The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Livestock Production Magazine 917
สัตว์เศรษฐกิจ-917 มิถุนายน 67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัตว์เศรษฐกิจ E magazine, 2024-06-17 05:01:43

สัตว์เศรษฐกิจ-917 มิถุนายน 67

Livestock Production Magazine 917
สัตว์เศรษฐกิจ-917 มิถุนายน 67

LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ ปีที่ 40 ฉบับที่ 917 มิถุนายน 2567 แกลสเซอร์ เงียบร้ายทำาลายฟาร์ม ผู้เลี้ยงไก่ไข่ยํ้า.. ราคาปรับตามกลไกตลาด หลังผลผลิตน้อย สหกรณ์โคนมท่าหลวง ใช้ระบบฐานข้อมูล G-Dairy เพิ่มผลผลิต วิสาหกิจชุมชนฯ โคเนื้อไทยเขาชัยสน... สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 แกลสเซอร์ เงียบร้ายทำาลายฟาร์ม ผู้เลี้ยงไก่ไข่ยำ้า.. ราคาปรับตามกลไกตลาด หลังผลผลิตน้อย สหกรณ์โคนมท่าหลวง ใช้ระบบฐานข้อมูล G-Dairy เพิ่มผลผลิต วิสาหกิจชุมชนฯ โคเนื้อไทยเขาชัยสน... สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 https://livestockemag.com/


4 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศให้ วันที่ 7 มิถุนายนของทุกปีเป็น “วันความปลอดภัยอาหารโลก” (World Food Safety Day) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงความสำาคัญของความปลอดภัยอาหาร สนับสนุนให้ประชาชนได้ บริโภคอาหารที่มีมาตรฐานความปลอดภัย เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรโลกให้ดียิ่งขึ้น ขจัด ความหิวโหย และเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตสินค้าเกษตรให้สูงขึ้น รวมไปถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน และในปีนี้โครงการมาตรฐาน อาหารองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติและองค์การอนามัยโลก (Joint FAO/WHO CODEX Alimentarius Commission) หรือ โคเด็กซ์ (Codex) ได้กำาหนดแนวคิดในการรณรงค์และจัดกิจกรรมภายใต้หัวข้อ Food Safety: Prepare for the unexpected การเตรียมความพร้อมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่ การสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคถึงความปลอดภัยของอาหารและสินค้าเกษตรไทย เป็นสิ่งสำาคัญและมาตรฐาน จะเป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณภาพของสินค้าเกษตรและอาหารจากประเทศไทยได้เป็นอย่างดีดังนั้นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึง มุ่งมั่นที่จะพัฒนาด้านมาตรฐาน ให้เป็นที่ยอมรับจากทั่วโลก เมื่อสินค้าเกษตรไทยมีคุณภาพ และมาตรฐานเป็นที่ยอมรับจาก ทั่วโลก จะส่งผลให้เกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น มีความเป็นอยู่ที่มั่นคง รวมไปถึงสุขภาพของผู้บริโภคที่ดีสร้างความยั่งยืน ให้แก่สังคมโดยภาพรวมได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ความสำาคัญกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร รวมทั้งพันธุ์พืช โดยมีมกอช. เป็น หน่วยงานกลางในการขับเคลื่อนงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งจะเป็นผลดีกับพี่น้อง เกษตรกร ในการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร ทั้งในและต่างประเทศ และสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคโดยสามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ซึ่งการสร้างมาตรฐานต่าง ๆ นี้ถือเป็นการวางรากฐานที่เข้มแข็งให้เกษตรกร ยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อบรรลุ เป้าหมายเกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น 3 เท่าใน 4 ปีอีกทั้ง ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นครัวของโลก จึงขอให้ทุกฝ่ายร่วมกัน สนับสนุน และกระตุ้นให้เกษตรกรตระหนักถึงความสำาคัญและเข้าสู่ระบบมาตรฐานผลิตสินค้าเกษตร มากขึ้น อีกทั้ง มกอช. และ อย. ต้องบูรณาการทำางานร่วมกัน ในการเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่ ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการดำาเนินงานให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการด้านการจัดการด้านอาหารของ ประเทศไทย (พ.ศ. 2566 - 2570) โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอาหารและยุทธศาสตร์ด้านคุณภาพและความ ปลอดภัยอาหาร ที่มีการดำาเนินโครงการสำาคัญเพื่อให้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติในการสร้างมูลค่าและให้ความสำาคัญกับ การเพิ่มผลิตภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร โดยเฉพาะด้านการเกษตรสร้างมูลค่า ซึ่งประกอบด้วย 1) เกษตรอัตลักษณ์ พื้นถิ่น 2) เกษตรปลอดภัย 3) เกษตรชีวภาพ 4) เกษตรแปรรูป และ 5) เกษตรอัจฉริยะ ซึ่งแผนย่อยด้านเกษตรปลอดภัย จะเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกร ชุมชน ท้องถิ่น รวมถึงผู้ประกอบการ ให้สามารถผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มี คุณภาพมาตรฐาน เช่น มาตรฐาน GAP และเกษตรอินทรีย์เพื่อให้สามารถผลิตอาหารภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยและ การคุ้มครองผู้บริโภคและการค้าระดับสากล ปัจจุบันมีร้าน Q Restaurant ทั่วประเทศ 2,994 ร้าน และได้รับการรับรอง Q Restaurant Premium จำานวน 96 ร้าน 20 จังหวัด LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE วันความปลอดภัยอาหารโลก (World Food Safety Day)


