LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ https://livestockemag.com/ ปี 39 ฉบับที่ 915 เมษายน 2567 ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม นำาร่องติดระบบฟอกกลิ่น เพื่ออยู่กับชุมชนอย่างยั่งยืน หมูไทยปีมังกร... จะรุ่งหรือร่วง ? เทคนิคเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน... เพื่อลดต้นทุน แอนแทรกซ์ (ติดสู่คน) ร้ายแรงจนห้ามหลงลืม ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม นำาร่องติดระบบฟอกกลิ่น เพื่ออยู่กับชุมชนอย่างยั่งยืน หมูไทยปีมังกร... จะรุ่งหรือร่วง ? เทคนิคเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน... เพื่อลดต้นทุน แอนแทรกซ์ (ติดสู่คน) ร้ายแรงจนห้ามหลงลืม
4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ นายไชยา พรหมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานประชุมหารือความก้าวหน้าการดำาเนินโครงการ ของกรมปศุสัตว์ โดยมี ผู้บริหารกรมปศุสัตว์ เข้าร่วม ณ ห้องประชุมพระพิรุณ ตึกอำานวยการ ชั้น 1 กรมปศุสัตว์ (ปศ.) ซึ่งที่ประชุม มีการรายงานความคืบหน้าประเด็นสำาคัญ 4 ประเด็น ได้แก่ 1) ความก้าวหน้าการลดต้นทุนอาหารสัตว์ จากการนำาร่องลงพื้นที่ให้ความรู้เกษตรกร จำานวน 4 ฟาร์ม ณ บ้านนากลาง อำาเภอ นาวัง จังหวัดหนองบัวลำาภู (นาวังโมเดล) ให้เกษตรกรทำาอาหารสัตว์จากข้าวโพดพร้อมฝักหมัก เพื่อลดต้นทุนการผลิต ผลปรากฏว่าการ ดำาเนินงานตั้งแต่ธันวาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567 เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตประมาณ 9.23 บาทต่อน้ำานมดิบ 1 กิโลกรัม จากปกติ ต้นทุนการผลิตประมาณ 14-17 บาทต่อน้ำานมดิบ 1 กิโลกรัม และโคนมสามารถผลิตน้ำานมได้มากกว่า 13.21 ลิตรต่อตัว ต่อวัน จาก ปกติสามารถการผลิตน้ำานมดิบได้ 9.77 ลิตรต่อตัว ต่อวัน 2) โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ เพื่อเพิ่มรายได้สาหรับเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย (โคเพิ่มรายได้) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างโอกาส ให้เกษตรกรผู้มีรายได้น้อยได้รับแม่โคเป็นของตนเอง และช่วยเหลือเกษตรกรที่มีรายได้น้อยให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการ ปรับหลักเกณฑ์โครงการ 3) ความก้าวหน้าการผลิตและพัฒนาวัคซีน โดยสำานักเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ ได้ดำาเนินโครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีนในปีงบประมาณ 2566 - 2567 อาทิ การพัฒนาวัคซีนรวมโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคเฮโมรายิกเซพติซีเมียสำาหรับโค-กระบือ โครงการพัฒนาเซลล์ อัณฑะแกะ (Lambtestis cell) เพื่อใช้สำาหรับการผลิตแอนติเจนไวรัสลัมปีสกิน และโครงการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าชนิด viral vector ร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น ผลปรากฏว่า มีประสิทธิภาพดีกว่าวัคซีนตัวปัจจุบัน ซึ่งจะพัฒนาสู่การผลิตเพื่อใช้งานต่อไป และ 4) ความก้าวหน้าโครงการโคบาลชายแดนใต้ ระยะนำาร่อง ในส่วนพื้นที่ปัตตานีที่ได้รับปัญหาแม่โคไม่ตรงปก ปัจจุบันเกษตรกรได้ ยกเลิกสัญญากับผู้ประกอบการรายเก่าและอยู่ระหว่างจัดหาแม่โคจากผู้ประกอบการรายใหม่ โดยศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยี ชีวภาพสงขลา ได้ให้คำาปรึกษาเกี่ยวกับการเลี้ยงการจัดการฟาร์มโคเนื้อ ตรวจระบบสืบพันธุ์ด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์ รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพ การผสมเทียมด้วยชุดฮอร์โมนเหนี่ยวนำา เพื่อให้ความมั่นใจกับเกษตรกรว่าแม่โคมีสุขภาพแข็งแรง สามารถตั้งท้องได้ ซึ่งผลผลิตของ โครงการโคบาลฯ มีแม่โคตั้งท้อง จำานวน 293 ตัว คลอดแล้ว 118 ตัว ลูกโคหย่านม 99 ตัว รัฐมนตรีช่วยฯ ไชยา ได้มอบนโยบายให้ ปศ. ดำาเนินโครงการโคบาลชายแดนใต้ให้อยู่ในกรอบที่วางไว้ โดยขั้นตอนการตรวจรับ แม่โคต้องตรงตามคุณลักษณะ รวมถึงต้องให้สิทธิ์เกษตรกรในการจัดซื้อแม่โคด้วยตนเองได้ เนื่องจากเป็นผู้รับภาระทางต้นทุนการผลิต ในส่วนจังหวัดสตูลที่เกษตรกรประสบปัญหาด้านเงื่อนไขและพื้นที่ทางการเกษตร ทาง รมช.ไชยา จะลงพื้นที่ไปหารือกับศูนย์อำานวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เพื่อหารือปรับโครงการให้มีความยืดหยุ่นต่อเกษตรกร และขับเคลื่อนโครงการระยะ 2 และ 3 ให้สามารถดำาเนินต่อไปได้ราบรื่น ทั้งนี้ นายคุณากร ปรีชาชนะชัย ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แนะนำาให้กรมปศุสัตว์จัดทำาคู่มือ การดำาเนินงานโครงการโคบาลชายแดนใต้ เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีปัญหาแตกต่างกัน และหากจะให้การทำางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางเดียวกันควรมีคู่มือสำาหรับผู้ลงพื้นที่ทำางานด้วย LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE จี้กรมปศุสัตว์ หาทางลดต้นทุนอาหารสัตว์ เร่งผลิตวัคซีนคุณภาพ แก้ปัญหาโคบาลชายแดนใต้
คอลัมน์พิเศษ 12 ซีพีเอฟ จับมือ เจ้าทุย และบิทคับเวนเจอร์ส เปิดตัวอาหารควายสูตรใหม่ 14 สมาคมพัฒนาพันธุ์ควายไทยขอรัฐบาลผลักดันเป็นซอฟต์พาวเวอร์ 15 หมูไทยปีมังกร...จะรุ่งหรือร่วง? 20 ส่อง...ร่าง พ.ร.บ.สุกรและเนื้อสุกร 22 คาดราคาหมูหน้าฟาร์มปี67 ยังหดตัว...กดดันการผลิตสุกรในประเทศ 24 ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม นำาร่องติดระบบฟอกกลิ่น เพื่ออยู่กับชุมชนอย่างยั่งยืน 28 นายกหมูราชบุรี...มองหมูไทยจะเดินหน้าต่อไปได้อย่างไร? 30 เกษตรกรหมู-ไก่เนื้อ-ไก่ไข่ ผสานเสียงร้อน-แล้ง-โรค กระทบซํ้าต้นทุนเพิ่ม 33 ไก่ส่งออก ปี67แม้โต 2% แต่ยังตํ่ากว่าในอดีต 36 เทคนิคเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน...เพื่อลดต้นทุน 38 ส.อาหารสัตว์ไทย ลงนามข้อตกลง “USSEC”ชูโมเดลสหรัฐฯ ต้นแบบสร้างวัตถุดิบยั่งยืนในไทย 40 เลือกซื้ออาหารสดอย่างไรให้ปลอดภัย ในฤดูร้อน 42 แอนแทรกซ์(ติดสู่คน)ร้ายแรงจนห้ามหลงลืม 46 เกษตรภัณฑ์โชว์นวัตกรรมจัดการลดต้นทุนในงาน VICTAM Asia2024 48 Healthand Nutrition Asia2024 ประสบความสําเร็จ อย่างเกินความคาดหมาย! 50 ชู“นาวังโมเดล” ต้นแบบอาหารสัตว์คุณภาพสูง สู้วิกฤตอาหารสัตว์แพง 52 เกษตรกร ปลื้ม “ซีพีเอฟ ปันนํ้าปุ๋ย”ช่วยลดต้นทุน-ผ่านพ้นวิกฤตแล้ง คอลัมน์ประจำ� 8 บอกกล่าว 10 กิจกรรมเด่น 54 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 915เมษายน 2567 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 915
สรางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูเชี่ยวชาญดานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคาและบร�การครบวงจร เปนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482 สรางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูเชี่ยวชาญดานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคาและบร�การครบวงจร เปนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482
8 สัตว์เศรษฐกิจ เจ้าหน้าที่ได้มีการตรวจสอบใบรับรองสุขอนามัยสัตว์ (Health Certificate) ที่ผู้นำาเข้าใช้ยื่นในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อขอนำาเข้า และ กรมประมงได้ทำาการตรวจสอบยืนยันกับประเทศต้นทาง พบว่า ใบรับรองสุขอนามัยสัตว์ (Health Certificate) ที่ประเทศต้นทางออก ให้นั้น ปรากฏว่าเป็นสินค้าคนละประเภทกับที่ผู้นำาเข้าใช้ยื่นกับ กรมประมง โดยปรากฎเป็นเนื้อหมู 1,859,270 กิโลกรัม/เนื้อวัว 4,135,306 กิโลกรัม จำานวน 220 ตู้คอนเทนเนอร์ รวมน้ำาหนัก สินค้าทั้งสิ้น 5,994,576 กิโลกรัม มูลค่าความเสียหาย 1,407,187,712 ล้านบาท ซึ่งล่าสุดเมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา ได้แจ้งความต่อ ผู้บัญชาการตำารวจสอบสวนกลาง จำานวน 1 ราย 220 คดี คือ บริษัท ศิขัณทิน เทรดดิ้ง จำากัด จำานวน 4 ข้อกล่าวหา ดังนี้ ป.อาญา ฐานปลอมแปลงเอกสาร ตามมาตรา 264 ฐานใช้เอกสาร ปลอมตามมาตรา 268 ฐานแจ้งข้อความอันเป็นเท็จแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 137 และความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการ กระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ฐานนำาเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลอันเป็นเท็จ ตามมาตรา 14 (1) และ (2) ได้ ส่งมอบเอกสารหลักฐานทั้งหมดให้กับกองบัญชาการตำารวจสอบสวน กลาง มีการออกหมายเรียกผู้ต้องหามารับทราบข้อกล่าวหาเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว คดีอยู่ระหว่างการสืบสวนสอบสวนรวบรวมพยาน หลักฐาน ดังนั้น จึงขอให้ผู้เกี่ยวข้องนำาพยานหลักฐานมาชี้แจงต่อ พนักงานสอบสวน เพื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม โดยเจ้าหน้าที่จะ ให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย นอกจากนี้ กรมประมงยังจะดำาเนินการ ตรวจสอบเพิ่มเติม หากตรวจพบพฤติกรรมลักษณะดังกล่าวอีกก็จะ ดำาเนินคดีเช่นเดียวกันต่อไป ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรฯ โดย “ฉก.พญานาคราช” พร้อมเดิน หน้าสางปมปัญหาของพี่น้องเกษตรกรในทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไร ก็ตาม เพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกร มุ่งขับเคลื่อนภาค การเกษตรไทยทั้งระบบ รวมถึงเศรษฐกิจของประเทศให้เดินหน้าได้ อย่างมั่นคง เกษตรกรมีรายได้อย่างยั่งยืนต่อไป ด้าน นายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการปฏิบัติงานของคณะทำางาน ตรวจสอบปริมาณน้ำานมทั้งระบบ ระดับจังหวัด พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ณ อำาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ว่า ตามที่ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำางานตรวจสอบปริมาณ น้ำานมโคทั้งระบบ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา มี วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบยืนยันข้อมูลปริมาณน้ำานมโคที่แท้จริง ซึ่งนำามาใช้เป็นข้อมูลในการบริหารจัดการนมทั้งระบบให้มีความถูก ต้องตรงตามปริมาณน้ำานมโคที่มีอยู่จริง และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน โดยในวันนี้เป็นการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการ ดำาเนินงานและให้กำาลังใจแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ รวมทั้ง เป็นโอกาสอันดีในการพบปะเกษตรกรรายย่อยรวมทั้งภาคเอกชน ซึ่ง จังหวัดลพบุรีถือเป็นพื้นที่ที่มีเกษตรกรประกอบอาชีพเลี้ยงโคนมมาก เป็นอันดับ 4 ของประเทศ รวม 2,050 ราย ครอบคลุมพื้นที่ 9 บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 915 เดือนเมษายน...เริ่มจาก หน่วยเฉพาะกิจพญานาคราช ยื่นดำาเนินคดีปลอมแปลงเอกสาร จาก การขยายผลของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการนำาเข้า - ส่งออกสินค้า ประมงผิดกฎหมาย กรมประมง พบบริษัทสวมสิทธิ์ปลอมใบรับรอง สุขอนามัยสัตว์ (Health Certificate) จำานวน 220 ครั้ง ระบุประเภท สินค้าไม่ตรงตามความเป็นจริง รวมน้ำาหนักกว่า 5,994,576 กิโลกรัม จาก 220 ตู้คอนเทนเนอร์ มูลค่าความเสียหายกว่า 1,400 ล้านบาท ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ แถลงความก้าวหน้าการดำาเนินงานของหน่วยเฉพาะกิจ พญานาคราช (ฉก.พญานาคราช) โดยมี พล.ต.ต. เอกรักษ์ ลิ้มสังกาศ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน พันเอก รวิรักษ์ สัตตบุศย์ ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจ พญานาคราช นายบัญชา สุขแก้ว อธิบดีกรมประมง นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ พล.ต.ต. วิทยา ศรีประเสริฐภาพ ผู้บังคับการกองบังคับการปราบปรามการกระทำาความผิดเกี่ยวกับการ คุ้มครองผู้บริโภค และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ณ ห้องแถลง ข่าว ฝั่งสภาผู้แทนราษฎร อาคารสัปปายะสภาสถาน ถนนสามเสน กรุงเทพฯ ว่า ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศสงคราม ปราบปรามสินค้าเกษตรผิดกฎหมายที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกร และเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศเป็นอย่างมาก โดยได้แต่งตั้ง “หน่วยเฉพาะกิจพญานาคราช” (ฉก.พญานาคราช) ขึ้นมาเพื่อ ขับเคลื่อนนโยบายปราบปรามการลักลอบนำาเข้าสินค้าเกษตร ผิดกฎหมาย ทั้งสินค้าพืช ประมง และปศุสัตว์ ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งที่ผ่านมา “ฉก.พญานาคราช” ได้ดำาเนินการอย่าง จริงจังและเห็นผลเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การลงพื้นที่สุ่ม ตรวจตู้คอนเทนเนอร์ ณ ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2566 พบการซุกซ่อนชิ้นส่วนสุกรปะปนอยู่ภายในตู้สินค้า ประมง จากนั้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2567 ได้มีการตั้ง War room โดยผู้เชี่ยวชาญจากกรมประมงและกรมปศุสัตว์ ร่วมกันตรวจสอบ เอกสารประกอบการนำาเข้าสัตว์น้ำาของกรมประมง พบเอกสารที่มี การปลอมแปลง ได้ดำาเนินการแจ้งความต่อกรมสอบสวนกลางแล้ว 20 คดี ได้แก่ 1) บริษัท ศิขัณทิน เทรดดิ้ง จำากัด 2) บริษัท สมายล์ ท็อป เค เอ็นเตอร์ไพรส์ จำากัด และ 3) ห้างหุ้นส่วนจำากัด บริบูรณ์ เทรดดิ้ง ด้าน นายบัญชา สุขแก้ว อธิบดีกรมประมง กล่าวเพิ่มเติมว่า ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการนำาเข้า - ส่งออก สินค้าประมงผิดกฎหมาย ตรวจพบ 1 บริษัท แต่พบความผิดปกติมากถึง 220 ครั้ง โดย LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE บอกกล่าวเล่าสิบ
สัตว์เศรษฐกิจ 9 อำาเภอ มีศูนย์รวบรวมน้ำานมดิบ 12 แห่ง โดยจุดแรกได้ตรวจเยี่ยม การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการสำารวจปริมาณน้ำานมโค ณ ศูนย์ รวบรวมน้ำานมโค 2 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำากัด และ 2) บริษัท ราชาแดรี่ จำากัด นอกจากนี้ ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนฟาร์มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม รายย่อยบริเวณใกล้เคียง จำานวน 2 แห่ง และบริษัท พญาเย็น แดรี่ จำากัด (สาขา 1) ซึ่งเป็นฟาร์มเลี้ยงโคนมขนาดใหญ่ที่มีโค รีดนมมากกว่า 100 ตัว เพื่อรับฟังข้อเสนอแนะจากเกษตรกรในพื้นที่ ด้วยตนเอง และจะได้นำาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปใช้ประกอบการ บริหารจัดการและการดำาเนินงานเกี่ยวกับนมทั้งระบบต่อไป ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ มอบหมายให้ นายพงษ์พันธ์ ธรรมมา รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานเปิด “งานแพะแห่งชาติ ครั้งที่ 20 ประจำาปี 2567” โดย มี นางจารีรัตน์ บุญประดิษฐ รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กาญจนบุรี กล่าวรายงาน พร้อมด้วย รองผู้ว่าราชการจังหวัด กาญจนบุรี หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ เกษตรกร และผู้ที่สนใจ เข้าร่วม ณ ลานข้างองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี ตำาบล ท่ามะขาม อำาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สำาหรับใน ปีนี้ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน ถ้วยรางวัลชนะเลิศ กิจกรรมการประกวดแพะ ประเภทแกรนด์ แชมป์เปี้ยน แพะเนื้อ - แพะนม จำานวน 4 รางวัล โดยในการ จัดงานครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดใกล้เคียง และกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยง แพะทั่วประเทศ ดำาเนินการปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยง การจัดการ ฟาร์ม ให้มีประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น เกษตรกรผู้เลี้ยง แพะได้รับความรู้ จากการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ระหว่าง เกษตรกร นักวิชาการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอาชีพการ เลี้ยงแพะ จากเวทีเสวนาแนวทางการตลาดแพะทั่วประเทศ และได้ เชื่อมโยงเครือข่ายการตลาดและการผลิต จากการร่วมกันหาแนวทาง ในการจัดการระบบการผลิตและการตลาดให้เป็นไปตามแนวทางที่ เหมาะสม นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ตลาด การค้าแพะให้กว้างขวางทั้งตลาดในพื้นที่และตลาดต่างประเทศ ภายในงานนี้ได้มีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระกนิษฐา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิทรรศการโซนแสดงความรู้วิชาการการด้านปศุสัตว์ นิทรรศการโซน แสดงสัตว์มีชีวิต มีกิจกรรมการจัดประกวดแพะ ของเกษตรกรที่มี ลักษณะที่เหมาะสมใช้ปรับปรุงขยายพันธุ์ และมอบรางวัลตอบแทน เพื่อเป็นขวัญและกำาลังใจให้แก่เกษตรกรที่มีความมุ่งมั่นในการ พัฒนาการเลี้ยง คัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ ประเภทแพะที่ประกวด ประกอบด้วย แพะพันธุ์บอร์แพะเนื้อลูกผสมบอร์ แพะพันธุ์แองโกล นูเบียน แพะนมพันธุ์ซาแนน และมีกิจกรรมจำาหน่ายผลิตภัณฑ์และ สินค้าราคาถูก ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นเมือง สินค้า OTOP สินค้า ปศุสัตว์และเวชภัณฑ์ อุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ และเครื่องจักรกล ทางการเกษตร อาหารที่ปรุงจากเนื้อแพะ นมแพะ เป็นต้น...สวัสดี... องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) มอบฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ให้กับผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์บก จากบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เป็นการรับรองผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์บกของบริษัท 522 รายการ และ ผลิตภัณฑ์ข้าวโพด 1 รายการ ตอกย้ำาความมุ่งมั่นของบริษัทในการลดผลกระทบจาก ดำาเนินธุรกิจต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ซีพีเอฟ ธุรกิจอาหารัสตว์บก รับมอบฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์บก 523 รายการ จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก อบก. ซีพีเอฟ ธุรกิจอาหารัสตว์บก รับมอบฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์บก 523 รายการ จาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก อบก.
10 สัตว์เศรษฐกิจ กิ จ ก ร ร ม เ ด่ น คาร์กิลล์ คาร์กิลล์ คาร์กิลล์ คาร์กิลล์ xx มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปันมื้ออาหารให้วัวแดง ปันมื้ออาหารให้วัวแดง ปันมื้ออาหารให้วัวแดง ปันมื้ออาหารให้วัวแดง คุณอัครฤทธิ์ บุญทวีผู้บริหารระดับสูง ของคาร์กิลล์สยาม จำากัด ร่วมกับ คณะสัตว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มอบอาหารวัว Acco Feed เบอร์ 44 เพื่อนำา อาหารนี้ไปช่วยเหลือน้องวัวแดง ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาน้ำาพุ จ.กาญจนบุรี ทั้งนี้คาร์กิลล์ เล็งเห็นว่าวัวแดงเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ปัจจุบันมีการลดจำานวนน้อยลงอย่างมาก หากเราช่วยลดอัตราการสูญเสีย และสามารถเพิ่มจำานวนของวัวแดงให้อยู่ในระบบนิเวศน์ได้มาก ขึ้น จะทำาให้ผืนป่าในประเทศไทยกลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง เพราะคาร์กิลล์มุ่งมั่นที่จะ Care สังคม, ชุมชน และ ผืนป่า เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน สมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์ จัดประชุมใหญ่ พร้อมเลือกตั้ง นายกสมาคมฯ คนใหม่ สมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์ จัดประชุมใหญ่ พร้อมเลือกตั้ง นายกสมาคมฯ คนใหม่ สมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์จัดประชุมใหญ่สามัญประจำาปี 2567 โดยภายใน งานมีวาระเลือกตั้งนายกสมาคมและคณะกรรมการบริหารชุดใหญ่ ซึ่งขอแสดงความ ยินดีกับ น.สพ.ไพรวัน สีพั่ว ที่ได้รับเลือกให้ดำารงตำาแหน่ง นายกสมาคมธุรกิจ เวชภัณฑ์สำาหรับสัตว์ พร้อม ด้วยคณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ปี 2567-2569 ณ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE
สัตว์เศรษฐกิจ 11 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ “S-Pure Prime German Pop-up Tasteperience” เปิดประสบการณ์ลิ้มลอง รสชาติใหม่ ไส้กรอกเยอรมันสไตล์โฮมเมด ที่สุด ความอร่อย “S-Pure Prime German Pop-up Tasteperience” เปิดประสบการณ์ลิ้มลอง รสชาติใหม่ ไส้กรอกเยอรมันสไตล์โฮมเมด ที่สุด ความอร่อย ดร.โอลิเวอร์ ก็อตชัลล์ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจอาหาร บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ BTG ร่วมกิจกรรม เปิดตัว “S-Pure Prime” ที่สุดความอร่อย ไส้กรอกเยอรมันสไตล์โฮมเมด ผลิตจากเนื้อหมู S-Pure 100% ชูแบรนด์แรกที่เป็นผลิตภัณฑ์ “อาหารฉลากสะอาด (Clean Label)” ปราศจากการแต่งเติม ทั้งไนเตรท์ และไนไตรท ไม่แต่งสี หรือกลิ่นสังเคราะห์ ปราศจากสารกันเสีย ในงาน “S-Pure Prime German Pop-up Tasteperience” โมเมนต์ ที่สุดความอร่อยสุดเอ็กซ์คลูซีพกับเมนูสไตล์ Chef’s Table ที่รังสรรค์โดย “เชฟหมอตั้ม - ดิษกุล ประสิทธิ์เรืองสุข” MasterChef Thailand ที่รังสรรค์เมนูจาก S-Pure Prime ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเยอรมันสไตล์โฮมเมด ชวนให้ทุกคนมา ลิ้มลอง เมื่อวันที่ 30-31 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ จับมือ จับมือ ภาคเอกชนและสัตวแพทยสมาคมฯ ภาคเอกชนและสัตวแพทยสมาคมฯ ภาคเอกชนและสัตวแพทยสมาคมฯ ภาคเอกชนและสัตวแพทยสมาคมฯ เดินหน้าส่งเสริมสุขภาพสัตว์ดีถ้วนหน้า เดินหน้าส่งเสริมสุขภาพสัตว์ดีถ้วนหน้า เดินหน้าส่งเสริมสุขภาพสัตว์ดีถ้วนหน้า เดินหน้าส่งเสริมสุขภาพสัตว์ดีถ้วนหน้า นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์อธิบดีกรมปศุสัตว์พร้อมด้วยข้าราชการระดับสูงและเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ รับมอบผลิตภัณฑ์ กำาจัดเห็บหมัดภายนอกตัวสุนัขและแมว แบบหยดหลัง จำานวน 50,000 โดส จาก นายสัตวแพทย์กมล รัตนตยารมณ์ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท ไทยนาโอกะ ฟาร์มาซูติคอล จำากัด ร่วมกับ นายสัตวแพทย์ปราโมทย์ตาฬวัฒน์นายกสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อนำาไปใช้ในกิจกรรมควบคุม ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ที่เป็นสาเหตุให้คนไทยเสียชีวิต 100-1,000 คนต่อปี ให้หมดไป ภายในปี 2570 ณ กรมปศุสัตว์ พญาไท. สัตว์เศรษฐกิจ 11
