื้อของ ไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.54 ต่อปี โดยในปี 2566 มีการผลิต ไก่เนื้อ 1,947.073 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 3.147 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,927.795 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 3.115 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.00 เนื่องจากความต้องการบริโภคทั้งใน ประเทศและต่างประเทศเพิ่มขึ้น


สัตว์เศรษฐกิจ 23 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ด้านการบริโภค ปี 2562 - 2566 การบริโภคเนื้อไก่ของไทย เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.07 ต่อปี โดยปี 2566 มีปริมาณการบริโภค เนื้อไก่ 2.065 ล้านตัน ลดลงจาก 2.104 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 1.85 การส่งออก ปี 2562 - 2566 ปริมาณการส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.96 ต่อปี โดยในปี 2566 มีปริมาณการส่งออกรวม 1.082 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.011 ล้านตันของปี 2565 ร้อยละ 7.02 แบ่งเป็นการ ส่งออกไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ 0.491 ล้านตัน มูลค่า 45,950 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.359 ล้านตัน มูลค่า 40,078 ล้านบาท ของปี 2565 ร้อยละ 36.76 และร้อยละ 14.65 ตามลำาดับ โดย ตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน และมาเลเซีย การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ 0.591 ล้านตัน มูลค่า 93,287 ล้านบาท ลดลงจาก 0.652 ล้านตัน มูลค่า 101,922 ล้านบาท ของปี 2565 ร้อยละ 9.36 และร้อยละ 8.47 ตามลำาดับ ตลาด ส่งออกเนื้อไก่แปรรูปที่สำาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักรและ สหภาพยุโรป ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2562 - 2566 ราคาไก่เนื้อที่ เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.92 ต่อปี โดย ในปี 2566 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.00 บาท ของปี 2565 ร้อยละ 0.23 เนื่องจากมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากภาวะ เศรษฐกิจที่ฟื้นตัว และการเปิดประเทศ ทำาให้ธุรกิจอาหาร และ ร้านอาหารปรับตัวดีขึ้น รวมทั้งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่ปรับตัว สูงขึ้น ราคาส่งออก ปี 2562 - 2566 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 6.74 และร้อยละ 4.29 ต่อปี ตามลำาดับ โดยในปี 2566 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 93.51 บาท ลดลง จากกิโลกรัมละ 111.49 บาท ของปี 2565 ร้อยละ 16.12 ขณะที่ ราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.98 บาท สูงขึ้นจาก กิโลกรัมละ 156.33 บาท ของปี 2565 ร้อยละ 1.06 สำาหรับแนวโน้มปี 2567 การผลิตไก่เนื้อของโลก ปี 2567 คาดว่า การผลิตเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 103.301 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 102.259 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 1.02 เนื่องจาก ประเทศผู้ผลิตที่สำาคัญทั้งสหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป และ ประเทศอื่นๆ ขยายการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคที่ เพิ่มขึ้น โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.28 และร้อยละ 1.01 ตามลำาดับ ล้านตัน มูลค่า 101,922 ล้านบาท ของปี 2565 ร้อยละ 9.36 และร้อยละ 8.47 ตามลา ดบัตลาดส่งออกเนือ้ไกแ่ ปรรูปท่ี ่ สา คญั ไดแ้ก่ญ่ี ่ ป่นุสหราชอาณาจกัรและสหภาพยโุรป ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2562 - 2566 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.92 ต่อ ปีโดยในปี 2566ราคาไก่เนือ้ท่เีกษตรกรขายไดเ้ฉลี่ ่ ยกิโลกรมัละ44.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.00 บาท ของปี 2565 ร้อยละ 0.23 เนื่องจากมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว และการเปิดประเทศ ท า ใหธุ้รกิจอาหารและรา้นอาหารปรบัตวัดีขึน้รวมทั้ ้ งเป็นผลจากตน้ทนุการผลิตท่ี ่ ปรบัตวัสงูขึน้ ราคาส่งออก ปี 2562 -2566ราคาส่งออกไก่สดแชเ่ย็นแชแ่ข็งและราคาสง่ออกเนือ้ไกแ่ ปรรูปมีแนวโนม้เพิ่ ่ มขึน้ใน อัตราร้อยละ 6.74 และร้อยละ 4.29 ต่อปี ตามล าดับ โดยในปี 2566 ราคาส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 93.51 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 111.49 บาท ของปี 2565 ร้อยละ 16.12 ขณะท่ีราคาส่งออกเนอื้ไก่แปรรูปเฉลี่ ่ ยกิโลกรมั ละ 157.98 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 156.33 บาท ของปี 2565ร้อยละ 1.06 ส าหรับแนวโน้มปี 2567 การผลิตไก่เนื้อของโลก ปี 2567 คาดว่า การผลิตเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 103.301 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 102.259 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 1.02 เน่ืองจากประเทศผผู้ลิตท่ีสา คญัทั้ ้ งสหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยโุรป และประเทศอื่ ่ นๆ ขยายการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น โดยคาดว่า สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.28 และร้อยละ 1.01 ตามล าดับ ตารางปริมาณการผลิตเนือ้ไกแ่ละผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ สหรัฐอเมริกา 19.941 20.255 20.391 20.992 21.125 1.52 21.396 บราซิล 13.690 13.880 14.500 14.465 14.900 2.13 15.050 จีน 13.800 14.600 14.700 14.300 14.300 0.51 13.870 สหภาพยุโรป 10.836 11.030 10.840 10.870 11.030 0.21 11.100 รัสเซีย 4.668 4.680 4.600 4.800 4.875 1.13 4.950 เม็กซิโก 3.554 3.596 3.665 3.763 3.850 2.08 3.940 ไทย 3.300 3.250 3.220 3.300 3.450 1.05 3.490 อาร์เจนตินา 2.171 2.215 2.290 2.319 2.330 1.89 2.400 ตุรกี 2.138 2.136 2.246 2.418 2.250 2.29 2.300 โคลัมเบีย 1.761 1.685 1.773 1.893 1.890 2.61 1.900 สหราชอาณาจักร 1.726 1.779 1.841 1.815 1.820 1.27 1.840 ประเทศอื่ นๆ 19.673 20.553 20.391 20.992 20.439 0.98 21.065 รวมทัง้หมด 97.258 99.659 101.060 101.815 102.259 1.22 103.301 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 100.820 ลา้นตนัเพิ่ ่ มขึน้ จาก 99.880 ล้านตัน ในปี 2566 ร้อยละ 0.94 ผู้บริโภครายใหญ่ คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่า จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ ปริมาณ 18.093 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.165 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.110 ล้านตัน และบราซิล 10.026 ล้านตัน


24 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 100.820 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 99.880 ล้านตัน ในปี 2566 ร้อยละ 0.94 ผู้บริโภครายใหญ่ คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่า จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ ปริมาณ 18.093 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 14.165 ล้านตัน สหภาพยุโรป 10.110 ล้านตัน และบราซิล 10.026 ล้านตัน โดยคาดว่า สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป มีปริมาณการบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.27 และ ร้อยละ 0.85 ขณะที่จีน และบราซิล มีปริมาณการบริโภคลดลง ร้อยละ 2.81 และร้อยละ 0.31 ตามลำาดับ การส่งออก ปี 2567 คาดว่า การส่งออกเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 14.002 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.606 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.91 โดยประเทศผู้ผลิตรายเดิม ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ยังคงเป็นผู้ครองตลาด ซึ่งบราซิลเป็นประเทศที่มี การส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 5.025 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.845 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 3.72 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามลำาดับ โดยที่ไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของโลก โดยคาดว่า สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีปริมาณการบริโภคเพิ่ ่ มขึน้รอ้ยละ 1.27 และ ร้อยละ 0.85 ขณะท่ี ่ จีน และ บราซิล มีปริมาณการบริโภคลดลง ร้อยละ 2.81และร้อยละ 0.31 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้ไก่และผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ สหรัฐอเมริกา 16.702 16.994 17.167 17.673 17.866 1.75 18.093 จีน 13.952 15.211 15.031 14.401 14.575 0.33 14.165 สหภาพยุโรป 9.458 9.652 9.648 9.849 10.025 1.38 10.110 บราซิล 9.756 10.010 10.279 10.023 10.057 0.62 10.026 เม็กซิโก 4.423 4.431 4.575 4.666 4.820 2.26 4.960 รัสเซีย 4.712 4.688 4.632 4.750 4.805 0.52 4.875 ญี่ ปุ่น 2.789 2.757 2.848 2.877 2.879 1.07 2.880 ไทย 2.389 2.299 2.280 2.310 2.340 -0.37 2.390 ประเทศอื่ นๆ 30.545 31.202 32.126 32.699 32.513 1.73 33.321 รวมทัง้หมด 94.726 97.244 98.586 99.248 99.880 1.27 100.820 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 การส่งออก ปี 2567 คาดว่า การส่งออกเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 14.002 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.606 ล้าน ตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.91 โดยประเทศผู้ผลิตรายเดิม ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ยังคงเป็นผู้ครอง ตลาด ซึ่งบราซิลเป็นประเทศที่มีการส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 5.025 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.845 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 3.72 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามล าดับ โดยที่ไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของ โลก ตารางปริมาณการส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ บราซิล 3.939 3.875 4.226 4.447 4.845 5.67 5.025 สหรัฐอเมริกา 3.259 3.376 3.356 3.316 3.324 0.22 3.358 สหภาพยุโรป 2.148 2.037 1.838 1.725 1.725 -5.87 1.725 ไทย 0.961 0.941 0.907 1.021 1.090 3.39 1.120 จีน 0.428 0.388 0.457 0.532 0.525 7.51 0.530 ตุรกี 0.402 0.440 0.510 0.646 0.450 6.29 0.490 ยูเครน 0.407 0.428 0.458 0.419 0.440 1.36 0.450 ประเทศอื่ นๆ 1.527 1.617 1.556 1.468 1.207 -5.51 1.304 รวมทัง้หมด 13.071 13.102 13.308 13.574 13.606 1.16 14.002 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 โดยคาดว่า สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป มีปริมาณการบริโภคเพิ่ ่ มขึน้รอ้ยละ 1.27 และ ร้อยละ 0.85 ขณะท่ี ่ จีน และ บราซิล มีปริมาณการบริโภคลดลง ร้อยละ 2.81และร้อยละ 0.31 ตามล าดับ ตารางปริมาณการบริโภคเนือ้ไก่และผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ สหรัฐอเมริกา 16.702 16.994 17.167 17.673 17.866 1.75 18.093 จีน 13.952 15.211 15.031 14.401 14.575 0.33 14.165 สหภาพยุโรป 9.458 9.652 9.648 9.849 10.025 1.38 10.110 บราซิล 9.756 10.010 10.279 10.023 10.057 0.62 10.026 เม็กซิโก 4.423 4.431 4.575 4.666 4.820 2.26 4.960 รัสเซีย 4.712 4.688 4.632 4.750 4.805 0.52 4.875 ญี่ ปุ่น 2.789 2.757 2.848 2.877 2.879 1.07 2.880 ไทย 2.389 2.299 2.280 2.310 2.340 -0.37 2.390 ประเทศอื่ นๆ 30.545 31.202 32.126 32.699 32.513 1.73 33.321 รวมทัง้หมด 94.726 97.244 98.586 99.248 99.880 1.27 100.820 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 การส่งออก ปี 2567 คาดว่า การส่งออกเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณรวม 14.002 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 13.606 ล้าน ตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.91 โดยประเทศผู้ผลิตรายเดิม ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ยังคงเป็นผู้ครอง ตลาด ซึ่งบราซิลเป็นประเทศที่มีการส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 5.025 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.845 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 3.72 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามล าดับ โดยที่ไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของ โลก ตารางปริมาณการส่งออกเนือ้ไก่และผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ บราซิล 3.939 3.875 4.226 4.447 4.845 5.67 5.025 สหรัฐอเมริกา 3.259 3.376 3.356 3.316 3.324 0.22 3.358 สหภาพยุโรป 2.148 2.037 1.838 1.725 1.725 -5.87 1.725 ไทย 0.961 0.941 0.907 1.021 1.090 3.39 1.120 จีน 0.428 0.388 0.457 0.532 0.525 7.51 0.530 ตุรกี 0.402 0.440 0.510 0.646 0.450 6.29 0.490 ยูเครน 0.407 0.428 0.458 0.419 0.440 1.36 0.450 ประเทศอื่ นๆ 1.527 1.617 1.556 1.468 1.207 -5.51 1.304 รวมทัง้หมด 13.071 13.102 13.308 13.574 13.606 1.16 14.002 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023


สัตว์เศรษฐกิจ 25 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การนำาเข้า ปี 2567 คาดว่า การนำาเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของโลกจะมีปริมาณรวม 11.498 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 11.232 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.37 โดยญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศที่นำาเข้าเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 1.095 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 1.025 ล้านตัน และสหราชอาณาจักร 0.900 ล้านตัน โดยคาดว่า เม็กซิโก มีปริมาณการบริโภคเพิ่มขึ้นมากที่สุด ร้อยละ 5.13 และแหล่งนำาเข้าเนื้อ ไก่ที่สำาคัญของญี่ปุ่น ยังคงเป็นประเทศบราซิลและไทย การน าเข้า ปี 2567 คาดว่า การนา เขา้เนื้ ้ อไก่และผลิตภณัฑข์องโลกจะมีปรมิาณรวม 11.498 ลา้นตนัเพิ่ ่ มขึน้จาก 11.232 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 2.37 โดยญี่ปุ่ นยังคงเป็นประเทศที่น าเข้าเนื้อไก่มากที่สุด ปริมาณ 1.095 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ เม็กซิโก 1.025 ล้านตัน และสหราชอาณาจักร 0.900 ล้านตัน โดยคาดว่า เม็กซิโก มีปริมาณการบริโภค เพิ่มขึ้นมากที่สุด ร้อยละ 5.13และแหล่งน าเข้าเนื้อไก่ที่ส าคัญของญี่ปุ่ น ยังคงเป็นประเทศบราซิลและไทย ตารางปริมาณการน าเข้าเนือ้ไก่และผลิตภัณฑข์องประเทศทสี่า คัญ หน่วย : ล้านตัน ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ ญี่ ปุ่น 1.076 1.005 1.077 1.101 1.090 1.18 1.095 เม็กซิโก 0.875 0.842 0.917 0.915 0.975 3.04 1.025 สหราชอาณาจักร 0.792 0.732 0.689 0.903 0.890 4.53 0.900 จีน 0.580 0.999 0.788 0.633 0.800 1.89 0.825 สหภาพยุโรป 0.770 0.660 0.647 0.704 0.720 -0.69 0.735 ซาอุดิอาระเบีย 0.601 0.618 0.615 0.594 0.640 0.87 0.665 อิรัก 0.494 0.468 0.388 0.485 0.535 1.97 0.500 ฟิ ลิปปิ นส์ 0.366 0.336 0.384 0.498 0.450 8.40 0.475 แอฟริกาใต้ 0.485 0.434 0.371 0.321 0.370 -8.08 0.385 UAE 0.410 0.358 0.384 0.356 0.385 -1.31 0.390 ประเทศอื่ นๆ 4.095 4.230 4.549 4.580 4.377 2.15 4.503 รวมทัง้หมด 10.544 10.682 10.809 11.090 11.232 1.65 11.498 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 ส าหรับแนวโน้มการผลิตไก่เนื้อของไทย ปี 2567 คาดว่า การผลิตไก่เนื้อของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตาม จ านวนประชากร และความต้องการบริโภคที่ขยายตวัเพิ่ ่ มขึน้ทงั้ตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่า ไทยจะผลิตไก่เนื้อปริมาณ 1,948.732 ลา้นตวัหรือคิดเป็นเนื้ ้ อไก่ 3.186 ลา้นตนัเพิ่ ่ มขึน้จาก 1,947.073 ล้านตัว หรือคิด เป็นเนื้อไก่ 3.147 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 0.09 ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคเนื้อไก่ของไทยมีปริมาณ 2.066 ล้านตัน เพิ่มขึ้นเล็กน้อย จาก 2.065 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 0.05 เนื่องจากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ภายในประเทศของรัฐบาลประกอบกับเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยการบริโภคใน ประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65ของปรมิาณการผลิตทั้ ้ งหมด ตารางการผลิต การบริโภค และส่งออกเนือ้ไก่และผลติภัณฑข์องไทย ปี ผลผลิตไก่เนือ้ (ล้านตัว) ผลผลิต (ล้านตัน) บริโภค (ล้านตัน) ส่งออก (ล้านตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม 2562 1,713.383 2.769 1.866 0.313 0.590 0.902 2563 1,757.872 2.993 2.098 0.349 0.546 0.895 2564 1,754.043 3.114 2.201 0.363 0.550 0.913 2565 1,927.795 3.115 2.104 0.359 0.652 1.011


26 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2567 คาดว่า จะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของตลาด โดยเฉพาะการขยาย ตลาดส่งออกใหม่ในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลางเพิ่มขึ้น โดยในปี 2567 คาดว่า จะมีการส่งออกเนื้อไก่ปริมาณรวม 1.120 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 1.082 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 3.50 โดยแบ่งเป็นการส่งออกไก่สดแช่แข็งปริมาณ 0.510 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.491 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 3.86 และการส่งออกเนื้อไก่แปรรูปปริมาณ 0.610 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.591 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 3.21 ส่งออกเนื้ ้ อไก่ปรมิาณรวม 1.120 ลา้นตนัเพิ่ ่ มขึน้จากปรมิาณ 1.082 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 3.50 โดยแบ่งเป็นการ ส่งออกไก่สดแช่แข็งปริมาณ 0.510 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.491 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 3.86 และการส่งออกเนื้อไก่ แปรรูปปริมาณ 0.610 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.591 ล้านตันของปี 2566 ร้อยละ 3.21 ตารางปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนือ้ไก่แปรรูป ประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ล้านตัน) 0.313 0.349 0.363 0.359 0.491 9.79 0.510 มูลค่า (ล้านบาท) 24,729 28,333 28,829 40,078 45,950 17.19 47,600 เนือ้ไก่แปรรูป ปริมาณ (ล้านตัน) 0.590 0.546 0.550 0.652 0.591 1.80 0.610 มูลค่า (ล้านบาท) 80,300 75,559 73,712 101,922 93,287 6.17 94,900 รวมทัง้หมด ปริมาณ (ตัน) 0.902 0.895 0.913 1.011 1.082 4.96 1.120 มูลค่า (ล้านบาท) 105,029 103,892 102,542 141,999 139,238 9.16 142,500 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร ราคาท่ี ่ เกษตรกรขายได้ ปี 2567 คาดว่า ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 0.45 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ราคาส่งออก ปี 2567 คาดว่า ราคาส่งออกเนื้อไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2566 ซึ่ง เป็นผลมาจากอตัราแลกเปลี่ ่ ยน ตารางราคาไก่เนือ้ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออกไก่สดแชแ่ข็งและเนือ้ไก่แปรรูป รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้(บาท/กก)36853544348744004410592ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2567 คาดว่า ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 0.45 เนื่องจากมีการวางแผน การผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ราคาส่งออก ปี 2567 คาดว่า ราคาส่งออกเนื้อไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2566 ซึ่งเป็นผลมาจากอัตรา แลกเปลี่ยน สำาหรับแนวโน้มการผลิตไก่เนื้อของไทย ปี 2567 คาดว่า การผลิตไก่เนื้อของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตามจำานวนประชากร และ ความต้องการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อปริมาณ 1,948.732 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 3.186 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,947.073 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อไก่ 3.147 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 0.09 ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคเนื้อไก่ของไทยมีปริมาณ 2.066 ล้านตัน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 2.065 ล้านตัน ของปี 2566 ร้อยละ 0.05 เนื่องจากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศของรัฐบาลประกอบกับเนื้อไก่ เป็นอาหารโปรตีนที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยการบริโภคในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด อิรัก 0.494 0.468 0.388 0.485 0.535 1.97 0.500 ฟิ ลิปปิ นส์ 0.366 0.336 0.384 0.498 0.450 8.40 0.475 แอฟริกาใต้ 0.485 0.434 0.371 0.321 0.370 -8.08 0.385 UAE 0.410 0.358 0.384 0.356 0.385 -1.31 0.390 ประเทศอื่ นๆ 4.095 4.230 4.549 4.580 4.377 2.15 4.503 รวมทัง้หมด 10.544 10.682 10.809 11.090 11.232 1.65 11.498 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Market and Trade. USDA Foreign Agricultural Service. October. 2023 ตารางการผลิต การบริโภค และส่งออกเนือ้ไก่และผลติภัณฑข์องไทย ปี ผลผลิตไก่เนือ้ (ล้านตัว) ผลผลิต (ล้านตัน) บริโภค (ล้านตัน) ส่งออก (ล้านตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม 2562 1,713.383 2.769 1.866 0.313 0.590 0.902 2563 1,757.872 2.993 2.098 0.349 0.546 0.895 2564 1,754.043 3.114 2.201 0.363 0.550 0.913 2565 1,927.795 3.115 2.104 0.359 0.652 1.011 2566* 1,947.073 3.147 2.065 0.491 0.591 1.082 อัตราเพิ่ ม (%) 3.54 3.00 2.07 9.79 1.80 4.96 2567** 1,948.732 3.186 2.066 0.510 0.610 1.120 หมายเหตุ : * ประมาณการ, ** คาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร การส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2567 คาดว่า จะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความต้องการบริโภคของ ตลาด โดยเฉพาะการขยายตลาดส่งออกใหม่ในภมูิภาคเอเชยีและตะวนัออกกลางเพิ่ ่ มขึน้โดยในปี 2567 คาดว่า จะมีการ