12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ซีพีเอฟ ซีพีเอฟ จับมือ เจ้าทุย เจ้าทุย และบิทคับเวนเจอร์ส และบิทคับเวนเจอร์ส เปิดตัวอาหารควายสูตรใหม่ เปิดตัวอาหารควายสูตรใหม่ บริษัท บิทคับ เวนเจอร์ส จำ�กัด ร่วมกับ บริษัท เจ้�ทุย จำ�กัด และ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มห�ชน) (ซีพีเอฟ อ�ห�รสัตว์บก) เปิดตัว “อ�ห�รคว�ย อ�ห�รข้นคุณภ�พดี” อาหารสูตรใหม่สำาหรับควายไทย เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงดูควายไทยคุณภาพดี ด้วยอาหารที่มีคุณภาพและสารอาหารครบครัน ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าและยกระดับวงการควายไทยให้ทัดเทียมสากล พร้อมยังช่วยให้เกษตรกร ชาวไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยมีสมาคมอนุรักษ์พัฒนาควายไทย เกษตรกรผู้เลี้ยงควายไทย และผู้ที่สนใจ อาทิ คุณน้ำา-รพีภัทร เอกพันธ์กุล เข้าร่วม ณ นินลนีย์ฟาร์ม เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา คุณเน�วรัตน์ธรรมสวยดีประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร บริษัท บิทคับ เวนเจอร์ส จำ�กัด กล่าวว่า “บิทคับ เวนเจอร์ส ตัดสินใจร่วม ลงทุนในบริษัท เจ้าทุย จำากัด เพราะเล็งเห็นถึงโอกาสในธุรกิจควายไทยที่มีความต้องการทั้งในตลาดควายสวยงามและตลาดควายพันธุ์เนื้อ รวมไปถึงความต้องการของตลาดต่างประเทศอีกด้วย เราจึงต้องการยกระดับวงการควายไทยให้มีมาตรฐานและศักยภาพสู่ระดับสากลได้ โดยการนำาเทคโนโลยีบล็อกเชนเข้ามาใช้ในการเก็บข้อมูลประวัติพันธุ์ควายในรูปแบบ NFT Pedigree เพื่อทำาให้การซื้อขายในวงการ ควายไทยมีการรับรองข้อมูลด้วยเทคโนโลยีที่เชื่อถือได้และไม่สามารถปลอมแปลงได้ ซึ่งนับเป็นการเพิ่มมูลค่าด้วยเทคโนโลยี แต่ในวันนี้ถือ เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่ ซีพีเอฟอาหารสัตว์บก เข้ามาช่วยสนับสนุนในด้านของอาหารควายที่มีคุณภาพและเป็นอีกปัจจัยสำาคัญที่จะช่วยเพิ่ม มูลค่าของควายไทยมากยิ่งขึ้น เพื่อนำาไปสู่วิสัยทัศน์ร่วมกันคือการยกระดับควายไทยและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรไทย คุณธนบัตร ใคร่นุ่นสิงห์ ผู้ก่อตั้ง บริษัท เจ้�ทุย จำ�กัด กล่าวว่า เจ้าทุยเป็นการรวมตัวกันของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการนำาเทคโนโลยี เข้ามาใช้เพิ่มประสิทธิภาพให้กับพี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยงควายไทย เพื่อเป็นการต่อยอดให้ควายไทยสามารถเป็นสัตว์เศรษฐกิจได้ นำาไปสู่การ สร้างงานสร้างอาชีพที่ยั่งยืนให้กับพี่น้องเกษตรกรไทยมากขึ้น ผ่านการเก็บพันธุ์ประวัติด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชนและการเก็บประวัติการรับ วัคซีนของควาย โดยเฉพาะในกลุ่มของควายเนื้อที่จำาเป็นจะต้องมีการเลี้ยงดูให้ได้ตามมาตรฐาน ซึ่งการเข้ามาของซีพีเอฟอาหารสัตว์บก ยิ่งช่วย เติมเต็มการพัฒนาควายไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาสูตรอาหารควายไทยที่เหมาะสำาหรับควายพ่อพันธุ์ (สูตร CP Buff M) และควายแม่พันธุ์ (สูตร CP Buff F) โดยเฉพาะ สิ่งนี้จึงเป็นอีกก้าวสำาคัญที่จะพาวงการควายไทยให้ไปสู่ระดับโลกได้จริง
สัตว์เศรษฐกิจ 13 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สำ�หรับข้อมูลแบบเจ�ะลึกของอ�ห�รคว�ยทั้งสองชนิด บัฟเอฟ สูตรแม่คว�ยเลี้ยงลูก น้ำ�นมดีลูกโตเร็ว - สุขภาพแข็งแรง เสริมสร้างภูมิต้านทานโรค - ช่วยฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอด มดลูกเข้าอู่เร็ว - กลับสัดไว ลดปัญหาท้องว่าง - เพิ่มความสมบูรณ์พันธุ์ เพิ่มโอกาสผสมติด - ใช้ประมาณ 2 - 4 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับน้ำาหนักตัว ระยะการเลี้ยง และคุณภาพของอาหารหยาบ บัฟเอ็ม สูตรพ่อคว�ยสมบูรณ์พันธุ์สุขภ�พแข็งแรง ได้น้ำ�เชื้อคุณภ�พดี - เพิ่มคุณภาพของน้ำาเชื้อให้แข็งแรง - เสริมสร้างภูมิต้านทานโรค - ยืดอายุการรีดน้ำาเชื้อ - เพิ่มความสามารถในการดูดซึมไปใช้ประโยชน์ - ใช้ประมาณ 3 - 6 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับน้ำาหนักตัว และระยะการเลี้ยง และคุณภาพของอาหารหยาบ
14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE โก้เมืองเพชร ควายเผือกใหญ่ที่สุดในโลก เข้าพบเศรษฐา สมาคมพัฒนาพันธุ์ควายไทย วอนรัฐบาล ส่งเสริมควายไทย เป็น ซอฟต์พาวเวอร์นายกฯ สั่ง หมอชัย เตรียมจัดโรดโชว์ที่จีน พ.ต.อ.เอนก เตาสุภาพ อุปนายกสมาคมพัฒนาพันธุ์ควายไทย และ นายจิตตนาถ ลิ้มทองกุล (พ่อเลี้ยงเจ) เจ้าของวนาสุวรรณฟาร์ม นำา โก้เมืองเพชร ควายเผือกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพศผู้อายุ4 ปี11 เดือน น้ำาหนัก 1,500 กิโลกรัม เข้าพบ นายเศรษฐา ทวีสิน นายก รัฐมนตรี และรมว.คลัง เพื่อให้รัฐบาลส่งเสริมและต่อยอดการเกษตร ที่เกี่ยวข้องกับควาย รวมถึงส่งเสริมให้เป็นซอฟต์พาวเวอร์ โดยนา ยกฯ ลงมาพบ และกล่าวว่า ไม่เคยทราบว่ามีควายที่สวยขนาดนี้มา ก่อน นายจิตตนาถ กล่าวว่า การนำาควายมาโชว์ให้นายกฯดูในวันนี้ ขณะนี้คนหันมาเล่นควายพันธุ์ไทยสวยงามกันมาก จึงอยากให้รัฐบาล ให้รัฐบาลผลักดันให้เป็นซอฟต์พาวเวอร์ เมื่อวานนี้ (19 มี.ค.) ตนได้นำาควายไปเดินโชว์ที่ถนนพระอาทิตย์ ได้รับความสนใจจาก นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินตามถ่ายรูปจำานวนมาก ในเทศกาลสงกรานต์วันที่ 13-14 เม.ย. จะนำาน้องโก้เมืองเพชร และควายยักษ์อีก 4-5 ตัว ไปเล่นน้ำาสงกรานต์ที่ถนนข้าวสาร เพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยว และประชาสัมพันธ์ควายพันธุ์ไทยนายกฯกล่าว ว่า ดีแต่ให้ดูเรื่องความปลอดภัยด้วย โดยนายจิตตนาถ ตอบกลับว่า โก้เมืองเพชรไม่ดุและชอบเล่นน้ำา และอยากให้รัฐบาลส่งเสริมควาย พันธุ์ไทย เหมือนที่รัฐบาลญี่ปุ่นส่งเสริมปลาคาร์พ และอยากมีโรดโชว์ พ่อพันธุ์ความไทยที่จีน ลาว เวียดนาม คนต่างประเทศก็จะสนใจ มากขึ้น นายเศรษฐา กล่าวว่า เป็นเรื่องที่ดี และ นายชัย วัชรงค์ โฆษกประจำาสำานักนายกฯ มีความรู้ดีเรื่องสัตว์ ซึ่งนายชัยตอบว่า สมัยก่อนเนื้อที่ส่งออกเป็นเนื้อควายทั้งหมด นายกฯ สนใจสอบถามลักษณะของควาย และอายุของโก้เมือง เพชร ซึ่งยังโตไม่เต็มที่ อายุเพียง 7 ปียังสามารถโตได้ถึง 1,800 กิโลกรัม และมีอายุราว ๆ 30-40 ปี โดยนายกฯ กล่าวว่า จะ ส่งเสริมเป็นซอฟต์พาวเวอร์ซึ่งเขาพัฒนามาได้ดี นายจิตตนาถ กล่าวว่า โก้เมืองเพชร เคยได้แสดงละคร มนต์รักลูกทุ่ง อีกด้วย โดยเป็นควายของคล้าวซึ่งเป็นพระเอก นายกฯ หัวเราะแล้วกล่าวว่า ตนยังไม่ได้ดู ซึ่งสงกรานต์ปีนี้ ชาว ต่างชาติฮือฮาแน่นอน กับการพาโก้เมืองเพชรไปเล่นน้ำา และอยาก ให้นำาควายที่หลากหลายมาโชว์ ซึ่งนายจิตตนาถ จะนำาแต่ตัวท็อป มาโชว์ซึ่งควายมีหลากหลาย ทั้งควายแคระและพญาควาย นายกฯ สั่งการกับนายชัย ให้ประสานกับกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เพื่อนำาควายพันธุ์ไทยไปโรดโชว์ที่ประเทศจีนในช่วงเดือน พ.ค.นี้ นายเศรษฐา โพสต์ผ่านแอพพลิเคชัน X ด้วยว่า เราสามารถ ส่งเสริมอุตสาหกรรมควายไทยโตได้กว่านี้ ซึ่งวันนี้สมาชิกสมาคม พัฒนาพันธุ์ควายไทย พาน้องโก้เมืองเพชร ที่มีค่าตัว 18 ล้านบาท มาพบที่ทำาเนียบ สวยมาก ๆ เป็นมิตรกับคนด้วย เป็นของดีอีกอย่าง ของเมืองไทย สมาคมฯ ได้ขอให้รัฐบาลช่วยส่งเสริมให้ควายไทยเป็น ซอฟต์ พาวเวอร์เพราะควายยักษ์สวยงาม มีอัตลักษณ์เฉพาะของควายไทย หากเอาควายยักษ์ตัวผู้ไปโรดโชว์ขายที่มีตลาด จีน เวียดนาม จะ มีมูลค่าสูงขึ้นทันทีไม่ใช่เป็นแค่ควายเนื้อราคาถูก หากส่งเสริมให้เลี้ยงเป็นกิจลักษณะ สามารถต่อยอดให้พี่น้อง เกษตรกรสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับควายได้อีกมาก เช่น นมควาย รกควาย เสื้อฟาร์มควาย (ที่กำาลังมาแทนที่เสื้อทีม ฟุตบอล) กางเกงควาย การปลูกหญ้า รวม ๆ แล้วสร้างรายได้ให้ เกษตรกรดีกว่าการปลูกข้าวถึง 3 เท่า และมูลควายยังสามารถเก็บ มาทำาปุ๋ยอินทรีย์ขายได้ราคาและเป็นการลดมลพิษจากปุ๋ยเคมีด้วย สมาคมพัฒนาพันธุ์ควายไทย ขอรัฐบาลผลักดันเป็นซอฟต์พาวเวอร์
สัตว์เศรษฐกิจ 15 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ จากข้อมูลของสภาพัฒน์ระบุว่า เศรษฐกิจไทยปี2566 เติบโต ต่ำากว่าที่คาด และขยายตัวลดลงเมื่อเทียบกับปี 65 โดยไตรมาส สุดท้ายของปี2566 เติบโตเพียง 1.7% เท่านั้น ถือเป็นปีที่เศรษฐกิจ ไม่ดีขณะที่การเลี้ยงสุกรปีที่แล้ว ถือเป็นปีที่ยากลำาบากของเกษตรกร ไทย เพราะต้องเผชิญกับหลากหลายปัญหา เริ่มตั้งแต่ หมูเถื่อน ที่ไม่เคยคาดว่า จะมีการลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนมาปริมาณที่มาก ระดับนี้ ส่งผลให้ราคาสุกรหน้าฟาร์มตกต่ำาอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ยังการระบาดของโรค ASF ในสุกรอยู่เป็นระยะ และยังต้องเผชิญ กับภาวะวัตถุดิบแพง ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น สวนทางกับราคาหน้า ฟาร์มที่ตกต่ำา เกษตรกรประสบปัญหาขาดทุน เมื่อมาถึงปี 2567 ถือเป็นปีแห่งความหวัง ที่เกษตรกรหวังว่า ราคาจะดีขึ้น หมูเถื่อน น่าจะหมดไป ผู้ที่ลักลอบนำาเข้าหมูเถื่อนได้รับการลงโทษ แต่ถ้าปีนี้ ราคาหน้าฟาร์มไม่ดีขึ้น การเลี้ยงสุกรจะได้รับผลกระทบอย่างหนัก และมีผลต่ออุตสาหกรรมต่อเนื่องแน่นอน ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ คณะเศรษฐศาสตร์เกษตรและ ทรัพยากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปิดเผยว่า หลังจากเศรษฐกิจ ในปีที่แล้ว ขยายตัวต่ำากว่า 2% ถือว่า ต่ำากว่าค่าเฉลี่ย และไตรมาส สุดท้ายของปี2566 รัฐบาลก็ผ่านงบประมาณ ปี67 ไม่ได้ทำาให้ กระทบกับเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคเกษตรที่เติบโตลดลง 0.8% การใช้จ่ายภาครัฐต่ำาที่สุด ต่างจากในช่วงโควิดที่ผ่านมา เศรษฐกิจ ขับเคลื่อนได้ด้วยงบประมาณรัฐ เมื่องบประมาณรัฐไม่ได้ถูกนำามาใช้ เศรษฐกิจก็ไปต่อไม่ได้ ขณะที่ภาคเกษตรที่หดตัวลง 0.8% แม้มี สัดส่วนใน GDP ไม่ถึง 10% โดยการเติบโตเพิ่มขึ้นในช่วง หมูไทยปีมังกร...จะรุ่งหรือร่วง ? ผลผลิตออก และลดลงในช่วงที่ไม่มีผลผลิต ซึ่งต่างจากภาคปศุสัตว์ ที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดตลอดทั้งปีซึ่งผลพวงจากภาคเกษตรที่ซบเซา กระทบกับแรงงานในภาคเกษตรที่มีจำานวนมาก เมื่อภาคเกษตรมี ปัญหาก็กระทบกับกำาลังซื้อและการบริโภคภายในประเทศทันที แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในปี2567 อาจไม่ดีมาก เพราะเครื่อง มือรัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจยัง ทำางานได้ไม่เต็มที่ ซึ่งกว่ารัฐจะใช้ งบประมาณได้คงเป็นช่วงครึ่งปีหลังไปแล้ว และไม่แน่ใจว่าจะมุ่งไปที่ จุดใดบ้าง ส่วนงบประมาณปี 2568 คาดว่า คงเป็นไปตามแผน ดังนั้น กว่าที่การจับจ่ายภาครัฐจะกลับมาคงเป็นช่วงปลายปีแล้ว ส่วน ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสุกรมีอุตสาหกรรมอาหาร แต่ อาจมีสัดส่วนการใช้ไม่มากนัก คงต้องพึ่งการบริโภคในส่วนของ ร้านอาหาร หากเศรษฐกิจไม่ดีการบริโภคเนื้อหมูก็ลดลง อีกส่วน คือ การท่องเที่ยวที่เป็นกลไกสำาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวก็เปลี่ยนไป ระยะเวลาอยู่ในไทยลดลง การใช้จ่ายลดลงจากเดิม 50,000 บาทต่อคน ก็ลดเหลือเพียง 35,000 บาทต่อคน ดังนั้น ภาครัฐต้องบริหารจัดการนักท่องเที่ยวอย่างเป็น ระบบ เพราะฉะนั้น สิ่งที่มุ่งหวังให้เศรษฐกิจฟื้นตัวน่าจะมาจากการใช้ จ่ายงบประมาณรัฐ หรือนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ ในขณะที่ การท่องเที่ยวแม้กลับมา แต่นักท่องเที่ยวบางกลุ่มทานเนื้อหมู แต่ บางกลุ่มก็ไม่ทาน แม้การท่องเที่ยวขยายตัวแต่การบริโภคก็อาจไม่ เพิ่มตามไปด้วย ดังนั้น ต้องติดตามหาวิธีการให้เพิ่มเมนูเนื้อหมูอีก ส่วนที่ใช้เพิ่มขึ้น คือ การบริโภคหมูกระทะ แต่สิ่งที่ต้องระวัง คือ ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ
16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ผู้บริโภค ขณะที่คนไทยทานเนื้อหมูประมาณ 10 กิโลกรัมต่อคน ต่อปีคิดเป็นปริมาณสุกร 18.15 ล้านตัวต่อปีทกุวันนี้มีการผลิต สุกรอยู่ที่ 15 ล้านตัว แสดงให้เห็นว่า การผลิตใกล้เคียงกับความ ต้องการบริโภค และคาดว่า การผลิตปีนี้จะเกินความต้องการแน่นอน เมื่อปริมาณหมูในประเทศเพิ่มขึ้น ส่วนหมูเถื่อนก็ยังมีปีนี้น่าจะ เป็นปีที่เหนื่อยอีกปีของเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู แม้ไม่เท่ากับปีที่แล้ว เพราะภาวะราคาอยู่ในช่วงกิโลกรัมละ 60-80 บาท หากบริหาร จัดการผลิตที่ดีการปลดแม่พันธุ์การตัดวงจรลูกสุกร ดังนั้น ตลาด สุกรปีนี้ต้องหวังแรงกระตุ้นจากรัฐ การท่องเที่ยวต้องกระตุ้นให้ใช้ เนื้อหมูเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มการบริโภคเนื้อหมูจากนักท่องเที่ยว ส่วนใน ประเทศก็ต้องหวังให้รัฐมีนโยบายเข้ามาช่วยกระตุ้น เพราะไม่น่าจะมี ปัจจัยใดที่จะทำาให้ราคาขึ้นมาได้ ถ้าจัดการได้ดีช่วงราคาก็จะแคบ ลง แต่ถ้าจัดการไม่ดีช่วงราคาก็จะกว้าง และเกษตรกรได้รับผล กระทบค่อนข้างมาก ในปีมังกรนี้ ราคาสุกรหน้าฟาร์มอาจคาดการณ์ไม่ได้ว่า จะเป็น อย่างไร ดังนั้น เกษตรกรควรทำาตัวให้เบาไว้คือ คัดเฉพาะแม่พันธุ์ ที่ดีเน้นเลี้ยงสายพันธุ์คุณภาพ ให้ลูกดก ส่วนอาหารสัตว์ไม่ควรลด คุณภาพเพื่อลดต้นทุนค่าอาหารเพียงอย่างเดียว เพราะหากใช้แล้วดี อัตราการสูญเสียน้อยอยู่แล้ว ก็ควรใช้ต่อไป เนื่องจากการลดคุณภาพ อาหารอาจส่งผลให้อัตราการสูญเสียที่อาจเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ฟาร์ม ขนาดกลาง ที่เน้นอาหารคุณภาพ เพื่อลดการสูญเสีย และต้นทุน ขณะที่ระบบไบโอซีเคียวริตี้ยังเป็นปัจจัยสำาคัญในรอดจาก ASF และลดการสูญเสีย ส่วนฟาร์มที่อยู่อาจมีหนี้คงต้องพูดคุยกับธนาคาร ให้การวางแผนการชำาระหนี้ที่เหมาะสม โดยสมาคมฯ อาจไปผลักดัน ให้รัฐบาลเข้ามาช่วยเจรจาดอกเบี้ยเ พราะหากสูงเกษตรกรจะบริหาร ได้ยาก โดยรัฐต้องยอมรับว่า ที่มาถึงจุดนี้ได้ผลมาจากการละเลย ผู้เลี้ยงอย่างแท้จริง ส่วนอาหารสัตว์แม้รับเครดิตนานขึ้น เมื่อช่วย กันประคับประคอง สุดท้าย คือ รัฐต้องควบคุมการขยายตัวของ ฟาร์มขนาดใหญ่ไม่ให้มากไปกว่านี้แล้วเพราะทุกวันนี้อยู่ที่พร้อมจะ เกินความต้องการแล้ว หากไม่ขยายก็มีโอกาสให้รายย่อยรายกลาง กลับมาได้ หมูกระทะอาจไม่ใช้เนื้อหมูไทย ส่วนความเชื่อมั่นของผู้บริโภคยังไม่ กลับมา การจับจ่ายก็ยังไม่กลับมาแน่นอน ผู้บริโภคระมัดระวังการ ใช้จ่าย ขณะที่รายได้เกษตรกรจากข้อมูลสำารวจพบว่า ค่อนข้างดีใน กลุ่มพืช แต่กลุ่มปศุสัตว์ไม่ดีเพราะภาวะอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้น รวม ถึงสินค้าเถื่อนลักลอบนำาเข้า อัตราดอกเบี้ย เป็นอีกปัจจัยที่มีผลการควบคุมการเติบโตทาง เศรษฐกิจ เงินที่มาลงทุน ซึ่งจากการขึ้นอัตราดอกเบี้ยมาตั้งแต่ปี 2565 จนมายืนในปัจจุบัน เชื่อว่า คงไม่ลดลงในช่วงนี้จึงต้องติดตาม ว่า ครึ่งปีหลังจะลดลงได้หรือไม่ ดังนั้น อัตราการตึงตัวของภาคธุรกิจ การจับจ่ายใช้สอยเป็นไปได้ยาก ความหวังจากการท่องเที่ยวและ ภาครัฐจะเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ส่วนการขับเคลื่อนของเอกชน ก็ยังมีปัญหา อัตราเงินเฟ้อตอนนี้ไม่มีใครกลัว แต่คาดว่าจะเกิดปัญหาเงินฝืด มากกว่า ซึ่งดัชนีราคาผู้บริโภคในปี65 ตอนที่หมูแพง ทำาให้เงินเฟ้อ สูงมาก จึงมีนโยบายกดไม่ให้สูง สินค้าปศุสัตว์รวมถึงเนื้อหมูที่เป็น ตัวแทนในการคำานวณดัชนีราคา โดยกลุ่มอาหารสด รวมอยู่ในดัชนี ราคาสินค้าทั่วไป และเนื้อสัตว์มีอิทธิพลพอควรในดัชนีราคาผู้บริโภค ที่เป็นตัวชี้ว่า เศรษฐกิจดีไม่ได้เฟ้อ ซึ่งจะเห็นว่า ดัชนีลดลงมาเรื่อยๆ จนติดลบ ในส่วนของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานก็ไม่ดีดังนั้น รัฐต้องทำา ดันดัชนีเพิ่มขึ้น ด้วยการไม่พยายามกดราคาเหมือนกับในอดีต ราคาสินค้าควรควบคุมบนพื้นฐานของต้นทุนการผลิตที่แท้จริง เพราะดัชนีราคาผู้บริโภคที่ลดลงนั้น ทำาให้ไม่เกิดรายได้ หรือกำาไร ที่ควรได้หายไป โดยราคาสินค้าที่ลดลงสูงสุด มีเนื้อสัตว์อยู่ด้วย ผลกระทบมาจากปัญหาหมูเถื่อนอย่างรุนแรง ทำาลายธุรกิจการเลี้ยง สุกรอย่างน่าสมเพชเวทนามาก นอกจากนั้น ยังมีของเถื่อนอย่างอื่น เข้ามาอีก ส่งผลให้ราคาลดลงมาก แต่จากสถานการณ์ดังกล่าว ภาครัฐก็ไม่ได้เข้ามาควบคุมนัก ด้านหนี้ GDP ครัวเรือนของไทยสูงมาก อยู่ที่ 90% สูงกว่า ทั่วไปที่อยู่ที่ 80% สะท้อนการจับจ่ายใช้สอย โดยหนี้ครัวเรือนของ ไทยส่วนใหญ่เป็นหนี้กินใช้ และมีปัญหา NPL สูงมาก ปัจจุบันรัฐ พยายามแก้ปัญหาหนี้บัตรเครดิต สิ่งเหล่านี้สะท้อนกำาลังซื้อของ
สัตว์เศรษฐกิจ 17 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ คุณสมภพ เอื้อทรงธรรม เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย เผยว่า ปี2566 ไทยผลิตอาหาสัตว์ประมาณ 20 ล้านตัน และ คาดว่า ปี2567 นี้จะผลิตได้21.3 ล้านตัน ถือว่า เติบโตขึ้นหลัง จากประสบปัญหาโรค ASF ในสุกรระบาด โดยแบ่งเป็นอาหาร ไก่เนื้อประมาณ 42.4% เนื่องจากไทยเป็นผู้ส่งออกเนื้อไก่และ ผลิตภัณฑ์ประมาณ 1 ล้านตันต่อปี รองมาเป็นอาหารสุกรสัดส่วน 28.6% ผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศเป็นหลัก อันดับ 3 คือ อาหาร ไก่ไข่สัดส่วน 13.5% ที่เหลือเป็นอาหารเป็ด โค กุ้ง และปลา โดย ใช้วัตถุดิบแหล่งคาร์โบไฮเดรททั้ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผลิตภัณฑ์ข้าว มันสำาปะหลัง ข้าวสาลีประมาณ 60% รองลงมาเป็นวัตถุดิบโปรตีน คือ ถั่วเหลืองและกากถั่วเหลือง ประมาณ 28% ที่เหลือเป็นวัตถุดิบ อื่น ๆ เมื่อพิจารณาอาหารสุกรในรอบ 10 ปีในปี65 ราคาสุกรที่สูงสุด ที่กิโลกรัมละ 97.3 บาท ก็ปรับลดลงมาที่กิโลกรัมละ 72.8 บาทใน ปีที่แล้ว และปัจจุบันอยู่ที่กิโลกรัมละ 60-64 บาท ส่วนการผลิต อาหารสุกรในปี65 มีการผลิตต่ำาที่สุดเพียง 4.7 ล้านตัน ต่ำาที่สุดใน รอบ 10 ปีและคาดว่าปี67 จะมีการผลิตมากขึ้นอยู่ที่ 6.1 ล้าน ตัน จากการพิจารณาวัตถุดิบอาหารสัตว์หลัก 5 ชนิด ที่คิดเป็น 80% ของอาหารสัตว์ทั้งหมด เริ่มจาก กากถั่วเหลือง ปี62 อยู่ที่ กิโลกรัมละ 13.29 บาท เพิ่มมาเป็นกิโลกรัมละ 21.66 บาท ในปี 66 ขณะที่ข้าวโพด ปี62 อยู่ที่กิโลกรัมละ 9.15 บาท และขึ้นมา เป็นกิโลกรัมละ 12.34 บาท ในปี66 ก่อนลดลงในช่วงปลายปีตาม ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ส่วนข้าวสาลีเพิ่มสูงใน ปี 65 หลังจาก สงครามรัสเซียยูเครน โดยราคาอยู่ที่กิโลกรัมละ 14.8 บาท ทำาให้ การนำาเข้าลดลงเหลือเพียง 3 แสนตัน แต่ในปี66 ก็นำาเข้าเพิ่มขึ้น 2.1 ล้านตัน ในราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.84 บาท และปีนี้น่าจะ นำาเข้าเพิ่มขึ้น ส่วนปลายข้าวกิโลกรัมละ 10.82 บาท แต่ในปี66 หลังจากอินเดียห้ามส่งออกข้าว ทำาให้ราคาปรับขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 14.19 บาท มันเส้นได้รับผลกระทบจากภาวะเอลนินโญ ผลผลิต ลดลง ทำาให้ราคาปรับขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 9.24 บาท และปัจจุบัน ราคาก็อยู่ที่กิโลกรัมละ 9 บาท ปัจจัยที่มีผลกระทบกับอาหารสัตว์เริ่มจาก จีนที่ฟื้นตัวจากภาวะ โควิด แต่มาปีนี้เศรษฐกิจจีนก็ชะลอตัว มีภาวะแล้ง ทำาให้ผลผลิต ข้าว ข้าวโพดลดลง ในปีที่แล้ว แต่ในปีนี้คาดว่า สูงขึ้น ขณะที่ภาวะ สงครามรัสเซียยูเครน รวมถึงสงครามที่อิสราเอล ค่าเงินบาทที่อ่อน ตัว ก็จะทำาให้ราคาวัตถุดิบในประเทศสูงขึ้น ส่วนปัจจัยในประเทศ เริ่มจาก นโยบายของรัฐที่บิดเบือนกลไกตลาด มีการช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ มาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลีที่ต้อง ซื้อข้าวโพด 3 ส่วน เพื่อนำาเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน การจำากัดเวลา นำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้าน การเก็บภาษีกากถั่วเหลือง ปลาป่น และข้าวโพด รวมถึงประสิทธิภาพการผลิตวัตถุดิบอาหาร สัตว์ต่ำา ทำาให้ต้นทุนการผลิตสูง ส่วนภาครัฐมีนโยบายประกันราคา ซึ่งไทยมีผลผลิตต่อไร่น้อยกว่าประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ถึง 2.5 เท่า ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์กับนโยบายของรัฐ เป็นทราบดีกันว่า ข้าวโพดไม่เพียงพอกับความต้องการ ไทยผลิตได้เพียง 4-5 ล้านตัน แต่ต้องการ 8-9 ล้านตัน เนื่องจากประสิทธิภาพการผลิตต่ำา ผลิต บนภูเขาที่บุกรุกพื้นที่ป่า ให้ส่งออกเสรีแต่เปิดให้นำาเข้าช่วงเดือน กุมภาพันธ์ถึงเดือนสิงหาคมเท่านั้น ที่ผ่านมามีการนำาเข้าข้าวโพดจาก เพื่อนบ้าน แต่ผู้นำาเข้าต้องรายงานปริมาณคงเหลือ เพื่อขออนุญาต เคลื่อนย้าย ส่วนข้าวสาลีไทยปลูกไม่ได้ แต่มีข้อจำากัดจากนโยบาย 3 ต่อ 1 ส่วนบาร์เลย์ต้องรายงานการนำาเข้าและขออนุญาตการ เคลื่อนย้าย ส่วน DDGs ก็มีภาษีนำาเข้า แต่ต้องมีรายงานการ นำาเข้า ปริมาณสต็อกคงเหลือด้วย ส่วนกากถั่วเหลืองก้ไม่เพียงพอ กับความต้องการ เพราะไทยปลูกถั่วเหลืองได้เพียง 20,000 ตัน แต่ ต้องการใช้5 ล้านตัน ภาษีนำาเข้า 2% และอนุญาตให้ส่งออก 20% คุณสมภพ เอื้อทรงธรรม
18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของการผลิตในประเทศ มีการประกันราคาเมล็ดถั่วเหลือง อาหาร สัตว์ต้องรับซื้อที่กิโลกรัมละ 22 บาท ส่วนปลาป่นก็จะมีปัญหา IUU และการส่งออกเสรีรวมถึงภาษีต่าง ๆ สิ่งที่ภาครัฐกำาลังทำาอยู่ คือ การเดินหน้าสร้างสมดุลการผลิต อาหารสัตว์ โดยให้ผู้ผลิตซื้อข้าวโพดในประเทศก่อนนำาเข้า ก็ต้องมี การประกันราคาให้เกษตรกร พ่อค้าก็ต้องประกันด้วย เพื่อปลดล็อค มาตรการนำาเข้าข้าวสาลีช่วยให้ธุรกิจอาหารสัตว์มีต้นทุนที่ต่ำาลง และ เป็นไปตามปัจจัยการตลาด ในปี67 ถือว่า ผ่านช่วงที่เลวร้ายที่สุด ไปแล้ว เพราะปีที่แล้วเป็นปีที่ราคาวัตถุดิบสูงสุด ซึ่งโรงงานสกัดได้ ชะลอการนำาเข้าเมล็ดถั่วเหลือง ส่งผลให้ราคากากถั่วเหลืองปรับเพิ่ม ขึ้นมา 2 เดือน แต่เชื่อว่า ไตรมาสที่ 2 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ กลุ่มกากถั่วเหลืองน่าจะต่ำาลง เนื่องจากปริมาณเพิ่มขึ้น ปัจจัยบวกปี 67 คือ ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นทั้ง ข้าวโพด ข้าวสาลี และถั่วเหลือง ที่เข้ามายังประเทศไทย ทำาให้ปีนี้ไม่เหมือนกับปีที่แล้ว อย่างแน่นอน ภาวะเศรษฐกิจของโลกที่ชะลอตัว จีนชะลอตัวทั้งหมด ทำาให้สินค้าที่มีจากจีนราคาต่ำาลงทั้งหมด ยกเว้น ค่าเงินที่อ่อนตัว และจีนยังเพิ่มผลผลิตในประเทศโดยเฉพาะการปลูกถั่วเหลือง ส่วน ปัจจัยลบ คือ สงครามที่รัสเซียยูเครนที่ยังไม่จบ รวมถึงปัญหาใน ทะเลแดงที่กระทบกับการขนส่ง นอกจากนั้นยังมีภาวะเอลนินโญที่ กระทบกับการผลิต สำาหรับความท้าทายของการผลิตอาหารสัตว์ ทั้ง ปัญหาหมอก ควัน ไฟป่า จากการผลิตข้าว และข้าวโพด ที่มีการเผาเพื่อให้เก็บ เกี่ยวหรือเตรียมการปลูกที่ง่ายขึ้น การประมงผิดกฏหมายที่เป็นระบบ มากขึ้น การไม่เผาป่า การลดก๊าซเรือนกระจก การรับผิดชอบ มาตรการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึง CBAM หรือการจัดการคาร์บอน โดยในอนาคตอาจมีการซื้อขายคาร์บอนเครดิตได้ที่ผ่านมามีการจัด ตั้งภาคีปศุสัตว์และสัตว์น้ำาไทย ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิก 15 ราย อาทิ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมสัตวบาลฯ สมาคมสัตวแพทย์ ควบคุมฟาร์ม รวมถึงสมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์ ผู้เลี้ยงโคนม การค้า เมล็ดพันธุ์กุ้งไทย ไก่ส่งออก ไก่พันธุ์เลี้ยงปลาไทย และผลิตภัณฑ์ อาหารนม โดยได้เริ่มความร่วมมือกับ สถาบันพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อเริ่มความร่วมมือในการวัดปริมาณคาร์บอนที่ปลดปล่อยจาก อาหารสัตว์และตัวสัตว์ มีคณะทำางาน 4 คณะ เริ่มจาก ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์เนื้อโค นมโค และปลาป่น มีการทดสอบการปล่อยคาร์บอน ในแปลงข้าวโพดในปีที่ผ่านมาที่ลพบุรี พบว่า มีการปล่อยประมาณ 0.2 กิโลกรัมคาร์บอนต่อกิโลกรัมตัวสัตว์ ด้านความยั่งยืนและการ ปลดปล่อยคาร์บอน สหรัฐอเมริกาทำาความยั่งยืน โดยการปล่อย คาร์บอนสินค้า ในกากถั่วเหลืองของอเมริกามีการปล่อยคาร์บอนที่ 0.47 กิโลกรัมต่อกิโลกรัม ต่างจากบราซิลและอาร์เจนตินาที่มีการ เผาป่า เพิ่มพื้นที่ปลูก ทำาให้ปล่อยคาร์บอนมากกว่า 10 เท่า โดย สหรัฐอเมริกามีใบรับรองในกากถั่วเหลืองและเมล็ดที่ส่งมาที่ไทยด้วย อาหารสัตว์เป็นต้นทุนของผู้เลี้ยง 60-70% ในภาวะตลาดขาลง ต้องวางแผนการใช้อาหารหรือวัตถุดิบอย่างเหมาะสม โดยปรับตาม จังหวะและโอกาส เพื่อลดต้นทุน และต้องพัฒนาการเลี้ยงสุกรเข้าสู่ มาตรฐาน ผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวลด้อม รวมถึงส่งเสริมและ ขยายการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ในกรอบการค้าต่าง ๆ และ เข้มงวดการตรวจสอบสินค้านำาเข้า เพื่อป้องกันการลักลอบนำาเข้า สินค้าเถื่อน คุณสิทธิภัณฑ์ ธนาเกียรติภิญโญ
สัตว์เศรษฐกิจ 19 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ด้าน คุณสิทธิภัณฑ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ เผยว่า ธุรกิจการเลี้ยงสุกรในปี 67 ที่เผชิญกับปัญหา อุปสรรคมากมาย แต่หลังจากนี้ราคาขยับมาใกล้นิ่ง และคาดว่า ไตรมาส 3 และ4 น่าจะดีมากกว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะต้นทุนวัตถุดิบ ที่มีแนวโน้มลดลง จากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น จึงน่าจะช่วยให้ต้นทุน การผลิตลดลงบ้าง ถือเป็นความหวังให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยง ที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติได้เดินหน้าทำาหลาย มาตรการ เพื่อรักษาเสถียรภาพราคา แต่บางเรื่องก็ต้องรอมาตรการ ภาครัฐ ยกตัวอย่าง โครงการตัดวงจรการผลิต โดยผู้เลี้ยงตั้งแต่ 2,000 แม่ขึ้นไป ร่วมกันทำาหมูหัน เพื่อตัดวงจร ปริมาณให้สอดคล้อง กับตลาด ซึ่งภาครัฐช่วยอุดหนุนให้เกษตรกรและมีผู้เข้าร่วมโครงการ ค่อนข้างมาก โดยกระทรวงพาณิชย์ได้นำาเงิน คชก. เข้ามาช่วยเดือน ละ 30 ล้าน เป็นเวลา 6 เดือน รวมงบประมาณ 180 บาท ช่วย เหลือเกษตรกร ซื้อไปทำาหมูหันตัวละ 400 บาท ผู้ที่ซื้อไปทำาหมูหัน เพิ่มให้อีกตัวละ 150 บาท ใช้น้ำาหนัก 3-6 กิโลกรัม รวมเป็นราคา ตัวละ 550 บาท โดยเริ่มจากรายใหญ่ไปจนถึงระดับ 2,000 แม่ โดย ตั้งเป้าวันละ 5,000 ตัว เดือนละ 150,000 ตัว ทำา 3 เดือนแรก ก่อน ก็คิดว่าจะตัดวงจรได้ 450,000 ตัว เป็นการลดจำานวนได้ใน ระยะสั้น โดยเมษายนถึงมิถุนายน หลังจากนั้นก็เริ่มเข้าไตรมาสที่ 3 ก็คาดว่า ราคาน่าจะปรับจนสอดคล้องกับต้นทุนได้ ที่ผ่านมาสถานการณ์หมูเถื่อนได้ทำาลายการเลี้ยงสุกรอย่างรุนแรง รายย่อยและรายเล็กหายไปจากระบบไม่ต่ำากว่า 70% ตอนนี้เหลือ ผู้เลี้ยงเพียงประมาณ 50,000 รายเท่านั้น เหลือเฉพาะรายกลาง รายใหญ่ที่ยังมีทุนประคับประครองตัวไหว แต่ทุกระดับประสบปัญหา ขาดทุนทั้งหมด จากสถานการณ์ของการลักลอบนำาเข้า ถือว่า แย่ แม้ปัจจุบันการลักลอบอาจมีอยู่บ้าง ในปริมาณเล็กน้อย แต่ของที่เข้า มาแล้วก็ยังซ่อนและพร้อมเข้ามาทำาลายระบบตลาดอยู่ ก็ได้แต่หวัง ว่า จะเข้ามาเพิ่มเติมได้ยาก เ เพราะสุกรในประเทศราคาถูก จึงไม่ จูงใจให้ลักลอบนำาเข้ามา ปัจจุบันประเทศเพื่อนบ้านถูกปัญหาหมูเถื่อนเข้ามากระทบเช่นกัน เพราะหลังจากที่ไทยจริงจัง หมูเถื่อนย้ายไปขึ้นที่เวียดนามและ กัมพูชา ก่อนที่บางส่วนลักลอบเข้ามาตามแนวชายแดน ส่วนประเทศ ต้นทางมาจากบราซิล อาร์เจนตินา และยุโรปบ้าง เพราะต้นทุน การผลิตต่ำากว่ามาก โดยราคาเข้ามาเพียงกิโลกรัมละ 50 บาทเท่านั้น ส่วนจากยุโรปอยู่ที่กิโลกรัทละ 70 บาท ที่ผ่านมาได้พูดคุยกับ สถานฑูตบราซิลแล้ว ได้คำาตอบว่า ไม่ได้ส่งมาที่ไทยแล้ว รับรอง ไม่มีแต่อาจมีการส่งไปที่กัมพูชาและเวียดนามได้ก็มีโอกาสที่หมูกล่อง อาจลักลอบเข้ามาได้อีก ดังนั้น เกษตรกรทั้งรายเล็ก รายกลาง รายใหญ่ ต้องร่วมมือกันในการติดตามเอาตัวผู้กระทำาผิดมาลงโทษ ต่อไป ส่วน พรบ.สุกร และเนื้อสุกร ที่ระบุว่าจะมีโตรงสร้างการกำาหนด ราคาสุกรและเนื้อสุกร เพื่อสร้างความยุติธรรมให้กับผู้เลี้ยง ผู้ค้า ผู้ส่งออกและผู้บริโภค ในส่วนนึ้มีโอกาสดำาเนินการให้เกิดขึ้นได้ อย่างไร โดยเป็นการร่างขึ้นมาให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมทำาให้สมดุล ทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และส่วนอื่นๆ โดยให้กรรมการเข้ามารวมกัน พัฒนา หากเป็นไปได้จะดีต่อทั้งผู้เลี้ยง ผู้บริโภค เพื่อความเป็นกลาง ที่ดีที่สุด และต้องผลักดันให้เกิดให้ได้ การกำาหนดการผลิตตามปริมาณความต้องการ ถือเป็น ขั้นตอน ต่อไป ว่า การสร้างสมดุลให้เกิดขึ้น เพราะต้องยอมรับว่า ปริมาณ สุกรไทยวันนี้เกินความต้องการ ซึ่งการควบคุมต้องเริ่มจากภาครัฐ ที่ต้องปรึกษาและให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร ก็ต้อง คิดว่า จะทำาอย่างไร หากต้องการเพิ่ม ถ้ามีตลาดส่งออกก็เพิ่มได้ แต่ต้องขอพื้นที่ยืนให้รายย่อยรายเล็กบ้าง หากไม่มีก็ต้องแปรรูป ผลิตภัณฑ์ส่งออกไปแทนการมาแข่งทำาตลาดเนื้อสด ที่ตอนนี้กำาลังมี ปัญหาหลังจากรายใหญ่เข้ามาทำาตลาดเนื้อแช่เย็นขายใน Shop ห้าง รายใหญ่ที่กระทบกับรายย่อย ซึ่งไม่ควรเกิดขึ้น ทุกวันนี้ตลาดสุกร เปลี่ยนไป ผู้บริโภคก็เปลี่ยนไปแล้ว เน้น ความสะดวกสบาย เน้น ผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือในราคาที่เหมาะสม ซึ่งรายย่อยก็ต้องปรับตัว เช่นกัน ซึ่งหากทุนน้อยทำาคนเดียวไม่ได้ก็ต้องรวมกลุ่มเป็นสหกรณ์ เพื่อสร้างช่องทางตลาด สิ่งสำาคัญต้องยอมรับว่า ผู้บริโภคเปลี่ยนไป แล้ว “ในปี 67 นี้ คงไม่เลวร้ายกว่าปี 66 ก็เป็นกำาลังใจให้เกษตรกร ผู้เลี้ยง เพราะวัตถุดิบมีแนวโน้มลดลง และมีการผลักดันหลายเรื่อง ให้รัฐบาลช่วยแก้ไขปัญหาต้นทุน ให้ลดภาษีนำาเข้าวัตถุดิบทุกชนิด และการพยุงราคาไม่ให้ต่ำากว่าต้นทุน แม้จะยังไม่เห็นผลทันที แต่ก็ เริ่มดีขึ้น ขอเป็นกำาไรให้รายย่อยที่ยังมีหมูอยู่ค่อย ๆ ทำาไป เชื่อว่า ไทยยังต้องมีรายย่อยอยู่ในอาชีพนี้ต่อไป มีอะไรเดือดร้อนสมาคมฯ ก็ยินดีไปช่วยแก้ไข” นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติกล่าวทิ้งท้าย
20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติเตรียมผลักดันกฎหมาย พ.ร.บ.สุกรและเนื้อสุกร ตั้ง กองทุนสุกรและเนื้อสุกร ห้ามนำาเข้าพร้อมดูแลโครงสร้างราคาทั้งระบบ ในการประชุมคณะกรรมการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ครั้งแรก เมื่อ 22 มกราคม 2567 นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เตรียมผลักดันกฎหมาย เพื่อการจัดการอุตสาหกรรมสุกรให้มีกฎเกณฑ์ที่ประสาน ประโยชน์ให้กับผู้เลี้ยงสุกรทุกกลุ่ม ผู้ประกอบการค้าสุกรทั้งสุกรมีชีวิต ผู้จำาหน่ายปลีก เนื้อสุกร ให้ได้รับความยุติธรรม เสมอภาคและเท่าเทียมและเพื่อให้ภาคปศุสัตว์ไทย เป็นเครื่องจักรเศรษฐกิจหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศที่สอดคล้องทั้งยุทธศาสตร์ ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (2566-2570) สำ�หรับเจตน�รมณ์ พระร�ชบัญญัตินี้ประกอบด้วย 1. ให้อุตสาหกรรมสุกรเป็นเศรษฐกิจหลักหนึ่งของประเทศ ที่ภาครัฐควรรับรู้ ใกล้ชิดมากขึ้น โดยกำาหนดให้ฝ่ายบริหารภาครัฐเป็นส่วนหนึ่งในคณะกรรมการสุกรและ เนื้อสุกรแห่งชาติ(มาตรา 13) เพราะตลอดระยะเวลาแห่งการสูญเสียของการประสบ ปัญหาการขาดทุนของเกษตรกรผู้เลี้ยงในหลาย ๆ ครั้งและที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ภาครัฐ ยื่นมือเข้ามาให้การช่วยเหลือน้อยมากกว่าที่ควรจะเป็น เพราะการเกษตรปศุสัตว์เป็น เกษตรที่สามารถกำาหนดการผลิตได้อย่างชัดเจน จากมาตรฐานการเลี้ยงของไทยที่เข้า สู่ภาคบังคับแล้วในปัจจุบัน 2. ตั้งกองทุนสุกรและเนื้อสุกรเกี่ยวโยงกับงบประมาณแผ่นดิน โดยกองทุนหลัก มาจากการเก็บเงินสมทบจากผู้เลี้ยง ผู้ค้า ผู้แปรรูป ผู้ส่งออก และผู้นำาเข้า เพื่อ นำามาใช้บริหารจัดการอุตสาหกรรมสุกรทั้งระบบ (มาตรา 18) ให้มีดุลยภาพที่ไม่ ส่งผลลบต่อราคา โดยเฉพาะราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม 3. บัญญัติการห้ามนำาเข้าอย่างชัดเจนเป็นข้อกฎหมาย โดยมีข้อยกเว้นกรณีมี เหตุจำาเป็น (มาตรา 27, 28) เพื่อบริหารจัดการสมดุลของตลาดถึงแม้บางส่วนจะต้อง มีการนำาเข้าตามความจำาเป็น เช่น เครื่องในสุกร เช่น ตับสุกรเพื่อการจำาหน่ายที่ ผลผลิตในประเทศมีเพียงประมาณ 30,000 เมตริกตันต่อปีไส้สุกรสำาหรับอุตสาหกรรม ไส้กรอก หนังสุกรสำาหรับอุตสาหกรรมแคปหมูและเครื่องหนัง 4. มีโครงสร้างการกำาหนดราคาขั้นต้นราคาสุกรและเนื้อสุกรเพื่อสร้างความ ยุติธรรม ระหว่างผู้เลี้ยง ผู้ค้า ผู้แปรรูป ผู้ส่งออก และผู้บริโภค (มาตรา 29 (5)) โดยเฉพาะราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม และราคาเนื้อสุกรที่เป็นเนื้อแดงพื้นฐาน เช่น ส่วน สะโพก ส่วนหัวไหล่ โดยจะไม่ครอบคลุมไปถึงส่วนเนื้อตัดแต่งและสินค้าระดับพรีเมี่ยม ที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางเลือกของผู้บริโภค ส่อง... ร่าง พ.ร.บ.สุกร และเนื้อสุกร
สัตว์เศรษฐกิจ 21 5. มีบัญญัติการกำาหนดปริมาณการผลิตตามประมาณการความต้องการ การบริโภค ความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศอย่างชัดเจน มีการจัด สัดส่วนการเพิ่มการผลิตอย่างเป็นธรรมตามฐานของปริมาณการผลิตตั้งต้น เพื่อ ป้องกันการครอบครองตลาดเกินควร เว้นแต่มีการสร้างตลาดใหม่ที่ไม่ได้ไปครอบงำา ตลาดเดิมของผู้เลี้ยงสุกรด้วยกัน (มาตรา 29 (3)) โดยคณะกรรมการสุกรและเนื้อ สุกรจะนำาข้อมูลความต้องการบริโภค ตลาดแปรรูป ตลาดส่งออก มาเป็นตัวตั้งที่นำา มากำาหนดปริมาณการผลิตในแต่ละปี 6. บัญญัติให้มีการขึ้นทะเบียนฟาร์ม ขึ้นทะเบียนกลุ่มผู้เลี้ยงต่อคณะกรรมการ เพื่อง่ายต่อการวางแผนการผลิตในแต่ละปี(มาตรา 25) โดยมีบทบัญญัติการให้เป็น สมาชิกรวมกลุ่มที่มีสภาพทางกฎหมาย เช่น กลุ่มสหกรณ์การเกษตร เพื่อบริหาร จัดการเพื่อการต่อยอดในลักษณะเดียวกับบริษัทการเกษตรครบวงจรทั่วไป เพื่อ กระจายความเสี่ยงอย่างบูรณาการ 7. ให้อำานาจหน้าที่กับพนักงานเจ้าหน้าที่ประจำาสำานักงานคณะกรรมการกองทุน สุกรและเนื้อสุกรที่เป็นหน่วยงานของรัฐเข้าตรวจสอบฟาร์มสุกรต้องสงสัยว่าฝ่าฝืนข้อ กำาหนดได้(มาตรา 50 (1) (2)) เช่น มีจำานวนแม่พันธุ์สุกรขุน มากกว่าที่รายงาน จำานวนประชากรสุกรต่อคณะกรรมการ เนื่องจากการประกอบอาชีพสินค้าโภคภัณฑ์ จะต้องมีตัวเลขที่ชัดเจน ตลาดชัดเจน 8. บัญญัติบทลงโทษทางอาญาในกรณีที่ผู้เลี้ยง ผู้ค้า ผู้แปรรูป ผู้นำาเข้า ผู้ส่งออก ไม่ปฏิบัติตามข้อกำาหนดของคณะกรรมการ (มาตรา 60 ถึง 64) 9. มีการตั้งสำานักงานคณะกรรมการกองทุนสุกรและเนื้อสุกร ที่มีการบัญชี การตรวจสอบ และการประเมินการดำาเนินงานของสำานักงาน (มาตรา 39) 10. ผู้เลี้ยงสุกรทั้งประเทศมีส่วนร่วมในการเข้ามาเป็นตัวแทนกรรมการที่มีทั้ง 3 คณะกรรมการ 1) คณะกรรมการสุกรและเนื้อสุกรแห่งชาติ(มาตรา 8) 2) คณะ กรรมการกองทุนสุกรและเนื้อสุกร (มาตรา 19) 3) คณะกรรมการควบคุมคุณภาพ และกำาหนดราคาสุกรและเนื้อสุกร (มาตรา 29) สำ�หรับขั้นตอนในก�รพิจ�รณ� 1. คณะกรรมการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติและกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรทั้งประเทศ 2. คณะทำางานกรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. คณะรัฐมนตรี 4. สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือ รัฐสภา 5. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศใช้) ทั้งนี้ เปิดโอกาศให้ผู้มีส่วนในวงการสุกรทุกขนาดทุกกลุ่มสามารถเสนอตัวเข้า ร่วมเป็นกรรมการพิจารณารายมาตราเบื้องต้น สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ สมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติโทร. 0-2136-4797 อีเมล์[email protected] ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์
22 สัตว์เศรษฐกิจ โดย : เกศินี ศศิธร เจ้าหน้าที่วิจัยอาวุโส [email protected] LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE • ทิศทางราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ใน ตลาดโลกปรับลง ส่งผลให้ราคาสุกรในกลุ่มผู้ผลิต รายสําคัญของโลกปรับลดลง ไม่ว่าจะเป็นจีน บราซิล เดนมาร์ก • ขณะที่ไทย แม้ต้นทุนวัตถุดิบในการผลิต สุกรจะปรับลดลงตาม แต่ปริมาณการผลิตสุกร ยังกลับมาไม่เต็มที่ เนื่องจากราคาสุกรหน้าฟาร์ม ไม่จูงใจ และต้นทุนอื่น ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตสุกรโลกมีแนวโน้มปรับ ลดลง ตามทิศทางราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ส่งผลให้ราคาสุกร ในกลุ่มผู้ผลิตรายสาคัญของโลกมีแนวโน้มปรับ ลดลง (รูปที่1) ไม่ว่าจะเป็นจีน บราซิล เดนมาร์ก สะท้อนได้จากราคาสุกรเฉลี่ยในกลุ่มประเทศ ดังกล่าว ในช่วง 3 เดือนแรกของปี2567 ปรับ ลดลงราว 4% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ปีก่อน สําหรับไทย ต้นทุนวัตถุดิบในการผลิตสุกร มีแนวโน้มปรับลดลงตามราคาวัตถุดิบอาหาร สัตว์ในตลาดโลก (รูปที่ 2) โดยเฉพาะข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ข้าวสาลีและปลาป่น ช่วยบรรเทาแรง กดดันต่อการผลิตสุกรลง คาดราคาหมูหน้าฟาร์มปี 67 ยังหดตัว... กดดันการผลิตสุกรในประเทศ [email protected]• ทิศทางราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ในตลาดโลกปรับลง ส่งผลให้ราคาสุกรในกลุ่มผู้ผลิตรายสาคัญของโลกปลดลง ไม่ว่าจะเป็นจีน บราซิล เดนมาร์ก • ขณะที่ไทย แม้ต้นทุนวัตถุดิบในการผลิตสุกรจะปรับลดลงตาม แต่ปริมาณการผลิตสุกรยังกลับมาไม่เต็มเนื่องจากราคาสุกรหน้าฟาร์มไม่จูงใจ และต้นทุนอื่นๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตสุกรโลกมีแนวโน้มปรับลดลง ตามทิศทางราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัส่งผลให้ราคาสุกรในกลุ่มผู้ผลิตรายสาคัญของโลกมีแนวโน้มปรับลดลง (รูปที่1) ไม่ว่าจะเป็นจีน บราซิล เดนมาร์ก สะท้ได้จากราคาสุกรเฉลี่ยในกลุ่มประเทศดังกล่าว ในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2567 ปรับลดลงราว 4% เมื่อเทียบกับช่วงเวเดียวกันปีก่อน ส าหรับไทย ต้นทุนวัตถุดิบในการผลิตสุกร มีแนวโน้มปรับลดลงตามราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ในตลาดโลก (รูป2) โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลีและปลาป่ น ช่วยบรรเทาแรงกดดันต่อการผลิตสุกรลง รูปที่ 1 ราคาสุกร (Live pig) ในกลุ่มผู้ผลิตรายสำาคัญของโลก อย่างไรก็ตาม ปริมาณการผลิตสุกรยังกลับมาไม่เต็มที่ สะท้อนจากข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตระบุว่า ในปี 2566 ปริมาณผลผลิตสุกรอยู่ที่ 17.5 ล้านตัว แม้จะเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ที่ 15.8 ล้านตัว แต่ปริมาณผลผลิตไม่กลับเข้าสู่ภาวะปกติก่อนเกิดโรคระบาด ASF ซึ่งจะเฉลี่ยอยู่ที่ 21-22 ล้านตัว (รูปที่ 3) โดยมีสาเหตุหลักมาจาก รูปที่ 2 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์หลายรายการมีแนวโน้มปรับย่อลง
om รับ มที่ สัตว์ ้อน ลา ปที่ ตร ที่ ตยัง สัตว์เศรษฐกิจ 23 - ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มยังอยู่ในระดับต ่า ไม่จูงใจต่อการเพิ่มผลผลิตสุกร โดยในช่วง 3เดือนแรก ของปี 2567ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอยู่ที่ 66 บาท/กก. หดตัว 30% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ปัจจัย ดังกล่าวส่งผลต่อเนื่องมายังราคาขายปลีกเนื้อหมูเฉลี่ยในประเทศ1ให้ยังคงปรับลดลงตาม โดยมีระดับราคาอยู่ที่ 164 บาท/กก. หดตัว 16% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน - ต้นทุนการผลิตสุกรอื่นๆ มีแนวโน้มจะปรับขึ้นได้อีก อาทิ ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้าค่าแรงงาน เป็นต้น ด้วยต้นทุนการผลิตสุกรที่ยังคงมีความผันผวน ขณะที่ราคาขายสุกรยังอยู่ในระดับต่า จึงไม่จูงใจต่อการเพิ่ม ปริมาณผลผลิตสุกรของเกษตรกร สะท้อนจากข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ระบุว่า ในปี 2566 ต้นทุนการ การผลิตสุกรอยู่ที่ 87.5 บาท/กก.ขณะที่ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอยู่ที่ 78.0 บาท/กก. ส่งผลให้ผลตอบแทน สุทธิของเกษตรกรขาดทุนราว 9.5 บาท/กก. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ในปี 2567 ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอาจอยู่ที่ 70 บาท/กก. หดตัว 10.2% เมื่อเทียบกับปีก่อนที่ 78 บาท/กก. ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องให้คาดว่าราคาขายปลีกเนื้อหมูโดยเฉลี่ยในประเทศน่าจะยัง ลดลง โดยอาจอยู่ที่ 166 บาท/กก. หดตัว 6.2% เมื่อเทียบกับปีก่อน ที่ 177 บาท/กก. (รูปที่ 4) สถานการณ์ข้างต้น จึง กระทบทิศทางการผลิตสุกรในประเทศ โดยเฉพาะการกลับมาเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายย่อย ซึ่งเป็นโจทย์ที่ทุกฝ่ายยังคง ต้องร่วมกันยกระดับราคาและสร้างกลไกที่สนับสนุนความสามารถในการแข่งขันของการผลิตสุกรอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตาม ปริมาณการผลิตสุกรยังกลับมาไม่เต็มที สะท้อนจากข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที ระบุว่า ในปี 2566 ปริมาณผลผลิตสุกรอยู่ที่ 17.5 ล้านตัว แม้จะเพิ่มขึ้นจากปี 2565 ที่ 15.8 ล้านตัว แต่ปริมาณผลผลิตยัง ไม่กลับเข้าสู่ภาวะปกติก่อนเกิดโรคระบาด ASF ซึ่งจะเฉลี่ยอยู่ที่ 21-22 ล้านตัว (รูปที่ 3) โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ รูปที่ 3 ปริมาณผลผลิตสุกรในประเทศ* รูปที่ 4 ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม และ ราคาขายปลีกเนื้อหมูโดยเฉลี่ยในประเทศ อย่างไรก็ตาม ปริมาณการผลิตสุกรยังกลับ มาไม่เต็มที่ สะท้อนจากข้อมูลของสํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร ที่ระบุว่า ในปี2566 ปริมาณ ผลผลิตสุกรอยู่ที่ 17.5 ล้านตัว แม้จะเพิ่มขึ้นจาก ปี2565 ที่ 15.8 ล้านตัว แต่ปริมาณผลผลิตยัง ไม่กลับเข้าสู่ภาวะปกติก่อนเกิดโรคระบาด ASF ซึ่งจะเฉลี่ยอยู่ที่ 21-22 ล้านตัว (รูปที่ 3) โดยมี สาเหตุหลักมาจาก - ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มยัง อยู่ในระดับต่ํา ไม่จูงใจต่อการเพิ่มผลผลิตสุกร โดย ในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2567 ราคาสุกรที่ เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอยู่ที่ 66 บาท/กก. หดตัว 30% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อเนื่องมายังราคาขายปลีก เนื้อหมูเฉลี่ยในประเทศ 1 ให้ยังคงปรับลดลงตาม โดยมีระดับราคาอยู่ที่ 164 บาท/กก. หดตัว 16% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน - ต้นทุนการผลิตสุกรอื่น ๆ มีแนวโน้มจะ ปรับขึ้นได้อีก อาทิค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้าค่าแรงงาน เป็นต้น ด้วยต้นทุนการผลิตสุกรที่ยังคงมีความ ผันผวน ขณะที่ราคาขายสุกรยังอยู่ในระดับต่า จึง ไม่จูงใจต่อการเพิ่มปริมาณผลผลิตสุกรของ เกษตรกร สะท้อนจากข้อมูลของสํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร ที่ระบุว่า ในปี2566 ต้นทุน การการผลิตสุกรอยู่ที่ 87.5 บาท/กก.ขณะที่ราคา สุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอยู่ที่ 78.0 บาท/ กก. ส่งผลให้ผลตอบแทนสุทธิของเกษตรกร ขาดทุนราว 9.5 บาท/กก. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ในปี 2567 ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์มอาจอยู่ที่ 70 บาท/กก. หดตัว 10.2% เมื่อเทียบกับปีก่อนที่ 78 บาท/กก. ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องให้คาดว่าราคาขาย ปลีกเนื้อหมูโดยเฉลี่ยในประเทศน่าจะยังลดลง โดย อาจอยู่ที่ 166 บาท/กก. หดตัว 6.2% เมื่อเทียบ กับปีก่อน ที่ 177 บาท/กก. (รูปที่ 4) สถานการณ์ ข้างต้น จึงกระทบทิศทางการผลิตสุกรในประเทศ โดยเฉพาะการกลับมาเลี้ยงสุกรของเกษตรกรราย ย่อย ซึ่งเป็นโจทย์ที่ทุกฝ่ายยังคงต้องร่วมกันยก ระดับราคาและสร้างกลไกที่สนับสนุนความ สามารถในการแข่งขันของการผลิตสุกรอย่างยั่งยืน