สัตว์เศรษฐกิจ 27 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ูประเทศ 2562 2563 2564 2565 25661/ อัตราเพิ่ ม (%) 25672/ ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ล้านตัน) 0.313 0.349 0.363 0.359 0.491 9.79 0.510 มูลค่า (ล้านบาท) 24,729 28,333 28,829 40,078 45,950 17.19 47,600 เนือ้ไก่แปรรูป ปริมาณ (ล้านตัน) 0.590 0.546 0.550 0.652 0.591 1.80 0.610 มูลค่า (ล้านบาท) 80,300 75,559 73,712 101,922 93,287 6.17 94,900 รวมทัง้หมด ปริมาณ (ตัน) 0.902 0.895 0.913 1.011 1.082 4.96 1.120 มูลค่า (ล้านบาท) 105,029 103,892 102,542 141,999 139,238 9.16 142,500 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร ราคาท่ี ่ เกษตรกรขายได้ ปี 2567 คาดว่า ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 0.45 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ราคาส่งออก ปี 2567 คาดว่า ราคาส่งออกเนื้อไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2566 ซึ่ง เป็นผลมาจากอตัราแลกเปลี่ ่ ยน ตารางราคาไก่เนือ้ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออกไก่สดแชแ่ข็งและเนือ้ไก่แปรรูป รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 36.85 35.44 34.87 44.00 44.10 5.92 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 79.14 136.11 81.14 138.34 79.45 133.97 111.49 156.33 93.51 157.98 6.74 4.29 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยบวก 1) ภาวะเศรษฐกจิโลกและประเทศผนู้า เขา้ฟื้ ้ นตวัและการเพมิ่ขึน้ของจา นวนประชากรโลกทา ใหค้วามตอ้งการ บรโิภคอาหารของประเทศตา่งๆ ปรบัตวัเพิ่ ่ มขึน้ รวมถึงเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนสูงที่มีราคาถูก 2) แนวโน้มตลาดในภูมิภาคตะวันออกกลางขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้ ้ ง สงครามรสัเซีย-ยเูครนท่ี ่ ยงัคงยืดเยื้ ้ อ จึงเป็น โอกาสส าหรับการส่งออกของไทย 3) ความเชื่อมั่นในเรื่อง Compartment และ Traceability และมาตรการควบคุมป้องกันโรคระบาดสัตว์ท่ี ่ เขม้งวด ของไทย รวมถึงการรบัรองมาตรฐานโรงงานแปรรูปและส่งออกไกข่องไทย ทา ใหป้ระเทศค่คูา้ยอมรบัและเช่ื ่ อม่ั ่ นในคณุภาพ การผลิตเนื้ ้ อไก่ของไทย จึงเป็นโอกาสในส่งออกไปยงัตลาดตา่งๆไดม้ากขึน้ 4) อตัราแลกเปลี่ยนเงินตราตา่งประเทศมีแนวโนม้อ่อนตวัอย่างตอ่เน่ือง รวมทั้ ้ งแนวโนม้ราคาอาหารสตัวอ์่อนตวั ลง มีผลให้ผู้ประกอบการสามารถแข่งขันในด้านราคาจ าหน่ายสินค้าในตลาดต่างประเทศไดเ้พิ่ ่ มขนึ้ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย ปัจจัยบวก 1) ภาวะเศรษฐกิจโลกและประเทศผู้นำาเข้าฟื้นตัว และการ เพิ่มขึ้นของจำานวนประชากรโลกทำาให้ความต้องการบริโภคอาหาร ของประเทศต่างๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้น รวมถึงเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีน สูงที่มีราคาถูก 2) แนวโน้มตลาดในภูมิภาคตะวันออกกลางขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้ง สงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ยังคงยืดเยื้อ จึงเป็นโอกาสสำาหรับ การส่งออกของไทย 3) ความเชื่อมั่นในเรื่อง Compartment และ Traceability และมาตรการควบคุมป้องกันโรคระบาดสัตว์ ที่เข้มงวดของไทย รวมถึงการรับรองมาตรฐานโรงงานแปรรูปและส่งออกไก่ของไทย ทำาให้ประเทศคู่ค้ายอมรับและเชื่อมั่นในคุณภาพการผลิตเนื้อไก่ ของไทย จึงเป็นโอกาสในส่งออกไปยังตลาดต่างๆ ได้มากขึ้น 4) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมีแนวโน้มอ่อนตัวอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้้งแนวโน้มราคาอาหารสัตว์อ่อนตัวลง มีผลให้ ผู้ประกอบการสามารถแข่งขันในด้านราคาจำาหน่ายสินค้าในตลาด ต่างประเทศได้เพิ่มขึ้น 5) ร้านอาหารฟาสต์ฟู้ด หรือร้านอาหารบริการด่วน มีการ นำาเข้าสัตว์ปีกมาแทนเนื้อสด รวมถึงผลิตภัณฑ์ไก่สำาเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ ไก่พร้อมทาน มีวางจำาหน่ายทั่วไป หาซื้อได้ง่าย ปัจจัยลบ 1) ประเทศไทยต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ เช่น พันธุ์สัตว์วัตถุดิบอาหารสัตว์ ยาและเวชภัณฑ์ ตลอดจนต้นทุนการผลิตสูงกว่าประเทศคู่แข่ง อาทิ บราซิล และ สหรัฐอเมริกา 2) การลงทุนในอุตสาหกรรมไก่ของสหรัฐอเมริกาในซาอุดิ อาระเบีย จะมีผลต่อส่วนแบ่งการตลาดเนื้อไก่ของไทยในภูมิภาค ตะวันออกกลาง 3) ประเทศต่างๆ มีการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) โดยเฉพาะประเด็นทางสังคม มากขึ้น เช่น มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดล้อม เป็นต้น มี ผลต่อความสามารถในการแข่งขันของไทยในตลาดโลก 4) อัตราแลกเปลี่้ยนเงินตราต่างประเทศในหลายประเทศมี แนวโน้มความผันผวน จะส่งผลให้ความสามารถในแข่งขันด้านราคา กับประเทศคู่แข่งลดลง


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ชูระบบ “คอมพาร์ทเมนต์” ป้องกันโรคไข้หวัดนกอย่างมีประสิทธิภาพ ทำาให้ไก่ไทยปลอดไข้หวัดนกได้อย่างยั่งยืน พร้อมยก ระดับมาตรฐานความปลอดภัยอาหารสู่มาตรฐานขั้นสูงสุดระดับอวกาศ ย้ำาผู้บริโภคต้องปรุงสุก และแยกชุดอุปกรณ์ปรุงอาหารระหว่างวัตถุดิบสดและอาหารปรุงสุก เพื่อความปลอดภัย สพ.ญ.ดร.นิอร บุญประเสริฐ ผู้บริหารสูงสุด สายงานบริการวิชาการสัตว์ปีกและศูนย์วินิจฉัย โรคสัตว์บก ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟ ให้ความสำาคัญและเอาใจใส่ทุกขั้นตอนในห่วงโซ่การผลิต เน้นคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารเป็นหลัก โดยเฉพาะการนำามาตรการ เฝ้าระวังและป้องกันโรคที่อาจปนเปื้อนในกระบวนการผลิต ผ่านการตรวจสอบคุณภาพอย่าง เข้มงวดตั้งแต่ต้นน้ำาจนถึงปลายน้ำา เริ่มตั้งแต่วัตถุดิบอาหารสัตว์ ที่จะนำามาให้สัตว์กินต้องมีความ ปลอดภัย ตลอดจนกระบวนการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มสัตว์ปีกทุกขั้นตอน ทั้งฟาร์ม พ่อแม่พันธุ์ โรงฟักไข่ ฟาร์มไก่เนื้อ รวมถึงโรงงานชำาแหละและแปรรูป ต้องปลอดเชื้อปนเปื้อน ซีพีเอฟ ยังได้ยกระดับเนื้อไก่ด้วยมาตรฐานความปลอดภัยระดับอวกาศ (Space Food Safety Standard) ซึ่งเป็นมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ความ ปลอดภัยด้านอาหารขององค์การ NASA ที่นักบินอวกาศสามารถรับประทานได้ เป็นเครื่องยืนยัน ได้ว่า เนื้อไก่จากซีพีเอฟมีความปลอดภัย ปลอดสาร 100% ที่องค์การระดับโลกยอมรับ ตอกย้ำา ความเป็นผู้นำานวัตกรรมผลิตอาหารที่ยั่งยืน ระบบคอมพาร์ทเมนต์ (Compartment) คือ การป้องกันตั้งแต่ต้นทางที่มีประสิทธิภาพ เป็น ระบบการเลี้ยงสัตว์ปีกในฟาร์มและโรงเรือนระบบปิด ภายใต้มาตรฐานการจัดการระบบความ ปลอดภัยทางชีวภาพ และการเฝ้าระวังโรค ที่มีขั้นตอนการวิเคราะห์ อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุมและวางมาตรการในการป้องกัน เพื่อลดโอกาสในการเกิดโรคไข้หวัดนกในฟาร์ม มีการ ตรวจติดตามสุขภาพสัตว์อย่างใกล้ชิด โดยเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจสอบหาเชื้อโรคต่างๆ ที่อาจ คอมพาร์ทเมนต์ ระบบป้องกันไก่ไทยปลอดไข้หวัดนก


สัตว์เศรษฐกิจ 29 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปนเปื้อนและส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคและสุขภาพของสัตว์ อาทิ เชื้อไวรัสไข้หวัดนก เชื้อแบคทีเรียซาลโมเนลลา เชื้อไวรัสนิวคาสเซิล โดยทีมสัตวแพทย์บริการวิชาการด้านสัตว์ปีก เข้าติดตามเฝ้าระวังสุขภาพสัตว์ระหว่างการเลี้ยงอย่างใกล้ชิด ซึ่งบริษัทฯ นำาระบบนี้มาใช้และ ได้การรับรองจากกรมปศุสัตว์ตั้งแต่ปี 2554 ปัจจุบัน ซีพีเอฟ ใช้ระบบคอมพาร์ทเมนต์ในทุกฟาร์มสัตว์ปีกตลอดห่วงโซ่การผลิต 100 เปอร์เซ็นต์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อยอดให้กับฟาร์มเกษตรกรประกันราคา (Contract Farming) มีระบบการเลี้ยงการจัดการ การป้องกันโรคที่ได้มาตรฐานช่วยยกระดับมาตรฐาน การผลิตสัตว์ปีกของไทย สนับสนุนเกษตรกรให้สามารถเลี้ยงไก่ปลอดจากเชื้อไข้หวัดนก ได้ผลผลิตดี มีรายได้ที่มั่นคง เมื่อเกษตรกรอยู่ได้ อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกของไทยอยู่ได้ ทำาให้เกิดความยั่งยืนในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกและเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อไป สำาหรับระบบคอมพาร์ทเมนต์ มีมาตรการในการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคตลอด กระบวนการผลิต ประกอบไปด้วย 4 พื้นฐานหลัก คือ 1. มีการกำาหนดมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity management system) โดยดำาเนินการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมและวางมาตรการป้องกัน (HACCP) ตลอดกระบวนการผลิต 2. มีการตรวจเชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในฝูงสัตว์ปีกที่เลี้ยงในฟาร์มและสัตว์ปีกใน พื้นที่รัศมีกันชน 1 กิโลเมตร รอบฟาร์มอย่างต่อเนื่อง (Surveillance) 3. วางมาตรการควบคุมโรคไข้หวัดนกในฟาร์มและพื้นที่กันชนรัศมี 1 กิโลเมตร รอบฟาร์ม ตามข้อกำาหนดของกรมปศุสัตว์ (Disease Control) 4. วางระบบทวนสอบย้อนกลับ (Traceability System) เพื่อติดตามข้อมูลการผลิตได้ ตลอดห่วงโซ่อาหาร นอกจากนี้ ซีพีเอฟเลี้ยงสัตว์ปีกในโรงเรือนระบบปิดที่มีการควบคุมสภาพแวดล้อม (Evaporative Cooling System) และนำาระบบควบคุมทางไกลผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ปัญญา ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และ Internet of Thing (IoT) ติดตามสุขภาพสัตว์ภายใน ฟาร์มตลอด 24 ชั่วโมง ทำาให้ลดการเข้าภายในโรงเรือนของเจ้าหน้าที่สัตวบาลโดยไม่จำาเป็น ลดความเสี่ยงที่จะนำาโรคเข้าสู่สัตว์ สพ.ญ.ดร.นิอร แนะนำาว่า การบริโภคอย่างปลอดภัย หากพบสัตว์ปีกป่วยตายอย่างผิดปกติ ห้ามนำาไปประกอบอาหาร ทั้งควรเลือกซื้อวัตถุดิบและอาหารจากผู้ผลิตที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน และต้องปรุงสุกด้วยอุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสขึ้นไป พร้อมแยกชุดอุปกรณ์วัตถุดิบสดและอาหาร ที่ปรุงสุกแล้ว และล้างมือหลังปรุงประกอบอาหาร ขณะที่ผู้เลี้ยงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสัตว์ปีก ที่มีอาการผิดปกติหรือสงสัยว่าป่วย หากจำาเป็นต้องสัมผัสให้ใช้สบู่ล้างมือให้สะอาดทันที...


30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เปิดฟาร์มไก่อัจฉริยะ... ต้นแบบการผลิตอาหารคุณภาพสู่ผู้บริโภค กรมปศุสัตว์ และสมาชิกองค์กรการเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย (Asian Productivity Organization: APO) จาก 19 ประเทศ ชื่นชม ฟาร์มกรอกสมบูรณ์ ของบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เป็นต้นแบบฟาร์มไก่อัจฉริยะ (Smart Farm) ที่นำานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลทันสมัยช่วยยกระดับประสิทธิภาพ การเลี้ยงและดูแลสุขภาพสัตว์ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ พร้อมจะนำา ความรู้และแนวทางไปถ่ายทอดและส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยทั่ว เอเชียแปซิฟิก ร่วมสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับภูมิภาค นางสาวรัชฎา อสิสนธิสกุล ผู้อำานวยการฝ่ายส่งเสริมโครงการ พิเศษ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติกล่าวว่า การเยี่ยมชมฟาร์ม กรอกสมบูรณ์ในครั้งนี้ เปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกองค์กร APO ทั่วเอเชียแปซิฟิกซึ่งเป็นข้าราชการ นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญจาก สถาบันการศึกษา และเกษตรกรได้เรียนรู้ระบบฟาร์มอัจฉริยะ รวมถึง นำาข้อดีและแนวปฏิบัติที่ดีในการเลี้ยงไก่เนื้อ ประยุกต์ใช้พัฒนาภาค ปศุสัตว์ของภูมิภาคให้ทันสมัยตั้งแต่ระดับเกษตรกรจนถึงระดับ นโยบาย รวมถึงการส่งเสริมให้เกษตรกรรุ่นใหม่มีขีดความสามารถ สูงขึ้น “ขอขอบคุณ ซีพีเอฟ ที่ให้สมาชิก APO ได้ร่วมศึกษาดูงาน และความสำาเร็จของระบบฟาร์มอัจฉริยะของการเลี้ยงไก่ ซึ่งผู้ที่ เกี่ยวข้องในภาคปศุสัตว์จาก 19 ประเทศในเอเชียจะได้นำาความรู้ไป ต่อยอดพัฒนาฟาร์มอัจฉริยะของการเลี้ยงไก่เนื้อในประเทศต่อไป ซึ่ง จะช่วยสร้างประโยชน์ต่อการเพิ่มศักยภาพเกษตรกรและการสร้าง ความมั่นคงทางอาหารของภูมิภาคเอเชีย” นางสาวรัชฎา กล่าว รองศาสตราจารย์ มุกุนด์ มโรเตรา คาดำา (Dr. Mukund Marotrao Kadam) อาจารย์ของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสัตว์ปีก ภาค วิชาสัตว์ปีก มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สัตว์และประมงมหาราษฏระ เมืองนาคปุระ ประเทศอินเดีย กล่าวว่า สมาชิก APO ที่มาจาก หลายประเทศประทับใจและได้รับความรู้เรื่องการบริหารจัดการฟาร์ม ที่ดี รวมถึงระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ ในฟาร์มอัจฉริยะของ ซีพีเอฟ และจะนำาความรู้ที่ได้จากวันนี้ ส่งต่อให้กับเกษตรกร นักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาภาคปศุสัตว์ของภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก นายสุรเชษฐ์ ปิ่นเกล้า ผู้อำานวยการอาวุโส ธุรกิจไก่เนื้อเป็ดเนื้อครบวงจร ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟให้ความสำาคัญกับการ พัฒนา “ฟาร์มอัจฉริยะ” (Smart Farm) ที่ทันสมัย และคำานึงถึง หลักสวัสดิภาพสัตว์ เพื่อส่งมอบอาหารคุณภาพสูง ปลอดภัย ปลอดสารสู่ผู้บริโภค ทั้งนี้ ฟาร์มกรอกสมบูรณ์ ได้รับคัดเลือกจาก กรมปศุสัตว์ให้เป็นต้นแบบสำาหรับการศึกษาดูงานของสมาชิกองค์กร การเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย จาก 19 ประเทศ ที่มาร่วมงานสัมมนา นานาชาติMulticountry Observational Study Mission on smart Poultry Farming เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการพัฒนาระบบ ฟาร์มอัจฉริยะ เพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์และจัดการสวัสดิภาพ สัตว์ เพื่อนำาไปเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกรรายย่อยได้สามารถเพิ่ม ผลผลิต พัฒนาประสิทธิภาพและมาตรฐานการเลี้ยงสัตว์ ฟาร์มกรอกสมบูรณ์เป็นฟาร์มไก่ที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ระบบดิจิทัล และกระบวนการทำางานแบบอัตโนมัติ ในการบริหาร และการจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ เช่น ระบบให้อาหารและน้ำา การควบคุมอุณหภูมิและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของสัตว์ในแต่ละ ช่วงวัย ใช้เทคโนโลยีIoT ในการแสดงผลการเลี้ยงความเป็นอยู่และ ดูแลสุขภาพของสัตว์แบบเรียลไทม์ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ เนื้อไก่ปลอดภัย ปราศจากยาปฏิชีวนะ ตอบโจทย์ความต้องการของ ผู้บริโภคยุคใหม่ ภายใต้ผลิตภัณฑ์ไก่เบญจา ไก่เลี้ยงด้วยซูเปอร์ฟู้ด ชั้นดี เติบโตแข็งแรงตามธรรมชาติ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะและสารเร่งโต ตลอดการเลี้ยงดู และยังมีโอเมก้า 3 สูง การันตีคุณภาพและ มาตรฐานระดับโลก อาทิ รางวัล “สุดยอดรสชาติอาหารระดับโลก ประจำาปี2022” หรือ Superior Taste Award 2022 จากสถาบัน ชั้นนำาของโลก International Taste Institute และ “สุดยอดสินค้า นวัตกรรมระดับโลก” (Top Innovative Product) จากงาน Thaifex 2019 ทั้งนี้ องค์กรการเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย เป็นองค์การระหว่าง ประเทศของรัฐบาลในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ ส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพให้กับประเทศสมาชิก สำาหรับการเยี่ยมชม ฟาร์มกรอกสมบูรณ์ในครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานสัมมนานานาชาติ Multicountry Observational Study Mission on Smart Poultry Farming เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการปศุสัตว์ โดยมีผู้เข้าร่วม ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่รัฐ นักวิชาการ และผู้ประกอบการ SME ในภาคปศุสัตว์


สัตว์เศรษฐกิจ 31 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปีที่ผ่านมา โรคลัมปิสกิน และ โรคปากและเท้าเปื่อย ยังคงสร้าง ปัญหา สร้างความเสียหายอยู่เป็นระยะ ประกอบกับราคา โคเนื้อที่ ผันผวน ทำาให้การผลิตโคเนื้อลดลง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาล เดินหน้า ส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ พร้อมด้วยการผลักดันการส่งออกไปยัง ประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะเวียดนาม ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยง และผู้ประกอบการจำาเป็นต้องพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตให้ได้ มาตรฐาน เพื่อให้ได้โคเนื้อและเนื้อโคคุณภาพดีรองรับโอกาสในการ ส่งออกไปต่างประเทศ สถานการณ์การผลิตโคเนื้อของโลก ปี2562 - 2566 การผลิต เนื้อโคของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.57 ต่อปีโดยปี2566 มี การผลิตปริมาณรวม 59.313 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 59.285 ล้านตัน ของปี2565 ร้อยละ 0.05 ซึ่ง สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิต สำาคัญ ปริมาณ 12.291 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 10.560 ล้านตัน และจีน 7.500 ล้านตัน โดยการผลิตของประเทศบราซิล และจีน เพิ่มขึ้นจากปี2565 ร้อยละ 2.03 และร้อยละ 4.46 ตาม ลำาดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกามีการผลิตลดลงจากปี2565 ร้อยละ 4.65 โดยการผลิตรวมของทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51 ข้องการผลิตทั้งหมดของโลก ด้านความต้องการบริโภค ปี2562 - 2566 ปริมาณความต้องการ บริโภคเนื้อโคในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.89 ต่อปีโดย การบริโภคเนื้อโคในปี 2566 มีปริมาณรวม 57.995 ล้านตัน โคเนื้อไทย ปี 67 รัฐดันส่งออก ผู้เลี้ยงหวังราคาดีขึ้น เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 57.471 ล้านตัน ของปี2565 ร้อยละ 0.91 ซึ่งสหรัฐอเมริกามีการบริโภคเนื้อโคมากที่สุด ปริมาณ 12.612 ล้าน ตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 11.080 ล้านตัน และบราซิล 7.867 ล้าน ตัน โดยการบริโภคของจีนและบราซิลเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 3.92 และร้อยละ 4.56 ตามลำาดับ ขณะที่ สหรัฐอเมริกาบริโภค ลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 1.46 โดยการบริโภครวมข้องทั้ง 3 ประเทศ ดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 53 ของการบริโภคเนื้อโค ทั้งหมดของโลก การส่งออก ปี 2562 - 2566 การส่งออกเนื้อโคมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.31 ต่อปีโดยในปี2566 มีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ รวม 11.735 ล้านตัน ลดลงจากปริมาณ 12.027 ล้านตัน ของปี 2565 ร้อยละ 2.43 ซึ่งบราซิลส่งออกเนื้อโคมากที่สุด ปริมาณ 2.750 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ ออสเตรเลีย 1.530 ล้านตัน และอินเดีย 1.420 ล้านตัน โดยออสเตรเลียมีการส่งออกเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ร้อยละ 23.59 ขณะที่บราซิลและอินเดียส่งออกลดลงจากปี 2565 ร้อยละ 5.11 และร้อยละ 1.53 ตามลำาดับ โดยการส่งออกรวมข้อง ทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 49 ของการส่งออก เนื้อโคทั้งหมดของโลก การนำาเข้า ปี 2562 - 2566 การนำาเข้าเนื้อโคมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.24 ต่อปีโดยในปี2566 มีการนำาเข้าเนื้อโคปริมาณ รวม 10.351 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 10.264 ล้านตัน ของปี


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การนำาเข้า ปี 2562 - 2566 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าโค มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.88 และร้อยละ 5.02 ต่อปี โดยในปี 2566 การนำาเข้าโคมีชีวิตปริมาณ 0.067 ล้านตัว มูลค่า 1,132 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.170 ล้านตัว มูลค่า 2,771 ล้านบาท ของปี2565 ร้อยละ 60.64 และร้อยละ 59.14 ตามลำาดับ ปี 2562 - 2566 ปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 17.33 และ ร้อยละ 29.59 ต่อปี โดยส่วนใหญ่นำาเข้าจากประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เพื่อการบริโภคและเป็นวัตถุดิบแปรรูป เพื่อส่งออก สำาหรับผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่นำาเข้าจากประเทศอินเดีย นิวซีแลนด์และ ออสเตรเลีย โดยในปี 2566 นำาเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 29,090 ตัน มูลค่า 6,795 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 32,992 ตัน มูลค่า 7,917 ล้านบาท ของปี2565 ร้อยละ 11.83 และร้อยละ 14.18 ตามลำาดับ ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2562 - 2566 ราคาโคมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 1.52 ต่อปีโดยในปี2566 ราคาโคมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 92.86 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 99.78 บาท ของปี2565 หรือร้อยละ 6.94 เนื่องจากช่วงปีที่ผ่านมาเกิดปัญหาปริมาณเนื้อโคล้นตลาด รวมทั้ง เวียดนามระงับการนำาเข้า ส่งผลให้ราคาเนื้อโคและราคาโคมีชีวิตใน ประเทศตกต่ำา ราคาส่งออก ปี2562 - 2566 ราคาส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้นร้อยละ 4.26 ต่อปีและร้อยละ 21.76 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี 2566 ราคาส่งออกโคมีชีวิตเฉลี่ยตัวละ 20,555 บาท ลดลงจากตัวละ 21,452 บาท ของปี2565 ร้อยละ 4.18 และราคาส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 468.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 415.85 บาท ของปี2565 ร้อยละ 12.70 ราคานำาเข้า ปี2562 - 2566 ราคานำาเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย ร้อยละ 0.13 และร้อยละ 10.44 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี2566 ราคานำาเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 233.57 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 239.97 บาท ของปี2565 ร้อยละ 2.67 แนวโน้มการผลิตโคเนื้อของโลก ปี 2567 คาดว่า การผลิต เนื้อโคจะมีปริมาณ 59.133 ล้านตัน ลดลงจากปี2566 ร้อยละ 0.30 ผู้ผลิตรายใหญ่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 11.520 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 10.835 ล้านตัน และจีน 7.700 ล้านตัน โดยการ ผลิตของอินเดีย จีน และบราซิล มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.71 ร้อยละ 2.67 และร้อยละ 2.60 ตามลำาดับ สำาหรับการผลิตของ สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป มีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 6.27 ร้อยละ 3.11 และร้อยละ 0.92 ตามลำาดับ 2565 ร้อยละ 0.85 โดยในปี 2566 ประเทศจีนมีการนำาเข้ามาก ที่สุด ปริมาณ 3.600 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.641 ล้านตัน และญี่ปุ่น 0.750 ล้านตัน โดยการนำาเข้าของจีนและ สหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นจากปี2565 ร้อยละ 2.80 และร้อยละ 6.70 ตามลำาดับ ขณะที่ ญี่ปุ่นมีการนำาเข้าของลดลงจากปี2565 ร้อยละ 3.47 โดยการนำาเข้ารวมของทั้ง 3 ประเทศดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 58 ของการนำาเข้าเนื้อโคทั้งหมดของโลก การผลิตโคเนื้อไทย ปี2562 - 2566 การผลิตโคเนื้อของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.01 ต่อปี โดยช่วงปี 2563 - 2564 มีการแพร่ระบาดของโรคลัมปีสกิน ทำาให้ผลผลิตบางส่วนเสียหาย ไม่สามารถเคลื่อนย้ายเข้าสู่โรงฆ่าและไม่สามารถจำาหน่ายได้โดยในปี 2566 ปริมาณการผลิต จำานวน 1.584 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 1.373 ล้านตัว ของปี2565 ร้อยละ 15.34 เนื่องจากนโยบายของภาครัฐ ที่มีการส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้ออย่างยั่งยืน เช่น โครงการ ฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ โครงการเพิ่่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อ และ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคขุน เป็นต้น ด้านความต้องการบริโภค ปี2562 - 2566 ความต้องการบริโภค เนื้อโคเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.99 ต่อปีเนื่องจากความต้องการของตลาด ภายในประเทศเพิ่มขึ้น โดยในปี2566 มีความต้องการปริมาณ 0.291 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 0.266 ล้านตัน ของปี2565 ร้อยละ 9.56 ผลจากเศรษฐกิจฟื้นตัว และการผ่อนคลายมาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควิด 19 มีการเปิดประเทศ ทำาให้ธุรกิจร้านอาหาร โรงแรม ปรับตัวดีขึ้น ทำาให้มีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี2562 - 2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกโค มีชีวิตของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 26.97 และร้อยละ 23.86 ต่อปี ตามลำาดับ ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ เวียดนาม สปป.ลาว และบางส่วนส่งต่อไปยังจีน โดยในปี 2566 ส่งออกโคมีชีวิตปริมาณ 0.092 ล้านตัว มูลค่า 1,888 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.158 ล้านตัว มูลค่า 3,400 ล้านบาท ของปี 2565 ร้อยละ 42.06 และร้อยละ 44.48 ตามลำาดับ เนื่องจาก ประเทศเวียดนามประกาศระงับการนำาเข้าเนื้อโคจากไทยตั้งแต่ช่วง ปลายปี 2565 ซึ่งต่อมาเวียดนามได้อนุญาตให้ฟาร์มโคเนื้อ และ กระบือของไทยจำานวน 14 ฟาร์ม สามารถส่งออกโคเนื้อได้ตาม ปริมาณที่กำาหนดจำานวน 7,000 ตัว มีผลตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน ถึง 28 กันยายน 2566 ปี 2562 - 2566 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเนื้อโคและ ผลิตภัณฑ์ของไทย มีแนวโน้มลดลง ในอัตราร้อยละ 25.86 และ ร้อยละ 9.73 ต่อปีตามลำาดับ โดยในปี2566 การส่งออกเนื้อโค และผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 41 ตัน มูลค่า 19 ล้านบาท ลดลงจาก ปริมาณ 69 ตัน มูลค่า 29 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 41.41 ร้อยละ 33.97 ตามลำาดับ เนื่องจากความต้องการของตลาดปรับตัว ให้สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น


สัตว์เศรษฐกิจ 33 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ รอยละ 0.30 ผูผลตรายใหญ ไดแก สหรฐอเมรกา 11.520 ลานตน รองลงมา ไดแก บราซล 10.835 ลานตน และจน 7.700 ล้านตัน โดยการผลิตของอินเดีย จีน และบราซิล มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.71 ร้อยละ 2.67 และร้อยละ 2.60 ตามล าดับ ส าหรับการผลิตของสหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.27 ร้อยละ 3.11 และร้อยละ 0.92 ตามล าดับ ปริมาณการผลิตเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** สหรัฐอเมริกา 12.385 12.389 12.734 12.890 12.291 0.24 11.520 บราซิล 10.050 9.975 9.750 10.350 10.560 1.37 10.835 จีน 6.670 6.720 6.980 7.180 7.500 3.05 7.700 สหภาพยุโรป 6.964 6.903 6.883 6.722 6.500 -1.63 6.440 อินเดีย 4.270 3.760 4.195 4.350 4.435 2.24 4.555 อาร์เจนตินา 3.125 3.170 3.000 3.140 3.220 0.51 3.120 อื่นๆ 14.998 14.717 14.819 14.653 14.807 -0.30 14.963 รวม 58.462 57.634 58.361 59.285 59.313 0.57 59.133 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 ความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า จะมีการบริโภคเนื้อโคปริมาณ 57.445 ล้านตัน ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 0.95 โดยสหรัฐอเมริกามีการบริโภคมากที่สุดปริมาณ 11.886 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 11.180 ล้านตัน และบราซิล 8.045 ล้านตัน การบริโภคของอินเดีย บราซิล และจีน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.65 ร้อยละ 2.26 และร้อยละ 0.09 ตามล าดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป บริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 5.76 และร้อยละ 0.63 ตามล าดับ ปริมาณการบริโภคเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** สหรัฐอเมริกา 12.409 12.531 12.717 12.799 12.612 0.54 11.886 จีน 8.826 9.485 9.987 10.662 11.080 5.89 11.180 บราซิล 7.779 7.486 7.492 7.524 7.867 0.28 8.045 สหภาพยุโรป 6.698 6.539 6.529 6.498 6.300 -1.28 6.260 อินเดีย 2.776 2.476 2.798 2.908 3.015 3.31 3.095 อาร์เจนตินา 2.379 2.366 2.273 2.324 2.385 -0.13 2.224 อื่นๆ 15.316 15.160 15.079 14.756 14.736 -1.04 14.755 รวม 56.183 56.043 56.875 57.471 57.995 0.89 57.445 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 การส่งออก ปี 2567 คาดว่า จะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 11.910 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 1.491 โดยบราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ ออสเตรเลีย 1.600 ล้านตัน และอินเดีย 1.460 ล้าน แนวโนมการผลตโคเนอของโลก ป 2567 คาดวา การผลตเนอโคจะมปรมาณ 59.133 ลานตน ลดลงจากป 2566 ร้อยละ 0.30 ผู้ผลิตรายใหญ่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 11.520 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 10.835 ล้านตัน และจีน 7.700 ล้านตัน โดยการผลิตของอินเดีย จีน และบราซิล มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.71 ร้อยละ 2.67 และร้อยละ 2.60 ตามล าดับ ส าหรับการผลิตของสหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.27 ร้อยละ 3.11 และร้อยละ 0.92 ตามล าดับ ปริมาณการผลิตเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** สหรัฐอเมริกา 12.385 12.389 12.734 12.890 12.291 0.24 11.520 บราซิล 10.050 9.975 9.750 10.350 10.560 1.37 10.835 จีน 6.670 6.720 6.980 7.180 7.500 3.05 7.700 สหภาพยุโรป 6.964 6.903 6.883 6.722 6.500 -1.63 6.440 อินเดีย 4.270 3.760 4.195 4.350 4.435 2.24 4.555 อาร์เจนตินา 3.125 3.170 3.000 3.140 3.220 0.51 3.120 อื่นๆ 14.998 14.717 14.819 14.653 14.807 -0.30 14.963 รวม 58.462 57.634 58.361 59.285 59.313 0.57 59.133 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 ความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า จะมีการบริโภคเนื้อโคปริมาณ 57.445 ล้านตัน ลดลงจากปี 2566 ร้อยละ 0.95 โดยสหรัฐอเมริกามีการบริโภคมากที่สุดปริมาณ 11.886 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 11.180 ล้านตัน และบราซิล 8.045 ล้านตัน การบริโภคของอินเดีย บราซิล และจีน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.65 ร้อยละ 2.26 และร้อยละ 0.09 ตามล าดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป บริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 5.76 และร้อยละ 0.63 ตามล าดับ ปริมาณการบริโภคเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** สหรัฐอเมริกา 12.409 12.531 12.717 12.799 12.612 0.54 11.886 จีน 8.826 9.485 9.987 10.662 11.080 5.89 11.180 บราซิล 7.779 7.486 7.492 7.524 7.867 0.28 8.045 สหภาพยุโรป 6.698 6.539 6.529 6.498 6.300 -1.28 6.260 อินเดีย 2.776 2.476 2.798 2.908 3.015 3.31 3.095 อาร์เจนตินา 2.379 2.366 2.273 2.324 2.385 -0.13 2.224 อื่นๆ 15.316 15.160 15.079 14.756 14.736 -1.04 14.755 รวม 56.183 56.043 56.875 57.471 57.995 0.89 57.445 หมายเหตุ : *ประมาณการ, **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 การส่งออก ปี 2567 คาดว่า จะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 11.910 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 1.491 โดยบราซิลส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ ออสเตรเลีย 1.600 ล้านตัน และอินเดีย 1.460 ล้าน ความต้องการบริโภค ปี2567 คาดว่า จะมีการบริโภคเนื้อโคปริมาณ 57.445 ล้านตัน ลดลงจากปี2566 ร้อยละ 0.95 โดยสหรัฐอเมริกา มีการบริโภคมากที่สุดปริมาณ 11.886 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 11.180 ล้านตัน และบราซิล 8.045 ล้านตัน การบริโภคของ อินเดีย บราซิล และจีน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.65 ร้อยละ 2.26 และร้อยละ 0.09 ตามลำาดับ ขณะที่สหรัฐอเมริกา และสหภาพ ยุโรป บริโภคมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 5.76 และร้อยละ 0.63 ตามลำาดับ การส่งออก ปี2567 คาดว่า จะมีการส่งออกเนื้อโคปริมาณ 11.910 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี2566 ร้อยละ 1.491 โดยบราซิลส่งออก มากที่สุด ปริมาณ 2.850 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ ออสเตรเลีย 1.600 ล้านตัน และอินเดีย 1.460 ล้านตัน การบริโภคของอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย และบราซิล มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.14 ร้อยละ 4.58 และร้อยละ 3.64 ตามลำาดับ ขณะที่การส่งออกของสหรัฐอเมริกา มีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 6.25


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ตัน การบริโภคของอารเ์จนตินาออสเตรเลีย และบราซิล มีแนวโนม้เพิ่ ่ มขึน้รอ้ยละ 7.14 ร้อยละ 4.58 และร้อยละ 3.64 ตามล าดับ ขณะที่การส่งออกของสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 6.25 ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** บราซิล 2.314 2.539 2.320 2.898 2.750 4.89 2.850 ออสเตรเลีย 1.739 1.473 1.291 1.238 1.530 -4.21 1.600 อินเดีย 1.494 1.284 1.397 1.442 1.420 0.14 1.460 สหรัฐอเมริกา 0.763 0.818 0.735 0.823 0.840 2.00 0.900 อาร์เจนตินา 0.623 0.634 0.685 0.643 0.675 1.76 0.670 นิวซีแลนด์ 0.701 0.714 0.675 0.623 0.590 -4.70 0.570 อื่นๆ 3.743 3.767 4.337 4.360 3.930 2.47 3.860 รวม 11.377 11.229 11.440 12.027 11.735 1.31 11.910 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 การน าเข้าปี 2567 คาดว่า จะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลกปริมาณ 10.212 ล้านตัน ลดลงจากปี 2566ร้อยละ 1.34 โดยจีนน าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 3.500 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.656 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.750 ล้าน ตัน การน าเข้าของจีน และสหราชอาณาจักรมีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 2.78และร้อยละ 2.56ขณะที่การน าเข้าของเกาหลี ใต้ และสหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.67และร้อยละ 0.91 ตามล าดับ ปริมาณการน าเข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** จีน 2.177 2.781 3.024 3.502 3.600 13.16 3.500 สหรัฐอเมริกา 1.387 1.515 1.517 1.538 1.641 3.58 1.656 ญี่ปุ่ น 0.853 0.832 0.807 0.777 0.750 -3.21 0.750 เกาหลีใต้ 0.550 0.549 0.588 0.595 0.600 2.58 0.610 สหภาพยุโรป 0.435 0.350 0.321 0.399 0.390 -0.87 0.390 สหราชอาณาจักร 0.405 0.399 0.393 0.400 0.390 -0.73 0.380 อื่นๆ 3.276 3.260 3.298 3.053 2.980 -2.52 2.926 รวม 9.083 9.686 9.948 10.264 10.351 3.24 10.212 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 แนวโน้มการผลิตโคเนื้อของไทย ปี 2567 คาดว่า มีปริมาณการผลิต 1.691 ล้านตัว หรือคิดเป็น 0.284 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อยละ 6.78 เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคเริ่มคลี่คลาย นโยบายสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการผลักดันการส่งออกของภาครัฐ โดยเฉพาะประเทศจีนและเวียดนาม ตัน การบริโภคของอารเ์จนตินาออสเตรเลีย และบราซิล มีแนวโนม้เพิ่ ่ มขึน้รอ้ยละ 7.14 ร้อยละ 4.58 และร้อยละ 3.64 ตามล าดับ ขณะที่การส่งออกของสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 6.25 ปริมาณการส่งออกเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** บราซิล 2.314 2.539 2.320 2.898 2.750 4.89 2.850 ออสเตรเลีย 1.739 1.473 1.291 1.238 1.530 -4.21 1.600 อินเดีย 1.494 1.284 1.397 1.442 1.420 0.14 1.460 สหรัฐอเมริกา 0.763 0.818 0.735 0.823 0.840 2.00 0.900 อาร์เจนตินา 0.623 0.634 0.685 0.643 0.675 1.76 0.670 นิวซีแลนด์ 0.701 0.714 0.675 0.623 0.590 -4.70 0.570 อื่นๆ 3.743 3.767 4.337 4.360 3.930 2.47 3.860 รวม 11.377 11.229 11.440 12.027 11.735 1.31 11.910 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 การน าเข้าปี 2567 คาดว่า จะมีการน าเข้าเนื้อโคของโลกปริมาณ 10.212 ล้านตัน ลดลงจากปี 2566ร้อยละ 1.34 โดยจีนน าเข้ามากที่สุด ปริมาณ 3.500 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.656 ล้านตัน และญี่ปุ่ น 0.750 ล้าน ตัน การน าเข้าของจีน และสหราชอาณาจักรมีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 2.78และร้อยละ 2.56ขณะที่การน าเข้าของเกาหลี ใต้ และสหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.67และร้อยละ 0.91 ตามล าดับ ปริมาณการน าเข้าเนือ้โคของโลก หน่วย : ล้านตันน ้าหนักซาก ประเทศ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม(%) 2567** จีน 2.177 2.781 3.024 3.502 3.600 13.16 3.500 สหรัฐอเมริกา 1.387 1.515 1.517 1.538 1.641 3.58 1.656 ญี่ปุ่ น 0.853 0.832 0.807 0.777 0.750 -3.21 0.750 เกาหลีใต้ 0.550 0.549 0.588 0.595 0.600 2.58 0.610 สหภาพยุโรป 0.435 0.350 0.321 0.399 0.390 -0.87 0.390 สหราชอาณาจักร 0.405 0.399 0.393 0.400 0.390 -0.73 0.380 อื่นๆ 3.276 3.260 3.298 3.053 2.980 -2.52 2.926 รวม 9.083 9.686 9.948 10.264 10.351 3.24 10.212 หมายเหตุ : *ประมาณการ **คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agriculture Service, October 2023 แนวโน้มการผลิตโคเนื้อของไทย ปี 2567 คาดว่า มีปริมาณการผลิต 1.691 ล้านตัว หรือคิดเป็น 0.284 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2566ร้อยละ 6.78 เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคเริ่มคลี่คลาย นโยบายสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการผลักดันการส่งออกของภาครัฐ โดยเฉพาะประเทศจีนและเวียดนาม การนำาเข้าปี2567 คาดว่า จะมีการนำาเข้าเนื้อโคของโลกปริมาณ 10.212 ล้านตัน ลดลงจากปี2566 ร้อยละ 1.34 โดยจีนนำาเข้ามาก ที่สุด ปริมาณ 3.500 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.656 ล้านตัน และญี่ปุ่น 0.750 ล้านตัน การนำาเข้าของจีน และสหราช อาณาจักรมีแนวโน้มที่ลดลงร้อยละ 2.78 และร้อยละ 2.56 ขณะที่การนำาเข้าของเกาหลีใต้และสหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.67 และร้อยละ 0.91 ตามลำาดับ แนวโน้มการผลิตโคเนื้อของไทย ปี2567 คาดว่า มีปริมาณการผลิต 1.691 ล้านตัว หรือคิดเป็น 0.284 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี2566 ร้อยละ 6.78 เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคเริ่มคลี่คลาย นโยบายสนับสนุนการเลี้ยงโคเนื้อ และการผลักดันการส่งออกของภาครัฐ โดยเฉพาะประเทศจีนและเวียดนาม ด้านความต้องการบริโภค ปี2567 คาดว่า การบริโภคจะเพิ่มขึ้นจากปี2566 ร้อยละ 7.21 ซึ่งเป็นผลจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ทำาให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถดำาเนินการได้ตามปกติ ทำาให้ความต้องการ บริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น


สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคจะเพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 7.21 ซึ่งเป็นผลจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถ ด าเนินการได้ตามปกติ ท าให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น ปริมาณการผลิต การส่งออก การน าเข้า และการบริโภคเนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) 2567** การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.193 1.231 0.780 1.373 1.584 7.01 1.691 (ล้านตันน ้าหนักซาก) 0.200 0.207 0.131 0.231 0.266 7.01 0.284 ส่งออก2/(ล้านตัน) 0.026 0.051 0.033 0.027 0.015 -15.47 0.033 น าเข้า2/(ล้านตัน) 0.030 0.033 0.028 0.062 0.040 12.52 0.039 การบริโภค1/(ล้านตัน) 1.220 1.123 0.749 1.581 1.732 10.99 1.857 (ล้านตันน ้าหนักซาก) 0.205 0.189 0.126 0.266 0.291 10.99 0.312 หมายเหตุ : *ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การส่งออกปี 2567 คาดว่า การส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นจากปี 2566เนื่องจากภาครัฐ ด าเนินการผลักดันให้ผู้ประกอบการไทยสามารถผ่านเกณฑ์ข้อก าหนดของการรับรองสุขภาพสัตว์ส าหรับส่งออก และเร่ง เจรจาเพ่ือใหส้ามารถส่งออกไปประเทศเวียดนาม จีน สปป.ลาว และกัมพูชา รวมทั้ ้ งการฟื้นตวัของเศรษฐกิจของภูมิภาค อาเซียน การน าเข้า ปี 2567 คาดว่า การน าเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะปรับตัวลดลงจากปี 2566ร้อยละ 3.46 เนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดภายในประเทศเพิ่มขึ้ ้ น ประกอบกบัภาครฐัมีมาตรการเขม้งวดในการตรวจสอบความ ปลอดภัย เช่น การชะลอการน าผ่านหรือน าเข้า การป้องกันลักลอบน าเข้า ขณะที่ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหารยังคงมี ความต้องการบริโภคเนื้อโคคุณภาพจากต่างประเทศ การน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) การส่งออก โคมีชีวิต ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 319,040 5,847 304,367 5,409 198,134 3,527 158,506 3,400 91,837 1,888 -26.97 -23.86 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 84 30 322 33 91 19 69 29 41 19 -25.86 -9.73 การน าเข้า โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 87,468 1,369 61,978 1,162 3,042 371 170,500 2,771 66,925 1,132 4.88 5.02 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) 15,682 22,959 27,662 29,090 17.33 การส่งออกปี 2567 คาดว่า การส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นจากปี 2566 เนื่องจากภาครัฐดำาเนินการผลักดันให้ ผู้ประกอบการไทยสามารถผ่านเกณฑ์ข้อกำาหนดของการรับรองสุขภาพสัตว์ สำาหรับส่งออก และเร่งเจรจาเพื่อให้สามารถส่งออกไปประเทศ เวียดนาม จีน สปป.ลาว และกัมพูชา รวมทั้่งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียน การนำาเข้า ปี2567 คาดว่า การนำาเข้าโคมีชีวิตและเนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะปรับตัวลดลงจากปี2566 ร้อยละ 3.46 เนื่องจากผลผลิต ที่ออกสู่ตลาดภายในประเทศเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาครัฐมีมาตรการเข้มงวดในการตรวจสอบความปลอดภัย เช่น การชะลอการนำาผ่านหรือ นำาเข้า การป้องกันลักลอบนำาเข้า ขณะที่ธุรกิจภาคบริการ และร้านอาหารยังคงมีความต้องการบริโภคเนื้อโคคุณภาพจากต่างประเทศ ด้านความต้องการบริโภค ปี 2567 คาดว่า การบริโภคจะเพิ่มขึ้นจากปี 2566 ร้อยละ 7.21 ซึ่งเป็นผลจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 คลี่คลายลง ท าให้ธุรกิจภาคบริการ การท่องเที่ยวและร้านอาหาร สามารถ ด าเนินการได้ตามปกติ ท าให้ความต้องการบริโภคเนื้อโคเพิ่มขึ้น ปริมาณการผลิต การส่งออก การน าเข้า และการบริโภคเนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) 2567** การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.193 1.231 0.780 1.373 1.584 7.01 1.691 (ล้านตันน ้าหนักซาก) 0.200 0.207 0.131 0.231 0.266 7.01 0.284 ส่งออก2/(ล้านตัน) 0.026 0.051 0.033 0.027 0.015 -15.47 0.033 น าเข้า2/(ล้านตัน) 0.030 0.033 0.028 0.062 0.040 12.52 0.039 การบริโภค1/(ล้านตัน) 1.220 1.123 0.749 1.581 1.732 10.99 1.857 (ล้านตันน ้าหนักซาก) 0.205 0.189 0.126 0.266 0.291 10.99 0.312 หมายเหตุ : *ประมาณการ ** คาดคะเน ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร การน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนือ้โคและผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) การส่งออก โคมีชีวิต ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 319,040 5,847 304,367 5,409 198,134 3,527 158,506 3,400 91,837 1,888 -26.97 -23.86 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 84 30 322 33 91 19 69 29 41 19 -25.86 -9.73 การน าเข้า โคมีชีวิต ปริมาณ (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 87,468 1,369 61,978 1,162 3,042 371 170,500 2,771 66,925 1,132 4.88 5.02 เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 15,682 2,799 22,959 3,495 27,662 4,920 32,992 7,917 29,090 6,795 17.33 29.59 หมายเหตุ: * ข้อมูลประมาณการ ที่มา: กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี 2567 คาดว่า ราคาที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2566 เนื่องจากราคาปัจจัยการผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้องบริหารจัดการราคาจ าหน่ายให้สอดคล้องกับต้นทุนและภาวะ ตลาดเนื้อโคในประเทศ


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ราคาที่เกษตรกรขายได้ปี2567 คาดว่า ราคาที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี2566 เนื่องจากราคาปัจจัยการ ผลิตปรับเพิ่มขึ้น เกษตรกรต้องบริหารจัดการราคาจำาหน่ายให้สอดคล้องกับต้นทุนและภาวะตลาดเนื้อโคในประเทศ ราคาส่งออก และราคานำาเข้า ปี2567 คาดว่า ราคาส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์และราคานำาเข้าโคมีชีวิตเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ จะมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี2566 ราคาส่งออก และราคาน าเข้า ปี 2567 คาดว่า ราคาส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ และราคาน าเข้าโคมี ชีวิตเนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2566 ราคาโคเนือ้ทเี่กษตรกรขายได้และราคาส่งออก-น าเข้าโคมีชีวิต เนือ้โค และผลิตภัณฑข์องไทย รายการ 2562 2563 2564 2565 2566* อัตราเพิ่ ม (%) ราคาที่เกษตรกรขายได้1/(บาท/กก.) 89.02 93.37 96.54 99.78 92.86 1.52 ราคาส่งออก2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 18,315 352.72 17,772 102.52 17,802 212.73 21,452 415.85 20,555 468.66 4.26 21.76 ราคาน าเข้า2/ โคมีชีวิต (บาท/ตัว) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 15,654 178.46 18,742 152.23 121,830** 177.87 16,255 239.97 16,922 233.57 0.13 10.44 หมายเหตุ : * มีการน าเข้าโคอื่นๆ ที่ไม่ใช่วัวท าพันธุ์ลดลงอย่างมาก เน่ื ่ องจากโรคลมั ปีสกินระบาดในประเทศเพ่ื ่ อนบา้นและ มีการนา เขา้ววัทา พนัธจุ์ากสหรฐัอเมรกิา ในราคาท่ี ่ สงูกว่าปีอื่ ่ นๆ ทา ใหร้าคานา เขา้เฉลี่ยสงูผิดปกติ ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ จากการค านวณข้อมูลในตารางการน าเข้า-ส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์ของไทย ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย การผลิต 1) เกษตรกรยังมีความกังวลในการระบาดของโรค เช่น ลัมปีสกิน (Lumpy skin disease: LSD) โรค ปากและเท้าเปื่อย ท าให้มีค่าใช้จ่ายในการป้องกันและรักษา ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูง 2) การผลิตโคเนื้อในประเทศยังไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภค กรมปศุสัตว์จึงได้จัดท าโครงการ เพื่อส่งเสริม ให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่1 (พ.ศ. 2559-2566) ผลการดา เนินงานณ วนัท่ี ่ 13 พฤศจิ ิ กายน 2566 เกษตรกรเข้าร่่วมโครงการฯ จ านวน 397ราย 23องค์กร จัดซื้อแม่โคเนื้อเป้าหมาย 1,975 ตัว ลูกเกิดสะสม 19,873 ตัว เพศผู้10,039 ตัว เพศเมีย 9,834 ตัว - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่2 (พ.ศ. 2560-2567) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่13 พฤศจิกายน 2566 เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 3,511 ราย 364องค์กร จัดซื้อแม่โคเป้าหมาย 17,500 ตัว ลูกเกิดสะสม 76,913 ตัว เพศผู้37,191 ตัว เพศเมีย 39,722 ตัว - โครงการโคบาลบูรพา (พ.ศ. 2560-2566) ผลการด าเนินงาน ณ วันที่13 พฤศจิกายน 2566 ส่งมอบโคเนื้อแก่ เกษตรกร 6,000 ราย จ านวน 30,000 ตัว ลูกเกิด จ านวน 16,796 ตัว จ าหน่ายลูกโคเพศผู้702 ตัว มูลค่า 18,704,741 บาท ส่งคืนลูกเกิด 2,831 ตัว 3) โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อรองรับ FTA พ.ศ.2563 –2570(161.781 ล้านบาท) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโคเนื้อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และโครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตเนื้อ โคขุนคุณภาพสูง ที่ขอสนับสนุนเงินจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ของประเทศ โดยส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร จะช่วยเพิ่มผลผลิตและรองรับความต้องการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ การน าเข้าและส่งออก ปัจจัยบวก 1) ภาครัฐส่งเสริมการเจรจาเพื่อเปิดตลาดส่งออกโคเนื้อไปต่างประเทศ เช่น เวียดนาม ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และจีน เพิ่มขึ้น รวมถึงสร้างคุณภาพมาตรฐานการเลี้ยงตั้งแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้ ้ าใหม้ี


สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย การผลิต 1) เกษตรกรยังมีความกังวลในการระบาดของโรค เช่น ลัมปีสกิน (Lumpy skin disease: LSD) โรคปากและเท้าเปื่อย ทำาให้มีค่าใช้จ่ายในการป้องกันและรักษา ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูง 2) การผลิตโคเนื้อในประเทศยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ บริโภค กรมปศุสัตว์จึงได้จัดทำาโครงการ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร เลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2559-2566) ผลการดำาเนินงาน ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 เกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ จำานวน 397 ราย 23 องค์กร จัดซื้อแม่โคเนื้อ เป้าหมาย 1,975 ตัว ลูกเกิดสะสม 19,873 ตัว เพศผู้10,039 ตัว เพศเมีย 9,834 ตัว - โครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2560-2567) ผลการดำาเนินงาน ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 เกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ จำานวน 3,511 ราย 364 องค์กร จัดซื้อแม่โค เป้าหมาย 17,500 ตัว ลูกเกิดสะสม 76,913 ตัว เพศผู้37,191 ตัว เพศเมีย 39,722 ตัว - โครงการโคบาลบูรพา (พ.ศ. 2560-2566) ผลการดำาเนินงาน ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 ส่งมอบโคเนื้อแก่เกษตรกร 6,000 ราย จำานวน 30,000 ตัว ลูกเกิด จำานวน 16,796 ตัว จำาหน่าย ลูกโคเพศผู้702 ตัว มูลค่า 18,704,741 บาท ส่งคืนลูกเกิด 2,831 ตัว 3) โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อรองรับ FTA พ.ศ.2563 - 2570 (161.781 ล้านบาท) โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตโคเนื้อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และโครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตเนื้อโคขุนคุณภาพสูง ที่ขอ สนับสนุนเงินจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ โดยสำานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร จะช่วยเพิ่มผลผลิตและรองรับความต้องการบริโภคทั้งใน และต่างประเทศ การนำาเข้าและส่งออก ปัจจัยบวก 1) ภาครัฐส่งเสริมการเจรจา เพื่อเปิดตลาดส่งออกโคเนื้อไปต่างประเทศ เช่น เวียดนาม ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และจีน เพิ่มขึ้น รวมถึงสร้างคุณภาพ มาตรฐานการเลี้ยงตั้งแต่ต้นน้ำาถึงปลายน้้ำา ให้มีมาตรฐานฟาร์ม ปลอดโรค (GFM) มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ (GAP) การรับรอง ฟาร์มปลอดการใช้สารเร่งเนื้อแดงตลอดจนมาตรฐานโรงฆ่าสัตว์และ สินค้าปศุสัตว์เพื่อสร้างความมั่นใจความปลอดภัยของผู้บริโภคทั้งใน และต่างประเทศ 2) การใช้ประโยชน์การขนส่งทางรถไฟลาว - จีน เพื่อลด ต้นทุนโลจิสติกส์ ทำาให้สามารถขยายการส่งออกโคไปจีน ผ่าน สปป.ลาว ได้เพิ่มขึ้น 3) ประเทศเพื่อนบ้านยังคงมีโรคระบาดสัตว์เป็นระยะ เป็นโอกาส ให้สินค้าเนื้อโคที่มีคุณภาพ และความปลอดภัยของไทยสามารถ ส่งออกได้มากขึ้น ปัจจัยลบ 1) ประเทศผู้ผลิตสำาคัญ เช่น บราซิล จีน อินเดีย มีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อส่วนแบ่งการตลาด ของไทยในตลาดต่างประเทศ 2) การเปิดเขตการค้าเสรี FTA ไทย-ออสเตรเลีย และไทยนิวซีแลนด์ ตั้งแต่ปี2564 ทำาให้ราคานำาเข้าเนื้อโคคุณภาพต่่ำากว่า ราคาเนื้อโคคุณภาพในประเทศ ส่งผลกระทบต่อการตลาดในประเทศ โดยเฉพาะธุรกิจโรงแรมและร้านอาหาร 3) อุปสรรคจากนโยบายกระตุ้นการผลิตเนื้อโค โดยส่งเสริม มณฑลยูนนานเป็นเมืองแห่งโคเนื้อการกำาหนดพื้นที่ที่มีโคเนื้อ แพะเนื้อ และพื้นที่ชายแดนฝั่งตะวันตกติดกับเมียนมา เป็นอุตสาหกรรมชั้นนำา รวมทั้งการกำาหนดพันธุ์ น้้ำาหนัก การปลอดโรคและปลอดสารเร่ง เนื้อแดง ของจีน 4) การกำาหนดกระบวนการนำาเข้าสัตว์ที่เข้มงวดของเวียดนาม รวมถึงการส่งเสริมการเลี้ยงโคและกระบือเพื่อส่งออกไปจีน ของ สปป.ลาว (โควต้าเฉพาะจำานวน 500,000 ตัวต่อปีอ้างอิงตามจำานวน สัตว์ที่มีและสามารถรวบรวมในเขตกักกันสัตว์)


38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เวียดนามไฟเขียวนำาเข้าโค-กระบือจากไทย “ไชยา” แจ้งข่าวดี “เวียดนามเปิดตลาดนำาเข้าโค-กระบือ จากไทย หลังผลักดันส่งออกโคทางเรือครั้งแรก นำาร่องฟาร์มไทย 23 แห่ง นายสัตวแพทย์ชัย วัชรงค์ โฆษกประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า รัฐบาลยินดีที่การดำาเนินการเปิดตลาดสินค้าปศุสัตว์ โดยเฉพาะโคและสุกรมีชีวิต ไปยังตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะ ประเทศจีน อาเซียน และตะวันออกกลาง เห็นผลเป็นรูปธรรมอย่าง ชัดเจน ภายใต้นโยบาย ตลาดนำา นวัตกรรมเสริม เพิ่มรายได้ให้ สินค้าเกษตร ของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง โฆษกประจำาสำานักนายกรัฐมนตรีกล่าวว่า โคเนื้อ เป็นหนึ่งใน สินค้าเกษตรที่สามารถสร้างรายได้โดยประเทศไทยมีปริมาณโคเนื้อที่ สามารถทำาการส่งออกได้ไม่ต่ำากว่า 500,000 ตัว/ปีโดยตลาดประเทศ เพื่อนบ้าน อย่างเวียดนามมีความต้องการโคเนื้อจากไทยถึงกว่า 2,000 ตัว/เดือน ซึ่งล่าสุด เป็นครั้งแรกของไทยที่ส่งออกโคเนื้อ ทางเรือจากเพชรบุรีไปยังเวียดนาม เนื่องจากเห็นถึงศักยภาพในการ ส่งออก มาตรฐานและกระบวนการเลี้ยงโคเนื้อของไทย ที่ปลอดสาร เร่งเนื้อแดง โรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) และโรคลัมปีสกิน (LSD) ทั้งนี้ทำาให้เห็นความเข้มแข็งของฟาร์มโคในจังหวัดเพชรบุรีที่ ได้รับรองเป็นฟาร์มปลอดสารเร่งเนื้อแดง จากการผลักดันของกรม ปศุสัตว์ โครงการต้นแบบ “เพชรบุรีโมเดล” ซึ่งมีเกษตรกรเข้าร่วม มากกว่า 100 ฟาร์ม และมีโคขุนมากกว่า 8,500 ตัว “นายกรัฐมนตรีให้ความสำาคัญ ส่งเสริม และเจรจาหาตลาด ส่งออกสินค้าปศุสัตว์สู่ต่างประเทศที่มีศักยภาพ โดยได้วางแผนและ บริหารจัดการการส่งออกปศุสัตว์อย่างเป็นระบบ และครบวงจร เชื่อมั่นว่าจะช่วยกระจายรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโค กระบือ และ ผู้ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ ขณะเดียวกัน ประเทศคู่ค้าสามารถมั่นใจได้ถึงคุณภาพ มาตรฐานสินค้า และ กระบวนการผลิตของไทยที่ดำาเนินการอย่างเป็นระบบ ตามขั้นตอน ที่เป็นมาตรฐานสากล ด้วยความเข้มงวดต่อเนื่องมาโดยตลอด โดย นายกรัฐมนตรีขอให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องบูรณาการการทำางาน ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของเกษตรกรไทย” นาย สัตวแพทย์ชัย กล่าว ด้าน นายไชยา พรหมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ลงพื้นที่ตรวจราชการในพื้นที่จังหวัดชุมพร ณ โรงงาน แปรรูปโคฮาลาล ตำาบลสลุย อำาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร โดยมี ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงเกษตร พร้อมด้วย นาย วรัตม์มาประณีต รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ให้การต้อนรับใน พื้นที่ สำาหรับวัตถุประสงค์การลงพื้นที่ในวันนี้ เพื่อรับฟังปัญหาและ หารือแนวทางขับเคลื่อนการดำาเนินงานของโรงงานแปรรูปโคฮาลาล ที่ได้รับมาตรฐานสากล และมีศักยภาพในการส่งออก ให้สามารถ รับซื้อโคเนื้อของเกษตรกรส่งจำาหน่ายตลาดสู่ต่างประเทศได้ รัฐบาลมีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรให้มีช่องทางจำาหน่ายสินค้า เกษตรเพื่อสร้างรายได้เลี้ยงชีพ โดยเฉพาะสินค้าปศุสัตว์ซึ่งการที่มี เอกชนมาสัมปทานดำาเนินการโรงงานแปรรูปโคฮาลาลบนพื้นที่ของ กระทรวงเกษตรฯ และปรับปรุงโรงงานให้มีมาตรฐานสากล มี ศักยภาพการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ไปต่างประเทศ สามารถสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจให้กับประเทศไทย เป็นการจุดประกายให้นักธุรกิจ รายอื่น สนใจทำาการตลาดสินค้าฮาลาลส่งออก เนื่องจากเป็นตลาด ที่มีกำาลังซื้อสูง เช่น ประเทศซาอุดิอาระเบีย ทั้งนี้กระทรวงเกษตรฯ