24 สัตว์เศรษฐกิจ จากการขยายตัวของชุมชนเข้ามาอาศัยอยู่ใกล้ฟาร์มปศุสัตว์ มากขึ้น ทำาให้มีปัญหากลิ่นและมลภาวะนำาไปสู่การร้องเรียน ส่งผล ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์จำาเป็นต้องให้ความสำาคัญและปรับตัว ดังเช่น “ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม” ที่เดินหน้าจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ลดปัญหา มลภาวะจากฟาร์ม โดยเฉพาะปัญหากลิ่น จึงร่วมมือกับ “ไบโอซาย” นำาร่องติดตั้งระบบฟอกกลิ่น ขจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ไม่ให้ส่งผล กระทบกับชุมชนใกล้เคียง เพราะหากไม่ปรับตัวก็อาจอยู่ในธุรกิจนี้ต่อ ไปได้ยาก พร้อมวิงวอนรัฐให้ช่วยจัดการปัญหาต้นทุนสูง หมูเถื่อน และราคาตกต่ำาบรรเทาความเดือดร้อนให้ผู้เลี้ยง LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE มาสร้างฟาร์มเลี้ยงสุกรขุน จากนั้นก็ขยายมาดำาเนินกิจการเลี้ยง ไก่ไข่ ปัจจุบันมีแม่พันธุ์สุกรรวม 15,000 แม่ สุกรขุนประมาณ 60,000 ตัวและไก่ไข่ 400,000 ตัว ซึ่งในช่วงแรกที่เริ่มเลี้ยงแม่พันธุ์ ได้สร้างฟาร์มห่างจากชุมชนพอสมควร รอบฟาร์มส่วนใหญ่เป็น นาข้าว และบ่อทรายเป็นหลัก แต่หลังจากขยายกำาลังการผลิต ชุมชนก็ขยายตามเข้ามาใกล้ จึงต้องให้ความสำาคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยจัดทำาระบบ ไบโอแก๊สบำาบัดของเสีย นำาแก๊สไปใช้ปั่นไฟฟ้าลดการใช้พลังงาน และ ไม่ปล่อยออกสู่แหล่งน้ำาสาธารณะ แต่ก็ยังพบปัญหากลิ่นอยู่ จึงต้องหา ทางกำาจัดกลิ่นจากฟาร์มให้เหลือน้อยที่สุด ซึ่งกลิ่นจากฟาร์มประกอบ ด้วย 3 ชนิดหลัก คือ แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟ และมีเทน โดย เริ่มจากการวิธีการต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น การใช้จุลินทรีย์ลดกลิ่น และ ปลูกต้นไม้หลังพัดลมโรงเรือน ต่อมามีโอกาสเดินทางไปดูงานที่จีน เห็นวิธีการกำาจัดกลิ่นจากโรงเรือนสุกร ก็ได้นำามาปรับใช้ แต่ยัง ลดกลิ่นได้ไม่มากพอ หลังจากนั้น บริษัท ไบโอซาย ได้มาแนะนำาวิธีการกำาจัดกลิ่น ที่สามารถวัดผลได้ ก็เกิดความสนใจและตัดสินใจนำาร่องติดตั้งระบบ 1 หลัง เนื่องจากฟาร์มใช้ระบบโรงเรือน EVAP มีพัดลมดูดอากาศ ออกด้านท้ายโรงเรือนที่มีกลิ่นปนมาด้วย ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ต้องใช้น้ำาเป็น ตัวจับ จึงใช้ผลิตภัณฑ์ของไบโอซายผสมน้ำา เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การกำาจัดกลิ่น โดยสเปรย์ฝอยฟุ้งกระจายน้ำา พร้อมกันนี้ยังมีแผง คุณไพโรจน์ (ป๋าโรจน์) พวงศิริ ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม นำ�ร่องติดระบบฟอกกลิ่น เพื่ออยู่กับชุมชนอย่�งยั่งยืน คุณไพโรจน์ (ป๋าโรจน์) พวงศิริ ประธานกรรมการผู้จัดการ ผู้ก่อตั้ง ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม เปิดเผยว่า บริษัท ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม ก่อตั้งในปี 2545 ดำาเนินกิจการเลี้ยงสุกรพันธุ์ผลิตลูกสุกร ก่อน
สัตว์เศรษฐกิจ 25 พลาสติกชนิดพิเศษ ติดตั้งด้านท้ายโรงเรือน ซึ่งจากทดสอบระบบ ฟอกกลิ่นมาก็ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ลดกลิ่นได้เป็นอย่างดีและหลังทำา ไประยะหนึ่งก็อาจไม่ต้องสเปรย์น้ำา 24 ชั่วโมง ด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ วัดกลิ่น ช่วงใดกลิ่นมากก็เปิดระบบสเปรย์ กลิ่นลดลงถึงระดับที่ตั้ง ไว้ก็หยุด เพื่อประหยัดพลังงานและน้ำาได้ด้วย ถึงแม้ว่า แม้ระบบฟอกกลิ่นนี้ต้องลงทุนเพิ่ม แต่ถ้าไม่ทำาก็จะ อยู่ร่วมกับชุมชนไม่ได้ ถือเป็นสิ่งที่จำาเป็นต้องทำา มิฉะนั้น ก็อยู่ ต่อไปได้ยาก แม้ต้องเพิ่มต้นทุนแต่ก็ต้องทำา ไม่งั้นฟาร์มก็อยู่ร่วมกับ ชุมชนไม่ได้ และจะถูกชาวบ้านร้องเรียน ที่สำาคัญ ทำาแล้วต้องมี ตัววัดว่า ก่อนทำากลิ่นเป็นอย่างไร ระดับเท่าใด และหลังทำาแล้วกลิ่น หมดไปหรือไม่ หรือมีน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยต้องมีเครื่อง ตรวจวัดที่เขื่อถือได้โดยตั้งเป้าติดตั้งระบบฟอกกลิ่นต่อไปให้ครบทุก โรงเรือน “ทุกวันนี้การทำาฟาร์มเลี้ยงสุกรไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องทำาประชา พิจารณ์ ขออนุญาตหน่วยงานท้องถิ่นที่มีข้อกำาหนดกฎเกณฑ์มากมาย ดังนั้น ฟาร์มที่เกิดขึ้นใหม่ต้องประเมินเรื่องการกำาจัดการกลิ่น เช่น เดียวกับฟาร์มเก่าที่ต้องใส่ใจเรื่องกลิ่นเช่นกัน วันนี้ฟาร์มสุกรลำาบาก เพราะทุกวันนี้ขาดทุน เพราะราคาหมูเป็นถูก เนื่องจากมีหมูกล่อง แช่เย็น เข้ามาตีตลาดจำานวนมาก เพราะต้นทุนต่ำากว่า ไทยที่มีต้นทุน สูงตามราคาวัตถุดิบ ฟาร์มทุกวันนี้ขาดทุนทั้งหมด ทั้งฟาร์มเล็กหรือ ใหญ่ จึงต้องหาวิธีการจัดการ เพื่อให้อยู่ได้ หากต้องการอยู่ในอาชีพ นี้ต่อไป” คุณไพโรจน์กล่าว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ คุณกิตติพงศ์ พวงศิริ ขณะที่ คุณกิตติพงศ์ พวงศิริ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม เปิดเผยว่า การกำาจัดกลิ่นจากฟาร์มสุกร เดิมที อาจไม่ได้ให้ความสำาคัญมากนัก เนื่องจากฟาร์มอยู่ห่างจากชุมชนพอ สมควร แต่หลังจากที่ฟาร์มขึ้นโรงเรือนมากขึ้น และมีชุมชนเข้ามา สร้างบ้านเรือนใกล้ฟาร์มมากขึ้น จึงต้องให้ความสำาคัญ โดยในระยะ แรกก็เกิดจากการที่เจ้าหน้าที่ราชการเข้ามาแนะนำาว่าควรทำาอย่างไร เช่นการติดตั้งแสลนกรองกลิ่น ปลูกต้นไม้ ซึ่งทำาแล้วก็ยังไม่ได้ผล มากนัก จนกระทั่งกลางปีที่แล้วได้มีโอกาสไปดูงานที่ประเทศจีน ที่ เมืองฉางชา และเห็นฟาร์มที่จีนทำาระบบนี้ก็ได้สอบถามและคาดว่า น่าจะได้ผล ก็นำามาทดลองที่ฟาร์ม แต่ก็เกิดปัญหาที่ไม่มีตัวแบบมา ด้วย ก็ต้องคิดค้นหาวิธีการขึ้นมาใหม่ทั้งโรงเรือน วัสดุก็ต้องหาสิ่งที่ คิดว่า น่าจะใช้ได้โดยช่วงแรง ใช้ตาข่ายที่ทำาเป็นม่านน้ำาก็ใช้ตาข่าย ทั่วไป แต่ทำาหลายชั้น 5 บ้าง 10 บ้าง ก็ยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร จนกระทั่งไบโอซาย ก็ได้เข้ามาให้คำาแนะนำาวัสดุตัวหนึ่งที่เรียก ว่า มีเดีย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน ก็ได้เริ่มทดลองนำามา ใช้ซึ่งพบว่า ผลดีลดกลิ่นลงได้มาก โดยประเมินจากเครื่องวัดกลิ่น ทั้ง แอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟล์ที่ ลดลงมาก ก็คิดว่า เป็นวิธีที่ การน่าจะลงตัวแล้ว จึงคิดว่าจะขยายไปยังโรงเรือนอื่น ๆ ต่อไป โดยที่แห่งนี้มีโรงเรือนประมาณ 100 โรงก็คงไล่ทำาจนกว่าจะครบ ก็ เชื่อว่าจะแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นได้ดีลดปัญหากับชุมชน อีกประเด็นที่ต้องป้องกันสิ่งเหล่านี้ เพราะกระทรวงแรงงานที่ มีมาตรการในการคุ้มครองสวัสดิภาพแรงงาน และคนทำางานในที่
26 สัตว์เศรษฐกิจ ทำางานก็มีกติกา และมีมาตรการว่า มีแสง เสียง และกลิ่นในปริมาณ เท่าไร อย่างไร มีข้อบังคับเช่นกัน ซึ่งทุกปีก็จะมีการตรวจสอบจาก คนกลาง ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบที่กระทรวงแรงงานขึ้นไว้เข้ามาวัด ซึ่ง จากการวัด โดยบริษัทคนกลางก็พบว่า ฟาร์มผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของกระทรวงแรงงานทั้งหมด ทั้ง แสง เสียง และกลิ่น ที่ไม่เกิน เกณฑ์ก็เป็นอีกเหตุผลหลักที่ต้องจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นให้ดีขึ้น “อนาคตปัญหากลิ่นและสิ่งแวอล้อมยิ่งมีความสำาคัญเพิ่มขึ้น เพราะกฎหมายคุ้มครองประชาชน สิ่งใดที่รบกวนความเป็นอยู่ของ ประชาชนในกฎหมายก็จะต้องจัดการทั้ง กลิ่น น้ำาเสีย สารเคมี ที่ เข้ามาทำาให้ความเป็นอยู่ของประชาชนเดือดร้อน กฎหมายคงไม่ยอม แน่นอน ทำาให้ฟาร์มปศุสัตว์ ทั้งหมูและไก่ ปัญหากลิ่นและน้ำาเสียจึง เป็นปัญหาใหญ่ที่ผู้ประกอบกิจการนี้ต้องระมัดระวังและแก้ปัญหาให้ดี เพื่อให้อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน” คุณกิตติพงศ์กล่าว LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การลงทุนติดตั้งระบบฟอกกลิ่น ต้นทุนด้านรูปแบบทางบริษัท ยินดีเปิดแบบให้ทุกคนเข้าถึงตัวแบบได้ ถือว่า ไม่มีต้นทุนแบบ ที่เหลือจะเป็นต้นทุนโครงสร้าง ซึ่งรวมประมาณ1แสนบาทต่อหลัง หรือหากเป็นโครงสร้างอย่างดีเป็นเมทัลชีทอย่างหนา แข็งปูนอย่างดี จะอยู่ที่ 200,000-300,000 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดของโรงเรือนเดิม เพราะระบบจะทำาหน้ากว้างเท่ากับโรงเรือนเดิม ส่วนมีเดียหรือก้อน ฟอกกลิ่นก็อยู่ที่ 80,000-100,000 บาท การลงทุนครั้งแรกยอมรับว่า ต้องลงทุนค่อนข้างสูง แต่เมื่อ ประเมินอายุการใช้งานที่ประเมินไว้ที่ 12 ปีก็เหลือถือว่า ไม่แพง ส่วนตัวระบบที่มีการสเปรย์ม่านน้ำา ก็จะมีน้ำายาเข้าไป หากสเปรย์ แล้วน้ำายาหายไปจากระบบก็จะทำาให้ค่อนข้างเปลือง ก็ต้องทำาระบบ หมุนเวียนน้ำา น้ำายาที่ใช้จะถูกนำากลับมาในระบบ ซึ่งเหมือนกับระบบ คูลลิงแพด ตัวระบบสเปรย์น้ำา ระบบกรอง ก็จะทำาให้น้ำาเสียจากระบบ การฟอกกลิ่นออกมาน้อยมาก และคาดว่า จะใช้น้ำาในระบบฟอกกลิ่น เพียง 3 ลูกบากศ์เมตรต่อเดือน ทำาให้ต้นทุนระบบค่อนข้างต่ำา และ นำาที่ออกจากระบบนี้ยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวน้ำายาสามารถโดน ตัวคนและสัตว์ได้เป็นน้ำายาออแกนิค ดังนั้น น้ำายาหลังจากใช้เสร็จ แล้วสามารถทิ้งลงระบบไบโอแก๊สได้ทันทีซึ่งประเมินค่น้ำายาไว้ที่ 3-5 พันบาทต่อหลัง แล้วแต่ขนาดของโรงเรือนซึ่งเป็นตัวเลขที่ยอมรับได้ “ระบบฟอกกลิ่นแนะนำาให้ทำาในหลังที่มีกลิ่นมาก เช่น โรงเรือน คลอดและอนุบาล ตัวระบบวันนี้ หากเต็มระบบเชื่อว่า เก็บกลิ่นได้ มากกว่า 90% โดยวัดด้วยเครื่องมือวัดกลิ่น สามารถลดค่ากลิ่นจาก 77 ลงมาได้เหลือเพียง 0-1 ถือว่า เป็นที่น่าพอใจมาก และเจ้าของ ฟาร์มก็พอใจกับระบบนี้ค่อนข้างมาก” น.สพ.ทศพร กล่าว วอนรัฐเร่งแก้หมูเถื่อน ช่วยเหลือผู้เลี้ยง คุณไพโรจน์ (ป๋าโรจน์) กล่าวต่อว่า ภาพรวมการเลี้ยงสุกร ปัจจุบันเผชิญกับปัญหาต้นทุนสูง ผู้เลี้ยงต้องหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ น.สพ.ทศพร ปัญญาอัตร น.สพ.ทศพร ปัญญาอัตร ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไบโอซาย แอนนิมัล เฮลธ์ จำากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า บริษัท ไบโอซาย มีความตั้งใจระบบสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับนโยบาย ESG เพื่อให้ฟาร์มปศุสัตว์อยู่ร่วมกับชุมชนได้ ซึ่งที่ผ่านมา บริษัท ได้ ติดตั้งพลังงานสะอาดให้กับฟาร์ม โดยในปีที่แล้วติดตั้งพลังงานสะอาด ให้กับฟาร์มได้ประมาณ 10 เมกะวัต หลังจากนั้นก็ดำาเนินการระบบ ฟอกกลิ่น โดย ไผ่สิงห์ทองฟาร์ม ถือเป็นต้นแบบในการทำาระบบ ฟอกกลิ่นให้กับฟาร์มปศุสัตว์ โดยแบบได้ปรับปรุงตัวแบบมาจากเล้าต้นแบบในประเทศจีน และนำาเทคโนโลยีที่มีเกี่ยวกับระบบกำาจัดกลิ่น แผงกำาจัดกลิ่น น้ำายา นำามาออกแบบใหม่ เพื่อให้ลักษณะการสร้างโรงเรือนและระบบฟอก กลิ่นเหมาะกับประเทศไทยมากที่สุด โดยระบบ ESG ที่ไบโอซายทำา คาดหวังว่า จะทำาให้ฟาร์มปศุสัตว์อยู่ร่วมกับชุมชนได้และเป็นแหล่ง ทำาเงิน แหล่งรายได้ของชุมชนในพื้นที่ต่างจังหวัด โดยมีการผลิตสุกร ไก่ และไข่ เพื่อจัดส่งให้กับคนทั้งประเทศบริโภคและส่งออก ดังนั้น ฟาร์ม ฟาร์มหมูฟาร์มไก่ ก็เป็นแหล่งที่ทำาให้รายได้จากเมืองหลวง ย้อนกลับในชุมชน ทำาให้ทุกคนอยู่ดีกินดีถ้าฟาร์มหมูอยู่ได้ทุกคน ก็อยู่ได้ซึ่งบริษัททำาก็คาดหวังว่า ธุรกิจปศุสัตว์จะอยู่คู่กับประเทศไทย ไปอย่างยั่งยืน ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดล้อมถือเป็นสิ่งสำาคัญ เพราะ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี จะทำาให้คนภายนอกอยู่ร่วมกับฟาร์มได้ และทำาให้คนในฟาร์มทำางานร่วมกันอย่างมีความสุขได้เช่นกัน
สัตว์เศรษฐกิจ 27 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ถูกลง โดยอาจต้องนำาเข้าจากต่างประเทศ เพราะต้องยอมรับว่า ไทย ไม่ใช่แหล่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ทั้ง ถั่วเหลือง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ผลิตได้ไม่พอกับความต้องการ แต่การนำาเข้าก็มีภาษีอยู่ ซึ่งทาง สมาคมผู้เลี้ยงสุกรก็พยายามต่อรองกับรัฐบาล ขอให้ปลอดภาษีเพื่อ ลดต้นทุนส่วนหนึ่ง อีกทาง คือ การส่งเสริมการผลิตอาหารสัตว์ใน ไทย เพื่อลดต้นทุน ด้วยการลดพื้นที่ปลูกข้าวลง แล้วหันมาปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หรือวัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิดอื่นแทน เพื่อใช้ภายใน ประเทศให้เพียงพอ เพราะหากยังพึ่งพานำาเข้าโอกาสที่ต้นทุนถูกคง เป็นไปได้ยาก ขณะเดียวกัน รัฐบาลต้องช่วยป้องกันการลักลอบนำาเข้า “หมูเถื่อน” จากต่างประเทศ ที่มีต้นทุนการผลิตต่ำา เข้ามาทำาลาย ธุรกิจสุกรไทย เพราะอาจมองว่า จะผลิตเองทำาไม เนื่องจากเนื้อหมู จากต่างประเทศราคาถูก หากเป็นเช่นนั้นก็จะทำาให้ธุรกิจทั้งสุกร และ ปศุสัตว์อื่น ๆ รวมถึงอาหารสัตว์และธุรกิจยาสัตว์อยู่ไม่ได้กันทั้งหมด ซึ่งในฐานะเจ้าของฟาร์มจึงอยากวิงวอนรัฐบาลให้เข้ามาดูแลอย่าง จริงจัง เพราะหากนำาเข้ามาแล้วถูกกว่า คงไม่มีใครลงทุนไปเลี้ยง เมื่อฟาร์มไม่มี ยาสัตว์ อาหารสัตว์ก็ขายไม่ได้ ปลูกข้าวโพดก็จะ ล่มสลายไปด้วยกันทั้งหมด กระทบกับเกษตรกรจำานวนมาก ดังนั้น ต้องเข้ามาแก้ปัญหาหมูเถื่อนอย่างจริงจัง ซึ่งมองว่า ไม่น่ายาก แต่ อาจมีเงื่อนไขบางอย่างอยู่จึงยังไม่สำาเร็จ ในส่วนราคา หากหมูกล่องยังเข้ามาอยู่เช่นนี้คงดาดเดาไม่ได้ ว่า ราคาจะดีขึ้นเมื่อใด แต่จากความพยายามตัดวงจรนำาลูกสุกรไป ทำาหมูหัน เพื่อลดปริมาณสุกรที่จะออกสู่ตลาดนั้นคงช่วยได้ระดับหนึ่ง เพราะหากหมูกล่องเข้ามาก็คงยากที่จะทำาให้ราคาดีขึ้น แต่ถ้าตัดวงจร ได้แล้วใช้ผลผลิตในไทย ราคาก็มีโอกาสดีขึ้นได้แน่นอน เพราะหมูใน อดีตก็มีขึ้นลงตามวัฎจักร แต่เมื่อมีหมูเถื่อนเข้ามาก็ไปต่อได้ยาก และ ของเถื่อนยังลามไปยังธุรกิจอื่น ๆ อีกด้วย ซึ่งชิ้นส่วนเหล่านี้มาจาก ประเทศที่เทขายมาในราคาถูก แต่ทำากำาไรให้กับคนนำาเข้ามหาศาล จึงต้องอาศัยความเอาจริงเอาจังของรัฐบาลในการจัดการ ที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติได้คำานวณต้นทุน และขอ ความร่วมมือในการผลักดันราคามาที่ต้นทุน ซึ่งกรมปศุสัตว์รับปาก ช่วย แต่ถ้าต้นทุนการผลิตอยู่ที่กิโลกรัมละ 80 บาท แต่หมูกล่อง ขายที่กิโลกรัมละ 60 บาท ทั้งตลาดชิ้นส่วนราคาถูก ก็คงไม่มีทาง ดึงราคาให้ใกล้กับต้นทุนได้ปัญหาจึงอยู่ที่หมูกล่อง ถึงแม้ลดแม่พันธุ์ ตัดวงจรลูกสุกร ก็เป็นเพียงการแก้ไขเฉพาะหน้าเท่านั้น แต่แท้จริง ต้องจัดการปัญหาที่หมูกล่อง เพราะไทยห้ามนำาเข้าซากและชิ้นส่วน เนื้อสุกรจากต่างประเทศเข้า แต่ผู้ลักลอบก็มีวิธีการจนนำาเข้ามาจน ได้ “ปริมาณการผลิตสุกรในประเทศ ไม่ได้เกินความต้องการ เพียง แต่มีหมูเถื่อนเข้ามาแย่งทำาตลาด ถ้าสกัดหมูเถื่อนได้ ปล่อยให้กลไก ตลาดในประเทศทำางาน ก็จะดีขึ้น แม้เศรษฐกิจในประเทศจะค่อนข้าง แย่ รัฐจะแจกเงินก็ทำาไม่ได้ ยังติดปัญหาอยู่ ซึ่งเงินดิจิทัลอาจยากก็ ควรหันไปแจกเบี้ยเลี้ยงคนชรา ที่ได้เดือนละ 600-700 บาท ซึ่งไม่ เพียงพอก็ให้แจกเดือนละ 3,000 บาทก็จะเป็นอีกช่องทางกระจาย เงินไปยังผู้สูงอายุ และมีโอกาสกระจายไปถึงหลาน ทำาให้เงินสะพัด เข้าไป และควบคุมได้ง่าย และไม่มีโอกาสที่เงินจะรั่วไหลออกนอก ระบบ ก็เป็นการเพิ่มกำาลังซื้อให้กับประชาชน ก็ช่วยเศรษฐกิจดีขึ้น” คุณไพโรจน์กล่าว ด้าน คุณกิตติพงศ์ กล่าวทิ้งท้ายว่า วันนี้ผู้เลี้ยงสุกรได้รับความ เดือดร้อน เพราะราคาที่ยังไม่สอดคล้องกับต้นทุน ทำาให้ผู้เลี้ยงทุก รายขาดทุน แต่มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการจัดการแต่ละฟาร์ม หาก ระยะเวลาขาดทุนลากยาวไป การทนต่อภาวะขาดทุนของเกษตรกร ไม่เท่ากัน บางรายอาจอยู่ได้นาน บางรายก็อยู่ได้ไม่นาน ทำาให้มีบาง ส่วนที่หลายจากระบบ ซึ่งการแก้ปัญหาต้องเร่งลดต้นทุนตัวเองให้ต่ำา ที่สุด ขณะที่รัฐบาลต้องช่วยแก้ปัญหาหมูเถื่อนให้ออกไปจากระบบ ตลาด เพราะเดิมทีราคาหมูก็เปลี่ยนตามกลไกตลาดอยู่แล้ว แต่กลับ มีหมูเถื่อนจากต่างประเทศเข้ามา ในราคาถูกกว่ามาก ทำาให้ระบบ ราคาหมูหน้าฟาร์มในประเทศกระทบทั้งระบบ ซึ่งรัฐต้องเข้ามา แก้ปัญหาอย่างจริงจัง
28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรจังหวัดราชบุรีเผย การเลี้ยงสุกรไทย ในปี2567 ยังต้องเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคต่อทั้ง ต้นทุนการ ผลิตสูงตามราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ภาวะราคาตกต่ำาไม่สอดคล้อง กับต้นทุนการผลิต ประสบปัญหาขาดทุน โรคระบาดที่ยังสร้างความ เสียหายอยู่เป็นระยะ และ หมูเถื่อน ลักลอบนำาเข้ามาทำาลายระบบ การเลี้ยงสุกรไทย ถือเป็นความท้าทายที่เกษตรกรทุกระดับต้อง ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผลักดันให้เกิดการแก้ปัญหาอย่าง จริงจัง ช่วยให้ผู้เลี้ยงฟื้นฟูและอยู่ในอาชีพนี้ได้ต่อไป นายกหมูราชบุรี... มองหมูไทยจะเดินหน้าต่อไปได้อย่างไร ? คุณนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม คุณนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรจังหวัดราชบุรี เปิดเผยว่า สถานการณ์การเลี้ยงสุกรในปี67 ถือว่า ค่อนข้างวิกฤต ผู้เลี้ยงที่อยู่ได้ต้องเรียนรู้เข้าใจ วางระบบการทำาธุรกิจนี้ให้ได้ซึ่งใน ราชบุรีเป็นพื้นที่เลี้ยงสุกรมากที่สุดในประเทศไทย มี250,000 แม่ นำาเข้าลูกสุกรมาประมาณ 150,000 ตัวต่อเดือน ดังนั้น ภาพรวม จะมีปริมาณสุกรรวมประมาณ 21-22% ซึ่งพื้นที่การเลี้ยงอยู่ใน อำาเภอเมือง จอมบึง ปากท่อ บ้านโป่ง โพธาราม ที่มีการเลี้ยง หนาแน่น เกษตรกรผู้เลี้ยงทั้งรายใหม่และรายเก่า มีตั้งแต่โรงเรือนเปิด มาจนถึงฟาร์มระบบใหม่ที่เลี้ยงในโรงเรือนอีแวป ที่ดูแลจัดการโรค ได้ง่ายขึ้น หลังจากปี63 ที่เผชิญกับปัญหา ASF ทำาให้เกิดความ สูญเสียไปว่า 40% ของทั้งประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดราชบุรีเสียหาย มากกว่า 50% และปัจจุบันก็ยังไม่ฟื้นกลับมา โดยจากการประเมิน ของจังหวัดราชบุรีพบว่า มีแม่สุกรไม่เกิน 1 แสนแม่ ลูกสุกรที่เข้า มาเหลือไม่เกิน 50,000 ตัวต่อเดือน ดังนั้น ต้องยอมรับความจริง ว่า ปัญหาสุกรถือว่า หนักหนา สาหัสมาก จากปัญหาโรค ASF ใน สุกร ต่อด้วยต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์สูงที่มีสัดส่วนกว่า 60%
สัตว์เศรษฐกิจ 29 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากข้าวโพด มัน ข้าว กากถั่วเหลือง ราคาแพง เพราะส่วน ใหญ่นำาเข้าจากต่างประเทศ ข้าวโพดไทยผลิตได้ประมาณ 4.5 ล้าน ตัน แต่ความต้องการจริง ๆ ประมาณ 8-9 ล้านตัน กากถั่วเหลือง นำาเข้าเกือบ100% เมื่อรวมกับนโยบายประกันราคาวัตถุดิบที่ไทยมี แต่ทั่วโลกไม่มี ข้อมูลจากสำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร คำานวณว่า ต้นทุน การผลิตสุกรอยู่ที่กิโลกรัมละ 80 บาท แต่ราคาขายยังไม่สอดคล้อง กับต้นทุน ปัจจุบันอยู่ที่กิโลกรัมละ 64 บาทเท่านั้น โดยต้นทุนนส่วน ใหญ่มาจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ จึงต้องแก้ปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ซึ่งที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติพยายามหาแนวทางแก้ปัญหา โดยไปพึ่งพากรมการข้าว เพราะไทยปลูกข้าวไทยได้ผลผลิตประมาณ 60-70 ถังต่อไร่ แต่เวียดนามสามารถผลิตได้ถึง 150-200 ถังต่อไร่ ซึ่งเป็นความแตกต่าง ดังนั้น จะทำาให้เกษตรกรผู้ปลูกพืชกับเลี้ยงสัตว์ อยู่ร่วมกันได้ ก็ต้องทำาอย่างไรให้พืชอาหารสัตว์คนปลูกอยู่ได้ คน เลี้ยงอยู่ได้ การดำาเนินการ คือ การเข้าไปร่วมมือกับกระทรวง ต่าง ๆ กรมการข้าว ที่เข้าไปวิจัยพันธุ์ข้าวในประเทศไทย ที่จะทำา วิจัย โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาให้ข้าวกลายเป็นพืชอาหารสัตว์ เพื่อตอบโจทย์การเลี้ยงสุกรได้ดีขึ้น แต่นอกจากปัญหาโรคและวัตถุดิบอาหารสัตว์แล้ว เกษตรกร ผู้เลี้ยงยังต้องต่อสู้กับปัญหา “หมูเถื่อน” ด้วย โดยสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ ได้ประสานงานกับกรมปศุสัตว์และกรมประมงในการ แก้ปัญหามาตลอด 1-2 ปีที่ผ่านมา เพื่อแก้ปัญหาหมูเถื่อนที่ลักลอบ นำาเข้ามา ซึ่งได้ผลอยู่บ้างแต่ยังจัดการไม่เด็ดขาด ดังนั้น ทางรอด ที่แท้จริง คือ จัดการลดต้นทุนการผลิต แล้วพยายามผลักดันให้ราคา สอดคล้องกับต้นทุน เพราะวันนี้ ปริมาณสุกรในระบบเพิ่มขึ้น แม้เพิ่งผ่านวิกฤต ASF มา เป็นผลจากผู้เลี้ยงรายใหญ่ และภาคบริษัทขยายกำาลังการ ผลิตได้ ที่ฟื้นฟูกำาลังการผลิตได้อย่างรวดเร็ว ส่วนรายย่อยที่มี ประมาณ 2 แสนราย แต่ทุกวันนี้เลิกเลี้ยงไปจนเหลือไม่เกินแสนราย ประกอบกับปัญหาต้นทุนสูงก็ทำาให้ผู้เลี้ยงหายไปส่วนหนึ่ง เช่นเดียว กับ การปรับระบบการจัดการมาตรฐานที่เข้มงวดขึ้น ดังนั้น เทคโนโลยีที่บริษัทนำามาใช้ก็ช่วยให้เปลี่ยนระบบการเลี้ยงให้มีระบบ การป้องกันโรคที่ดีขึ้น ลดปัญหา ASF ให้น้อยลง และฟื้นฟูการผลิต ได้ นอกจากนี้ไทยไม่มีเงินอุดหนุนจากภาครัฐ ทำาให้ไม่มีกำาลังซื้อ การบริโภคลดลง โดยเฉพาะเนื้อสุกร โดยกรมปศุสัตว์ประเมินว่า มี แม่พันธุ์สุกรประมาณ 1 ล้านตัว คำานวณเป็นสุกรขุนอยู่ที่ 20 ล้าน ตัวต่อปีส่งออกไม่เกิน 5% และมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ เพราะ วันนี้ประเทศข้างเคียงรวมถึงจีนไม่จำาเป็นต้องนำาเข้าเหมือนกับอดีต ทุกประเทศต่างเพิ่มกำาลังการผลิตทั้งหมด ทั้งลาว เวียดนาม และ จีนปรับระบบการเลี้ยงแบบคอนโด เพิ่มการผลิตโดยไม่ต้องเพิ่มพื้นที่ จากเดิมที่เคยซื้อ ตอนนี้ก็รองรับความต้องการในประเทศไทย บริษัท ที่เคยเลี้ยง 1 ล้านแม่ ก็เพิ่มเป็น 3 ล้านตัว โดยบริษัทใหญ่ในจีน ทำาลักษณะนี้ทั้งหมด ไม่ต่างจากไทย ที่เดิมมี2 แสนราย แต่วันนี้ เหลือไม่ถึงแสน แต่ปริมาณหมูไม่ได้ลดลง จากที่เคยไปสูงสุดที่ 1.2 ล้านแม่ หลังจากเจอโรคก็ลดลง แต่ตอนนี้ก็เพิ่มมาจนใกล้เคียง 1 ล้านแม่ ซึ่งเพิ่มในฟาร์มขนาดใหญ่เป็นหลัก ส่วนเกษตรกร รายกลางรายย่อยต่างเลิกอาชีพไปจำานวนมาก ดังนั้น วันนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงและสมาคมก็ต้องช่วยกัน ประสาน งานกับภาครัฐในการแก้ปัญหาวัตถุดิบ การแก้ปัญหาต่าง ๆ วาง นโยบายให้เหมาะสม ซึ่งเห็นได้จากโครงการฯ ตัดวงจรลูกสุกร การ ทำาหมูหัน 10% จากฟาร์มระดับ 2,000 ตัวขึ้นไป จนถึงรายใหญ่ ซึ่งซีพีมีอยู่ประมาณ แสนกว่าแม่ ก็เป็นการตัด 10% โดยประเมิน ว่า จะตัดวงจรลูกสุกรได้เดือนละ 20,000 ตัว ดำาเนินโครงการ 3-6 เดือน ก็คาดว่า จะลดจำานวนได้ 3-6 แสนตัว โดยรอเงินจากรัฐ ไม่ได้มิฉะนั้น ราคาก็จะปรับลดลงทุกวัน อีกส่วนที่ต้องดำาเนินการ คือ ต้องพูดคุยหามาตราการจัดการ ให้แม่พันธุ์อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อปรับสมดุลปริมาณสุกรที่ออก สู่ตลาด ซึ่งจากการที่แม่พันธุ์มีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 20 เป็น 25 ตัวต่อแม่ ก็ทำาให้ปริมาณหมูออกสู่ตลาดมากขึ้น การตัด วงจรลูกสุกรก็เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งจะช่วยให้วงการนี้อยู่รอดได้ และ ผู้เลี้ยงมีกำาลังใจในการผลักดันให้อยู่รอดต่อไปได้ สำาหรับรายย่อย ต้องยอมรับว่า รายย่อยรายกลางเป็นกลุ่มที่ สมาคมฯ ต้องการดูแลมากที่สุดตั้งแต่ 1-500แม่ ดังนั้น การทำาให้ อยู่รอด ขั้นแรกต้องยอมรับว่า เหนื่อยแน่นอน โดยเริ่มจากระบบ การเลี้ยงต้องป้องกันหรือควบคุมปัญหา ASFได้และต้นทุนการเลี้ยง ก็ต้องหาทางลด แต่การใช้วัตถุดิบทดแทน เศษอาหารก็อาจเจอ เชื้อโรคปนเปื้อนมา จึงไม่แนะนำาให้ใช้และปรับมาใช้อาหารสำาเร็จรูป จึงต้องประครองต้นทุนการเลี้ยงให้อยู่ได้การป้องกันการสูญเสียการ ดูแลต้องชัดเจน จะเลี้ยงเหมือนกับอดีตไม่ได้วันนี้ต้องพัฒนาระบบ การจัดการเพื่อให้ประสิทธิภาพการผลิตดีต้นทุนต่ำา ประคับประคอง ให้ผ่านวิกฤตนี้ไปได้...