สัตว์เศรษฐกิจ 39 พร้อมสนับสนุนการดำาเนินงานของโรงงานฯ ให้สามารถรับซื้อสินค้า ของเกษตรกรไปแปรรูปจำาหน่ายในห้างสรรพสินค้า และต่างประเทศ เพื่อให้เกษตรกรสามารถมีรายได้อย่างยั่งยืน หลังจากนั้น รมช.ไชยา ได้เดินทางลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม บริษัท ท่าเรือประจวบ จำากัด อำาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อตรวจเยี่ยมการดำาเนินกิจการของท่าเรือในการเตรียมความพร้อม ส่งออกโคมีชีวิต จำานวน 2,000 ตัว ไปยังประเทศเวียดนาม ซึ่ง บริษัทฯ ได้รับมาตรฐานสากล มีความพร้อมรองรับจำานวนโคมีชีวิต ด้วยพื้นที่กว้างขนาด 670 ไร่ รวมถึงมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลาง ขนส่งสินค้าเกษตรทางเรือไปประเทศคู่ค้า สามารถรองรับการเติบโต ของเศรษฐกิจทั้งกลุ่มอุตสาหกรรมในท้องถิ่น และจังหวัดใกล้เคียงได้ จากการเชื่อมระบบขนส่งต่อเนื่องสู่ชายฝั่งทะเลอันดามัน เข้าสู่ ประเทศพม่าและกลุ่มประเทศเอเซียใต้(BIMSTEC) รวมถึงลงไปยัง ประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ทั้งนี้กระทรวงเกษตรฯ มุ่งหวังขยาย ตลาดสินค้าเกษตรไทยไปต่างประเทศให้มากยิ่งขึ้น เพื่อให้พี่น้อง เกษตรกรมีกำาไรจากการจำาหน่ายสินค้าปศุสัตว์ส่งออก และกลไก ตลาดกลับสู่วงจรปกติอีกทั้งช่วยให้เศรษฐกิจในประเทศเติบโตยิ่งขึ้น นายไชยา พรหมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กล่าวต่อว่า การส่งสิ่งมีชีวิตไปต่างประเทศ เดิมส่งออกทาง รถยนต์ตามชายแดน แต่มีเป้าหมายจะส่งออกสัตว์มีชีวิตทางเรือ ครั้งแรกในประเทศ ทั้งนี้ จากปัญหาราคาโค-วัวในประเทศ ตกต่ำา เพราะการบริโภคเพียงพอ ผลผลิตล้นตลาดไม่สามารถส่งออกไปได้ เพราะถูกปฏิเสธและถูกกีดกันจากประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะตลาดจีน เวียดนาม และตะวันออกกลาง ซึ่งล่าสุดนายกได้ไปเจรจาตลาดจีน เพื่อผลักดันโค-วัวไทยไปตลาดจีน แต่ยังติดปัญหาเรื่องโรคปากเปื่อย เท้าเปื่อยเยอะ ซึ่งทำาให้การส่งออกเราต้องไปใช้ช่องทาง สปป.ลาว และต้องกักโรคประมาณ 75 วัน ถึงจะสามารถส่งออกไปจีนได้เพราะ ดูเรื่องโรค และสานเร่งเนื้อแดงสิ่งเหล่านี้จึงต้องใช้เวลา แต่เป้าหมาย คือ เราต้องการส่งตรงไปถึงจีน เพราะมีคำาสั่งซื้อแต่ ต้องได้รับการ รับรองจากผู้นำาเข้าของจีนด้วย ตอนนี้ได้สำารวจพื้นที่ใน 2 จังหวัด คือ เพชรบุรีและ ประจวบคีรีขันธ์ รวมไปถึงท่าเรือบางสะพาน ซึ่งมีศักยภาพในการ ส่งออกและขนส่งสินค้าได้ เหตุที่ไม่ใช้ท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ กรุงเทพ เพราะเป็นท่าเรือภาคอุตสาหกรรม หากเป็นสินค้าปศุสัตว์ จะมีสิ่งสกปรกปลอมปน เราจึงเลือก 2 จังหวัดนี้อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ ที่มีการเลี้ยงโค-วัวเป็นจำานวนมากและพร้อมที่จะทำาเป็นศูนย์กลางใน การส่งออกสินค้ามีชีวิตปลอดภัยไปจีน นอกจากนี้ ยังมีแผนจะทำาตลาดสินค้าแปรรูปส่งออกไป ต่างประเทศ ได้สำารวจว่าจังหวัดชุมพร มีโรงเชือดที่ได้มาตรฐาน ฮาลาล แต่ยังติดเรื่องของขีดความสามารถ มีการเชือดซึ่งสามารถ เชือดได้200 ตัวต่อวัน อีกทั้ง ยังขาดเรื่องของเงินทุนหมุนเวียนใน การเพิ่มขีดความสามารถ ดังนั้น ต้องการรัฐบาลมาสนับสนุนให้ กิจการเหล่านี้มีการเติบโต โดยแปรรูปเป็นสินค้าพรีเมี่ยม และนี่ จึงเป็นเป้าหมายในการเพิ่มรายได้ ขยายโอกาส ให้ผู้ประกอบการ ผู้เลี้ยงเกษตรกรรายย่อย หากสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ ขณะนี้ เราได้คำาสั่งซื้อส่งออกสิ่งมีชีวิตไปเวียดนาม 200 ตัว สำาหรับโค หากผลักดันการส่งออกไปได้กลไกในประเทศจะมีการขยับ และสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในประเทศ อย่างเร็วสุดจะคลิกออฟ ได้เดือนมีนาคม 2567 นี้ด้วยเหตุติดเรื่องของการกักโรค 28 วัน นี้เป็นการผลักดันงาน สำาหรับ 4 เดือนที่ผม เข้ามาดูแลกรมปศุสัตว์ ล่าสุดความคืบหน้ากรณีไทยเตรียมส่งโคมีชีวิตไปเวียดนามทาง เรือครั้งแรก ว่า กรมปศุสัตว์ได้รับรายงานเบื้องต้นจากกระทรวง ต่างประเทศ ถึงผลการพิจารณาการส่งออกโคกระบือจากไทยไป เวียดนามโดยขนส่งทางเรือ โดยกรมสุขภาพสัตว์เวียดนาม (DAH) อนุญาตให้ไทยส่งออกโคและกระบือทางทะเลได้โดยต้องส่งออกจาก ท่าเรือไทยที่ได้รับการตรวจเชื้อโรคและควบคุมอย่างเข้มงวดก่อนการ ส่งออก พร้อมให้การรับรองฟาร์มโคและกระบือปลอดโรคปากและ เท้าเปื่อย เพิ่มอีก 3 แห่ง ได้แก่ ชูชีพฟาร์ม เขียวขำาเทรดดิ้ง 2019 และอดิสรฟาร์ม 88 รวมขณะนี้มีการรับรองฟาร์มที่มีการขึ้นทะเบียน เพื่อการส่งออกไปเวียดนามแล้วทั้งสิ้น 23 ฟาร์ม ทั้งนี้อยู่ระหว่าง การดำาเนินการด้านเอกสารระหว่าง กระทรวงการต่างประเทศและ กรมปศุสัตว์ เป็นข่าวดีของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคกระบือ โดยเป็นการขยาย ตลาดเพื่อการส่งออกและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ซึ่งตนพยายาม ผลักดันเรื่องนี้มาตลอด นอกจากนั้น ยังได้มอบหมายกรมปศุสัตว์ใช้ ศูนย์ผลิตอาหารของกรมเป็นฐานการผลิตหัวอาหารสัตว์เพื่อส่ง จำาหน่ายให้แก่กลุ่มสหกรณ์การเกษตร ทั้งโคเนื้อ โคนม สุกร เพื่อ ลดต้นทุนอาหารสัตว์ให้แก่เกษตรกร และเร่งพัฒนาโรงงานผลิตวัคซีน ป้องกันโรคระบาดสัตว์ให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานสากลและ สามารถส่งออกวัคซีนไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้รวมถึงจัดหาตลาด เพื่อรองรับปริมาณโคที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรงเชือดชุมชน โรงเชือด เพื่อการส่งออกตามมาตรฐานสากล เพื่อรองรับตลาดโคเนื้อ ทั้งโค มีชีวิตและผลิตภัณฑ์โคชำาแหละ โดยเฉพาะตลาดใหญ่คือประเทศจีน ประเทศตะวันออกกลางและเวียดนามที่มีกำาลังซื้อสูง เป็นการสร้าง รายได้เข้าประเทศและเพิ่มมูลค่าสินค้าด้านปศุสัตว์ของไทย.


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE กรมปศุสัตว์... เตือนการระบาดของ “โรคลัมปี สกิน” ในโค กระบือ กรมปศุสัตว์ เตือนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะโค กระบือ เฝ้าระวัง การเกิดการระบาดของโรคลัมปีสกิน เนื่องจากโรคดังกล่าวสามารถติดต่อได้ง่าย โดยผ่านแมลงพาหนะนำาโรคที่สำาคัญ ได้แก่ ยุง แมลงวันดูดเลือด เหลือบ และ เห็บ เป็นต้น ประกอบกับประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเจริญ เติบโตของแมลงดังกล่าว จึงทำาให้มีความเสี่ยงต่อการพบการเกิดโรคลัมปีสกิน โดยเฉพาะในลูกสัตว์เกิดใหม่หรือสัตว์ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคลัมปี สกินมาก่อน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่เกษตรกรอย่างมากได้ นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า โรคลัมปีสกิน (Lumpy skin) เกิดจากเชื้อไวรัส พบเฉพาะในโคกระบือเท่านั้น ไม่ติดต่อสู่คน มีพาหะนำาโรคติดต่อระหว่างสัตว์และสัตว์ ได้แก่ ยุง แมลงวัน ดูดเลือด เหลือบ และเห็บ อาการที่สำาคัญคือ สัตว์ป่วยจะมีตุ่มหรือก้อนบวมแข็ง และอาจแตกเป็นแผลตกสะเก็ดตามผิวหนัง หรือมีต่อมน้ำาเหลืองโตนูน อาจมี ไข้สูง ซึม เบื่ออาหาร บางครั้งพบก้อนเนื้อเป็นแผลในจมูก ปากและตา ทำาให้ โค กระบือมีน้ำามูกข้น มีน้ำาลายและน้ำาตาไหล โดยที่สัตว์ป่วยจะขับเชื้อทางสะเก็ด แผล น้ำามูก น้ำาตา น้ำาเชื้อและน้ำานม โค กระบือทุกช่วงอายุ ทุกสายพันธุ์มี ความไวต่อโรคได้แต่อาการจะรุนแรงในลูกสัตว์หรือสัตว์ที่อ่อนแอ การรักษาสัตว์ป่วยด้วยโรคลัมปีสกิน เป็นการรักษาโรคตามอาการ ไม่มี วิธีการรักษาที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งอาจต้องคัดสัตว์ที่ป่วยทิ้งเนื่องจากให้ผลผลิต ไม่ดีในระยะยาว แต่โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีนให้กับโค กระบือ เพื่อให้สัตว์มีภูมิคุ้มกันต่อโรคดังกล่าว ซึ่งสามารถทำาการฉีดได้ทั้งวัคซีนชนิดเชื้อ เป็นและวัคซีนชนิดเชื้อตาย กรณีวัคซีนเชื้อเป็น ให้ฉีดวัคซีนปีละ 1 ครั้ง โดย ให้ฉีดวัคซีนในลูกสัตว์ได้ตั้งแต่อายุ 1 เดือนขึ้นไป ส่วนวัคซีนเชื้อตายให้ฉีดปีละ 2 ครั้ง ให้ฉีดวัคซีนในลูกสัตว์ได้ตั้งแต่อายุ 4 เดือนขึ้นไป ร่วมกับการควบคุม และกำาจัดแมลงพาหะ เช่น กางมุ้ง ใช้ยาไล่แมลงราดตัวสัตว์ พ่นยาฆ่าแมลง บริเวณคอกหรือสถานที่เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น และให้แยกสัตว์ที่นำาเข้ามาเลี้ยงใหม่ อย่างน้อย 14 วัน หากพบสัตว์ป่วยที่แสดงอาการป่วย ให้แยกสัตว์ออกจากฝูง เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคในฝูงสัตว์ ดังนั้น กรมปศุสัตว์ขอความร่วมมือเกษตรกรผู้เลี้ยงโค กระบือ ให้ดูแล สัตว์ของตนเองให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง และหมั่นสังเกตอาการสัตว์เลี้ยง ของตนเองอยู่เสมอ โดยเฉพาะในลูกสัตว์หากยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนสามารถ ติดต่อขอรับบริการการฉีดวัคซีนป้องกันโรคลัมปี สกินหรือขอคำาปรึกษาได้ที่ สำานักงานปศุสัตว์อำาเภอใกล้บ้านของท่าน หากพบสัตว์แสดงอาการป่วยหรือตาย ผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ อาสาปศุสัตว์ กำานัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำาบล (อบต.) ในพื้นที่ หรือ ผ่านทาง Application DLD 4.0 หรือโทรศัพท์สายด่วน 063-225-6888 เพื่อ ให้การช่วยเหลือเกษตรกรได้อย่างทันท่วงที


สัตว์เศรษฐกิจ 41 น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ก้าวเข้าสู่ช่วงปลายปี ช่วงนี้สภาพอากาศ และสภาพแวดล้อมก าลังเปลี่ยนแปลง อาจพบฝนประปรายสลับกับลมหนาว ทั้งคน และสัตว์ในไทยนั้น อาจคุ้นเคย หรือชินกับการปรับร่างกายให้เข้ากับอุณหภูมิสูง หรืออากาศร้อนที่มีตลอดเกือบทั้งปีได้ ดีกว่า ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิลดต ่า มีลมหนาว สัตว์ก็อาจจะไม่คุ้นชิน ปรับสรีรวิทยาในร่างกายไม่ทัน เกิดความเครียด ภูมิคุ้มกัน ลดต ่าลง จึงมีโอกาสติดเชื้อใหม่ หรือเชื้อที่อาจพบแฝงอยู่ในร่างกายโดยปกติไม่ก่อโรค ก็กลับมาก่อโรคระบาดที่รุนแรงขึ้นได้ ดังตัวอย่างเช่น โรคคอบวมในโคกระบือ เป็นต้น ที่มักพบระบาดตั้งแต่ปลายฤดูฝนต่อเนื่องไปยังฤดูหนาว โรคคอบวม หรือ โรคเฮโมรายิก เซฟติซีเมีย (Haemorrhagic septicemia) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย พาสทูเรลล่า มัลโต ซิดา (Pasteurella multocida) แกรมลบ รูปร่างกลม รูปแท่งหัวท้ายมน มี 5 ไทป์(A, B, D, E, F) ที่พบมากในไทยคือ ไทป์ B พบเชื้อได้ในเกือบทุกประเทศ แต่พบมากในเอเชีย แอฟริกา และเขตที่มีการเลี้ยงกระบือมากๆ โรคนี้จะระบาดได้รวดเร็ว ท าให้ เกิดการป่วยและตายจ านวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบือ ส่วนโคอาจรุนแรงน้อยกว่า ส่วนแพะ แกะ สุกร ม้า อูฐ กวาง กระทิง ลิง ช้าง ก็ติดโรคได้ แต่อาการแทบจะไม่รุนแรง และโรคนี้ไม่ติดต่อสู่คน แบคทีเรียชนิดนี้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานพอสมควร เช่น แปลงหญ้า ดินชื้นแฉะ มีรายงานว่าในแปลงหญ้าที่แห้งอาจ อยู่ได้แค่ 24 ชม. แต่หากในดินหรือทุ่งหญ้าชื้นแฉะ หรือในน ้าอาจอยู่ได้นานหลายวัน จนถึง 2-3 สัปดาห์ หรือมีรายงานนาน เป็นเดือนก็ได้ แต่แบคทีเรียนี้ก็ถูกท าลายได้ง่ายด้วยความร้อน แสงแดด รวมถึงยาฆ่าเชื้อทั่วไปก็สามารถฆ่าได้ง่ายเช่นกัน แบคทีเรียจะถูกขับออกมาจากสัตว์ที่เป็นตัวเก็บเชื้อ หรือแพร่เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่ง หรือสิ่งขับถ่าย เช่น น ้ามูก น ้าลาย น ้านม อุจจาระ ปัสสาวะ และติดต่อไปสู่ตัวอื่นโดยทางการหายใจ หรือการกิน ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ป่วย หรือกินเชื้อ ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร น ้า หรือสิ่งปูรองนอน โดยที่โรคนี้ไม่ติดต่อผ่านแมลง ในบริเวณที่มีความชุกโรคสูง จะพบเชื้อนี้ในตัวโคกระบือได้ประมาณ 5% ของฝูง อยู่ที่บริเวณโพรงจมูก คอหอย ทอนซิล โดยไม่แสดงอาการป่วย หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นพาหะ หรือตัวเก็บกักเชื้อ แต่ในช่วงที่เกิดการระบาดขึ้นแล้ว จะพบตัว ที่เป็นพาหะนี้เพิ่มมากขึ้นเป็น 20% เลยก็เป็นได้ปัจจัยเสริมที่ท าให้เชื้อก่อความรุนแรงเพิ่มขึ้น หรือแพร่ออกมานั้นได้แก่ ภาวะ ความเครียดจากการเปลี่ยนฤดูกาล ร้อนจัด หนาวจัด เคลื่อนย้ายสัตว์ ใช้แรงงานหนัก สภาพร่ายกายอ่อนแอ มีโรคอื่น พยาธิ สภาพแวดล้อมเปียกหรือชื้นแฉะ ไม่ค่อยมีแสงแดด ขาดอาหาร อาหารไม่มีคุณภาพ ได้รับวิตามินแร่ธาตุไม่ถูกต้องครบ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส โลกยิ่งร้อน (โรคจาก) แมลง..ยิ่งร้าย ในที่สุดก็ได้กลับมาเจอกันอีกรอบ ท่ามกลางความไม่ยินดีนั่นก็คือ ปรากฏการณ์เอลณีโญ ที่ทั้งโลกได้ตระหนักถึงภัยพิบัติในรูปแบบนี้ กันมาหลายครั้งแล้ว โดยปกติปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นทุกๆ 4 ปีแต่จะรุนแรงใหญ่ทุกๆ 10-15 ปีครั้งล่าสุดคือช่วงปี2558-2559 ทั้งพายุ น้ำาท่วม ภัยแล้ง คลื่นความร้อน โรคระบาด และเป็นที่น่าตกใจว่ารอบนี้อาจจะรุนแรง กระจายวงกว้าง และน่าจะสร้างความเสียหายมหาศาล มากกว่า จนอาจเรียกว่าซุปเปอร์เอลณีโญก็เป็นได้โดยนับเริ่มเกิดตั้งแต่กลางถึงปลายปี2566 ที่ผ่านมา ซึ่งหากเกิดแบบสุดขั้วเช่นนี้คาดว่า อุณหภูมิบางพื้นที่อาจสูงกว่าค่าเฉลี่ย 1.5-2 ำC เลยทีเดียว ทั้งอาจกินเวลายาวนานตลอดปี 2567 โดยคาดการณ์กันว่าปีนี้จะมีอุณหภูมิพุ่ง สูงสุดเป็นประวัติการณ์จนทุบสถิติซึ่งก็สอดคล้องกับเหตุการณ์จริงที่ปีนี้คนไทยเองแทบไม่ได้สัมผัสฤดูหนาวกันเลย จากรายงานและสถิติที่ ผ่านมาเป็นไปในทิศทางเดียวกันว่า เอลณีโญมีความเชื่อมโยงกับอุบัติการณ์โรคระบาดที่เพิ่มมากขึ้นไปทั่วโลก ยกตัวอย่างเช่น อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก สำาหรับอหิวาตกโรคเกิดจากแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในน้ำา โดยเฉพาะน้ำากร่อย และสัตว์ทะเล หากอุณหภูมิน้ำาทะเลเพิ่มสูงขึ้น เชื้อโรคก็ยิ่ง เพิ่มจำานวนมากขึ้นเป็นปัจจัยหนึ่ง อีกทั้งโรคนี้ก็สามารถติดต่อได้ผ่านอุจจาระที่แพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม ติดสู่ผู้อื่นได้ทั้งการสัมผัสเอง หรือ ผ่านแมลง เช่นแมลงวันที่มีเชื้อมาตอมอาหาร ส่วนไข้เลือดออกนั้นติดต่อผ่านยุงลาย ซึ่งมีความเหมือนกันในประเด็นที่ว่า เป็นโรคที่ติดต่อได้ ผ่านแมลง ซึ่งจะอุบัติเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น มีอากาศร้อนขึ้น เช่นในช่วงเอลณีโญนี้ นั่นก็มาจากสาเหตุที่ว่าแมลงส่วนใหญ่ต้องอาศัย ความร้อนในการพัฒนา หรือเจริญเติบโต โดยเฉพาะแมลงบางชนิดที่ส่งผลต่อสุขภาพ นำาโรคได้ เช่น แมลงวัน ยุง จะมีวงจรชีวิตที่เร็วขึ้น แมลงวันปกติจะใช้เวลาประมาณ 3 วันในการเจริญเป็นตัวเต็มวัย แต่เมื่อสภาพอากาศร้อนมากขึ้น จะใช้เวลาเหลือเพียงแค่ 2 วัน จึงทำาให้ แมลงเหล่านี้เพิ่มจำานวนเยอะมากขึ้น นำาโรคได้มากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันแมลงบางชนิดที่มีประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม ต่อพืช ทั้งไม่ได้นำา โรคสู่คนเช่น ผึ้ง ต่อ แตน มด อาจไวต่ออุณหภูมิความร้อน จนไม่สามารถดำารงชีวิตอยู่ได้ตาย มีปริมาณน้อยลง จากที่ยกตัวอย่างมาด้านบนเป็นสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในมนุษย์เรา ซึ่งในวงการปศุสัตว์นั้นก็แทบไม่แตกต่างกันเลย นอกจากภาวะ Heat stroke, Heat stress ขาดน้ำา ที่อาจเกิดได้มากขึ้นเหมือนคนแล้ว ประสิทธิภาพการเจริญเติบโต ให้ผลผลิตก็ย่อมลดลง และที่ต้องตระหนัก ไปกว่านั้นก็คือ ในช่วงปรากฏการณ์เอลณีโญ ก็น่าจะเกิดโรคในปศุสัตว์ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับแมลงเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากปัจจัยตัวเชื้อโรคเอง และแมลงพาหะที่เพิ่มมากขึ้น ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผ้จูดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ในที่สุดก็ได้กลับมาเจอกันอีกรอบ ท่ามกลางความไม่ยินดี นั่นก็คือ ปรากฏการณ์เอลณีโญ ที่ทั้งโลกได้ตระหนักถึงภัย พิบัติในรูปแบบนี้กันมาหลายครั้งแล้ว โดยปกติปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นทุกๆ 4 ปี แต่จะรุนแรงใหญ่ทุกๆ 10-15 ปี ครั้งล่าสุด คือช่วงปี 2558-2559 ทั้งพายุ น ้าท่วม ภัยแล้ง คลื่นความร้อน โรคระบาด และเป็นที่น่าตกใจว่ารอบนี้อาจจะรุนแรง กระจายวง กว้าง และน่าจะสร้างความเสียหายมหาศาลมากกว่า จนอาจเรียกว่าซุปเปอร์เอลณีโญก็เป็นได้ โดยนับเริ่มเกิดตั้งแต่กลางถึง ปลายปี 2566 ที่ผ่านมา ซึ่งหากเกิดแบบสุดขั้วเช่นนี้ คาดว่าอุณหภูมิบางพื้นที่อาจสูงกว่าค่าเฉลี่ย 1.5-2 C เลยทีเดียว ทั้งอาจ กินเวลายาวนานตลอดปี 2567 โดยคาดการณ์กันว่าปีนี้จะมีอุณหภูมิพุ่งสูงสุดเป็นประวัติการณ์จนทุบสถิติ ซึ่งก็สอดคล้องกับ เหตุการณ์จริงที่ปีนี้คนไทยเองแทบไม่ได้สัมผัสฤดูหนาวกันเลย จากรายงานและสถิติที่ผ่านมาเป็นไปในทิศทางเดียวกันว่า เอลณีโญมีความเชื่อมโยงกับอุบัติการณ์โรคระบาดที่เพิ่มมากขึ้นไปทั่วโลก ยกตัวอย่างเช่น อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก ส าหรับอหิวาตกโรคเกิดจากแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในน ้า โดยเฉพาะน ้ากร่อย และสัตว์ทะเล หากอุณหภูมิน ้าทะเลเพิ่ม สูงขึ้น เชื้อโรคก็ยิ่งเพิ่มจ านวนมากขึ้นเป็นปัจจัยหนึ่ง อีกทั้งโรคนี้ก็สามารถติดต่อได้ผ่านอุจจาระที่แพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม ติดสู่ผู้อื่นได้ทั้งการสัมผัสเอง หรือผ่านแมลง เช่นแมลงวันที่มีเชื้อมาตอมอาหาร ส่วนไข้เลือดออกนั้นติดต่อผ่านยุงลาย ซึ่งมี ความเหมือนกันในประเด็นที่ว่า เป็นโรคที่ติดต่อได้ผ่านแมลง ซึ่งจะอุบัติเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น มีอากาศร้อนขึ้น เช่น ในช่วงเอลณีโญนี้ นั่นก็มาจากสาเหตุที่ว่าแมลงส่วนใหญ่ต้องอาศัยความร้อนในการพัฒนา หรือเจริญเติบโต โดยเฉพาะแมลง บางชนิดที่ส่งผลต่อสุขภาพ น าโรคได้ เช่น แมลงวัน ยุง จะมีวงจรชีวิตที่เร็วขึ้น แมลงวันปกติจะใช้เวลาประมาณ 3 วันในการ เจริญเป็นตัวเต็มวัย แต่เมื่อสภาพอากาศร้อนมากขึ้น จะใช้เวลาเหลือเพียงแค่ 2 วัน จึงท าให้แมลงเหล่านี้เพิ่มจ านวนเยอะมาก ขึ้น น าโรคได้มากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันแมลงบางชนิดที่มีประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม ต่อพืช ทั้งไม่ได้น าโรคสู่คนเช่น ผึ้ง ต่อ แตน มด อาจไวต่ออุณหภูมิความร้อน จนไม่สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ ตาย มีปริมาณน้อยลง จากที่ยกตัวอย่างมาด้านบนเป็นสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในมนุษย์เรา ซึ่งในวงการปศุสัตว์นั้นก็แทบไม่แตกต่างกันเลย นอกจากภาวะ Heat stroke, Heat stress ขาดน ้า ที่อาจเกิดได้มากขึ้นเหมือนคนแล้ว ประสิทธิภาพการเจริญเติบโต ให้ผลผลิต ก็ย่อมลดลง และที่ต้องตระหนักไปกว่านั้นก็คือ ในช่วงปรากฏการณ์เอลณีโญ ก็น่าจะเกิดโรคในปศุสัตว์ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ แมลงเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากปัจจัยตัวเชื้อโรคเอง และแมลงพาหะที่เพิ่มมากขึ้น


42 สัตว์เศรษฐกิจ แมลง เป็นคำาเรียกรวมๆ แต่หากจะแบ่งย่อยจริงก็คงต้องแยกเป็นแมลง และแมง แต่ในที่นี้จะเน้นแค่เรื่องชนิดและโรคที่นำามาสู่ปศุสัตว์ ทั้งจากแมลง และแมง จึงขอเรียกรวมกันเพื่อให้เข้าใจง่าย แมลงที่เป็นพาหะนำาโรคติดต่อสู่ปศุสัตว์บ้านเรา โค กระบือ สุกร ไก่ ได้ทั้งเชิงกล และ/หรือเชิงชีวภาพนั้นได้แก่ ริ้นดำา (หรือตัวคุ่น, แมลงวันกแน็ท) ริ้นทะเล (หรือตัวปึ่ง) ริ้นฝอยทราย (หรือแมลงวันทราย) ยุง (ที่พบมาก และมีความสำาคัญในไทยได้แก่ ยุงก้นปล่อง ยุงลาย ยุงสวน ยุงบ้านหรือยุงรำาคาญ ยุงเสือ ยุงยักษ์) เหลือบ แมลงวัน (ที่พบมาก และมีความ สำาคัญในไทยได้แก่ แมลงวันบ้าน แมลงวันคอก แมลงวันเขาสัตว์หรือแมลงวันริ้นควาย แมลงวันหัวเขียว แมลงวันเนื้อสดหรือแมลงวันหลัง ลาย) แมลงวันเหลือง เรือด มวน หมัด เหา ด้วงดำา เห็บ ไร (หรือไมท์) และอื่นๆ โดยแมลงส่วนใหญ่มักนำาโรคเชิงกลได้ส่วนเชิงชีวภาพ นั้นเกิดได้กับแมลงบางชนิด และแมลงชนิดหนึ่งก็อาจนำาได้เฉพาะบางโรคเท่านั้น ซี่งอาจมากกว่าหนึ่งก็เป็นได้ หรือโรคหนึ่งก็อาจนำาได้จาก แมลงหลายชนิดก็เป็นได้ส่วนใหญ่แมลงดูดเลือดมีแนวโน้มจะนำา และก่อโรครุนแรงได้ง่ายกว่า ซึ่งแมลงบางชนิดตัวเมียเท่านั้นที่ดูดเลือดเพื่อ การพัฒนาของไข่ บางชนิดดูดเลือดทั้งตัวผู้ตัวเมีย บางชนิดไม่ดูดเลือดเลย ซึ่งต้องศึกษารายละเอียดต่อไป โรคสุกร ที่มีรายงานว่าแมลงเป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อนำาโรคได้แก่ โรค ASF โรคอหิวาต์สุกร โรค PRRS โรคอีเพอริโทรซูโนซิส โรคเซอร่า โรคไข้หนังแดง โรคฝีดาษ โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารได้แก่ อีโคลัย ซัลโมเนลโลซิส ท้องร่วงติดต่อ (PED) โรคพยาธิ ในทางเดินอาหารหลายชนิด เป็นต้น โรคโคกระบือ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้องที่มีรายงานว่าแมลงเป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อนำาโรคได้แก่ โรคลัมปีสกิน โรคพยาธิเม็ดเลือด (ได้แก่ ไข้เห็บโค อนาพลาสโมซิส เซอร่า ไทเลริโอซิส) โรคไข้สามวัน (หรือไข้ขาแข็ง) โรคลิวโคซิส โรคบลูทังจ์โรคแอนแทรกซ์โรครินเดอร์เปสต์โรคเต้านมอักเสบ โรคพยาธิในหลายระบบของร่างกาย เป็นต้น โรคไก่ และสัตว์ปีกที่มีรายงาน ว่าแมลงเป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อนำาโรคได้แก่ โรคมาลาเรีย โรคลิวโคซัยโตซูโนซิส โรคฝีดาษ โรคบิด โรคนิวคาสเซิล โรคมาเร็กซ์ โรคกัมโบโร และโรคพยาธิในทางเดินอาหารหลายชนิด เป็นต้น ส่วนในม้าที่เคยก่อความเสียหายมหาศาลไปได้แก่ โรคกาฬโรคแอฟริกา และ อีกโรคสำาคัญคือ โลหิตจางติดเชื้อในม้าที่ติดต่อผ่านแมลงได้เช่นกัน จากโรคที่กล่าวมามิได้หมายความว่า ติดจากแมลงเพียงช่องทางเดียวเท่านั้น แมลงอาจเป็นช่องทางหลักของบางโรค เช่น โรคไข้เห็บโค โรคมาลาเรีย ส่วนบางโรคนั้นแมลงอาจมิใช่ช่องทางหลัก เป็นแค่ช่องทางที่อาจเกิดได้ เคยมีรายงาน แต่อาจไม่บ่อยนัก หรือไม่สำาคัญ เช่น โรค PRRS โรคนิวคาสเซิล ทั้งที่เลี้ยงในโรงเรือนปิด แทบไม่มีแมลงเลย ก็ยังสามารถเป็นโรคเหล่านี้ได้ เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่งออกมา และ รับเข้าโดยการหายใจหรือกินเป็นหลัก ดังนั้นการป้องกันและกำาจัดแมลงถือเป็นช่องทางหนึ่งของระบบความปลอดภัยทางชีวภาพสำาหรับทุกๆ โรค และทุกๆ ชนิดสัตว์ที่ไม่ควรมองข้ามโดยเด็ดขาด ซึ่งก็มีทั้งเชิงกายภาพ และเคมีส่วนชีวภาพนั้นไม่เป็นที่ใช้กันสำาหรับปศุสัตว์ การป้องกันและกำาจัดแมลงเชิงกายภาพได้แก่ การกางมุ้ง หรือใช้ตาข่ายตาถี่ กางคลุมโรงเรือนที่สัตว์อยู่อาศัย หรือพัก ซึ่งอาจได้ผลดี เฉพาะกับแมลงที่มีขนาดใหญ่ เช่น เหลือบ แมลงวัน ยุง ไม่สามารถเข้าถึงตัวสัตว์ได้แต่สำาหรับแมลงขนาดเล็กมากเช่น ริ้นทะเล ที่สามารถ ลอดเข้ามุ้งลวดได้ วิธีนี้ก็อาจจะไม่ได้ผล ทั้งวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพดีเต็มที่สำาหรับสัตว์ที่อยู่ภายในโรงเรือนตลอดเวลาเช่น สุกร ไก่ไข่ ไก่เนื้อ แต่สำาหรับสัตว์ที่ต้องปล่อยออกโรงเรือนในบางช่วงเวลาเช่น โค กระบือ ไก่พื้นเมือง มุ้งอาจช่วยอะไรไม่ได้มากนัก เพราะไม่สามารถป้องกัน แมลงที่ติดมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกเช่น เห็บ ไร ได้ทั้งข้อจำากัดอื่นๆ อีกของมุ้งได้แก่ บางเวลาอาจต้องเปิดเพื่อการระบายอากาศ และ แก๊ส หรือแมลงอาจเข้าไปพร้อมกับคน รวมถึงการลืมปิด หรือปิดไม่สนิท ก็อาจเป็นช่องทางให้แมลงเข้าไปภายในได้ วิธีอื่นๆ ได้แก่เครื่อง ช็อตไฟฟ้า หลอดไฟไล่ยุง กาวดักแมลง การสุมไฟไล่แมลง การกำาจัดมูลสัตว์ใกล้คอก โดยใช้ผ้าใบคลุม การปรับสภาพรอบฟาร์มให้โล่ง กำาจัด วัชพืชหรือต้นไม้ที่เป็นแหล่งอยู่อาศัยของแมลง การกำาจัดแหล่งน้ำาเพาะพันธุ์แมลง ก็อาจมีส่วนช่วยได้ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE แมลง เป็นค าเรียกรวมๆ แต่หากจะแบ่งย่อยจริงก็คงต้องแยกเป็นแมลง และแมง แต่ในที่นี้จะเน้นแค่เรื่องชนิดและโรค ที่น ามาสู่ปศุสัตว์ทั้งจากแมลง และแมง จึงขอเรียกรวมกันเพื่อให้เข้าใจง่าย แมลงที่เป็นพาหะน าโรคติดต่อสู่ปศุสัตว์บ้านเรา โค กระบือ สุกร ไก่ ได้ทั้งเชิงกล และ/หรือเชิงชีวภาพนั้นได้แก่ ริ้นด า (หรือตัวคุ่น, แมลงวันกแน็ท) ริ้นทะเล (หรือตัวปึ่ง) ริ้นฝอย ทราย (หรือแมลงวันทราย) ยุง (ที่พบมาก และมีความส าคัญในไทยได้แก่ ยุงก้นปล่อง ยุงลาย ยุงสวน ยุงบ้านหรือยุงร าคาญ ยุง เสือ ยุงยักษ์) เหลือบ แมลงวัน (ที่พบมาก และมีความส าคัญในไทยได้แก่ แมลงวันบ้าน แมลงวันคอก แมลงวันเขาสัตว์หรือ แมลงวันริ้นควาย แมลงวันหัวเขียว แมลงวันเนื้อสดหรือแมลงวันหลังลาย) แมลงวันเหลือง เรือด มวน หมัด เหา ด้วงด า เห็บ ไร (หรือไมท์) และอื่นๆ โดยแมลงส่วนใหญ่มักน าโรคเชิงกลได้ส่วนเชิงชีวภาพนั้นเกิดได้กับแมลงบางชนิด และแมลงชนิดหนึ่ง ก็อาจน าได้เฉพาะบางโรคเท่านั้น ซี่งอาจมากกว่าหนึ่งก็เป็นได้ หรือโรคหนึ่งก็อาจน าได้จากแมลงหลายชนิดก็เป็นได้ส่วนใหญ่ แมลงดูดเลือดมีแนวโน้มจะน า และก่อโรครุนแรงได้ง่ายกว่า ซึ่งแมลงบางชนิดตัวเมียเท่านั้นที่ดูดเลือดเพื่อการพัฒนาของไข่ บางชนิดดูดเลือดทั้งตัวผู้ตัวเมีย บางชนิดไม่ดูดเลือดเลย ซึ่งต้องศึกษารายละเอียดต่อไป โรคสุกร ที่มีรายงานว่าแมลงเป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อน าโรคได้แก่ โรค ASF โรคอหิวาต์สุกร โรค PRRS โรคอี เพอริโทรซูโนซิส โรคเซอร่า โรคไข้หนังแดง โรคฝีดาษ โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารได้แก่ อี โคลัย ซัลโมเนลโลซิส ท้องร่วงติดต่อ (PED) โรคพยาธิในทางเดินอาหารหลายชนิด เป็นต้น โรคโคกระบือ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้องที่มีรายงานว่าแมลง เป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อน าโรคได้แก่ โรคลัมปี สกิน โรคพยาธิเม็ดเลือด (ได้แก่ ไข้เห็บโค อนาพลาสโมซิส เซอร่า ไทเล ริโอซิส) โรคไข้สามวัน (หรือไข้ขาแข็ง) โรคลิวโคซิส โรคบลูทังจ์โรคแอนแทรกซ์ โรครินเดอร์เปสต์โรคเต้านมอักเสบ โรคพยาธิ ในหลายระบบของร่างกาย เป็นต้น โรคไก่ และสัตว์ปีกที่มีรายงานว่าแมลงเป็นช่องทางหนึ่งของการติดต่อน าโรคได้แก่ โรค มาลาเรีย โรคลิวโคซัยโตซูโนซิส โรคฝีดาษ โรคบิด โรคนิวคาสเซิล โรคมาเร็กซ์ โรคกัมโบโร และโรคพยาธิในทางเดินอาหาร หลายชนิด เป็นต้น ส่วนในม้าที่เคยก่อความเสียหายมหาศาลไปได้แก่ โรคกาฬโรคแอฟริกา และอีกโรคส าคัญคือ โลหิตจางติด เชื้อในม้าที่ติดต่อผ่านแมลงได้เช่นกัน จากโรคที่กล่าวมามิได้หมายความว่า ติดจากแมลงเพียงช่องทางเดียวเท่านั้น แมลงอาจเป็นช่องทางหลักของบางโรค เช่น โรคไข้เห็บโค โรคมาลาเรีย ส่วนบางโรคนั้นแมลงอาจมิใช่ช่องทางหลัก เป็นแค่ช่องทางที่อาจเกิดได้ เคยมีรายงาน แต่อาจ ไม่บ่อยนัก หรือไม่ส าคัญ เช่น โรค PRRS โรคนิวคาสเซิล ทั้งที่เลี้ยงในโรงเรือนปิด แทบไม่มีแมลงเลย ก็ยังสามารถเป็นโรค เหล่านี้ได้ เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่งออกมา และรับเข้าโดยการหายใจหรือกินเป็นหลัก ดังนั้นการป้องกันและก าจัดแมลงถือเป็น ช่องทางหนึ่งของระบบความปลอดภัยทางชีวภาพส าหรับทุกๆ โรค และทุกๆ ชนิดสัตว์ที่ไม่ควรมองข้ามโดยเด็ดขาด ซึ่งก็มีทั้ง เชิงกายภาพ และเคมีส่วนชีวภาพนั้นไม่เป็นที่ใช้กันส าหรับปศุสัตว์ การป้องกันและก าจัดแมลงเชิงกายภาพได้แก่ การกางมุ้ง หรือใช้ตาข่ายตาถี่ กางคลุมโรงเรือนที่สัตว์อยู่อาศัย หรือพัก ซึ่งอาจได้ผลดีเฉพาะกับแมลงที่มีขนาดใหญ่ เช่น เหลือบ แมลงวัน ยุง ไม่สามารถเข้าถึงตัวสัตว์ได้ แต่ส าหรับแมลงขนาดเล็ก มากเช่น ริ้นทะเล ที่สามารถลอดเข้ามุ้งลวดได้ วิธีนี้ก็อาจจะไม่ได้ผล ทั้งวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพดีเต็มที่ส าหรับสัตว์ที่อยู่ภายใน โรงเรือนตลอดเวลาเช่น สุกร ไก่ไข่ ไก่เนื้อ แต่ส าหรับสัตว์ที่ต้องปล่อยออกโรงเรือนในบางช่วงเวลาเช่น โค กระบือ ไก่พื้นเมือง มุ้งอาจช่วยอะไรไม่ได้มากนัก เพราะไม่สามารถป้องกันแมลงที่ติดมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกเช่น เห็บ ไร ได้ ทั้งข้อจ ากัดอื่นๆ