30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ผู้เลี้ยงไก่เนื้อ และผู้เลี้ยงไก่ไข่ เผยสภาพอากาศร้อน ภัยแล้ง อากาศแปรปรวน โรคสัตว์ซ้ำาเติม ส่งผลสัตว์อ่อนแอเจ็บป่วยง่าย อัตรา เสียหายเพิ่มขึ้น ชี้ต้นทุนสูงขึ้น เหตุต้องซื้อน้ำาใช้ ใช้ไฟฟ้าเพิ่ม นายสุนทราภรณ์ สิงห์รีวงศ์ เกษตรกรหมู-ไก่เนื้อ-ไก่ไข่ ผสานเสียง ร้อน-แล้ง-โรค กระทบซํ้าต้นทุนเพิ่ม นายสุนทราภรณ์ สิงห์รีวงศ์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคเหนือ เปิดเผยถึง สถานการณ์การเลี้ยงสุกรในปัจจุบันว่า จากปัญหาอากาศร้อน ภัยแล้ง และหลายพื้นที่ ภาวะอากาศแปรปรวนตลอดทั้งวัน ส่งผลกระทบให้สัตว์ปรับสภาพร่างกายไม่ทัน เกิด ความเครียด ทำาให้กินอาหารน้อยลง การเติบโตช้าลง ร่างกายสัตว์อ่อนแอและ เจ็บป่วยได้ง่ายขึ้น ประกอบกับในหน้าร้อนจะเกิดภาวะแห้งแล้ง ปริมาณน้ำาให้สุกรกิน มีไม่เพียงพอ รวมทั้งคุณภาพน้ำาแย่ลง น้ำาเป็นโคลนเลนมีความสกปรกสูง สุกรที่กิน น้ำาดังกล่าวมีโอกาสท้องร่วงมากขึ้น เกษตรกรจำาเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายในการปรับสภาพ น้ำาให้สะอาดก่อนนำามาใช้ และบางพื้นที่พบปัญหาน้ำาแล้งจนต้องซื้อน้ำาสำาหรับใช้ในฟาร์ม และให้สุกรกินแล้ว ซึ่งในเดือนพฤษภาคมที่จะถึงนี้ ปัญหานี้จะยิ่งชัดเจนขึ้น เกษตรกร แทบทุกรายจำาเป็นต้องซื้อน้ำาใช้ดังเช่นทุกปี ขณะเดียวกัน โรคสำาคัญในสุกรยังคงมีอยู่ ทั้งปัญหาต่อเนื่องจากโรคอหิวาแอฟริกาในสุกร (ASF) และโรคท้องร่วงติดต่อในสุกร (PED) ที่พบมากในช่วงฤดูกาลนี้ ปัญหาดังกล่าวสร้างความเสียหายค่อนข้างมากใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร “ทั้งปัญหาสภาพอากาศและโรคในสุกรที่ยังมีอยู่ ทำาให้อัตราการสูญเสียในฟาร์ม สูงถึง 30-40% ขณะที่ต้นทุนการเลี้ยงของเกษตรกรรายย่อยในภาคเหนือสูงถึง 82-85 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนต้นทุนการเลี้ยงเฉลี่ยทั่วประเทศของผู้เลี้ยงรายย่อยอยู่ที่ 79-80 บาทต่อกิโลกรัม แต่หากมีการจัดการด้านการป้องกันโรคได้ไม่ดีต้นทุนจะสูงขึ้นมากกว่า 80 บาทต่อกิโลกรัม อย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระเพิ่มเติมในกรณีที่ต้องซื้อ
สัตว์เศรษฐกิจ 31 น้ำาใช้ จะยิ่งทำาให้ต้นทุนการเลี้ยงสูงกว่านี้ สวนทางกับราคาสุกรหน้าฟาร์มเฉลี่ยที่ ยังคงตกต่ำาอยู่ที่เฉลี่ย 58-64 บาทต่อกิโลกรัมเท่านั้น ซึ่งอาจทำาให้เกษตรกรต้อง ตัดสินใจหยุดเลี้ยงได้หากราคาจำาหน่ายยังต่ำากว่าต้นทุนเช่นนี้แม้แนวโน้มการบริโภค จะเพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลสงกรานต์ก็ตาม” นายสุนทราภรณ์ กล่าว ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ นายสมบูรณ์ วัชรพงษ์พันธ์ สอดคล้องกับ นายสมบูรณ์ วัชรพงษ์พันธ์นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ กล่าว ว่าภาวะอากาศร้อนเช่นนี้ การเลี้ยงไก่เนื้อมักพบปัญหา การกินอาหารน้อยลงจาก ความเครียดที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ไก่โตช้า ใช้เวลาเลี้ยงนานขึ้น อัตราป่วยและเปอร์เซ็นต์ ตายเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 5% ในปัจจุบัน เกษตรกรจำาเป็นต้องลดปริมาณการเลี้ยงไม่ให้มี ปริมาณหนาแน่นเกินไป ผู้เลี้ยงหลายรายตัดสินใจลงเลี้ยงไก่ให้บางกว่าช่วงปกติ และ การปรับสภาพอากาศในโรงเรือนต้องเปิดน้ำาหล่อเลี้ยงระบบความเย็นและเปิดพัดลม ระบายอากาศตลอดเวลา ค่าไฟฟ้าจึงเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดความชื้นและก๊าซแอมโมเนีย ในโรงเรือน กระทบกับสุขภาพสัตว์ “ไก่ไม่มีต่อมเหงื่อที่ช่วยระบายความร้อน หากปล่อยให้ไก่ประสบกับอากาศร้อน จะทำาให้ไก่ต้องเผชิญกับสภาวะ Heat Stress ซึ่งจะมีปัญหาในการย่อยอาหารและ การดูดซึมสารอาหาร ทำาให้เจริญเติบโตช้าลง ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตก็ลดลง ตามมา เสียเวลาและต้นทุนในการเลี้ยงเพิ่มขึ้น และการเตรียมน้ำาสะอาดไว้ใช้อย่าง เพียงพอ ก็ต้องเพิ่มต้นทุนการปรับคุณภาพน้ำา และเสริมวิตามินเพื่อช่วยกระตุ้นการ กินน้ำา ปัจจัยเหล่านี้ทำาให้ต้นทุนการเลี้ยงต่อตัวของเกษตรกรเพิ่มขึ้น ขณะนี้ต้นทุน เฉลี่ยสูงถึง 41-42 บาทต่อกิโลกรัมแล้ว และแนวโน้มจะสูงกว่านี้” นายสมบูรณ์ กล่าว ขณะเดียวกัน ในภาคการเลี้ยงไก่ไข่เกษตรกรต่างได้รับผลกระทบจากปัญหา สภาพอากาศร้อนไม่ต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งไก่เป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อช่วยระบาย ความร้อน และมีขนปกคลุมยิ่งเป็นอุปสรรคต่อการระบายความร้อนออกจากร่างกาย ทำาให้แม่ไก่กินอาหารลดลง กินน้ำามากขึ้น เพื่อช่วยลดความร้อนในร่างกาย แม่ไก่ เกิดความเครียดสะสม และการกินอาหารน้อยทำาให้สารอาหารที่ได้ไม่เพียงพอกับการ สร้างฟองไข่ ผลผลิตไข่ไก่จึงลดลง ขนาดฟองไข่เล็กลง ราคาขายที่ได้ต่ำาลง รายได้ จึงลดลงตามไปด้วย ขณะที่อัตราเสียหายจากภาวะไข่แตกในท้องเพิ่มขึ้น เกษตรกร จึงมีต้นทุนสูงขึ้นจากตัวหารที่น้อยลง และยังต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้าที่ต้อง ใช้มากขึ้น เพื่อใช้สำาหรับทำาความเย็นช่วยลดอุณหภูมิในโรงเรือนตลอดทั้งวัน.
The Leading Mycotoxin Testing Solutions 9/35 ถนนบางบอน 4 บางบอนเหนือ บางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร: 02-4162586 โทรสาร 02-4162587 www.auprogression.com / E-mail : [email protected] ชุดอุปกรณ์ในการทดสอบหาปริมาณของ Mycotoxin แบบรวดเร็ว ด้วยหลักการ ของ lateral flow strip โดยสามารถทดสอบได้ทั�งในวัตถุดิบและอาหารสัตว์ทุกชนิด One Approach Delivers Full Range Afiatoxin Detection for Complete Feeds สามารถทดสอบหาปริมาณของ Aflatoxin Total (B1,B2,G1,G2),Don,Fumonisin, Zearalenone,Ochratoxin,T2/HT2 และ Glyphosate ทดสอบ Mycotoxin ท�ง 6 ชนิด ได้ด้วยการส ักดตั วอย่างเพียงคร� ั งเดียว ั ไม่ต้องใช้สารพิษ Mycotoxin ในการทํา Calibration วิเคราะห์และรายงานผลเป็นตวเลขได้ภายใน 5-10 นาที ั ใช้งานง่าย ข�นตอนน้อย ผ ั ู้ใช้งานไม่จําเป็นต้องมีทกษะในงานห้องปฏิ ับติการมาก่อน ั ผลการทดสอบเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกบผลจาก HPLC ั
สัตว์เศรษฐกิจ 33 โดย : Kesinee Sasitorn Senior Researcher [email protected] ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยปี2567 จะอยู่ที่ 4.16 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว 2.0% จากปี ก่อนที่เติบโตเพียง 0.2% ทั้งในกลุ่มผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปและผลิตภัณฑ์ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง แม้การส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยในปี2567 จะยังเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่ต่ำากว่าเมื่อเทียบกับอดีต จากการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรง ขึ้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยปี2567 จะอยู่ที่ 4.16 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว 2.0% จากปี ก่อนที่เติบโตเพียง 0.2% (รูปที่ 1) โดยแบ่งเป็นผลิตภัณฑ์2 กลุ่มหลักคือ ไก่ส่งออก ปี 67 แม้โต 2% แต่ยังตกว่าในอดีต File: Export Chicken ไก่ส่งออก ปี 67 แม้โต 2% แต่ยังต่ ำ กว่ำในอดีต โดย Kesinee Sasitorn Senior Researcher [email protected] ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยปี 2567 จะอยู่ที่ 4.16 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว 2.0% จากปีก่อนที่เติบโตเพียง 0.2% ทั้งในกลุ่มผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปและผลิตภัณฑ์ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง แม้การส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยในปี 2567 จะยังเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่ต ่ากว่าเมื่อเทียบกับอดีต จากการ แข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยปี 2567จะอยู่ที่ 4.16 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ข ย า ย ตั ว 2.0% จ า ก ปี ก่ อ น ที่ เ ติ บ โ ต เ พี ย ง 0.2% (รู ป ที่ 1) โ ด ย แ บ่ ง เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ 2 ก ลุ่ ม ห ลั ก คื อ - ผลิตภัณฑไ์ก่แปรรูป ยังเป็นสินค้าหลักคิดเป็นสัดส่วน 67% ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ทั้งหมด (รูปที่ 2)ซึ่งปีนี้คาดว่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่แปรรปน่าจะกลับมาเป็นบวกได้ที่ระดับ14%จากปีก่อนที่หดตัวราว65%YoY
34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE - ผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป ยังเป็นสินค้าหลักคิดเป็นสัดส่วน 67% ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ทั้งหมด (รูปที่ 2) ซึ่งปีนี้คาดว่าการ ส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปน่าจะกลับมาเป็นบวกได้ที่ระดับ 1.4% จากปีก่อนที่หดตัวราว 6.5%YoY โดยเฉพาะการส่งออกไปยังอังกฤษ ที่ น่าจะทยอยฟื้นตัวจากฐานต่ำาในปีก่อน แต่การส่งออกไปยังญี่ปุ่นอาจทรงตัว จากเศรษฐกิจและกำาลังซื้อที่ทำาให้ยังคงใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง บวกกับการแข่งขันด้านราคารุนแรงขึ้น โดยเฉพาะกับจีน - ผลิตภัณฑ์ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง แม้จะมีสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกที่น้อยกว่าผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป (ราว 33% ของมูลค่าการส่งออก ผลิตภัณฑ์ไก่ทั้งหมด) แต่ปริมาณการส่งออกมีสัดส่วนเติบโตเพิ่มขึ้นใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป ซึ่งปีนี้คาดว่า มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง น่าจะเติบโตได้ราว 3.3% จากปีก่อน ส่วนหนึ่งเพราะเข้าไปทำาตลาดคู่ค้าได้มากขึ้น โดยเฉพาะจีน ที่ยังระมัดระวัง คำาสั่งซื้อจากคู่แข่งที่ยังพบการระบาดไข้หวัดนก จึงคาดว่าคำาสั่งซื้อจากไทยจะยังเพิ่มขึ้น จากความเชื่อมั่นด้านมาตรฐานการผลิตและความ ปลอดภัยด้านอาหาร รวมถึงเกาหลีใต้และซาอุดีอาระเบีย ที่ให้การรับรองโรงงานผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยเพิ่มขึ้น แม้การส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยในปี 2567จะยังเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่ต ่ากว่าเมื่อเทียบกับอดีต สะท้อน จากอัตราการเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ที่มีแนวโน้มปรับลดลง (รูปที่ 3) จากการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ทั้งนี้ ไทยพึ่งการ น าเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นหลัก (กากถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) คิดเป็นสัดส่วนไม่ต ่ากว่า 60% ของปริมาณความ ต้องการใช้ในประเทศ ส่งผลให้ไทยมีต้นทุนการผลิตสูง ราคาผลิตภัณฑ์ไก่จึงสูงกว่าคู่แข่ง (รูปที่ 4) ทั้งในผลิตภัณฑ์ไก่สด แช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป แม้การส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยในปี 2567จะยังเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่ต ่ากว่าเมื่อเทียบกับอดีต สะท้อน จากอัตราการเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ที่มีแนวโน้มปรับลดลง (รูปที่ 3) จากการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ทั้งนี้ ไทยพึ่งการ น าเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นหลัก (กากถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) คิดเป็นสัดส่วนไม่ต ่ากว่า 60% ของปริมาณความ ต้องการใช้ในประเทศ ส่งผลให้ไทยมีต้นทุนการผลิตสูง ราคาผลิตภัณฑ์ไก่จึงสูงกว่าคู่แข่ง (รูปที่ 4) ทั้งในผลิตภัณฑ์ไก่สด แช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป แม้การส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยในปี2567 จะยังเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่ต่ำากว่าเมื่อเทียบกับอดีต สะท้อนจากอัตราการเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ที่มีแนวโน้มปรับลดลง (รูปที่ 3) จากการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ทั้งนี้ ไทยพึ่งการนำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นหลัก (กาก ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) คิดเป็นสัดส่วนไม่ต่ำากว่า 60% ของปริมาณความต้องการใช้ในประเทศ ส่งผลให้ไทยมีต้นทุนการผลิตสูง ราคา ผลิตภัณฑ์ไก่จึงสูงกว่าคู่แข่ง (รูปที่ 4) ทั้งในผลิตภัณฑ์ไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูป
สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ขณะที่คู่แข่งอย่าง สหรัฐฯ บราซิลและจีน มีจุดแข็งจากต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ต่ำา สามารถผลิตได้เอง มีปริมาณผลผลิตไก่และ Economy of scale จึงทำาให้เป็นผู้ผลิตไก่รายสำาคัญของโลกที่มีความได้เปรียบด้านราคา (รูปที่ 5) ขณะที่คู่แข่งอย่าง สหรัฐฯ บราซิลและจีน มีจุดแข็งจากต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ต ่า สามารถผลิตได้เอง มี ปริมาณผลผลิตไก่และ Economy of scale จึงท าให้เป็นผู้ผลิตไก่รายส าคัญของโลกที่มีความได้เปรียบด้านราคา (รูปที่ 5) ดังนั้น แม้ว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยจะเป็นจุดแข็งส าคัญ แต่ด้วยการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ตลอดจนการออกไปขยายฐานการผลิตในต่างประเทศของผู้ประกอบการไทย เพื่อสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน อาจเป็นข้อจ ากัดต่อทิศทางการเติบโตของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่จากฐานการผลิตไทยในอนาคต ดังนั้น แม้ว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยจะเป็นจุดแข็งสำาคัญ แต่ด้วยการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ตลอดจนการออกไปขยายฐาน การผลิตในต่างประเทศของผู้ประกอบการไทย เพื่อสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน อาจเป็นข้อจำากัดต่อทิศทางการเติบโตของมูลค่าการ ส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่จากฐานการผลิตไทยในอนาคต ขณะที่คู่แข่งอย่าง สหรัฐฯ บราซิลและจีน มีจุดแข็งจากต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ต ่า สามารถผลิตได้เอง มี ปริมาณผลผลิตไก่และ Economy of scale จึงท าให้เป็นผู้ผลิตไก่รายส าคัญของโลกที่มีความได้เปรียบด้านราคา (รูปที่ 5) ดังนั้น แม้ว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์ไก่ของไทยจะเป็นจุดแข็งส าคัญ แต่ด้วยการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงขึ้น ตลอดจนการออกไปขยายฐานการผลิตในต่างประเทศของผู้ประกอบการไทย เพื่อสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน อาจเป็นข้อจ ากัดต่อทิศทางการเติบโตของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่จากฐานการผลิตไทยในอนาคต
36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หลังจากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับราคาสูงขึ้นเป็น ประวัติการณ์ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสุกรจนเกษตรกรผู้เลี้ยง ประสบปัญหาขาดทุน จึงต้องหาวิธีการลดต้นทุนด้วยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งการเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ถูกหยิบยกขึ้น มา แต่การใช้วัตถุดิบทดแทนนี้จำาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ใช้ข้อจำากัดต่าง ๆ และการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ถึง จะช่วยลดต้นทุนการผลิตได้อย่างยั่งยืน สพ.ญ.บุญญิตา รุจฑิฆัมพร ที่ปรึกษาสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย เผยว่า หลักการผลิตอาหารสัตว์ไม่ได้ผลิตตามใจชอบ แต่ต้อง ผลิตตามความต้องการของตัวสัตว์ สายพันธุ์ที่พัฒนา และระยะ การผลิต โดยผู้ใช้หรือเกษตรกรต้องการผลผลิตที่ดีในขณะเดียวกัน ก็ต้องการต้นทุนถูก และต้องปลอดภัยต่อตัวสัตว์และผู้บริโภค เนื่องจากไทยต้องการเป็นครัวของโลก จึงต้องเลือกใช้วัตถุดิบอาหาร สัตว์ที่ถูกต้อง วัตถุดิบอาหารสัตว์แบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ วัตถุดิบพลังงาน เช่น ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ข้าว ข้าวสาลีและมันสำาปะหลัง เป็นส่วน ประกอบประมาณ 60% และมีโปรตีนจากพืช คือ กากถั่วเหลืองและ ถั่วเหลืองประมาณ 28% รวมถึงกากคาโนลา และมีปลาป่นประมาณ 3% และอื่น ๆ โดยเฉพาะวิตามิน พริมิก และตัวทดแทนต่าง ๆ ประมาณ 8% เทคนิคเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน... เพื่อลดต้นทุน จากการประมาณการณ์ว่า ในปี2566 ต้องการอาหารประมาณ 19.9 ล้านตัน ต้องใช้ข้าวโพดประมาณ 8.3 ล้านตัน ปลายข้าว 1.4 ล้านตัน มันสำาปะหลัง 1.5 ล้านตัน ซึ่งพบว่า วัตถุดิบผลิตได้ใน ประเทศเพียง 40% ที่เหลืออีก 60% ต้องนำาเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะแหล่งโปรตีนที่ต้องนำาเข้าจากประเทศ ทั้ง กากถั่วเหลือง และกากถั่วจากเมล็ดนำาเข้า รวมถึงวัตถุดิบที่เป็นพลังงานเช่น ข้าวโพด และอื่น ๆ จะเห็นได้ว่า ไทยผลิตข้าวโพดได้เพียง 5 ล้าน ตัน แต่ต้องการสูงถึง 8-9 ล้านตัน ถือว่า ขาดแคลนสูงมากจึงต้อง นำาเข้ามาชดเชย โดยข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้านที่นำาเข้ามา ทั้ง เมียนมาร์และลาว เข้ามา 1.8 ล้านตันในปี64 แต่ประเทศเหล่านี้ ไม่ได้ขายให้ไทยเพียงอย่างเดียวแต่ยังขายไปจีนได้ด้วย ก็ต้องติดตาม ไปด้วยว่า เพื่อนบ้านจะผลิตได้เท่าใด และจะขายให้กับใคร ก็ต้อง ประเมินความสัมพันธ์ด้วยว่า เป็นอย่างไร มันเส้น ต้องการใช้ 1.5 ล้านตัน ก็มีการใช้แต่วันนี้อาจใช้ มากไม่ได้ เพราะราคาแพงขึ้น ถ้าไปดูรายงานจากสมาคมผู้ผลิต มันสำาปะหลัง อาหารสัตว์เป็นลูกค้าเพียง 20% ส่วนใหญ่เป็นการ ผลิตเพื่อการส่งออก อาหารสัตว์เป็นเพียงลูกค้ารายย่อย และวันนี้ ราคามันสำาปะหลังแพงขึ้น ทุกคนก็มองที่การส่งออกเป็นหลัก ทำาให้ โอกาสนำามันเส้นมาใช้ผลิตอาหารสัตว์ยากขึ้น ส่วนปลายข้าวก็เป็น วัตถุดิบที่ใช้ประจำา แต่เมื่อราคาปรับขึ้น อาหารสัตว์ก็ต้องปรับตาม เพราะอาหารบางชนิดที่ต้องใช้ปลายข้าวเช่นกัน
สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ วัตถุดิบพลังงาน เทียบกับ ข้าวโพด ข้าวสาลีข้าวบาร์เลย์ มันสำาปะหลัง ปลายข้าว ข้าวฟ่าง และดีดีจีเอส ซึ่งไม่ควรถือเป็น วัตถุดิบพลังงาน เพราะมีสัดส่วนคาร์โบไฮเดรทน้อยมาก ถือเป็นเพียง กากข้าวโพด ควรเป็นแหล่งโปรตีนมากกว่า โดยจะมองเห็นว่า คุณค่า โภชนะ โดย % แป้ง ปลายข้าวกับมัน สูงกว่าข้าวโพด แต่ขณะ เดียวกัน ข้าวสาลีข้าวบาร์เลย์ จะมีแป้งต่ำากว่า เมื่อพิจารณาการ เลือกใช้ในการทำาอาหารสัตว์ ให้มีต้นทุนอยู่ในระดับที่ต้องการ แต่ สิ่งสำาคัญในการประกอบสูตรอาหาร สิ่งสำาคัญ คือ สูตรอาหาร ต้องตรงตามความต้องการของตัวสัตว์ยิ่งสัตว์ที่มีการพัฒนาสายพันธุ์ ยิ่งทำาให้ต้องมีความละเอียดในการทำาสูตรอาหารสัตว์ เพราะตัวสัตว์ ที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ทำาอาหารไม่ได้ตามความต้องการของตัวสัตว์ ก็เป็นการเสียประโยชน์ทำาให้ประสิทธิภาพต่ำาลง ยกตัวอย่าง พันธุกรรมสุกร วันนี้แม่หมูต้องให้ลูกได้30 ตัว ต่อแม่ต่อปีในขณะที่พันธุกรรมของสุกรจากต่างประเทศทำาลูกได้ถึง 40 ตัวต่อแม่ต่อปีแล้ว โดยใช้อาหารประมาณ 1.2 ตันต่อปีเท่านั้น ถ้าผลิตลูกสุกรได้ 30 ตัวต่อแม่ต่อปี เทียบกับ 40 ตัวต่อแม่ต่อปี แสดงให้เห็นว่า ต้นทุนการผลิตแข่งขันไม่ได้แล้วในต้นทุนลูกสุกร และ การพัฒนาพันธุ์ปศุสัตว์ก็พยายามให้ใช้พื้นที่น้อยที่สุด ได้ประสิทธิภาพ มากที่สุด ปัจจัยการเลี้ยงต่างๆ ก็ต้องส่งเสริมด้วย ทั้งการจัดการ และอาหารสัตว์ โภชนะ รวมถึงความปลอดภัย เพราะหากคุณภาพ ไม่ดีไม่ใช่เพียงมีโปรตีนที่ถูกต้อง แต่ต้องมีโปรตีนที่เหมาะสม ไม่มี การปนเปื้อนใด ๆ เพราะหากสัตว์สุขภาพไม่ดีก็มีผลต่อประสิทธิภาพ การผลิตเช่นกัน จากการเปรียบเทียบคุณค่าโภขนะเทียบกับราคาพบว่า ข้าวโพด มีIndex ต่ำาที่สุด 99.7 ในราคาที่ 11.50 บาท ส่วนปลายข้าวที่ ราคา 14 บาท ค่า Index อยู่ที่107 ถือว่า ใกล้เคียงกัน ใช้ตัวใด ก็ถือว่าพอทดแทนกันได้ ส่วนข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์พบว่า ค่า Index ต่ำากว่า แสดงให้เห็นว่า ในระดับโภชนะที่ใกล้เคียงกัน แต่ ราคาถูกกว่า เหมาะสมกับการใช้เป็นวัตถุดิบทดแทน ในขณะที่มัน เส้น ค่า Index สูงมาก เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ควรเลือกใช้วัตถุดิบ อย่างไร เพื่อผลิตอาหารสัตว์ในต้นทุนที่เหมาะสม ดังนั้น เมื่อราคา เปลี่ยนแปลงก็ใช้Index เหล่านี้ในการประเมินว่า จะเลือกใช้วัตถุดิบ อย่างไรบ้าง ข้อเด่นข้อด้อยของวัตถุดิบพลังงาน เริ่มจาก ข้าวโพด มีค่า คอโรฟิล หรือสารสีที่ต้องการในไก่ไข่ เพื่อให้สีไข่สวย แม้จะใช้ ปลายข้าวทดแทนได้ทั้งหมด แต่ก็ต้องเติมสารสีเข้าไป เพื่อในไข่สวย ทำาให้ราคาสูงขึ้น ยกเว้น ผู้บริโภคไม่ต้องการสีไข่แดง ขณะที่ มันสำาปะหลัง เป็นวัตถุดิบที่มาจากดิน จึงมักพบปัญหา เพราะ มันสดหลังเก็บเกี่ยวมาแล้วจะผ่านกระบวนการทำาแป้งก่อน เพราะมี ความชื้นสูง และวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ดีไม่ควรมีความชื้นเกิน 15% หัวมันสดก็ต้องนำามาตาก แต่มักมีปัญหาความสะอาด ทำาให้มีการ ปนเปื้อนทรายสูง และยังมีเชื้อแบคทีเรียกลุ่มคอสทริเดียม ทำาให้สัตว์ ที่มีความไวต่อเชื้อแบคทีเรียกลุ่มนิ้เกิดปัญหาได้ โดยเฉพาะแผล ในระบบทางเดินอาหาร ทำาให้การใช้จำาเป็นต้องระวัง โดยเฉพาะ แม่พันธุ์สุกร แสดงให้เห็นถึงข้อจำากัด อีกทั้งยังมีเยื่อใยสูง ทำาให้ใช้ มากเกินไปไม่ได้ เพราะทำาให้สูตรอาหารสัตว์มีกากสูงกว่าที่จด ทะเบียนอาหารสัตว์ค่อนข้างสูง โดยมันสำาปะหลังมีทั้ง มันเส้นและ มันอัดเม็ด แต่มัดผ่านกระบวนการอัดเม็ดอาจทำาให้เปอร์เซ็นต์แป้ง ต่ำาลง ทำาให้สูตรอาหารแทนที่จะลดกลับแพงขึ้น อีกทั้งมันเส้นเมื่อ ผ่านกระบวนการบดทำาให้มีฝุ่นสูงกระทบกับชุมชน มันในอาหารสุกร หากใช้มากก็อาจกระทบกับคุณภาพซากและอาจเสียราคา ส่วนปลาย ข้าว ด้วยราคาที่ปรับขึ้นอาจทำาให้การนำามาใช้ยากขึ้น เนื่องจาก นำาไปผลิตข้าวในการส่งออก ทำาให้ราคาแพงตามไปด้วย วงจรวัตถุดิบอาหารสัตว์ไม่ได้มาจากเกษตรกรแล้วถึงโรงงาน เลย แต่จริงแล้วต้องผ่านผู้รวบรวม ปรับปรุงคุณภาพ เช่น ข้าวโพด หลังจากเก็บเกี่ยวมีความชื้น 30% ก็ต้องนำามาตาก โดยผู้รวบรวม เพื่อปรับปรุงคุณภาพลดความชื้น รวมถึงนำาเข้าส่งออกได้ด้วย ถือเป็นโซ่ข้อกลางที่มองข้ามไม่ได้เพราะมีผลต่อปริมาณและคุณภาพ อาหารสัตว์ ดังนั้น เพื่อความยั่งยืนในการผลิตของไทย ต้องมองหาทาง ผลิตข้าวโพดไทยให้เพียงพอมีความเป็นไปได้หรือไม่ ด้วยการปรับ ประสิทธิภาพการผลิตให้ดีขึ้น เพราะตอนนี้ถือว่า ห่างจากผู้นำา ค่อนข้างมาก เพราะไทยผลิตเฉลี่ย 700 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่ อเมริกาผลิตได้1,822 กิโลต่อไร่ ต่างเกือบ 3 เท่า ขณะที่จีน บราซิล อาร์เจนตินา ยูเครน ก็ผลิตได้มากกว่า แถมยังผลิตต่ำาค่าเฉลี่ยของ โลก ซึ่งเป้าหมายของไทย ขอผลิตได้ตามมาตรฐานโลกก็ถือว่า ดีขึ้น มาแล้ว ในอนาคต คาร์บอนฟุตพริ๊นท์ เข้ามาบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำาให้ผู้ผลิต เช่น อเมริกา ที่ผลิตถั่วเหลืองมามีการปลดปล่อย คาร์บอนต่ำากว่า อาร์เจนตินาและบราซิล ทำาให้ไทยต้องศึกษาการ ปลดคาร์บอนฟุตปรินท์ของข้าวโพด วัตถุดิบทดแทนข้าวโพดเพื่อความยั่งยืนของอาหารสัตว์ไทย ก็ ต้องมองหาวัตถุดิบพลังงานที่มีคุณค่าทางโภชนะและราคาที่เหมาะสม เพื่อผลิตปศุสัตว์ที่มีต้นทุนแข่งกับตลาดโลกได้ เพราะไทยเป็นผู้ผลิต เพื่อการส่งออก ก็จำาเป็นต้องคิดถึงต้นทุนที่แข่งขันได้ด้วย หากผลิต ไม่พอ จะหาจากที่ใด เพื่อให้วัตถุดิบที่เหมาะสม ในต้นทุนที่แข่งขัน ได้ ส่วนความยั่งยืน คือ คาร์บอน ที่จะเข้ามาเป็นมาตรฐานใน แต่ละประเทศ ซึ่งการวัดคาร์บอนไม่ได้วัดเพียงจุดใดจุดหนึ่ง แต่ เป็นการวัดตั้งแต่ต้นจนถึงปลายทาง การปรับปรุงคุณภาพต่าง ๆ การลดความชื้น จนไปถึงโรงงานอาหารสัตว์จะเป็นอย่างไรบ้าง และ ทุกคนต้องร่วมมือด้วย
28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และ สภาการส่งออกถั่วเหลืองแห่งสหรัฐอเมริกา (USSEC) ร่วมกันลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลในการผลิตวัตถุดิบอาหาร สัตว์ที่ยั่งยืน รวมถึง การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่จะส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการผลิตวัตถุดิบอาหาร สัตว์และสินค้าปศุสัตว์ ให้ตอบสนองความต้องการสินค้าปศุสัตว์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอด ระยะเวลา 3 ปีนับจากนี้ หวังเป็นต้นแบบให้การผลิตข้าวโพดฯ มัน ข้าวและปลาป่น ปรับตัว เป็นวัตถุดิบยั่งยืนของไทยได้ในเร็ววัน นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผยว่า การลงนาม ความร่วมมือในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าภาคธุรกิจอาหารสัตว์ และปศุสัตว์ของไทย มีความพร้อม ที่จะเดินหน้าเกี่ยวกับการผลิตสินค้าที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นเรื่องที่สมาคมให้ความสำาคัญมาโดยตลอดเป็น ระยะเวลากว่าสิบปี ปีนี้ความต้องการผลิตอาหารสัตว์ของไทยอยู่ที่ประมาณ 21.3 ล้านตัน โดยในจำานวนนี้ต้อง พึ่งพิงวัตถุดิบนำาเข้ากว่า 60% และยังใช้วัตถุดิบภายในประเทศอีกประมาณ 40% ดังนั้น ไม่ว่า จะเป็นการนำาเข้าถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง ข้าวสาลี หรือแม้แต่วัตถุดิบภายในประเทศอย่าง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำาปะหลัง ผลิตภัณฑ์ข้าว และปลาป่น จะต้องเข้าสู่ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อมทั้ง 100% ด้วย “ความร่วมมือกับ USSEC ในครั้งนี้ จะเป็นตัวอย่างในการจัดหาถั่วเหลืองและกากถั่วเหลือง ที่มีความยั่งยืน ซึ่งจะเป็นแหล่งความรู้ที่จะช่วยเร่งให้ไทยสามารถพัฒนาระบบการผลิตวัตถุดิบ อาหารสัตว์ภายในประเทศให้ยั่งยืนได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นข้าวโพด มันสำาปะหลัง ข้าว ส.อาหารสัตว์ไทย ลงนามข้อตกลง “USSEC” ชูโมเดลสหรัฐฯ ต้นแบบสร้างวัตถุดิบยั่งยืนในไทย
สัตว์เศรษฐกิจ 29 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หรือปลาป่น เพราะราคาจะไม่ใช่สิ่งแรกที่ตลาดถามหาอีกต่อไป แต่ค่าการปล่อยคาร์บอนของ สินค้าชิ้นนั้นต่างหาก จะเป็นสิ่งแรกที่ตลาดถามถึง ซึ่งไทยต้องตอบโจทย์นี้ให้ได้” นายพรศิลป์ กล่าว ขณะที่สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย มีความพยายามในการสนับสนุนให้เกิดการสร้างวัตถุดิบ ที่ยั่งยืนมาอย่างต่อเนื่อง ล่าสุด สมาคมฯ ในนามของภาคีปศุสัตว์และสัตว์น้ำาไทย ได้ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ดำาเนินการตรวจวัดการปล่อยคาร์บอนในแปลงปลูก ข้าวโพดและกระบวนการผลิตปลาป่น ตั้งแต่ปี 2565 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างประมวลผล อย่างไร ก็ตาม การทำาข้อตกลงความร่วมมือในครั้งนี้ จะช่วยสนับสนุนการจัดหาวัตถุดิบอย่างยั่งยืนของ สมาชิกสมาคมฯได้เร็วยิ่งขึ้น เพื่อให้การส่งออกอาหารของไทยสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ท่ามกลางความท้าทายในการตรวจสอบย้อนกลับวัตถุดิบอาหารสัตว์ของประเทศคู่ค้า ข้อตกลงความร่วมมือสร้างวัตถุดิบที่ยั่งยืนระหว่าง 2 หน่วยงานนี้ ครอบคลุมการแลก เปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การศึกษาพิธีการรับรองความยั่งยืนของ วัตถุดิบถั่วเหลืองจากสหรัฐ (SSAP- Soy Sustainability Assurance Protocol) ที่สามารถใช้ เป็นเอกสารยืนยันความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์สำาหรับใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์และอาหารมนุษย์ ตลอดจน ข้อแนะนำาด้านความโปร่งใสในระบบห่วงโซ่อุปทานและการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่สำาคัญคือ USSEC จะสนับสนุนด้านวิชาการและกลไกการรายงานให้อยู่ในเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานโลก เพื่อ สนับสนุนให้การผลิตอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศไทยเป็นไปในทิศทางเดียวกับมาตรฐาน ที่โลกต้องการ นายจิม ซัทเทอร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ USSEC กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นผู้ส่ง ออกเนื้อไก่อันดับ 3 ของโลก ซึ่งมีส่วนสำาคัญต่อการเติบโตของการผลิตอาหารสัตว์ในประเทศ คาดว่าความต้องการอาหารสัตว์ของไทยจะเพิ่มขึ้นอีก 4.5 % จากปี 2567 ถึง 2572 โดยความ ต้องการในการจัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ยั่งยืนยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ USSEC พร้อม มากที่จะร่วมมือกับ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ในการเปิดทางสู่อนาคตที่แข็งแกร่งใน ภูมิศาสตร์การเกษตร ทั้งภาคการผลิตพืชวัตถุดิบ การผลิตภาคปศุสัตว์และการผลิตอาหารของ ประเทศไทย สำาหรับถั่วเหลืองของสหรัฐฯ มีรอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint) น้อยที่สุด เมื่อเทียบ กับถั่วจากแหล่งที่มาอื่น ๆ โปรตีนพืชอื่น ๆ และน้ำามันพืช ตั้งแต่ปี 2523 เกษตรกรถั่วเหลือง ของสหรัฐฯ ได้ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้น้ำาในการปลูกถั่วเหลืองถึง 60% เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พื้นที่ดินได้ถึง 48% ปรับปรุงการอนุรักษ์ดินได้ถึง 34% และเพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองได้ถึง 130% โดยใช้พื้นที่ปลูกเท่าเดิม การลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ เชื่อว่าจะทำาให้อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของไทยได้รับ ประโยชน์จากการเรียนรู้โมเดลถั่วเหลืองของสหรัฐมาพัฒนาในหลายด้าน เช่น การลดรอยเท้า คาร์บอนในโรงงานอาหารสัตว์ การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรดินและน้ำา การลดการใช้ สารเคมีในการเกษตร และการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตอาหารสัตว์ อีกทั้งยังช่วยสนับสนุน การผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจอาหารสัตว์ เกิดประโยชน์ต่อ ประเทศไทยทั้งในด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ...
38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เลือกซื้ออาหารสดอย่างไร ให้ปลอดภัย ในฤดูร้อน นักกำ�หนดอ�ห�ร เตือนผู้บริโภคระมัดระวังก�รเลือกซื้อสินค้�ปศุสัตว์และอ�ห�รทะเลใน ช่วงฤดูร้อน โดยสังเกตจ�กลักษณะภ�ยนอก กลิ่น สี เนื้อสัมผัส ย้ำ�ควรซื้อจ�กผู้ผลิตที่มี ม�ตรฐ�นเชื่อถือได้ ผ่�นก�รรับรองม�ตรฐ�นคว�มปลอดภัย มีตร�สัญลักษณ์บนบรรจุภัณฑ์ ที่สำ�คัญให้เก็บรักษ�ในตู้เย็นที่อุณหภูมิเหม�ะสม ป้องกันก�รเน่�เสีย ดร.วนะพร ทองโฉม นักสุขศึกษา (นักกำาหนดอาหารวิชาชีพ) งานสร้างเสริมสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่�วว่� ช่วงฤดูร้อน อุณหภูมิ ในประเทศไทยอ�จสูงถึง 40 องศ�เซลเซียสขึ้นไป เหม�ะแก่ก�รเติบโตของจุลินทรีย์ก่อโรค ซึ่ง เป็นส�เหตุทำ�ให้อ�ห�รบูดเสียได้ง่�ย ก�รรับประท�นอ�ห�รและเลือกซื้ออ�ห�รจำ�เป็นต้องเพิ่ม คว�มระมัดระวังเป็นพิเศษ ที่สำ�คัญควรปรุงสุก และรับประท�นหลังปรุงเสร็จใหม่ สำ�หรับก�รเลือกซื้ออ�ห�รสด ทั้งเนื้อสัตว์อ�ห�รทะเล และผักสดชนิดต่�ง ๆ เป็นกลุ่ม อ�ห�รที่เน่�เสียได้ง่�ย ผู้บริโภคต้องพิจ�รณ�จ�กลักษณะภ�ยนอก เช่น คว�มสด คว�มสะอ�ด กลิ่น สี เนื้อสัมผัส สภ�พแวดล้อมของสถ�นที่จำ�หน่�ย ควบคู่กับก�รสังเกตตร�สัญลักษณ์ “ปศุสัตว์OK” จ�กกรมปศุสัตว์หรือฉล�กรับรองม�ตรฐ�นอ�ห�รปลอดภัย และควรเลือกจ�ก แหล่งจำ�หน่�ยที่มีคว�มน่�เชื่อถือ ได้รับก�รรับรองม�ตรฐ�นจ�กหน่วยง�นร�ชก�ร เช่น “ตล�ดสด น่�ซื้อ” ของกรมอน�มัย “ตล�ดนัดน่�ซื้อ” หรือร้�นอ�ห�ร แผงลอย ที่ได้รับรอง ม�ตรฐ�นด้วยตร�สัญลักษณ์อ�ห�รสะอ�ด รสช�ติอร่อย (Clean Food Good Taste) ขณะเดียวกัน ห�กซื้อจ�กรถเร่จำ�หน่�ยอ�ห�รหรือรถพุ่มพวง ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ เนื่องจ�กอ�ห�รในรถเร่อ�จมีก�รจัดเก็บที่ไม่ถูกหลักวิธีโดยเฉพ�ะเนื้อสัตว์และอ�ห�รทะเล ซึ่ง ส่วนม�กจะแช่น้ำ�แข็งในตู้แช่ ซึ่งอุณหภูมิอ�จไม่อยู่ในระดับที่เหม�ะสมในก�รรักษ�คุณภ�พ และ คว�มเย็นอ�จไม่เพียงพอทั่วถึง เกิดก�รเพิ่มจำ�นวนของจุลินทรีย์ก่อโรค ทำ�ให้เนื้อสัตว์เน่�เสีย ได้ส่วนอ�ห�รปรุงสำ�เร็จที่บรรจุใส่ถุงพล�สติกไว้ให้สังเกตห�กมีฟองก๊�ซในถุงไม่ควรซื้อ และ ควรหลีกเลี่ยงอ�ห�รหรือขนมที่มีส่วนผสมของกะทิเนื่องจ�กบูดเสียได้ง่�ยกว่�อ�ห�รอื่น ๆ
สัตว์เศรษฐกิจ 39 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ “การซื้อเนื้อสัตว์ไม่ว่าจะตลาดสดหรือซูเปอร์มาร์เก็ต ต้องคำานึงถึงอุณหภูมิที่วางขายเป็น สำาคัญ ควรเก็บอยู่ในอุณหภูมิต่ำากว่า 4 องศาเซลเซียส กรณีต้องเดินทางเกินกว่า 2 ชั่วโมง ให้ใส่ในภาชนะที่เก็บความเย็นอย่างกระติกหรือถังน้ำาแข็ง เมื่อถึงบ้านแนะนำาให้ล้างเนื้อสัตว์และ เก็บเข้าตู้เย็นในช่องแช่แข็งเพื่อช่วยรักษาเนื้อสัตว์ให้คงความสดได้นานยิ่งขึ้น” ดร.วนะพร กล่�ว หลักในก�รเลือกเนื้อสัตว์ “เนื้อหมู” มีสีอมชมพู ไม่แดงจัด “เป็ดหรือไก่” เนื้อหน้�อก แน่น หนังเป็นมัน บริเวณปีกหรือใต้ปีกไม่มีสีคล้ำ� ไม่มีกลิ่นเหม็น ห�กเลือกซื้อเนื้อสัตว์ในบรรจุ ภัณฑ์ ให้สังเกตตร�สัญลักษณ์รับรองม�ตรฐ�นว่�ผ่�นเกณฑ์อ�ห�รปลอดภัย ดูวันผลิตและ วันหมดอ�ยุที่สำ�คัญห�กยังไม่รับประท�นทันทีควรใส่ในภ�ชนะที่ปิดมิดชิดและเก็บในอุณหภูมิ ที่เหม�ะสม คือ ต่ำ�กว่� 4 องศ�เซลเซียส ในช่องแช่เย็นหรือแช่แข็งในตู้เย็น และควรแบ่ง ประเภทของเนื้อสัตว์ เว้นช่องว่�งในก�รแช่เพื่อให้อุณภูมิคว�มเย็นเข้�ถึง ช่วยยืดอ�ยุของก�ร เก็บรักษ�ได้น�นยิ่งขึ้น สำ�หรับอ�ห�รทะเล เลือกที่สด ไม่มีสีและกลิ่นที่ผิดปกติโดยสังเกตจ�กลักษณะภ�ยนอก “ปล�” เลือกที่มีเหงือกสีแดง ไม่เขียวคล้ำ� หนังปล�เป็นมันเง� เนื้อแน่น กดไม่บุ๋ม ไม่มีกลิ่น ค�ว ต�ใส ไม่ช้ำ�เลือดหรือขุ่นเป็นสีเท� “ปู” เลือกปูที่ยังไม่ต�ย ต�ใส และข�ต้องติดตัวปูครบ ทุกข� “กุ้ง” เลือกเนื้อแน่น ไม่มีกลิ่นค�วเหม็นคล้�ยกลิ่นแอมโมเนีย ครีบและห�งต้องเป็นมัน สดใส หัวกับตัวยังติดกันแน่น เพร�ะกุ้งที่ไม่สดหัวจะไม่ติดกับตัว เมื่อซื้ออ�ห�รทะเลม�แล้วและยังไม่นำ�ม�ปรุงกินทันทีควรล้�งทำ�คว�มสะอ�ดแยกเก็บ ใส่ตู้เย็นในช่องแช่แข็งที่อุณหภูมิติดลบ เพื่อชะลอก�รเน่�เสีย ห�กแช่ในอุณหภูมิ -1 ถึง 1 องศ�เซลเซียส ระยะเวล�ในก�รเก็บจะอยู่ที่ 1-2 วัน และก่อนนำ�ม�ปรุงอ�ห�รต้องล้�งด้วย น้ำ�สะอ�ดอีกครั้ง ที่สำ�คัญเน้นปรุงสุกด้วยคว�มร้อน หลีกเลี่ยงก�รกินแบบดิบ หรือ สุก ๆ ดิบ ๆ เพื่อลดคว�มเสี่ยงโรคอ�ห�รเป็นพิษ และอุจจ�ระร่วง “ไข่ไก่” ควรเก็บไข่ไว้ในตู้เย็นที่มีอุณหภูมิต่ำ�กว่� 10 องศ�เซลเซียส ในช่องว�งไข่ เพื่อ ป้องกันก�รกระแทก โดยให้ด้�นแหลมลง ด้�นป้�นขึ้น เนื่องจ�กบริเวณด้�นป้�นจะมีฟองอ�ก�ศ อยู่ด้�นใน เมื่อพลิกไข่ขึ้นด้�นบน จะทำ�ให้ไข่แดงไม่แตกเร็ว และยังส�ม�รถช่วยยืดอ�ยุไข่ให้ เก็บไว้ได้น�นขึ้น ไข่ที่ซื้อม�จ�กตล�ดสดที่มีคร�บเปรอะให้เช็ดทำ�คว�มสะอ�ดก่อนนำ�เข้�แช่ในตู้เย็น ไม่ แนะนำ�ให้ล้�งเพร�ะก�รล้�งจะทำ�ให้ส�รเคลือบผิวไข่ที่รักษ�คว�มสดของไข่ห�ยไป ส่งผลให้ แบคทีเรียส�ม�รถเข้�ไปในไข่ได้ง่�ย เป็นส�เหตุทำ�ให้ไข่เสียเร็วขึ้น ห�กไข่มีรอยร้�วหรือแตก ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้เพร�ะเชื้อโรคที่เปลือกไข่อ�จเข้�ไปในไข่ได้ให้ตอกใส่ภ�ชนะที่มีฝ�ปิดสนิท แล้วแช่ตู้เย็นจะทำ�ให้เก็บได้น�นขึ้น สำ�หรับผู้ประกอบก�รที่ใช้เนื้อสัตว์จำ�นวนม�ก ให้เลือกซื้อจ�กร้�นที่ผ่�นเกณฑ์ม�ตรฐ�น ก�รผลิตจ�กกรมปศุสัตว์รวมถึงเนื้อสัตว์แปรรูปต่�ง ๆ เช่น ไส้กรอก ลูกชิ้น เลือกจ�กร้�น หรือเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีก�รรับรองม�ตรฐ�นอ�ห�รปลอดภัย และเก็บรักษ�ในอุณหภูมิที่ต่ำ�กว่� 4 องศ�เซลเซียส ไม่ควรซื้อม�สต็อกไว้เป็นจำ�นวนม�กเพร�ะมีโอก�สที่จะเน่�เสียได้./
42 สัตว์เศรษฐกิจ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ก้าวเข้าสู่ช่วงปลายปี ช่วงนี้สภาพอากาศ และสภาพแวดล้อมก าลังเปลี่ยนแปลง อาจพบฝนประปรายสลับกับลมหนาว ทั้งคน และสัตว์ในไทยนั้น อาจคุ้นเคย หรือชินกับการปรับร่างกายให้เข้ากับอุณหภูมิสูง หรืออากาศร้อนที่มีตลอดเกือบทั้งปีได้ ดีกว่า ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิลดต ่า มีลมหนาว สัตว์ก็อาจจะไม่คุ้นชิน ปรับสรีรวิทยาในร่างกายไม่ทัน เกิดความเครียด ภูมิคุ้มกัน ลดต ่าลง จึงมีโอกาสติดเชื้อใหม่ หรือเชื้อที่อาจพบแฝงอยู่ในร่างกายโดยปกติไม่ก่อโรค ก็กลับมาก่อโรคระบาดที่รุนแรงขึ้นได้ ดังตัวอย่างเช่น โรคคอบวมในโคกระบือ เป็นต้น ที่มักพบระบาดตั้งแต่ปลายฤดูฝนต่อเนื่องไปยังฤดูหนาว โรคคอบวม หรือ โรคเฮโมรายิก เซฟติซีเมีย (Haemorrhagic septicemia) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย พาสทูเรลล่า มัลโต ซิดา (Pasteurella multocida) แกรมลบ รูปร่างกลม รูปแท่งหัวท้ายมน มี 5 ไทป์(A, B, D, E, F) ที่พบมากในไทยคือ ไทป์ B พบเชื้อได้ในเกือบทุกประเทศ แต่พบมากในเอเชีย แอฟริกา และเขตที่มีการเลี้ยงกระบือมากๆ โรคนี้จะระบาดได้รวดเร็ว ท าให้ เกิดการป่วยและตายจ านวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบือ ส่วนโคอาจรุนแรงน้อยกว่า ส่วนแพะ แกะ สุกร ม้า อูฐ กวาง กระทิง ลิง ช้าง ก็ติดโรคได้ แต่อาการแทบจะไม่รุนแรง และโรคนี้ไม่ติดต่อสู่คน แบคทีเรียชนิดนี้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานพอสมควร เช่น แปลงหญ้า ดินชื้นแฉะ มีรายงานว่าในแปลงหญ้าที่แห้งอาจ อยู่ได้แค่ 24 ชม. แต่หากในดินหรือทุ่งหญ้าชื้นแฉะ หรือในน ้าอาจอยู่ได้นานหลายวัน จนถึง 2-3 สัปดาห์ หรือมีรายงานนาน เป็นเดือนก็ได้ แต่แบคทีเรียนี้ก็ถูกท าลายได้ง่ายด้วยความร้อน แสงแดด รวมถึงยาฆ่าเชื้อทั่วไปก็สามารถฆ่าได้ง่ายเช่นกัน แบคทีเรียจะถูกขับออกมาจากสัตว์ที่เป็นตัวเก็บเชื้อ หรือแพร่เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่ง หรือสิ่งขับถ่าย เช่น น ้ามูก น ้าลาย น ้านม อุจจาระ ปัสสาวะ และติดต่อไปสู่ตัวอื่นโดยทางการหายใจ หรือการกิน ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ป่วย หรือกินเชื้อ ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร น ้า หรือสิ่งปูรองนอน โดยที่โรคนี้ไม่ติดต่อผ่านแมลง ในบริเวณที่มีความชุกโรคสูง จะพบเชื้อนี้ในตัวโคกระบือได้ประมาณ 5% ของฝูง อยู่ที่บริเวณโพรงจมูก คอหอย ทอนซิล โดยไม่แสดงอาการป่วย หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นพาหะ หรือตัวเก็บกักเชื้อ แต่ในช่วงที่เกิดการระบาดขึ้นแล้ว จะพบตัว ที่เป็นพาหะนี้เพิ่มมากขึ้นเป็น 20% เลยก็เป็นได้ปัจจัยเสริมที่ท าให้เชื้อก่อความรุนแรงเพิ่มขึ้น หรือแพร่ออกมานั้นได้แก่ ภาวะ ความเครียดจากการเปลี่ยนฤดูกาล ร้อนจัด หนาวจัด เคลื่อนย้ายสัตว์ ใช้แรงงานหนัก สภาพร่ายกายอ่อนแอ มีโรคอื่น พยาธิ สภาพแวดล้อมเปียกหรือชื้นแฉะ ไม่ค่อยมีแสงแดด ขาดอาหาร อาหารไม่มีคุณภาพ ได้รับวิตามินแร่ธาตุไม่ถูกต้องครบ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส เมื่อประมาณช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา อ้างอิงรายงานข่าวต่างประเทศพบผู้ป่วยติดโรคแอนแทรกซ์ (Anthrax) จากการบริโภคเนื้อโคกระบือดิบ ทางตอนใต้ของลาว เริ่มแรกมีผู้ป่วยจำานวน 3 ราย จากนั้นพบมากขึ้นเรื่อยๆ จนล่าสุดมากถึง 54 ราย พบร่วมกับสัตว์ป่วยตาย ทำาให้วงการสาธารณสุข และปศุสัตว์ของไทยเตรียมเฝ้าระวัง และสอบสวนโรคทั้งในคนและสัตว์อย่างเข้มงวด พร้อมยกระดับมาตรการป้องกัน และแก้ไขกันไว้อย่างเต็มที่ เนื่องจากประเทศไทยไม่มีรายงานการพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มาตั้งแต่ปี2544 แล้ว โรคแอนแทรกซ์เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก Bacillus anthracis ที่แยกเชื้อได้ตั้งแต่ปี1877 เป็นแบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างเป็น แท่งขนาดใหญ่ มีความกว้างประมาณ 1.5-2.0 ไมครอน ยาวประมาณ 3.0-5.0 ไมครอน มักเรียงตัวอยู่ต่อ ๆ กันเป็นเหมือนสายโซ่ ปลาย มนหรือตัด มีแคปซูลหุ้ม ต้องการออกซิเจน แต่ก็สามารถเจริญได้ในที่ออกซิเจนน้อย สร้างสปอร์ที่มีความทนทานมากได้ จึงทนยาฆ่าเชื้อ หลายชนิด ทนความร้อนแห้งแล้ง หรือทนอุณหภูมิสูงได้ดีจึงปนเปื้อนอยู่ในดินได้นานมาก มีรายงานว่าสปอร์ของโรคแอนแทรกซ์นี้สามารถ อยู่ในดินแห้งได้นานถึง 10-40 ปีจึงเป็นสาเหตุว่าพื้นที่ใดที่เคยเกิดโรคแอนแทรกซ์แล้ว ก็จะมีการระบาดซ้ำาอยู่เสมอ ๆ ในพื้นที่เดิม สายพันธุ์ อื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน อยู่ในกลุ่ม Bacillus ได้แก่ B. cereus, B. thuringiensis, B. subtilis ซึ่งพวกนี้จะสร้างเอนไซม์ย่อยโปรตีนได้ดีจึง มักจัดอยู่ในกลุ่มที่ทำาลายอาหาร ก่อโรคอาหารเป็นพิษ แต่ B. anthracis