สัตว์เศรษฐกิจ 43 การป้องกันและกำาจัดแมลงเชิงเคมีได้แก่ ยากลุ่มไอเวอร์เมคติน ที่ให้เข้าสู่ร่างกายสัตว์โดยการฉีด หรือกิน ซึ่งออกฤทธิ์ต่อสัตว์ขาปล้อง เช่น แมลงที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว และยังออกฤทธิ์ต่อพยาธิตัวกลมอีกด้วย นิยมใช้ทั้งการกำาจัดและป้องกัน ข้อดีคือมีความปลอดภัยสูงมาก ส่วนสารเคมีที่ใช้เฉพาะภายนอกตัวสัตว์อันเป็นที่นิยมได้แก่ สารในกลุ่มไพรีทรอยด์ เช่น ไซเปอร์เมทริน เดลตาเมทริน สารในกลุ่มออร์กาโน ฟอสเฟต เช่น ไดคลอร์วอส ไตรคลอร์ฟอน ฟอกซิม รวมถึงสารเคมีอีกชนิดที่นิยมใช้กันก็คือ อะมิทราซ ส่วนสารเคมีได้จากธรรมชาติเช่น สะเดา ตะไคร้หอม ซี่งวิธีการใช้สารเคมีเหล่านี้ค่อนข้างหลากหลายขึ้นกับชนิดของสารเคมีชนิดสัตว์ที่ใช้ชนิดแมลงที่จะกำาจัด และข้อจำากัด อื่นๆ เช่น สถานที่ แรงงาน ราคาต้นทุนซึ่งต้องเลือกให้เหมาะสมกับฟาร์ม และความปลอดภัยของตัวสัตว์ และคนใช้ โดยวิธีการใช้เหล่านี้ ได้แก่ การพ่นตัว ทาตัว ราดหลัง หรือผสมในบ่อเพื่อให้สัตว์จุ่มอาบแช่ก็ได้ รวมถึงการโรยผงแป้ง ติดเบอร์หู ราวแขวนวัสดุเช่นผ้าชุบ สารเคมีแล้วให้สัตว์เดินถูตัวผ่านไปมา พ่นเป็นหมอกควัน เป็นต้น ซึ่งนอกจากการกำาจัดและป้องกันแมลงบนตัวสัตว์แล้ว ยังควรใช้ในสิ่งแวดล้อม โรงเรือน คอกสัตว์ สิ่งปูรอง พื้น เพดาน ด้านนอกรอบที่สัตว์อยู่อาศัย ก็ดูจะจำาเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพราะอาจเป็นอีกแหล่งอยู่อาศัย หลบซ่อน หรือร่วงหล่นอยู่ของแมลง ก็เป็นได้ โดยสรุปแล้ว จากปรากฏการณ์เอลณีโญที่เวียนมาบรรจบครบอีกรอบ ทำาให้บางพื้นที่ของโลก ซึ่งแน่นอนว่ามีไทยรวมอยู่ในนั้นด้วย ประสบเหตุการณ์อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น อากาศร้อนรุนแรง ส่งผลกระทบสำาคัญตามมาคือ เชื้อโรค และแมลงนำาโรคต่างๆ ทวีจำานวนเพิ่มมากขึ้น ผิดปกติดังนั้นในปีนี้อุบัติการณ์หลายโรคทั้งของคน และสัตว์ อันติดต่อมาได้จากแมลง จึงอาจมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จึงต้องอย่าลืมป้องกัน กำาจัดแมลงกันให้มากที่สุด นอกจากปศุสัตว์จะได้ประโยชน์เต็มๆ แล้ว มนุษย์อย่างเราก็ยังได้อานิสงค์ไปด้วย เพราะแมลงสามารถนำาโรคติดต่อ มาสู่มนุษย์ได้มากมายยิ่งกว่า แถมบางโรคยังร้ายกาจร้ายแรง ก่ออาการเจ็บป่วย บางโรคอาจถึงตาย ต้องสูญเสียคนรักญาติสนิทมิตรสหาย การป้องกันและกำาจัดแมลงครั้งนี้คงเข้ากับสุภาษิตที่ว่า “ยิงปืนนัดเดียว ได้นกสองตัว” เห็นด้วยไหมครับ... ข้อมูลและรูปภาพอ้างอิง https://www.agric.wa.gov.au/livestock-biosecurity/emergency-animal-disease-hub-foot-and-mouth-and-lumpy-skin-diseases https://www.cfsph.iastate.edu/thelivestockproject/vectors-and-disease-spread-in-humans-and-animals/ https://extension.okstate.edu/programs/livestock-entomology/tabanids.html https://pantip.com/topic/39455937/desktop https://bukoolavet.com/fowl-pox/ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปิดไม่สนิท ก็อาจเป็นช่องทางให้แมลงเข้าไปภายในได้วิธีอื่นๆ ได้แก่เครื่องช็อตไฟฟ้า หลอดไฟไล่ยุง กาวดักแมลง การสุม ไฟไล่แมลง การก าจัดมูลสัตว์ใกล้คอก โดยใช้ผ้าใบคลุม การปรับสภาพรอบฟาร์มให้โล่ง ก าจัดวัชพืชหรือต้นไม้ที่เป็นแหล่งอยู่ อาศัยของแมลง การก าจัดแหล่งน ้าเพาะพันธุ์แมลง ก็อาจมีส่วนช่วยได้ การป้องกันและก าจัดแมลงเชิงเคมีได้แก่ ยากลุ่มไอเวอร์เมคติน ที่ให้เข้าสู่ร่างกายสัตว์โดยการฉีด หรือกิน ซึ่งออก ฤทธิ์ต่อสัตว์ขาปล้อง เช่น แมลงที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว และยังออกฤทธิ์ต่อพยาธิตัวกลมอีกด้วย นิยมใช้ทั้งการก าจัดและป้องกัน ข้อดีคือมีความปลอดภัยสูงมาก ส่วนสารเคมีที่ใช้เฉพาะภายนอกตัวสัตว์อันเป็นที่นิยมได้แก่ สารในกลุ่มไพรีทรอยด์ เช่น ไซ เปอร์เมทริน เดลตาเมทริน สารในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต เช่น ไดคลอร์วอส ไตรคลอร์ฟอน ฟอกซิม รวมถึงสารเคมีอีกชนิดที่ นิยมใช้กันก็คือ อะมิทราซ ส่วนสารเคมีได้จากธรรมชาติ เช่น สะเดา ตะไคร้หอม ซี่งวิธีการใช้สารเคมีเหล่านี้ค่อนข้าง หลากหลายขึ้นกับชนิดของสารเคมี ชนิดสัตว์ที่ใช้ ชนิดแมลงที่จะก าจัด และข้อจ ากัดอื่นๆ เช่น สถานที่ แรงงาน ราคาต้นทุนซึ่ง ต้องเลือกให้เหมาะสมกับฟาร์ม และความปลอดภัยของตัวสัตว์ และคนใช้ โดยวิธีการใช้เหล่านี้ได้แก่ การพ่นตัว ทาตัว ราดหลัง หรือผสมในบ่อเพื่อให้สัตว์จุ่มอาบแช่ก็ได้รวมถึงการโรยผงแป้ง ติดเบอร์หู ราวแขวนวัสดุเช่นผ้าชุบสารเคมีแล้วให้สัตว์เดินถู ตัวผ่านไปมา พ่นเป็นหมอกควัน เป็นต้น ซึ่งนอกจากการก าจัดและป้องกันแมลงบนตัวสัตว์แล้ว ยังควรใช้ในสิ่งแวดล้อม โรงเรือน คอกสัตว์ สิ่งปูรอง พื้น เพดาน ด้านนอกรอบที่สัตว์อยู่อาศัย ก็ดูจะจ าเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพราะอาจเป็นอีก แหล่งอยู่อาศัย หลบซ่อน หรือร่วงหล่นอยู่ของแมลง ก็เป็นได้ โดยสรุปแล้ว จากปรากฏการณ์เอลณีโญที่เวียนมาบรรจบครบอีกรอบ ท าให้บางพื้นที่ของโลก ซึ่งแน่นอนว่ามีไทย รวมอยู่ในนั้นด้วย ประสบเหตุการณ์อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น อากาศร้อนรุนแรง ส่งผลกระทบส าคัญตามมาคือ เชื้อโรค และแมลงน า โรคต่างๆ ทวีจ านวนเพิ่มมากขึ้นผิดปกติดังนั้นในปีนี้อุบัติการณ์หลายโรคทั้งของคน และสัตว์ อันติดต่อมาได้จากแมลง จึงอาจ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จึงต้องอย่าลืมป้องกัน ก าจัดแมลงกันให้มากที่สุด นอกจากปศุสัตว์จะได้ประโยชน์เต็มๆ แล้ว มนุษย์ อย่างเราก็ยังได้อานิสงค์ไปด้วย เพราะแมลงสามารถน าโรคติดต่อมาสู่มนุษย์ได้มากมายยิ่งกว่า แถมบางโรคยังร้ายกาจ ร้ายแรง ก่ออาการเจ็บป่วย บางโรคอาจถึงตาย ต้องสูญเสียคนรักญาติสนิทมิตรสหาย การป้องกันและก าจัดแมลงครั้งนี้คงเข้า กับสุภาษิตที่ว่า “ยิงปืนนัดเดียว ได้นกสองตัว” เห็นด้วยไหมครับ... ข้อมูลและรปูภาพอ้างอิง https://www.agric.wa.gov.au/livestock-biosecurity/emergency-animal-disease-hub-foot-and-mouth-and-lumpy-skin-diseases https://www.cfsph.iastate.edu/thelivestockproject/vectors-and-disease-spread-in-humans-and-animals/ https://extension.okstate.edu/programs/livestock-entomology/tabanids.html https://pantip.com/topic/39455937/desktop https://bukoolavet.com/fowl-pox/


44 สัตว์เศรษฐกิจ เกษตรกรภาคปศุสัตว์ชื่นชมการทำางานรัฐ พิจารณานำาเข้ากาก ถั่วเหลืองทันเวลา ย้ำาขอช่วยพิจารณาขจัดอุปสรรคของอุตสาหกรรม ลดต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ด้วยการยกเลิกภาษีและลดขั้นตอนการ ทำางาน เช่น ทบทวนการต่ออายุประกาศนำาเข้าวัตถุดิบเป็นทุกๆ 3 ปีเช่นเดิม เชื่อเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันในตลาดโลก และ ส่งเสริมเสถียรภาพรายได้ของเกษตรกรภาคปศุสัตว์ไทยได้อย่างยั่งยืน ดร.ฉวีวรรณ คำ�พ� น�ยกสม�คมส่งเสริมก�รเลี้ยงไก่แห่ง ประเทศไทย ในพระบรมร�ชูปถัมถ์ กล่าวว่า เกษตรกรและสมาคมฯ ชื่นชมการตัดสินใจของรัฐบาลในการแก้ปัญหานำาเข้ากากถั่วเหลืองได้ ทันเวลา และพร้อมให้ความร่วมมือสนับสนุนนโยบายการส่งออก สินค้าอาหารของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน เพื่อนำาเข้า เงินตราต่างประเทศมาสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว ซึ่งในปี2566 เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ไทยมีปริมาณ ส่งออกมากกว่า 100,000 ตัน และมีมูลค่ามากกว่า 100,000 ล้าน บาท เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากบราซิลและสหรัฐอเมริกา นับ เป็นการขยับตำาแหน่งขึ้นจากอันดับที่ 4 ในปี 2565 แสดงให้เห็น ศักยภาพการพัฒนาและการแข่งขันของไก่ไทยในเวทีโลก หากแต่ไทยยังเสียเปรียบในเรื่องต้นทุนการผลิต เพราะทั้ง บราซิลและสหรัฐฯ เป็นแหล่งเพาะปลูกถั่วเหลืองและข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ที่สำาคัญของโลกซึ่งเป็นวัตถุดิบสำาคัญในสูตรอาหารสัตว์ทำาให้ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE อาหารสัตว์มีราคาต่ำากว่าไทยมาก ขณะที่ไทยยังต้องนำาเข้าวัตถุดิบ ทั้งสองชนิด เนื่องจากผลิตในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการ นอกจากนี้ รัฐบาลไทยมีนโยบายกำากับการนำาเข้าทั้งกาก ถั่วเหลือง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายใต้เงื่อนไของค์การการค้าโลก (WTO) ที่มีทั้งมาตรการภาษีและโควต้าควบคุมการนำาเข้า เช่น ภาษี นำาเข้ากากถั่วเหลืองในโควต้าเสียภาษี2% นอกโควตาภาษี119% ขณะที่การนำาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีการกำาหนดโควต้าจำานวนนำาเข้า 54,700 ตัน ภาษีในโควตา 20% นอกโควตา 73% นอกจากนี้ยัง จำากัดการนำาเวลานำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้าน และจำานวน นำาเข้าข้าวสาลี1 ส่วนจาก 3 ส่วนของข้าวโพดในประเทศ จึงเป็นต้น ทุนการผลิตที่สำาคัญ ทำาให้ไทยแข่งขันในตลาดโลกได้ยากขึ้น “อยากขอให้รัฐทบทวนมาตรการต่างๆเหล่านี้ เพื่อช่วยขจัด อุปสรรคทางการค้า ซึ่งจะเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของไก่เนื้อไทยใน ตลาดโลกได้ และเชื่อว่าด้วยคุณภาพของไก่ไทยจะสามารถสร้าง รายได้เข้าประเทศ ช่วยสร้างเศรษฐกิจของชาติให้เข้มแข็งมากขึ้นได้ ดังเป้าประสงค์ของรัฐบาล” ดร.ฉวีวรรณกล่าว ด้าน น�ยสิทธิพันธ์ ธน�เกียรติภิญโญ น�ยกสม�คมผู้เลี้ยงสุกร แห่งช�ติกล่าวเพิ่มเติมว่า ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นต้นทุนหลัก ของเกษตรกร รัฐบาลจำาเป็นต้องช่วยเหลือสนับสนุนให้ต้นทุนส่วนนี้ ลดลง แต่กลับกลายเป็นว่าบางมาตรการของรัฐยิ่งทำาให้ต้นทุนวัตถุดิบ ภาคปศุสัตว์ชมรัฐแก้ปัญหากากถั่ว พร้อมขอให้ช่วยขจัดอุปสรรคหนุนแข่งขัน


สัตว์เศรษฐกิจ 45 สูงขึ้น เป็นอุปสรรคในการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรไทย ไม่ว่าจะเป็น มาตรการนำาเข้าข้าวสาลี3:1 หรือ การเก็บภาษีวัตถุดิบนำาเข้า อาทิ ภาษีกากถั่วเหลือง 2%, ภาษีกากเบียร์ (DDGS) 9% และภาษี ปลาป่น 15% หากรัฐยกเลิกมาตรการเหล่านี้ไปก็จะเป็นการช่วย สนับสนุนให้เกษตรกรไทยมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำาลงและมีเสถียรภาพ รายได้ที่มั่นคงขึ้น จึงอยากขอร้องให้รัฐพิจารณาขจัดอุปสรรคเหล่านี้ ให้หมดไปโดยเร็ว ส่วนผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวถึงเหตุการณ์ ประกาศนำาเข้ากากถั่วเหลืองในช่วงสิ้นปี 2566 ที่รัฐอนุมัติก่อน วันสิ้นปีว่าเป็นเหตุการณ์ที่สุ่มเสี่ยงต่อการหยุดชะงักของธุรกิจ ซึ่งต้อง ชื่นชมรัฐบาลที่สามารถประกาศได้ทันเวลา อย่างไรก็ตาม อยากขอ ให้รัฐทบทวนคำาสั่งการต่ออายุประกาศนำาเข้ากากถั่วเหลืองจากปี ต่อปีให้เป็น 3 ปีต่อครั้งเช่นเดิม เพื่อให้เกษตรกรสามารถวางแผน การผลิตได้ต่อเนื่อง และควบคุมต้นทุนการผลิตให้แข่งขันได้ ทั้งยัง ช่วยลดขั้นตอนดำาเนินการด้วย ซีพีเอฟ ขอบคุณรัฐแก้ปัญห�นำ�เข้�ก�กถั่วทันก�รณ์ พร้อมลดร�ค� อ�ห�รสัตว์ช่วยเกษตรกร น�ยเรวัติ หทัยสัตยพงศ์ ผู้อำ�นวยก�รใหญ่ ธุรกิจอ�ห�ร สัตว์บก บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อ�ห�ร จำ�กัด (มห�ชน) หรือ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ขอขอบคุณรัฐบาลท่านนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ทวีสิน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่เข้าใจปัญหาของอุตสาหกรรมอาหาร สัตว์เป็นอย่างดีที่อนุมัติการนำาเข้ากากถั่วเหลืองได้ทันเวลา และคง ภาษีนำาเข้าที่ 2% ไม่เปลี่ยนแปลง ส่งผลดีต่อการผลิตภาคปศุสัตว์ ของไทยให้เดินหน้าได้อย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงัก ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ขณะที่ซีพีเอฟมีนโยบายมุ่งมั่นสนับสนุนและพัฒนาเกษตรกร ไทยให้มีอาชีพอย่างยั่งยืน ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทฯช่วยแบ่งเบาภาระ ต้นทุนอาหารสัตว์ทุกชนิด ด้วยการให้ส่วนลดราคาผลิตภัณฑ์อาหาร สัตว์อย่างแก่เกษตรกรมาอย่างต่อเนื่องในช่วงครึ่งหลังของปี 2566 รวม 30 บาทต่อถุงและในปี 2567 นี้ได้เพิ่มเติมส่วนลดพิเศษให้ เกษตรกรไก่เนื้ออีก 3-4 บาท/ถุง ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ของซีพีเอฟ ได้รับการยอมรับในด้าน คุณภาพจากเกษตรกรทั่วประเทศไทยและทั่วโลก มีนักวิจัยพัฒนาที่ คิดค้นนวัตกรรมอาหารสัตว์ ออกแบบสูตรอาหารอันสอดคล้องกับ ชนิดสัตว์สายพันธุ์และอายุแต่ละช่วงวัยของสัตว์ โดยมีมาตรฐาน รับรองระบบคุณภาพและความปลอดภัยอาหารสัตว์ในระดับสากล GMP+ เป็นรายแรกและรายเดียวของไทยที่ได้รับการรับรอง ตลอด ทั้งห่วงโซ่การผลิตอาหารสัตว์ (Feed Value Chain) ส่งผลให้ ซีพีเอฟเป็นผู้นำาการผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ที่มีคุณภาพและมีความ ปลอดภัย เพื่อผลิตอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคทั่วโลกมาโดยตลอด นอกจากนี้ การจัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ของซีพีเอฟ ยังเป็น ปัจจัยสำาคัญในการผลิตอาหารสัตว์คุณภาพสูง ภายใต้นโยบายการ จัดหาอย่างยั่งยืน โดยวัตถุดิบทุกชนิดต้องตรวจสอบย้อนกลับถึง แหล่งที่มาได้และไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อม เช่น นโยบายไม่รับซื้อผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากพื้นที่รุกป่าและพื้นที่ที่มาจากการเผา ซึ่งขณะนี้ บริษัทสามารถดำาเนินการได้แล้ว 100%.


46 สัตว์เศรษฐกิจ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย แนะรัฐเร่งบังคับใช้มาตรฐาน GAP ทั่วประเทศ ช่วยลดข้อหาสาเหตุ PM 2.5 หลังพยายาม ผลักดันการไม่ส่งเสริมปลูกข้าวโพดในพื้นที่รุกป่าและผ่านการเผามา ตลอดทศวรรษ ชี้สมาชิกหลายรายประกาศนโยบายและจัดทำาระบบ ตรวจสอบย้อนกลับการจัดหาวัตถุดิบเรียบร้อยแล้ว พร้อมยินดีให้ ความร่วมมือสนับสนุนแนวทางแก้ปัญหาร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน เต็มที่ ในปี2567 นี้ประเทศไทยจะมีการผลิตอาหารสัตว์21.3 ล้าน ตัน เพิ่มขึ้นจากปี2566 ถึง 6.29% จากการฟื้นตัวของผู้เลี้ยงสุกร และการขยายตัวของตลาดไก่เนื้อส่งออก ส่งผลให้ความต้องการใช้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปีนี้เพิ่มขึ้นจาก 8.4 ล้านตันเป็น 8.9 ล้านตัน ในขณะที่ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูกาลผลิต 66/67 ประเมินไว้ เพียง 4.89 ล้านตัน ต้องนำาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศเพื่อมาผลิต อาหารสัตว์กว่า 12 ล้านตันต่อปี ปัจจุบันการนำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์จากต่างประเทศ อาทิ กากถั่วเหลืองซึ่งมีการนำาเข้าปีละกว่า 3 ล้านตัน จะต้องมีการขอ เอกสารใบรับรองแหล่งผลิตสินค้ายั่งยืน จากประเทศต้นทางซึ่งในส่วน ของประเทศสหรัฐอเมริกา จะมีหน่วยงาน U.S. Soy Sustainability Assurance Protocol เป็นผู้ออกเอกสารรับรองให้และถั่วเหลืองที่ นำาเข้าจากประเทศบราซิล จะต้องมีใบรับรองว่าผลผลิตไม่ได้มาจาก การรุกป่าอเมซอน ทั้งหมดนี้เป็นการตอบสนองตลาดสินค้าปศุสัตว์ ในอนาคต ที่กำาหนดให้มีการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ ไม่บุกรุกทำาลายป่า ในส่วนของประเทศไทย ผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์เพื่อใช้ภายใน ประเทศได้ประมาณ 8 ล้านตัน โดยมีสินค้าหลักได้แก่ ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ปลายข้าว มันสำาปะหลัง ซึ่งต่อจากนี้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ จะต้องกำาหนดเงื่อนไขการรับซื้อเช่นเดียวกับสินค้านำาเข้า ดังนั้น LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สินค้าทั้ง 3 ตัว จะต้องมีการออกใบรับรองแหล่งผลิตที่ยั่งยืนประกอบ การขาย และที่มากไปกว่านั้น คือจะต้องแสดงถึงตัวเลขการ ปลดปล่อยคาร์บอนในกระบวนการผลิตสินค้าตัวนั้น เพื่อประกอบการ พิจารณารับซื้อด้วย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย มีความพยายามที่จะส่งสัญญาน ไปยังภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้เร่งพัฒนาการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ของไทย รวมถึงปรับปรุงโครงสร้างการผลิตให้เพาะปลูกในพื้นที่ที่ เหมาะสมมาโดยตลอด ไม่สนับสนุนการบุกรุกป่า การเผาเศษวัสดุ ทางการเกษตร ซึ่งนอกจากจะส่งผลให้สินค้าเนื้อสัตว์ไม่สามารถ ส่งออกไปขายในตลาดต่างประเทศได้แล้ว ยังเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผล กระทบต่อสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนที่ต้องเผชิญกับปัญหา หมอกควัน PM2.5 อยู่ในขณะนี้ เมื่อเร็วๆ นี้ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร อดีตนายกสมาคม พ่อค้าพืชไร่ลุกขึ้นอภิปรายเรียกร้องให้ขึ้นราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้วย การขึ้นภาษีวัตถุดิบนำาเข้า เช่น ข้าวสาลีข้าวบาร์เลย์ เพื่อลดการ นำาเข้า เช่นนี้สะท้อนว่า สส.ท่านนั้นไม่ได้ศึกษาเทรนด์ของโลก ไม่มองภาพรวมตลอดห่วงโซ่อุปทานการผลิตอาหาร ไม่เห็นอนาคต ว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย ต้องมีการพัฒนาอย่างไรจึงจะ ขายได้ หวังเพียงขายของให้ได้ราคาแพง โดยไม่สนใจว่าพืชที่ผลิต นั้นมีคุณภาพตามที่ตลาดต้องการหรือไม่ หรืออาจเป็นเพราะมี Conflict of Interest ผลประโยชน์กับธุรกิจพ่อค้าคนกลางที่รับซื้อ ข้าวโพดราคาถูกจากเกษตรกร และนำาไปขายให้โรงงานอาหารสัตว์ ในราคาแพง จึงมีความพยายามที่จะสร้างอุปสรรคไม่ให้การนำาเข้า วัตถุดิบอาหารสัตว์เกิดขึ้นอย่างที่ควรจะเป็น ขอยืนยันว่าจากนี้ไปจะไม่มีใครสามารถรับซื้อข้าวโพดที่ไม่มี ใบรับรองได้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีระบบตรวจสอบ ย้อนกลับ และดำาเนินโครงการ “ไม่เขา ไม่เผา เราซื้อ” เท่านั้น เร่งรัฐบังคับใช้ GAP ลดช้าวโพดบุกรุกป่า ลดฝุ่น PM2.5 เร่งรัฐบังคับใช้ GAP ลดช้าวโพดบุกรุกป่า ลดฝุ่น PM2.5


สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ แต่ทุกๆ โรงงานอาหารสัตว์ จำาเป็นต้องใช้ใบรับรองแหล่งที่มาของ วัตถุดิบนี้ไปแสดงกับประเทศคู่ค้าที่รับซื้อผลิตภัณฑ์อาหารจาก ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื้อไก่ ที่ไทยส่งออกเป็นอันดับ 3 ของโลก หากข้าวโพดในประเทศเพื่อนบ้านมีราคาสูง แต่มีใบรับรอง แหล่งที่มาได้ ผู้ประกอบการอาหารสัตว์ย่อมต้องยอมจ่าย เพื่อลด ปัญหาการค้ากับประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหภาพยุโรป ข่าวดีที่ได้ยินมา คือรัฐบาลทหารเมียนมาให้ความสำาคัญกับการ แก้ปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน เพียงแค่เขายังไม่มีพ.ร.บ.อากาศสะอาด และไม่มีเทคโนโลยีการจัดการแปลงปลูก ซึ่งผู้เชี่ยวชาญจากกรม ควบคุมมลพิษจากประเทศไทย กำาลังจะไปสาธิตการเพาะปลูกพืชไร่ ที่ลดการเผาใน 2 หมู่บ้านนำาร่องของเมียนมา เพื่อทำาให้สิ่งแวดล้อม ดีขึ้น หากสำาเร็จการนำาเข้าข้าวโพดจากเมียนมาจะมีเอกสารรับรอง แหล่งที่มาที่ถูกต้อง เมื่อนั้น ข้าวโพดไทยที่ไม่มีเอกสารรับรอง จะไม่สามารถแข่งขันด้านคุณภาพกับข้าวโพดเมียนมาได้เลย ขณะที่ ล่าสุด นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ก็เพิ่งมาเยือนไทยและเชื่อว่า ท่านนายกเศรษฐา ทวีสิน ได้หารือในประเด็นฝุ่น PM2.5 และ หมอกควันข้ามแดนไปด้วยแล้วเช่นกัน ทั้งนี้ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา สมาคมฯ มีนโยบายไม่สนับสนุน การบุกรุกป่า และเผาวัสดุทางการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งยัง ดำาเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานต่างๆ อาทิกรมควบคุมมลพิษ ใน การแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าในเขต 9 จังหวัดภาคเหนือ ตลอดจนร่วมกับวิทยาลัยชุมชนน่าน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี จัดทำาโครงการสวมหมวกใส่รองเท้าให้ภูเขา หัวโล้น เมื่อปี2557 และ 2559 ตามลำาดับ และขณะนี้อยู่ระหว่าง ดำาเนินการ ตรวจวัดคาร์บอนในกระบวนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นำาร่องที่จังหวัดลพบุรีและชัยนาท คาดว่าจะได้ผลการตรวจวัดออก มาในเดือนมีนาคมนี้ และหลังจากได้ผลตรวจวัดแล้วจะต้องหา กระบวนการลดการปล่อยคาร์บอนให้ต่ำาที่สุด ขณะเดียวกัน สมาคมฯ ได้ขอความร่วมมือจากสมาชิก ให้ ดำาเนินนโยบายจัดซื้อเพื่อความยั่งยืนในธุรกิจอาหารสัตว์3 ข้อ ได้แก่ 1.) ไม่สนับสนุนการลักลอบนำาเข้า 2.) รับซื้อผลผลิตที่มีแหล่งที่มา ถูกต้อง และ 3.) ไม่รับซื้อผลผลิตที่มาจากแหล่งที่มีการเผาตอซัง รวมถึง ขอให้สมาชิกวางโครงสร้างการพัฒนาวัตถุดิบอาหารสัตว์โดย จะต้องกำาหนดนโยบาย เตรียมการลงทุน จัดหาเทคโนโลยี เพื่อ พัฒนาการปลูกพืชวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้ได้มาตรฐานการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas Emission) ปัจจุบัน สมาชิกหลายรายดำาเนินการจัดทำา “ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับการจัดหาวัตถุดิบ” และประกาศนโยบาย “ไม่รับและไม่ นำาเข้าผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากพื้นที่รุกป่า และพื้นที่ที่มาจาก การเผา” เรียบร้อยแล้ว อาทิ เครือซีพี เครือเบทาโกร และ คาร์กิล มีทส์ (ไทยแลนด์) อย่างไรก็ตาม นโยบายนี้จะดำาเนินการเพียงประเทศไทยฝั่งเดียว ไม่ได้ต้องครอบคลุมถึง การนำาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่จะต้องปฏิบัติ ในเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน กล่าวคือ ต้องแสดงแหล่งที่มาของผลผลิต ได้ซึ่งจะต้องร่วมกันหาวิธีส่งเสริมให้ประเทศเพื่อนบ้านหยุดการเผา เพื่อลดปัญหาหมอกควันข้ามแดน โดยสมาคมฯและสมาชิกยินดี สนับสนุนแนวทางแก้ปัญหาร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเต็มที่ “ข้อมูลจาก GISTDA เมื่อวันก่อนระบุว่า จุดความร้อนของ ไทยอยู่ที่ 130 จุด แต่ในส่วนของประเทศเพื่อนบ้านที่พบจุดความ ร้อนมากสุดอยู่ที่กัมพูชา 2,456 จุด และในโอกาสที่นายกรัฐมนตรี กัมพูชาจะมาเยือนประเทศไทย ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์นี้ จึงอยาก ขอฝากรัฐบาลไทย หยิบยกประเด็นแนวทางการแก้ไขปัญหาหมอก ควันข้ามแดนขึ้นมาหารือเพื่อกำาหนดทางออกร่วมกันในส่วนการตรวจ สอบย้อนกลับข้าวโพด แม้ปัญหาหลักในกัมพูชาจะเกิดจากการเผาใน นาข้าวก็ตาม” นายพรศิลป์กล่าว คงไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่า จะไม่มีที่ยืนสำาหรับพืชไร่ที่ทำาลาย สิ่งแวดล้อมอีกต่อไป การเจรจาเรื่องราคาจะเป็นประเด็นสุดท้าย หลัง จากมาตรฐานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผ่านเกณฑ์ที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม แล้วเท่านั้น หวังว่าทุกคนในห่วงโซ่การผลิตอาหารจะเข้าใจและเร่ง ปรับตัว เพื่อร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยกันขับเคลื่อนธุรกิจและ เศรษฐกิจของชาติในทิศทางแห่งความยั่งยืน นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหาร สัตว์ไทย เปิดเผยว่า ประเทศไทยจำาเป็นต้องบังคับใช้มาตรฐานการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agriculture Practice : GAP) สำาหรับตอบโจทย์การผลิตพืชอาหารสัตว์รวมถึงการมีข้อกำาหนดห้าม เผาตอซังในแปลงปลูก ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ผลผลิตสูงขึ้นและต้นทุน การผลิตที่ต่ำาลงแล้ว ยังเป็นอีกปัจจัยที่จะช่วยลดข้อครหาว่าเป็น สาเหตุของปัญหา PM2.5 ได้อย่างเป็นรูปธรรม


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE อ.ส.ค. โชว์แกร่งพร้อมรับมือเปิดเสรีโคนม ประกาศไม่ทิ้งเกษตรกรไว้ข้างหลัง ส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ให้ความรู้แนะแนวทางปรับตัว มุ่งเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการฟาร์มให้มีคุณภาพ มาตรฐาน ลดต้นทุนการผลิต ปรับลดขนาดฟาร์มให้เล็กลง หันมาเลี้ยงโครีดมากขึ้นเพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้รับการแข่งขันเสรีในปี 68 และ ยกระดับอาชีพโคนมให้มีความมั่นคง ยั่งยืนขึ้น นายสมพร ศรีเมือง ผู้อำานวยการองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) กล่าวถึงการเตรียมพร้อมรับมือการเปิดเสรีFTAไทย-ออสเตรเลียและไทยนิวซีแลนด์ที่จะยกเลิกโควตาภาษีตั้งแต่ 1 ม.ค.68 ว่า มั่นใจว่าการเปิดเสรีโคนม จะไม่ส่งกระทบต่อกิจการโคนมของ อ.ส.ค. อย่างแน่นอน เนื่องจากอ.ส.ค.มีศักยภาพ และมีความเข้มแข็งมากพอในการแข่งขันในตลาดทั้งในและต่างประเทศ โดยที่ผ่านมา ได้เตรียมความพร้อมไว้ทุกด้านตั้งแต่ระดับต้นน้ำา กลางน้ำา และปลายน้ำา เช่น มีฟาร์ม โคนมที่ได้มาตรฐาน มีโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยอยู่ 5 แห่งตลอดจนผู้บริโภค ทั้งในและต่างประเทศให้ความเชื่อมั่นและยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานของแบรนด์ นมไทย-เดนมาร์คมาอย่างยาวนาน รวมทั้งเป็นผู้ประกอบการเพียงรายเดียวที่ใช้น้ำานม โคสดแท้100% ในการผลิตและเป็นที่ยอมรับในตลาด นอกจากนี้ อ.ส.ค. ยังมีฟาร์มประสิทธิภาพสูงซึ่งเป็นฟาร์มสาธิตเชิงธุรกิจและ เป็น Smart Dairy Farm ที่ใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดการฟาร์มและลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม สำาหรับเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติและการสร้างบุคลากรมืออาชีพด้านการเลี้ยง โคนมและเป็นฟาร์มสำาหรับใช้ในการศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการฟาร์ม ให้มีความสะดวกและเหมาะสมกับการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรยุคใหม่ที่สอดคล้องกับ หลักการดูแลสวัสดิภาพสัตว์(Animal welfare) พร้อมจัดซื้อแม่โครีดนมจำานวน 120 ตัวเพื่อผลิตน้ำานมดิบเข้าสู่อุตสาหกรรมนมให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันให้ ผลผลิตสูงถึง 21.75 กก./ตัว/วัน จากเกณฑ์ที่ตั้งไว้18 กก/ตัว/วัน ถือว่าให้ผลผลิต สูงและส่งผลทำาให้มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำา อย่างไรก็ตามแม้ปัจจุบัน อ.ส.ค.จะมีความเข้มแข็งพร้อมรับการแข่งขันหลัง มีการเปิดเสรีด้านโคนมแล้ว แต่ อ.ส.ค. ก็ไม่ได้ทอดทิ้งเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมใน เครือข่ายซึ่งปัจจุบันยังมีปัญหาและอุปสรรคในการปรับตัวรวมทั้งมีการบริหารจัดการ ฟาร์มที่ไม่ได้มาตรฐาน ทำาให้มีต้นทุนสูงและให้ผลผลิตต่ำาไม่เพียงพอกับรายได้ประกอบ กับความผันผวนทางเศรษฐกิจในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทำาให้ราคาอาหารโคนมปรับตัว อ.ส.ค. โชว์แกร่ง พร้อมรับมือเปิดเสรีโคนม


สัตว์เศรษฐกิจ 49 สูงขึ้นส่งผลต่อต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ส่งผลให้เกษตรกรหลายครอบครัว ถอดใจเลิกเลี้ยง บางรายทายาทไม่สานต่ออาชีพหันไปประกอบอาชีพอื่นแทนทำาให้ ฟาร์มเกษตรกรรายย่อยที่มีแม่โครีดนมต่ำากว่า 20 ตัวเลิกกิจการค่อนข้างสูงโดย ภาพรวมเกษตรกรเลิกเลี้ยงคิดเป็น 30% จากวิกฤติการณ์ดังกล่าว อ.ส.ค.ได้ส่งเจ้าหน้าที่ลงลงพื้นที่ให้ความรู้แนะแนว ทางปรับตัวโดยส่งเสริมให้เกษตรกรมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการฟาร์ม ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน ลดต้นทุนการผลิต ปรับลดขนาดฟาร์มให้เล็กลง ปรับสูตร การให้อาหารและหันมาเลี้ยงโครีดนมให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำานมดิบซึ่งจะส่งผล ให้เกษตรกรมีน้ำานมดิบที่มีคุณภาพ มาตรฐานและมีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งได้จัดทำา โครงการอบรมการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีสูตรผลิตอาหารสัตว์คุณภาพเพื่อให้ได้ น้ำานมดิบที่มีคุณภาพได้มาตรฐานตามที่กำาหนด เกษตรกรได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าให้ กับเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมเพื่อขยายผลต่อไปยังฟาร์มเกษตรกรที่อยู่ภายใต้ ศูนย์รวบรวมน้ำานมดิบ อ.ส.ค. จังหวัดขอนแก่น 6 ศูนย์และศูนย์รวบรวมน้ำานม จังหวัดสุโขทัย 5 แห่งตลอดจนเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ใกล้เคียงอีก “วันนี้ อ.ส.ค. เรามีความแข็งแกร่งทุกด้านพร้อมรับมือเปิดเสรีโคนม 100% แต่เราจะไม่ทิ้งเกษตรกรไว้ข้างหลัง เพราะทางรอดของอุตสาหกรรมโคนมไทยใน อนาคตคือ การให้ความสำาคัญกับการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ให้มี การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นในการเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ ฟาร์มแทนระบบการเลี้ยงแบบดั้งเดิมซึ่งให้ผลผลิตต่ำา ต้นทุนสูงจนไม่ไม่สามารถ แข่งขันในตลาดทั้งในและต่างประเทศไทยได้ จึงถือเป็นหน้าที่ของ อ.ส.ค. ในฐานะ รัฐวิสาหกิจหลักที่ทำาหน้าที่ในดูแลโคนมอาชีพพระราชทานให้เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง ยั่งยืนตลอดอยู่คู่ประเทศไทยตลอดไป ด้วยการส่งเสริมเกษตรกรในเครือข่ายให้ผลิต น้ำานมให้มีคุณภาพให้เกษตรกรอยู่ได้ด้วยการลดต้นทุน เพื่อให้เกษตรกรนั้นมีอาชีพ การเลี้ยงโคนมที่ยั่งยืน” นายสมพร กล่าวทิ้งท้าย ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


50 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นประธานการลงนามร่วมระหว่างผู้ผลิตข้าวโพดพร้อม ฝักกับผู้รวบรวมและผู้ซื้อ ปลายทางคือ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมที่ต้องการ อาหารหยาบคุณภาพดีสามารถลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มปริมาณน้ำานมโคได้ นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นประธาน พิธีเปิดงาน “เปิดแปลงแถลงข่าว การผลิตข้าวโพดพร้อมฝัก เชื่อมโยงเครือข่าย ผู้ผลิตผู้รวบรวมและผู้ซื้อ” ณ หมู่ที่ 5 ตำาบลวังตะเคียน อำาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี โครงการนี้เป็นการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตอาหารหยาบ คุณภาพดีในพื้นที่จำานวนเพิ่มมากขึ้น โดยจะเชื่อมโยงตลาดข้าวโพดพร้อมฝัก ตลอดห่วงโซ่การผลิตซึ่งปลายทางคือกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ปัจจุบันข้าวโพดพร้อมฝักเป็นอาหารหยาบคุณภาพดี เป็นที่ต้องการของ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมอย่างมาก ห่วงโซ่การผลิตข้าวโพดพร้อมฝักได้แก่ ผู้ผลิต คือ กลุ่มผู้ปลูกข้าวโพดพร้อมฝัก ผู้รวบรว คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตและ แปรรูปอาหารสัตว์อำาเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว ทำาหน้าที่นำาข้าวโพดพร้อม ฝักไปเก็บสำารองในรูปแบบข้าวโพดพร้อมฝักหมักหรือผลิตเป็นอาหารผสมครบ ส่วน (TMR) และทยอยจำาหน่ายให้กับปลายทางคือ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ฟาร์มโคนมสมาชิกสหกรณ์โคนม 5 แห่งในพื้นที่ปศุสัตว์เขต 2 การเชื่อม โยงการผลิตข้าวโพดพร้อมฝักตลอดห่วงโซ่จะส่งผลให้การเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะ การเลี้ยงโคนมให้ผลผลิตและคุณภาพน้ำานมดีขึ้น โดยต้นทุนในการผลิตลดลง นอกจากนี้สำานักพัฒนาอาหารสัตว์มีบริการคำานวณสูตรอาหารสัตว์ตาม ความต้องการของสัตว์แต่ละระยะของการให้ผลผลิต ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้แก่ เกษตรกรตามแนวทางการลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ของกรมปศุสัตว์อีกทั้งบริการ ให้ยืมเครื่องจักรกลอาหารสัตว์ในโครงการ Motor pool เพื่อลดภาระการซื้อ เครื่องจักรกลอาหารสัตว์ของเกษตรกรอีกด้วย. “ปศุสัตว์” เชื่อมโยงการจำาหน่ายข้าวโพด พร้อมฝักถึงปลายทางผู้เลี้ยงโคนม


Click to View FlipBook Version