มีความพิเศษในแง่การสร้างสารพิษนอกตัว (Exotoxin) ได้อันเป็น ที่มาของพยาธิกำาเนิด และอาการที่รุนแรงของโรคแอนแทรกซ์หรือที่คนสมัยก่อนเคยเรียกโรคนี้ว่า “โรคกาลี” นั่นเอง สัตว์ที่ติดเชื้อ และไวต่อโรคแอนแทรกซ์คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์กินพืชกินหญ้า สัตว์เคี้ยวเอื้อง โค กระบือ แพะ แกะ สัตว์ป่าเช่น ช้าง เก้ง กวาง ติดผ่านการกิน หรือหายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไป รวมถึงติดผ่านบาดแผล รอยถลอก รอยขีดข่วน และ แมลงดูดเลือด แล้วไปเพิ่มจำานวนที่ต่อมน้ำาเหลือง ม้าม ท้ายสุดมักเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งทางของการได้รับเชื้อนี้จะมีความสัมพันธ์กับพยาธิ กำาเนิด อาการ วิการ รอยโรคในอวัยวะหรือระบบที่แตกต่างกันไป โดยในโคกระบือจะมีระยะฟักตัวประมาณ 1-20 วัน อาการจะเด่นชัดช่วง 3-7 วัน แสดงอาการได้3 รูปแบบสำาคัญตามช่องทางการติดคือ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE แอนแทรกซ์ (ติดสู่คน) ร้ายแรงจนห้ามหลงลืม น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผ้จูดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส เมื่อประมาณช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา อ้างอิงรายงานข่าวต่างประเทศพบผู้ป่วยติดโรคแอนแทรกซ์ (Anthrax) จาก การบริโภคเนื้อโค-กระบือดิบ ทางตอนใต้ของลาว เริ่มแรกมีผู้ป่วยจ านวน 3 ราย จากนั้นพบมากขึ้นเรื่อยๆ จนล่าสุดมากถึง 54 ราย พบร่วมกับสัตว์ป่วยตาย ท าให้วงการสาธารณสุข และปศุสัตว์ของไทยเตรียมเฝ้าระวัง และสอบสวนโรคทั้งในคนและสัตว์ อย่างเข้มงวด พร้อมยกระดับมาตรการป้องกัน และแก้ไขกันไว้อย่างเต็มที่ เนื่องจากประเทศไทยไม่มีรายงานการพบผู้ป่วย ด้วยโรคนี้มาตั้งแต่ปี 2544 แล้ว โรคแอนแทรกซ์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก Bacillus anthracis ที่แยกเชื้อได้ตั้งแต่ปี 1877 เป็นแบคทีเรียแกรม บวก รูปร่างเป็นแท่งขนาดใหญ่ มีความกว้างประมาณ 1.5-2.0 ไมครอน ยาวประมาณ 3.0-5.0 ไมครอน มักเรียงตัวอยู่ต่อๆ กัน เป็นเหมือนสายโซ่ ปลายมนหรือตัด มีแคปซูลหุ้ม ต้องการออกซิเจน แต่ก็สามารถเจริญได้ในที่ออกซิเจนน้อย สร้างสปอร์ที่มี ความทนทานมากได้จึงทนยาฆ่าเชื้อหลายชนิด ทนความร้อนแห้งแล้ง หรือทนอุณหภูมิสูงได้ดีจึงปนเปื้อนอยู่ในดินได้นาน มาก มีรายงานว่าสปอร์ของโรคแอนแทรกซ์นี้สามารถอยู่ในดินแห้งได้นานถึง 10-40 ปี จึงเป็นสาเหตุว่าพื้นที่ใดที่เคยเกิดโรค แอนแทรกซ์แล้ว ก็จะมีการระบาดซ ้าอยู่เสมอๆ ในพื้นที่เดิม สายพันธุ์อื่นๆ ที่ใกล้เคียงกัน อยู่ในกลุ่ม Bacillus ได้แก่ B. cereus, B. thuringiensis, B. subtilis ซึ่งพวกนี้จะสร้างเอนไซม์ย่อยโปรตีนได้ดี จึงมักจัดอยู่ในกลุ่มที่ท าลายอาหาร ก่อโรคอาหารเป็น พิษ แต่ B. anthracis มีความพิเศษในแง่การสร้างสารพิษนอกตัว (Exotoxin) ได้ อันเป็นที่มาของพยาธิก าเนิด และอาการที่ รุนแรงของโรคแอนแทรกซ์หรือที่คนสมัยก่อนเคยเรียกโรคนี้ว่า “โรคกาลี” นั่นเอง สัตว์ที่ติดเชื้อ และไวต่อโรคแอนแทรกซ์คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์กินพืชกินหญ้าสัตว์เคี้ยวเอื้อง โค กระบือ แพะ แกะ สัตว์ป่าเช่น ช้าง เก้ง กวาง ติดผ่านการกิน หรือหายใจเอาสปอร์ของเชื้อเข้าไป รวมถึงติดผ่านบาดแผล รอยถลอก รอยขีดข่วน และแมลงดูดเลือด แล้วไปเพิ่มจ านวนที่ต่อมน ้าเหลือง ม้าม ท้ายสุดมักเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งทางของ การได้รับเชื้อนี้จะมีความสัมพันธ์กับพยาธิก าเนิด อาการ วิการ รอยโรคในอวัยวะหรือระบบที่แตกต่างกันไป โดยในโคกระบือ จะมีระยะฟักตัวประมาณ 1-20 วัน อาการจะเด่นชัดช่วง 3-7 วัน แสดงอาการได้3 รูปแบบส าคัญตามช่องทางการติดคือ
สัตว์เศรษฐกิจ 43 ทางการหายใจ มักเกิดจากสัตว์หายใจเอาสปอร์ของเชื้อ B. anthracis ที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อมเข้าไป ซึ่งสัตว์กินหญ้าจะมีโอกาส หายใจเอาฝุ่นดินที่ฟุ้งกระจายเข้าไปจากการดึงหญ้ากินได้ง่าย สปอร์จะไปเจริญแบ่งตัวเพิ่มจำานวนในระบบทางเดินหายใจ และปอด จากนั้น เชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือด สัตว์ป่วยจะมีไข้สูง หยุดกินหญ้า ตัวสั่น หายใจลำาบากติดขัด หายใจลึกเร็ว ยืนโซเซ เยื่อเมือกแดงมีเลือดคั่ง กล้ามเนื้อกระตุก ชัก สมองขาดออกซิเจน ล้มลง และตายในเวลาอันรวดเร็วมาก โดยทั่วไปพบว่าสัตว์มักจะตายภายใน 12-24 ชม. หลัง แสดงอาการ วิการพบรอยโรคปอดบวมน้ำา ปอดอักเสบ รูปแบบแอนแทรกซ์ที่ปอด (Pulmonary anthrax) นี้มักเกิดในหน้าแล้ง ทางการกิน มักเกิดจากสัตว์กินเอาสปอร์ของเชื้อ B. anthracis ที่ปนเปื้อนอยู่ในดิน หรือกับหญ้าเข้าไป สปอร์จะไปเจริญแบ่งตัวเพิ่ม จำานวนในระบบทางเดินอาหาร ลำาไส้จากนั้นเชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือดได้เช่นกัน สัตว์จะมีอาการคล้ายกับรูปแบบที่แล้วคือ ไข้สูง หายใจ ลำาบาก ตัวสั่น ล้มตัวนอน บวมน้ำาใต้ผิวหนังช่วงคอ อก ไหล่ ร่วมกับอาการท้องอืด น้ำาลายมีเลือดปน อาเจียน ท้องเสีย ปัสสาวะและอุจจาระ เป็นเลือดหรือสีเหลืองเข้ม ป่วยและตายในเวลาที่ช้ากว่ารูปแบบที่ปอด คือประมาณ 24-28 ชม. หลังแสดงอาการ รูปแบบแอนแทรกซ์ที่ลำาไส้ (Gastro-intestinal anthrax) มักเกิดในหน้าฝนที่หญ้างอกงามดี ทางบาดแผลที่ผิวหนัง หรือแมลงดูดเลือด มักเกิดจากมีแผลที่ผิวหนังอยู่แล้วไปสัมผัสเชื้อ หรือโดนแมลงที่ไปดูดเลือดสัตว์ป่วยเป็นโรค อยู่แล้วมากัดพร้อมถ่ายเชื้อ B. anthracis ให้สัตว์ปกติอาการจะมีแผลที่ผิวหนัง ลักษณะแผลสีดำา มีขอบนูนเด่นขึ้นมา เมื่อโรครุนแรงขึ้น เชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือดได้เช่นกัน สัตว์จะป่วยและตายในเวลาที่ช้ากว่ารูปแบบอื่นๆ คือประมาณ 48-72 ชม. หลังแสดงอาการ รูปแบบ นี้เรียกว่า แอนแทรกซ์ที่ผิวหนัง (Cutaneous anthrax) กรณีที่ไม่เฉียบพลันรุนแรง อาจพบแม่พันธุ์แท้ง น้ำานมลด แต่หากเป็นแบบเฉียบพลันรุนแรง อาจตายได้ภายใน 1-2 ชม. การตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ ส่วนใหญ่เชื่อกันว่าเกิดจากการที่เซลล์ ของแบคทีเรีย B. anthracis ไปอุดตันหลอดเลือดฝอยทั่วร่างกาย ร่วมกับสารพิษนอกตัวที่เชื้อผลิตขึ้นมามีฤทธิ์ในการทำาลายให้เม็ดเลือดแดง แตก จะพบได้ว่าซากสัตว์ที่ตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ซากจะนิ่ม ไม่แข็งตัว พองขึ้นอืด เน่าอย่างรวดเร็ว เลือดจะไม่จับตัวเป็นก้อนแข็ง แต่ ยังคงเป็นน้ำาสีออกคล้ำาดำา ๆ ไหลทะลักออกมาจากทวารทั้งหมด ตา หูจมูก ปาก ทวารหนัก ระบบสืบพันธุ์มีกลิ่นเหม็นคาวจัด ส่วนรอย โรคภายในนั้นอาจไม่จำาเป็นต้องทราบกัน เนื่องจากเป็นข้อควรระวังอย่างยิ่งยวดว่า สัตว์ที่ตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ ห้ามทำาการผ่าเปิดซาก โดยเด็ดขาด เพราะเชื้อ B. anthracis จะสร้างสปอร์ทันทีเมื่ออยู่นอกร่างกายและสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ การผ่าซากจึงเป็นการเสริมให้ เกิดสปอร์ที่ทนทานสูง และเสริมให้แพร่กระจายลงสู่ดิน สิ่งแวดล้อม หรือติดไปยังสัตว์รวมถึงคนมากขึ้นไปอีก ส่วนสัตว์ที่ป่วยก็จะขับเชื้อออก มากับอุจจาระ ปัสสาวะ หรือน้ำานมได้เช่นกัน โรคนี้มีความสำาคัญอย่างยิ่งยวด เพราะเป็นโรคสัตว์ที่ติดสู่คนได้(Zoonosis) ในคนถือว่ามีความไวต่อเชื้อนี้มากเช่นกัน มีระยะฟักตัวได้ ตั้งแต่ 12 ชม.-7 วัน (ประมาณ 2-5 วัน) เมื่อเกิดการติดเชื้อระบาดในคน มักพบในรูปแบบแอนแทรกซ์ที่ผิวหนัง เริ่มแรกเป็นรอยนูนแดง จากนั้นเป็นตุ่มน้ำาใส เป็นหนอง แตกออกเป็นแผลที่ปกคลุมด้วยเนื้อตายสีดำา ขอบแผลแดงนูนเป็นวงโดยรอย เรียกว่าแผล Eschar ตามมือ แขน ขา คอ ใบหน้า พบบ่อยถึง 95% จากการมีแผลที่ผิวหนัง การผ่าซาก สัมผัสซากระหว่างการชำาแหละ หรือประกอบอาหาร มากกว่า ถูกแมลงดูดเลือดกัด ซึ่งก็มีโอกาสบังเอิญเป็นไปได้แต่ไม่มาก พบบ่อยในผู้ประกอบอาชีพโรงฆ่าสัตว์ขายเนื้อ รวมถึงเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ร่วม กับรูปแบบแอนแทรกซ์ที่ลำาไส้ควบคู่กันไป ซึ่งจากการสอบสวนโรคในหลายพื้นที่ก็อาจพบรูปแบบนี้เป็นหลัก อันเกิดจากการกินซากสัตว์ตาย ด้วยโรคนี้ โดยเฉพาะอาหารที่ปรุงสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นรูปแบบที่รักษาได้ยากที่สุด อาการมีไข้คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด ท้องมาน ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ทางการหายใจ มักเกิดจากสัตว์หายใจเอาสปอร์ของเชื้อ B. anthracis ที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อมเข้าไป ซึ่งสัตว์กิน หญ้าจะมีโอกาสหายใจเอาฝุ่นดินที่ฟุ้งกระจายเข้าไปจากการดึงหญ้ากินได้ง่าย สปอร์จะไปเจริญแบ่งตัวเพิ่มจ านวนในระบบ ทางเดินหายใจ และปอด จากนั้นเชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือด สัตว์ป่วยจะมีไข้สูง หยุดกินหญ้า ตัวสั่น หายใจล าบากติดขัด หายใจลึกเร็ว ยืนโซเซ เยื่อเมือกแดงมีเลือดคั่ง กล้ามเนื้อกระตุก ชัก สมองขาดออกซิเจน ล้มลง และตายในเวลาอันรวดเร็วมาก โดยทั่วไปพบว่าสัตว์มักจะตายภายใน 12-24 ชม. หลังแสดงอาการ วิการพบรอยโรคปอดบวมน ้า ปอดอักเสบ รูปแบบแอน แทรกซ์ที่ปอด (Pulmonary anthrax) นี้มักเกิดในหน้าแล้ง ทางการกิน มักเกิดจากสัตว์กินเอาสปอร์ของเชื้อ B. anthracis ที่ปนเปื้อนอยู่ในดิน หรือกับหญ้าเข้าไป สปอร์จะไป เจริญแบ่งตัวเพิ่มจ านวนในระบบทางเดินอาหาร ล าไส้ จากนั้นเชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือดได้เช่นกัน สัตว์จะมีอาการคล้ายกับ รูปแบบที่แล้วคือ ไข้สูง หายใจล าบาก ตัวสั่น ล้มตัวนอน บวมน ้าใต้ผิวหนังช่วงคอ อก ไหล่ ร่วมกับอาการท้องอืด น ้าลายมีเลือด ปน อาเจียน ท้องเสีย ปัสสาวะและอุจจาระเป็นเลือดหรือสีเหลืองเข้ม ป่วยและตายในเวลาที่ช้ากว่ารูปแบบที่ปอด คือประมาณ 24-28 ชม. หลังแสดงอาการ รูปแบบแอนแทรกซ์ที่ล าไส้(Gastro-intestinal anthrax) มักเกิดในหน้าฝนที่หญ้างอกงามดี ทางบาดแผลที่ผิวหนัง หรือแมลงดูดเลือด มักเกิดจากมีแผลที่ผิวหนังอยู่แล้วไปสัมผัสเชื้อ หรือโดนแมลงที่ไปดูดเลือด สัตว์ป่วยเป็นโรคอยู่แล้วมากัดพร้อมถ่ายเชื้อ B. anthracis ให้สัตว์ปกติ อาการจะมีแผลที่ผิวหนัง ลักษณะแผลสีด า มีขอบนูน เด่นขึ้นมา เมื่อโรครุนแรงขึ้น เชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือดได้เช่นกัน สัตว์จะป่วยและตายในเวลาที่ช้ากว่ารูปแบบอื่นๆ คือ ประมาณ 48-72 ชม. หลังแสดงอาการ รูปแบบนี้เรียกว่า แอนแทรกซ์ที่ผิวหนัง (Cutaneous anthrax) กรณีที่ไม่เฉียบพลัน รุนแรง อาจพบแม่พันธุ์แท้ง น ้านมลด แต่หากเป็นแบบเฉียบพลันรุนแรง อาจตายได้ภายใน 1-2 ชม. การตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ ส่วนใหญ่เชื่อกันว่าเกิด จากการที่เซลล์ของแบคทีเรีย B. anthracis ไปอุดตันหลอดเลือดฝอยทั่วร่างกาย ร่วมกับสารพิษนอกตัวที่เชื้อผลิตขึ้นมามีฤทธิ์ ในการท าลายให้เม็ดเลือดแดงแตก จะพบได้ว่าซากสัตว์ที่ตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ซากจะนิ่ม ไม่แข็งตัว พองขึ้นอืด เน่าอย่าง รวดเร็ว เลือดจะไม่จับตัวเป็นก้อนแข็ง แต่ยังคงเป็นน ้าสีออกคล ้าด าๆ ไหลทะลักออกมาจากทวารทั้งหมด ตา หู จมูก ปาก ทวารหนัก ระบบสืบพันธุ์ มีกลิ่นเหม็นคาวจัด ส่วนรอยโรคภายในนั้นอาจไม่จ าเป็นต้องทราบกัน เนื่องจากเป็นข้อควรระวัง อย่างยิ่งยวดว่า สัตว์ที่ตายจากโรคแอนแทรกซ์นี้ ห้ามท าการผ่าเปิดซากโดยเด็ดขาด เพราะเชื้อ B. anthracis จะสร้างสปอร์ ทันทีเมื่ออยู่นอกร่างกายและสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ การผ่าซากจึงเป็นการเสริมให้เกิดสปอร์ที่ทนทานสูง และเสริมให้ แพร่กระจายลงสู่ดิน สิ่งแวดล้อม หรือติดไปยังสัตว์ รวมถึงคนมากขึ้นไปอีก ส่วนสัตว์ที่ป่วยก็จะขับเชื้อออกมากับอุจจาระ ปัสสาวะ หรือน ้านมได้เช่นกัน โรคนี้มีความส าคัญอย่างยิ่งยวด เพราะเป็นโรคสัตว์ที่ติดสู่คนได้ (Zoonosis) ในคนถือว่ามีความไวต่อเชื้อนี้มาก เช่นกัน มีระยะฟักตัวได้ตั้งแต่ 12 ชม.-7 วัน (ประมาณ 2-5 วัน) เมื่อเกิดการติดเชื้อระบาดในคน มักพบในรูปแบบแอนแทรกซ์ ที่ผิวหนัง เริ่มแรกเป็นรอยนูนแดง จากนั้นเป็นตุ่มน ้าใส เป็นหนอง แตกออกเป็นแผลที่ปกคลุมด้วยเนื้อตายสีด า ขอบแผลแดง นูนเป็นวงโดยรอย เรียกว่าแผล Eschar ตามมือ แขน ขา คอ ใบหน้า พบบ่อยถึง 95% จากการมีแผลที่ผิวหนัง การผ่าซาก
44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ท้องเสีย ถ่ายเหลวปนเลือดสีคล้ำา อาจช็อก เสียชีวิตได้ โดยแอนแทรกซ์ที่ผิวหนัง เป็นรูปแบบที่รักษาได้ง่ายที่สุด หากได้รับการรักษา จะมี อัตราการตายต่ำามาก <1% แต่ถ้าไม่รักษาจะมีอัตราการตาย 10-20% ส่วนแอนแทรกซ์ที่ลำาไส้เป็นรูปแบบที่รักษาได้ยาก จะมีอัตราการตาย 25-60% ส่วนแอนแทรกซ์ที่ปอดมักเกิดกับผู้ที่ประกอบกิจกรรมทำางานเกี่ยวกับขนสัตว์หนังสัตว์ปุ๋ยจากกระดูกสัตว์ป่น หากเป็นช่วงแรก ๆ จะยังพอรักษาได้อยู่ แต่ถ้าแสดงอาการมากแล้ว จะรักษายาก อาการที่พบได้แก่ มีไข้อ่อนเพลีย คล้ายหวัด ตัวสั่น เจ็บหน้าอก หอบ หายใจ ติดขัด หน้าเขียวคล้ำา โลหิตเป็นพิษ จะมีอัตราการตาย 75% ใน 1-2 วัน และในคนที่ติดเชื้อเข้ากระแสโลหิต ก็จะลุกลามเข้าต่อมน้ำาเหลือง ไปยังสมอง มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซึ่งจะมีอัตราการตายเกือบ 100% ส่วนการติดกันเองระหว่างคนสู่คน แทบไม่มีรายงาน นอกจากคนแล้ว ม้าก็ติดโรคนี้ได้แต่อาจรุนแรงน้อยกว่า มีอาการเสียดท้อง ท้องเสีย บวมน้ำาบริเวณที่ติดเชื้อ เช่นเดียวกับสุกรที่มีระยะ ฟักตัวประมาณ 1-2 สัปดาห์ และเกิดรูปแบบแอนแทรกซ์ที่ลำาไส้มากกว่า อาการเป็นแบบเรื้อรัง คอบวม มีแผลที่ปาก ต่อมน้ำาเหลืองบวม ไม่ค่อยตาย ส่วนสัตว์เลี้ยง สุนัข แมว มีความทนทานมากขึ้น ติดโรคได้ยาก อาจมีแค่อาการคอบวม ต่อมน้ำาเหลืองบวม มีแผลที่ปาก ใน ขณะที่สัตว์ปีก นก เป็ด ไก่ มีความทนทานมาก ไม่เกิดโรคนี้ โรคนี้แสดงอาการ และรอยโรคค่อนข้างจำาเพาะพอสมควร หากมีสัตว์ป่วยให้แยกออกจากฝูง หากสงสัยควรแจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เข้าไป ตรวจสอบโดยเร็วที่สุด ห้ามสัมผัส เคลื่อนย้าย ผ่าซาก ชำาแหละ ระมัดระวังไม่ให้สัตว์ไปแทะกินซาก รวมถึงห้ามวินิจฉัยโดยการส่งซากไป ชันสูตรด้วยตนเอง เพราะมีโอกาสสูงในการแพร่กระจายเชื้อ ควรส่งเป็นเลือดของสัตว์ที่สงสัย หรือเลือดจากซาก ส่วนการยืนยันเชื้อนี้ทางห้อง ปฏิบัติการค่อนข้างง่าย โดยวิธีการเพาะในอาหารเลี้ยงเชื้อ และพิสูจน์เชื้อด้วยวิธีการทางชีวเคมีหรือป้ายเลือดบนสไลด์ส่องดูตัวเชื้อ หรือนำา เลือดไปตรวจด้วยวิธีอื่น ๆ ได้แก่ FAT ELISA PCR การรักษาจะให้ผลดีในตัวที่เริ่มป่วยใหม่ ๆ อาการยังไม่มาก หรือตัวอื่น ๆ ในฝูงที่ยังไม่แสดงอาการก็ต้องรักษาเชิงป้องกันไว้ด้วย โดย การให้ยาปฏิชีวนะเช่น เพนนิซิลลิน และ/หรือ สเตรปโตมัยซิน หรือออกซิเตตร้าซัยคลิน หรือดอกซี่ซัยคลิน หรือไซโปรฟลอกซาซิน ซึ่งการ ใช้ยาจะต้องให้โดสรักษาเป็นระยะเวลาที่นานพอสมควร เพื่อกำาจัดสปอร์ที่ทยอยโตขึ้นมาเรื่อย ๆ ส่วนสัตว์ที่ต้องกำาจัดทิ้งจากอาการหนักหรือ ตายเอง รวมถึงสิ่งคัดหลั่ง ให้ทำาการฝังดินลึกมากกว่า 2 เมตรลงไป โรยปูนขาว ราดน้ำายาฆ่าเชื้อ เน้นการฆ่าเชื้อโดยเฉพาะอย่างยิ่งสปอร์ บริเวณที่เลี้ยงสัตว์ โรงเรือน สิ่งแวดล้อม วัสดุอุปกรณ์ รวมถึงสิ่งคัดหลั่งที่ยังเหลืออยู่ด้วย ยาฆ่าเชื้อที่ได้ผลดีต่อสปอร์ได้แก่ โซเดียมไฮโป คลอไรท์ โซดาไฟ ฟอร์มัลดีไฮด์กรดเปอร์อะซิติก เป็นต้น สำาหรับการป้องกันสัตว์ในพื้นที่มีความเสี่ยงสูง หรือพื้นที่เคยเกิดโรคระบาดคือ การทำาวัคซีน ควรฉีดวัคซีนให้สัตว์อายุตั้งแต่หย่านม หรือ 14 สัปดาห์ขึ้นไป ในรัศมี5-10 กม. จากจุดเกิดโรค โดยฉีดทุก ๆ 6 เดือน หรือปีละ 1 ครั้ง ติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปีโค-กระบือ ฉีดเข้า ใต้ผิวหนังตัวละ 1 มล. แกะแพะ ตัวละ 0.5 มล. (วัคซีนกรมปศุสัตว์) ดำาเนินการควบคุมโดยเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เท่านั้น เพราะเป็นวัคซีนชนิด เชื้อเป็น หลังฉีดวัคซีนแล้วบริเวณที่ฉีดจะบวม และสัตว์มีไข้เล็กน้อย 2-3 วัน สัตว์จะมีความคุ้มโรคหลังจากฉีดวัคซีนแล้ว 2-3 สัปดาห์และ อยู่ได้นาน 1 ปี ระวังการแท้งที่เป็นผลข้างเคียงด้วย การป้องกัน ยังรวมถึงระบบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอื่น ๆ ควบคุมการ เคลื่อนย้ายฝูงสัตว์ต้องสงสัย กักฝูงที่มีสัตว์ตายจากโรคนี้กักโรคสัตว์ใหม่ก่อนเคลื่อนย้ายหรือนำาเข้าฝูงอย่างน้อย 14 วัน ระวังคนภายนอกไม่ ให้เข้าฟาร์ม โดยเฉพาะพ่อค้าโคกระบือ เป็นต้น สัมผัสซากระหว่างการช าแหละ หรือประกอบอาหาร มากกว่าถูกแมลงดูดเลือดกัด ซึ่งก็มีโอกาสบังเอิญเป็นไปได้ แต่ไม่มาก พบบ่อยในผู้ประกอบอาชีพโรงฆ่าสัตว์ ขายเนื้อ รวมถึงเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ร่วมกับรูปแบบแอนแทรกซ์ที่ล าไส้ควบคู่กันไป ซึ่ง จากการสอบสวนโรคในหลายพื้นที่ก็อาจพบรูปแบบนี้เป็นหลัก อันเกิดจากการกินซากสัตว์ตายด้วยโรคนี้ โดยเฉพาะอาหารที่ ปรุงสุกๆ ดิบๆ เป็นรูปแบบที่รักษาได้ยากที่สุด อาการมีไข้คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด ท้องมาน ท้องเสีย ถ่ายเหลวปน เลือดสีคล ้า อาจช็อก เสียชีวิตได้โดยแอนแทรกซ์ที่ผิวหนัง เป็นรูปแบบที่รักษาได้ง่ายที่สุด หากได้รับการรักษา จะมีอัตราการ ตายต ่ามาก <1% แต่ถ้าไม่รักษาจะมีอัตราการตาย 10-20% ส่วนแอนแทรกซ์ที่ล าไส้เป็นรูปแบบที่รักษาได้ยาก จะมีอัตราการ ตาย 25-60% ส่วนแอนแทรกซ์ที่ปอดมักเกิดกับผู้ที่ประกอบกิจกรรมท างานเกี่ยวกับขนสัตว์หนังสัตว์ปุ๋ ยจากกระดูกสัตว์ป่น หากเป็นช่วงแรกๆ จะยังพอรักษาได้อยู่แต่ถ้าแสดงอาการมากแล้ว จะรักษายาก อาการที่พบได้แก่ มีไข้ อ่อนเพลีย คล้ายหวัด ตัวสั่น เจ็บหน้าอก หอบ หายใจติดขัด หน้าเขียวคล ้า โลหิตเป็นพิษ จะมีอัตราการตาย 75% ใน 1-2 วัน และในคนที่ติดเชื้อเข้า กระแสโลหิต ก็จะลุกลามเข้าต่อมน ้าเหลือง ไปยังสมอง มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซึ่งจะมีอัตราการตายเกือบ 100% ส่วน การติดกันเองระหว่างคนสู่คน แทบไม่มีรายงาน นอกจากคนแล้ว ม้าก็ติดโรคนี้ได้ แต่อาจรุนแรงน้อยกว่า มีอาการเสียดท้อง ท้องเสีย บวมน ้าบริเวณที่ติดเชื้อ เช่นเดียวกับสุกรที่มีระยะฟักตัวประมาณ 1-2 สัปดาห์ และเกิดรูปแบบแอนแทรกซ์ที่ล าไส้มากกว่า อาการเป็นแบบเรื้อรัง คอ บวม มีแผลที่ปาก ต่อมน ้าเหลืองบวม ไม่ค่อยตาย ส่วนสัตว์เลี้ยง สุนัข แมว มีความทนทานมากขึ้น ติดโรคได้ยาก อาจมีแค่ อาการคอบวม ต่อมน ้าเหลืองบวม มีแผลที่ปาก ในขณะที่สัตว์ปีก นก เป็ด ไก่ มีความทนทานมาก ไม่เกิดโรคนี้ โรคนี้แสดงอาการ และรอยโรคค่อนข้างจ าเพาะพอสมควร หากมีสัตว์ป่วยให้แยกออกจากฝูง หากสงสัยควรแจ้ง เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เข้าไปตรวจสอบโดยเร็วที่สุด ห้ามสัมผัส เคลื่อนย้าย ผ่าซาก ช าแหละ ระมัดระวังไม่ให้สัตว์ไปแทะกินซาก รวมถึงห้ามวินิจฉัยโดยการส่งซากไปชันสูตรด้วยตนเอง เพราะมีโอกาสสูงในการแพร่กระจายเชื้อ ควรส่งเป็นเลือดของสัตว์ที่ สงสัย หรือเลือดจากซาก ส่วนการยืนยันเชื้อนี้ทางห้องปฏิบัติการค่อนข้างง่าย โดยวิธีการเพาะในอาหารเลี้ยงเชื้อ และพิสูจน์ เชื้อด้วยวิธีการทางชีวเคมีหรือป้ายเลือดบนสไลด์ ส่องดูตัวเชื้อ หรือน าเลือดไปตรวจด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ FAT ELISA PCR การรักษาจะให้ผลดีในตัวที่เริ่มป่วยใหม่ๆ อาการยังไม่มาก หรือตัวอื่นๆ ในฝูงที่ยังไม่แสดงอาการก็ต้องรักษาเชิง ป้องกันไว้ด้วย โดยการให้ยาปฏิชีวนะเช่น เพนนิซิลลิน และ/หรือ สเตรปโตมัยซิน หรือออกซิเตตร้าซัยคลิน หรือดอกซี่ซัยคลิน หรือไซโปรฟลอกซาซิน ซึ่งการใช้ยาจะต้องให้โดสรักษาเป็นระยะเวลาที่นานพอสมควร เพื่อก าจัดสปอร์ที่ทยอยโตขึ้นมา เรื่อยๆ ส่วนสัตว์ที่ต้องก าจัดทิ้งจากอาการหนักหรือตายเอง รวมถึงสิ่งคัดหลั่ง ให้ท าการฝังดินลึกมากกว่า 2 เมตรลงไป โรยปูน ขาว ราดน ้ายาฆ่าเชื้อ เน้นการฆ่าเชื้อโดยเฉพาะอย่างยิ่งสปอร์บริเวณที่เลี้ยงสัตว์ โรงเรือน สิ่งแวดล้อม วัสดุอุปกรณ์ รวมถึงสิ่ง คัดหลั่งที่ยังเหลืออยู่ด้วย ยาฆ่าเชื้อที่ได้ผลดีต่อสปอร์ได้แก่ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ โซดาไฟ ฟอร์มัลดีไฮด์ กรดเปอร์อะซิติก เป็นต้น ส าหรับการป้องกันสัตว์ในพื้นที่มีความเสี่ยงสูง หรือพื้นที่เคยเกิดโรคระบาดคือ การท าวัคซีน ควรฉีดวัคซีนให้สัตว์ อายุตั้งแต่หย่านม หรือ 14 สัปดาห์ขึ้นไป ในรัศมี 5-10 กม. จากจุดเกิดโรค โดยฉีดทุกๆ 6 เดือน หรือปีละ 1 ครั้ง ติดต่อกันเป็น เวลา 5 ปี โค-กระบือ ฉีดเข้าใต้ผิวหนังตัวละ 1 มล. แกะแพะ ตัวละ 0.5 มล. (วัคซีนกรมปศุสัตว์) ด าเนินการควบคุมโดย ่้้่
สัตว์เศรษฐกิจ 45 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เอกสารอ้างอิง และที่มารูปภาพ https://planning.dld.go.th/th/images/stories/section-39/2559/zoning_21.pdf https://niah.dld.go.th/webnew/knowledge/knowledge-major-diseases-in-animals/cattle/anthrax https://dcontrol.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/2019-03-25-08-48-37/8961-2024-03-29-03-36-09 https://dcontrol.dld.go.th/webnew/index.php/th/2020-06-22-05-49-47/8956-2024-03-26-04-55-23 https://dcontrol.dld.go.th/webnew/images/stories/news/livestock/2566/weekly/Anthrax_Onepage.pdf https://www.thaipbs.or.th/news/content/337870 https://www.thaipbs.or.th/news/content/338496 https://www.thairath.co.th/agriculture/agricultural-policy/2769363 Photo from Dr. Danelle Bickett-Weddle, Iowa State University (https://www.cfsph.iastate.edu/FastFacts/pdfs/anthrax_F.pdf) https://rr-middleeast.woah.org/en/our-mission/one-health/anthrax/ https://step1.medbullets.com/microbiology/104037/bacillus-anthracis https://www.researchgate.net/figure/Signs-of-anthrax-in-infected-animals-A-C-and-humans-D-G-Bhutan-2010-A-The-carcass_fig1_266080782 https://www.researchgate.net/figure/In-situ-presentation-of-a-cow-that-died-of-anthrax-A-2-year-old-gestating-cow-succumbed_fig1_358820821 https://www.sheepcentral.com/nsw-urges-general-livestock-vaccinations-against-anthrax/ โรคแอนแทรกซ์ ถือเป็นโรคติดต่อสำาคัญใน พรบ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 การติดต่ออาจมาจากสปอร์เดิมที่หลงเหลือมานานจาก การระบาดครั้งก่อน ๆ หรือติดมาใหม่จากพื้นที่อื่นโดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน ผ่านการลักลอบนำาเข้าสัตว์มีชีวิตผิดกฎหมาย แล้วมีเชื้อ แอนแทรกซ์ติดมาด้วย ความทันสมัยของระบบคมนาคมขนส่ง ทำาให้โรคนี้ระบาดได้ไกล และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ยังคงพบการระบาดได้ในหลาย ประเทศทั่วโลก แม้ไทยเราเองจะพบการระบาดครั้งสุดท้ายในคน และสัตว์ (แพะ) เมื่อปี 2543 ที่ จ.พิจิตร แต่ยังคงเป็นโรคประจำาถิ่นใน หลาย ๆ ประเทศเพื่อนบ้านเรา หรือพื้นที่โซนแถบนี้ ดังพบมีการระบาดของโรคแอนแทรกซ์อยู่ประปราย ล่าสุดพบที่อินเดีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ทำาให้โรคนี้อาจเข้าสู่ไทยเป็นระยะ ๆ ได้ดังเช่นในปี2560 ตรวจพบเชื้อในซากแพะที่นำาเข้าจากเมียนมาร์ที่ จ.ตาก แต่ไม่พบการ ระบาดติดต่อมายังคนและสัตว์ในประเทศแต่อย่างใด อย่าลืมนะครับว่าเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เจ้าหน้าที่องค์กรท้องถิ่น หรือ Application DLD 4.0 หรือสายด่วน 063-225-6888 ช่วยท่านได้ระยะเวลา 20 กว่าปีที่เราไม่มีโรค อาจนานพอทำาให้เราหลงลืมโรคนี้กันไปบ้าง แต่รุนแรงขนาดนี้ กลับมาจดจำาและระวังกันดีกว่านะครับ............ ยังรวมถึงระบบความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอื่นๆ ควบคุมการเคลื่อนย้ายฝูงสัตว์ต้องสงสัย กักฝูงที่มีสัตว์ตายจากโรคนี้ กัก โรคสัตว์ใหม่ก่อนเคลื่อนย้ายหรือน าเข้าฝูงอย่างน้อย 14 วัน ระวังคนภายนอกไม่ให้เข้าฟาร์ม โดยเฉพาะพ่อค้าโคกระบือ เป็น ต้น โรคแอนแทรกซ์ ถือเป็นโรคติดต่อส าคัญใน พรบ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 การติดต่ออาจมาจากสปอร์เดิมที่ หลงเหลือมานานจากการระบาดครั้งก่อนๆ หรือติดมาใหม่จากพื้นที่อื่นโดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน ผ่านการลักลอบน าเข้า สัตว์มีชีวิตผิดกฎหมาย แล้วมีเชื้อแอนแทรกซ์ติดมาด้วย ความทันสมัยของระบบคมนาคมขนส่ง ท าให้โรคนี้ระบาดได้ไกล และ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ยังคงพบการระบาดได้ในหลายประเทศทั่วโลก แม้ไทยเราเองจะพบการระบาดครั้งสุดท้ายในคน และสัตว์ (แพะ) เมื่อปี 2543 ที่ จ. พิจิตร แต่ยังคงเป็นโรคประจ าถิ่นในหลายๆ ประเทศเพื่อนบ้านเรา หรือพื้นที่โซนแถบนี้ดังพบมีการ ระบาดของโรคแอนแทรกซ์อยู่ประปราย ล่าสุดพบที่อินเดีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ท าให้โรคนี้อาจเข้าสู่ไทยเป็นระยะๆ ได้ ดังเช่นในปี 2560 ตรวจพบเชื้อในซากแพะที่น าเข้าจากเมียนมาร์ ที่ จ. ตาก แต่ไม่พบการระบาดติดต่อมายังคนและสัตว์ใน ประเทศแต่อย่างใด อย่าลืมนะครับว่าเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ เจ้าหน้าที่องค์กรท้องถิ่น หรือ Application DLD 4.0 หรือสายด่วน 063- 225-6888 ช่วยท่านได้ ระยะเวลา 20 กว่าปีที่เราไม่มีโรค อาจนานพอท าให้เราหลงลืมโรคนี้กันไปบ้าง แต่รุนแรงขนาดนี้ กลับมาจดจ าและระวังกันดีกว่านะครับ............ เอกสารอ้างอิง และที่มารูปภาพ https://planning.dld.go.th/th/images/stories/section-39/2559/zoning_21.pdf https://niah.dld.go.th/webnew/knowledge/knowledge-major-diseases-in-animals/cattle/anthrax https://dcontrol.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/2019-03-25-08-48-37/8961-2024-03-29-03-36-09 https://dcontrol.dld.go.th/webnew/index.php/th/2020-06-22-05-49-47/8956-2024-03-26-04-55-23 https://dcontrol.dld.go.th/webnew/images/stories/news/livestock/2566/weekly/Anthrax_Onepage.pdf https://www.thaipbs.or.th/news/content/337870 https://www.thaipbs.or.th/news/content/338496 https://www.thairath.co.th/agriculture/agricultural-policy/2769363 Photo from Dr. Danelle Bickett-Weddle, Iowa State University (https://www.cfsph.iastate.edu/FastFacts/pdfs/anthrax_F.pdf) https://rr-middleeast.woah.org/en/our-mission/one-health/anthrax/ https://step1.medbullets.com/microbiology/104037/bacillus-anthracis https://www.researchgate.net/figure/Signs-of-anthrax-in-infected-animals-A-C-and-humans-D-G-Bhutan-2010-A-The-carcass_fig1_266080782 https://www.researchgate.net/figure/In-situ-presentation-of-a-cow-that-died-of-anthrax-A-2-year-old-gestating-cow-succumbed_fig1_358820821 https://www.sheepcentral.com/nsw-urges-general-livestock-vaccinations-against-anthrax/
46 สัตว์เศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 12-14 มีนาคม 2567 บริษัท เกษตรภัณฑ์ จำ�กัด ได้ร่วมงานแสดงนวัตกรรมสุดยิ่งใหญ่ ในงาน VICTAM Asia 2024 เพื่อกระตุ้นธุรกิจอาหารสัตว์และสุขภาพสัตว์ ไตรมาสแรกของปี 2567 โดยร่วมงานกับกลุ่มบริษัท วีเอ็นยูฯ ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค กรุงเทพฯ ผู้เข้าร่วมงานคับคั่ง บริษัทร่วมแสดง สินค้าในงานกว่า 250 บริษัท สำาหรับ บริษัทเกษตรภัณฑ์จำากัด ร่วมแสดงสินค้าบูท G001 Hall101 ธุรกิจเกษตรภัณฑ์ บริษัทของคนไทย ที่ให้บริการด้าน วิศวกรรมอย่างครบวงจร ในธุรกิจ Feed-Farn-m-Green Tech มา พร้อมด้วยเทคโนโลยี และการจัดการชั้นนำาระดับโลก นำาเสนอ นวัตกรรม และโซลูชั่นช่วยลดต้นทุน เพิ่มมูลค่าให้กับลูกค้า และ เกษตรกรไทย ธุรกิจเกษตรภัณฑ์เป็นบริษัทของคนไทย ที่มีประสบการณ์ใน การดำาเนินธุรกิจมากกว่า 50 ปีให้บริการด้านวิศวกรรมอย่างครบ วงจร ตั้งแต่การออกแบบ การก่อสร้าง การผลิตเครื่องจักรและ อุปกรณ์พร้อมติดตั้ง การสรรหาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดจน วิศวกรรมบริการหลังการขาย ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรม และอาหาร ตั้งแต่ต้นน้ำาถึงปลายน้ำา ได้แก่ โรงงาน ผลิตอาหารสัตว์ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำา และสัตว์เลี้ยง (feed) ระบบจัด เก็บและลำาเลียง วัตถุดิบ เช่น ข้าวโพดกากถั่วเหลือง (Grain Management System) ฟาร์มเลี้ยงสัตว์และอุปกรณ์การเลี้ยง (Farm) โรงงานแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารสำาเร็จรูป (Food) รวม ถึงการให้บริการด้านพลังงานทางเลือกและเทคโนโลยีเพื่อสังคม (Green Technology) LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ธุรกิจเกษตรภัณฑ์ ขยายหน้ากว้าง สร้างโอกาสต่อยอด ศักยภาพที่เรามีเข้าสู่ธุรกิจใหม่ ได้แก่ ธุรกิจโรงสกัดและโรงกลั่นน้ำามัน พืช ธุรกิจคลังสินค้าครบวงจร และมีเป้าหมายที่จะขยายธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะต่างประเทศ ภายในงานมุ่งเน้นการนำาเสนอโซลูชั่นสำาหรับธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรมแบบครบวงจรด้วยเทคโนโลยีวิศวกรรมที่ออกแบบได้ ตามต้องการ ประหยัดพลังงาน ลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่ม มูลค่า เพิ่มมูลค่า มุ่งมั่นร่วมสร้างธุรกิจของลูกค้าและผู้ลงทุนให้ ประสบความสำาเร็จ และเติมโตอย่างยั่งยืน ดั่งปณิธานของเกษตร ภัณฑ์ “ลูกค้าสำาเร็จ เราสำาเร็จ” สำาหรับสินค้าที่จะนำาไปจัดแสดง ได้แก่ เทคโนโลยีการก่อสร้าง โรงงานอาหารสัตว์ระบบจัดเก็บและลำาเลียงวัตถุดิบ เครื่องจักร และ ผลิตภัณฑ์อะไหล่ ตลอดจนวิศวกรรมบริการหลังการขาย ด้วย แพลตฟอร์มการตรวจสอบสดภาพเครื่องจักร และการซ่อมบำารุง (PM/CM) การจัดการสต๊อกอะไหล่ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ไฮไลต์ สำาคัญเราจะแสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม อย่างครบวงจร เพื่อประสิทธิภาพตลอดกระบวนการของธุรกิจอาหาร สัตว์ - ตั้งแต่ เทคโนโลยีการผลิต วัตถุดิบข้าวโพดอาหารสัตว์การ จัดการของเสีย และการผลิตเชื้อเพลงชีวมวล (Biomass) จากซัง ข้าวโพด - ไซโลไฟเบอร์กลาสสำาหรับจัดเก็บอาหารสัตว์คุณภาพสูง ระบบ ลำาเลียงอาหารแบบอัตโนมัติเข้าสู่ฟาร์ม เกษตรภัณฑ์ โชว์นวัตกรรมจัดการลดต้นทุน ในงาน VICTAM Asia 2024
สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ - รถขนส่งอาหารสัตว์ ที่คำานึงถึงระบบ Biosecurity และ สำาหรับลูกค้าที่ดำาเนินธุรกิจครบวงจรทั้งโรงงานอาหารสัตว์ ฟาร์ม สัตว์เลี้ยง และโรงงานแปรรูป สำาหรับเกษตรภัณฑ์ เรายินดีต้อนรับ และให้คำาปรึกษา ด้วย บริการที่ครบวงจร One Stop Service ให้เราได้เป็นส่วนหนึ่งใน การสร้างนวัตกรรมและการเติบโต เคียงคู่ไปพร้อมกับลูกค้าอย่าง ยั่งยืน และสามารถติดต่อเกษตรภัณฑ์ได้ทุกช่องทาง เช่น เฟสบุ๊ค และ www.KASETPHAND.com Asia 2024’ ณ ไบเทค บางนา ที่นำาสินค้าและบริการด้านวิศวกรรม สำาหรับธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารครบวงจร ตั้งแต่ต้นน้ำา ถึงปลายน้ำา Feed Farm Food และ Green Tech ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรมทันสมัยระดับโลก พร้อมโซลูชั่นสำาคัญในการลดต้นทุน เพิ่มมูลค่าให้กับลูกค้าและเกษตรกรไทย เชื่อมต่อธุรกิจของพันธมิตร ให้เติบโตอย่างมั่นคง รวมทั้งการบริการด้านพลังงานทางเลือก ตอบ ทุกโจทย์ความยั่งยืน ซึ่งได้รับความสนใจจากคู่ค้าร่วมเจรจาธุรกิจ อย่างเนืองแน่น โดยมีคุณภูมิชัย ตรัยดลานนท์ รองกรรมการผู้ จัดการอาวุโส ธุรกิจเกษตรภัณฑ์ร่วมให้การต้อนรับ งาน VICTAM Asia 2024 มีผู้ประกอบการ มากกว่า 400 บริษัทชั้นนำา นำาเสนอเทคโนโลยีขั้นสูงและนวัตกรรมล่าสุดจาก นานาชาติมารวมไว้ในที่เดียว นอกจากนี้ยังมีเวทีสัมมนา 35 หัวข้อ จากผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศและต่างประเทศ อาทิการโม่แป้งสำาหรับ อาหารสัตว์และสัตว์น้ำา แมลงและโภชนาการสัตว์แห่งอนาคต เพื่อ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจอีกด้วย คณะผู้บริหาร CP-CPF’ ชมงานแสดงสินค้าสำาหรับ อุตสาหกรรมสุขภาพ-โภชนาการสัตว์ และอาหารสัตว์แห่ง ภูมิภาคเอเชีย ’ธุรกิจเกษตรภัณฑ์‘ ตอบโจทย์ความยั่งยืน คณะผู้บริห�ร CP-CPF ทั่วโลก อ�ทิ คุณพงษ์ วิเศษไพฑูรย์ ประธ�นกรรมก�ร กลุ่มธุรกิจเกษตรอุตส�หกรรมสัตว์น้ำ� CPF อินเดีย คุณสกล ชีวะโกเศรษฐ ประธ�นกรรมก�รและกรรมก�รผู้ จัดก�ร CPF ฟิลิปปินส์ คุณภัทนีย์ เล็กศรีสมพงษ์ รองกรรมก�ร ผู้จัดก�รบริห�ร ด้�นวิช�ก�รอ�ห�รสัตว์ เยี่ยมชม บูธธุรกิจเกษตร ภัณฑ์ฯ (KSP-KPI) ในงานแสดงสินค้าสำาหรับอุตสาหกรรมสุขภาพโภชนาการสัตว์และอาหารสัตว์แห่งภูมิภาคเอเชีย หรือ ‘VICTAM
48 สัตว์เศรษฐกิจ งาน Health and Nutrition Asia 2024 ซึ่งถูกจัดขึ้นร่วมกับ งาน VICTAM Asia ได้สิ้นสุดลงแล้ว นับเป็นครั้งที่ 2 ของการ จัดงานใจกลางเอเชียอย่าง กรุงเทพฯ ประเทศไทย ซึ่งในครั้งนี้ได้ สร้างความสำาเร็จอย่างที่เกิดความคาดหมาย พร้อมกับทำาสถิติใหม่ ด้วยการต้อนรับผู้เข้าชมงาน ผู้นำาในอุตสาหกรรมกว่า 8,722 คน จาก 73 ประเทศทั่วโลก โดยมีผู้แสดงสินค้ามากกว่า 300 บริษัท ที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมสุขภาพสัตว์และโภชนาการสัตว์ รวม ถึงอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารสัตว์จากนานาประเทศ ได้มีโอกาสสร้าง เครือข่ายกับผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมตลอด 3 วันเต็ม งานแสดงสินค้ามีผู้เข้าร่วมเพิ่มขึ้นอย่างน่าทึ่ง มากกว่าครั้งที่ ผ่านมาถึง 42.5% โดยเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดทั้งในช่วงเปิดลงทะเบียน ล่วงหน้าและผู้เข้าชมในวันงาน แสดงให้เห็นความสนใจและความ สำาคัญของนิทรรศการในอุตสาหกรรมนี้ที่เพิ่มมากขึ้น ในปี 2567 ทางผู้จัดงานได้ต้อนรับกลุ่มผู้ซื้อ ตัวแทนการผลิต และเจ้าของฟาร์มมืออาชีพกว่า 200 คนจากทั้งตลาดในประเทศและ ต่างประเทศ อาทิ กลุ่มนักลงทุนจากอินเดีย เกาหลี ฯลฯ นอกจาก นี้ยังต้อนรับผู้บริหารระดับสูง และผู้แทนจากสถานทูตมากกว่า LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 200 คน ยังเน้นย้ำาถึงจุดยืนของงานในการเป็นเวทีเจรจาการค้าและ การรวมตัวที่สำาคัญสำาหรับผู้นำาในอุตสาหกรรม พร้อมด้วยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญเชิงวิชาการกว่า 141 คนจาก 14 ประเทศ ร่วมจัดงาน สัมมนามากกว่า 45 หัวข้อในประเด็นที่น่าสนใจ ตั้งแต่หัวข้อด้าน โภชนาการ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา นวัตกรรมอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ที่แม่นยำา ไปจนถึงความท้าทาย และโอกาสในการขยาย สายพันธุ์ กิจกรรม Networking Night เรียกได้ว่าเป็นกิจกรรมไฮไลท์ ของงาน ซึ่งได้ต้อนรับแขกมากกว่า 250 คน มาร่วมเฉลิมฉลอง ความสำาเร็จของงานและร่วมแสดงความยินดีเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้รับ รางวัล Asian Animal Health Award เป็นครั้งที่ 2 สำาหรับพิธี มอบรางวัลนี้เชิดชูคุณูปการที่โดดเด่นในด้านวิชาการและการปฏิบัติ งานด้านสัตวแพทย์ ในส่วนของกิจกรรมเพิ่มเติม ทางผู้จัดได้ริเริ่มโครงการ Health & Nutrition Asia : Start-up Pitching ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งแรก โดยได้รับความร่วมมือจากสมาคมนิสิตเก่าสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้การ Health and Nutrition Asia 2024 ประสบความสำาเร็จอย่างเกินความคาดหมาย!
สัตว์เศรษฐกิจ 49 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สนับสนุนและผลักดันผู้มีความสามารถในอุตสาหกรรมนี้ โดยมี ผู้เชี่ยวชาญมากมายที่เข้าร่วมการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างความสัมพันธ์ในระหว่างการจัดงานเพื่อผลักดัน Start-up ต่อไป นอกจากนี้งาน Health and Nutrition Asia 2024 ยังได้รับ ความสนใจจากสื่ออย่างล้นหลาม ทั้งสื่อจากในและต่างประเทศ มากกว่า 50 แห่งที่มาร่วมสำารวจความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ นวัตกรรมล่าสุดที่จัดแสดงโดยแบรนด์ชั้นนำาต่าง ๆ ของอุตสาหกรรม ปศุสัตว์ มีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่มากมายภายในงาน อาทิ บริษัท EW NUTRITION (ประเทศไทย)จำากัด และ บริษัท ANDRITZ GROUP คว้าโอกาสในการเปิดตัวผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ล่าสุด ด้วยข้อเสนอที่ล้ำาสมัย ท่ามกลางผู้จัดแสดงชั้นนำาในอุตสาหกรรม อื่น ๆ ที่เข้าร่วมงาน มากไปกว่านั้นธนาคารยูโอบียังได้เข้าร่วมงาน VIV Worldwide เป็นครั้งแรก ที่ถือเป็นยุคใหม่ภาคธุรกิจการเงินสู่ ความร่วมมือและโอกาสในอุตสาหกรรมปศุสัตว์ ภายในงาน วีเอ็นยูฯ กรุ๊ป มีการจัดงานแถลงข่าวการจัดงาน Horti Agri Next Asia (HAN ASIA) ซึ่งเป็นงานแสดงนวัตกรรม การเกษตรครบวงจร โดยมีกำาหนดการจัดงานพร้อมกับงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) และงาน Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งจะเป็นการนำาเสนอทุกโซลูชั้นทางธุรกิจ ศึกษาข้อมูลเชิงลึก เกี่ยวกับแนวโน้มทางการเกษตร พืชสวน พืชไร่ โดยต้อนรับภาครัฐ ภาคเอกชน และตัวแทนสื่อมวลชนกว่า 50 คน ที่มาเข้าร่วมในช่วง อภิปรายและให้ความรู้นำาโดยผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมเกษตรไทย สำาหรับการจัดงาน Health and Nutrition Asia ในครั้งที่ 3 จะถูกจัดขึ้นร่วมกับ VICTAM Asia โดยมีกำาหนดการจัดงานระหว่าง วันที่ 10-12 มีนาคม 2569 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค ในกรุงเทพฯ ประเทศไทย แต่ระหว่างปีทาง VIV Worldwide มีกำาหนดการจัดงานแสดงสินค้าอีกมากมายต่าง ๆ มากมาย สำาหรับ ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.viv.net เกี่ยวกับงาน Health & Nutrition Asia: งานจัดแสดงสินค้าสำาหรับสุขภาพสัตว์ โภชนาการสัตว์ และอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งจัดขึ้นโดย VIV Worldwide โดยมุ่งเน้นในด้านการจัดแสดงนวัตกรรมด้านโภชนาการ เภสัชกรรม และเทคโนโลยีขั้นสูงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพสัตว์ ครบวงจร | www.vivhealthandnutrition.nl
50 สัตว์เศรษฐกิจ นายไชยา พรหมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสหกรณ์โคนมหนองบัวลำ�ภู จำ�กัด อำ�เภอ น�วัง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู โดยมี น.สพ. ประภาส ภิญโญชีพ รอง อธิบดีบดีกรมปศุสัตว์ ผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หัวหน้า ส่วนราชการในจังหวัด นายสุวิทย์ จันทร์หวร ผู้ว่าราชการจังหวัด หนองบัวลำาภู หน่วยง�นที่เกี่ยวข้องและเกษตรกรให้ก�รต้อนรับใน พื้นที่ เพื่อร่วมเป็นสักขีพย�นในก�รลงน�ม MOU ซื้อข�ยข้�วโพด พร้อมฝักหมัก (Corn Silage) ระหว่�งผู้ประกอบก�รกับสหกรณ์ โคนมหนองบัวลำ�ภู รวมถึงพบปะและให้กำ�ลังใจเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ภ�ยใต้โครงก�รช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมจ�กวิกฤติอ�ห�รสัตว์ ร�ค�แพง เพื่อให้เกษตรกรยืนบนข�ของตนเองได้ พร้อมทั้ง ได้มอบเมล็ดพันธุ์หญ้�รูซี่จำ�นวน 100 ถุง กระถิน จำ�นวน 100 ถุง ถั่วค�ว�ลเคดจำ�นวน 100 ถุง และเมล็ดข้�วโพด จำ�นวน 400 ถุง ให้แก่เกษตรฯ ตลอดจนติดต�มผลก�รดำ�เนินง�น ของสหกรณ์ และหน่วยง�นที่บูรณ�ก�รเพื่อขับเคลื่อนน�วังโมเดลที่ ผ่�นม�ตั้งแต่เดือนเดือนธันว�คม 2566 - เดือนกุมภ�พันธ์ 2567 และติดต�มแผนก�รดำ�เนินง�น “น�วังโมเดล” เดือนมีน�คม - เดือน พฤษภ�คม 2567 อีกทั้งยังได้เยี่ยมชมก�รแปลงส�ธิตก�รเก็บเกี่ยว LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ผลผลิตข้�วโพดพร้อมฝัก ณ บ้�นน�กล�ง อำ�เภอน�วัง จังหวัด หนองบัวลำ�ภู นอกจ�กนั้น รมช.ไชย� ได้ทดลองขับรถเก็บเกี่ยวผลผลิต ข้�วโพดพร้อมฝักด้วยตนเอง และเยี่ยมชมกิจกรรมก�รเลี้ยงโคนม ของฟ�ร์มต้นแบบน�วังโมเดล และก�รส�ธิตก�รผลิตข้�วโพดพร้อม ฝักหมักชนิดอัดก้อน บรรจุถุง และบรรจุบ่อหมัก ณ อรจิร�ฟ�ร์ม จังหวัดหนองบัวลำ�ภู นายไชยา พรหมา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กล่�วว่� ภ�วะที่วัตถุดิบอ�ห�รสัตว์มีร�ค�สูงขึ้นส�เหตุจ�ก เหตุก�รณ์สู้รบระหว่�งประเทศรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลกระทบต่อ เกษตรกรที่เลี้ยงโคนมของสหกรณ์โคนมหนองบัวลำ�ภูจำ�กัด ซึ่งตั้งอยู่ ที่อำ�เภอน�วัง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมบ�งส่วน เลิกเลี้ยงหลังจ�กประสบปัญห�สภ�วะข�ดทุนจ�กสถ�นก�รณ์ดังกล่�ว รัฐบ�ลจึงมีนโยบ�ยในก�รห�แนวท�งเพื่อให้คว�มช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ประกอบอ�ชีพก�รเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทย โดยเฉพ�ะเกษตรกร ผู้เลี้ยงโคนม ซึ่งกำ�ลังประสบกับปัญห�ต้องแบกรับภ�ระต้นทุนก�ร ผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น จ�กกลไกก�รตล�ดของร�ค�อ�ห�รสัตว์ที่เพิ่มขึ้น อย่�งต่อเนื่องในทุกพื้นที่ของประเทศไทย โดยได้มอบหม�ยให้ทุก ชู “นาวังโมเดล” ต้นแบบอาหารสัตว์คุณภาพสูง สู้วิกฤตอาหารสัตว์แพง