คอลัมน์พิเศษ 12 “Thailand Buffalo Heritage” ดันควายไทย สู่ Soft Powerระดับโลก 13 แกลสเซอร์เงียบร้ายทำาลายฟาร์ม เรียนรู้จากกรณีศึกษา 16 ผู้เลี้ยง...ร้องรัฐตรวจซํ้า หวั่น “หมูเถื่อน” ตกค้างแทรกแซงราคาหมูไทย 18 “เนตรบุญฟาร์ม” ใช้SmartFarm ยกระดับการเลี้ยงหมู 20 เมื่อวัตถุดิบอาหารสัตว์แพง...ต้องปรับตัวอย่างไร? 24 ผู้เลี้ยงไก่ไข่ยำ้า..ราคาปรับตามกลไกตลาด หลังผลผลิตน้อย 27 ผลงานวิจัยใหม่พบ “ไข่” ลดความเสี่ยงกระดูกพรุน 28 36 ปีโครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันฯ หนุนโภชนาการที่ดีให้เยาวชน 31 82 ปีกรมปศุสัตว์มุ่งมั่นสู่Full Digitalization 32 วิสาหกิจชุมชนฯ โคเนื้อไทยเขาชัยสน...สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติปี67 36 อาหารสัตว์ร้องรัฐแก้วงจรปั่นราคาข้าวโพดกระทบห่วงโซ่การผลิตอาหาร 39 วันดื่มนมโลก...ชวนคนไทยดื่มนม 25 ลิตรต่อคนต่อปี 40 สหกรณ์โคนมท่าหลวง ใช้ระบบฐานข้อมูล G-Dairy เพิ่มผลผลิต 42 THAIFEX – ANUGA ASIA 2024งานแสดงสินค้าอาหารระดับโลก 44 คู่ค้าทั่วโลกชื่นชอบ Soft Power อาหารไทย เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ งาน THAIFEX 46 “พาณิชย์” นําสินค้า GI โชว์งาน THAIFEX ช่วยเปิดตัวสู่ตลาดโลก 47 เบทาโกร”ชูแนวคิด “Smart Solutions for Sustainablelife” ในงาน THAIFEX 2024 50 อะกริเทคนิก้าเอเชีย และ ฮอร์ติเอเชีย : เวทีเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน 53 เตรียมพบกับ..งาน Horti Agri Next Asiaในปี2568 พร้อมงาน VIV Asia คอลัมน์ประจำ� 8 บอกกล่าว 10 กิจกรรมเด่น 54 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 40 ฉบับที่ 917 มิถุนายน 2567 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : [email protected] โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 917


สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482 สรŒางพันธมิตรที่ยั่งยืนกับ…. ผูŒเชี่ยวชาญดŒานเกษตรอุตสาหกรรมครบวงจร อุปกรณฟารมปศุสัตว เวชภัณฑและสารเสร�ม สำหรับสัตว เพ��มผลผลิตดี กำไรงาม ครอบคลุมสินคŒาและบร�การครบวงจร เปšนพันธมิตรทางธุรกิจเพ�่อความสำเร็จที่ยั่งยืน อาหารสัตว คุณภาพ บร�การทดสอบดŒานปศุสัตว และอาหารครบวงจร บร�การฟารมและ ที่ปร�กษาทางธุรกิจ ที่เดียวครบ… จบทุกเร�่องฟารม บร�ษัท เบทาโกร จำกัด(มหาชน) (สำนักงานใหญ) อาคารเบทาโกรทาวเวอร(นอรธปารค) 323 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กทม. 10210 Call Center : 1482


8 สัตว์เศรษฐกิจ มูลค่า 4,545 ล้านบาท (ส่วนใหญ่เป็นสินค้ากลุ่มไอศกรีม) และสินค้า อาหารปศุสัตว์ มูลค่า 536 ล้านบาท ด้าน นายสัตวแพทย์ประภาส ภิญโญชีพ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานเปิดโครงการสัตวแพทย์พระราชทานในพระราชดำาริ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง โดยมี นายวชิระ เกตุพันธุ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี กล่าวต้อนรับ นายสัตวแพทย์จรูญ ชูเกียรติวัฒนา ปศุสัตว์จังหวัด ลพบุรี กล่าวรายงาน และนายอำาเภอพัฒนานิคม คณะกรรมการ โครงการสัตวแพทย์พระราชทาน หัวหน้าส่วนราชการ คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา ผู้นำาท้องที่ ผู้นำาท้องถิ่น พี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เข้าร่วมพิธีเปิดฯ ณ หอประชุมที่ว่าการอำาเภอพัฒนานิคม อำาเภอ พัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี นายสัตวแพทย์ประภาส ภิญโญชีพ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า การดำาเนินงานโครงการสัตวแพทย์พระราชทานฯ เป็น งานสนองพระราชดำาริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการบริการประชาชนชาวไทยให้มี ความอยู่ดีกินดีโดยถ้วนหน้าและเสมอภาคกัน เป็นการแบ่งเบา พระราชกรณียกิจอีกทางหนึ่ง สร้างคุณประโยชน์ให้แก่เกษตรกร ผู้ยากไร้ อยู่ห่างไกลและขาดโอกาส โครงการสัตวแพทย์พระราช ทานฯ เป็นความร่วมมือแบบบูรณาการของสัตวแพทย์ไทย และ บุคลากรทุกภาคส่วนทั้งในส่วนของวิชาชีพสัตวแพทย์ และวิชาชีพ อื่น ๆ ต่างผนึกกำาลังในการใช้เทคโนโลยี และวิชาการอันทันสมัยของ แขนงต่าง ๆ เพื่อบริการประชาชน ให้ได้ผลสำาเร็จตามพระราช เสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง นับเป็นความโชคดีของเกษตรกรจังหวัดลพบุรี โดยเฉพาะอำาเภอพัฒนานิคมที่จะได้รับบริการจากบุคลากรที่มี ความรู้ ความสามารถ มีน้ำาใจดีงาม ที่จะมาช่วยบรรเทาความ เจ็บป่วยของสัตว์ และบรรเทาความทุกข์ร้อนของทุกท่าน นายสัตวแพทย์จรูญ ชูเกียรติวัฒนา ปศุสัตว์จังหวัดลพบุรี กล่าวว่า ด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ทรงห่วงใยพสกนิกรของพระองค์เป็นอย่างยิ่ง ทุกครั้งที่เสด็จเยี่ยมความเป็นอยู่ของราษฎร จะมีหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องร่วมติดตามถวายงานตามรับสั่ง เพื่อพระราชทานความช่วย เหลือแก่เกษตรกร ทรงแนะนำาการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกษตรกรไม่ สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง รวมทั้งทรงพระราชทานแนวคิดใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ ในปัจจุบัน ทั้งหมดเป็นพระราช กรณียกิจที่แสดงถึงน้ำาพระราชหทัยอันเปี่ยมล้นไปด้วย ความเมตตา ทรงห่วงใยและปรารถนาดีต่อพสกนิกรของพระองค์ทั้งสิ้น โครงการ สัตวแพทย์พระราชทานฯ เป็นงานที่สนองพระราชดำาริของสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการบริการประชาชนชาวไทยให้มีความอยู่ดีกินดีโดยถ้วนหน้า และเสมอภาคกัน เป็นการแบ่งเบาพระราชกรณียกิจอีกทางหนึ่ง สร้างคุณประโยชน์ให้แก่เกษตรกรผู้ยากไร้ อยู่ห่างไกลและขาดโอกาส บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 917 เดือนมิถุนายน...เริ่มจาก อธิบดีกรมปศุสัตว์นำาทีมภาครัฐและเอกชนหารืออธิบดีกรมสัตวแพทย์ บริการ สหพันธรัฐมาเลเซีย กระชับความสัมพันธ์และส่งเสริมความ ร่วมมือด้านสุขอนามัยสัตว์ ด้านส่งเสริมการค้าสินค้าปศุสัตว์ระหว่าง กัน พร้อมติดตามความก้าวหน้าที่ไทยขอขยายตลาดส่งออกเนื้อโค เนื้อแพะ และเนื้อสุกร ไปยังมาเลเซีย นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ได้นำาคณะภาครัฐและเอกชนเข้าพบ Dr. Akma binti Ngah Hamid อธิบดีกรมสัตวแพทย์บริการ (Department of Veterinary Services: DVS) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซียเพื่อ กระชับความสัมพันธ์ พร้อมทั้งหารือเรื่อง ข้อกำาหนดด้านสุขอนามัย สัตว์ ความร่วมมือด้านการค้าสินค้าปศุสัตว์ และติดตามความ ก้าวหน้าการขอเปิดตลาดสินค้าปศุสัตว์ โดยผู้แทนภาครัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายเกษตร) ประจำาสถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงจาการ์ตา ผู้อำานวยการสำานักงานส่งเสริม การค้าในต่างประเทศ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ร่วมกับผู้แทนเอกชน ภาคการผลิตและส่งออกสินค้าปศุสัตว์ ผลจากการหารือร่วมกัน ทั้งสองฝ่ายเห็นควรพัฒนาความ ร่วมมือด้านสุขอนามัยสัตว์ ด้านการค้าและการอำานวยความสะดวก ทางการค้าสินค้าปศุสัตว์ระหว่างกันให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ฝ่ายไทยได้ แสดงความพร้อมที่จะเป็นผู้ผลิตสินค้าปศุสัตว์ที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ปลอดโรคและปลอดภัย โดยเฉพาะเนื้อโค เนื้อแพะ และ เนื้อสุกร เพื่อตอบสนองและสนับสนุนนโยบายความมั่นคงทางอาหาร ของสหพันธรัฐมาเลเซีย ที่สำาคัญกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์มีแผนการ ผลักดันการขยายตลาดสินค้าปศุสัตว์ไปยังต่างประเทศอีกหลาย ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่มีกำาลังซื้อสูงอย่างสหพันธรัฐ มาเลเซีย เพื่อเป็นการเพิ่มปริมาณการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ สร้าง รายได้เพิ่มให้แก่ภาคการผลิตปศุสัตว์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในปี 2566 ที่ผ่านมาไทยสามารถส่งออกสัตว์มีชีวิตและสินค้า ปศุสัตว์ไปยังสหพันธรัฐมาเลเซียรวมมูลค่า 16,463 ล้านบาท ประกอบด้วย โคมีชีวิต มูลค่า 1,078 ล้านบาท กลุ่มอาหารสัตว์ เลี้ยง มูลค่า 4,702 ล้านบาท สินค้ากลุ่มเนื้อสัตว์ปีก มูลค่า 5,602 ล้านบาท (ส่วนใหญ่เป็นสินค้าเนื้อไก่ดิบ) สินค้ากลุ่ม Non-Frozen LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE บอกกล่าวเล่าสิบ


สัตว์เศรษฐกิจ 9 กรมปศุสัตว์ในฐานะหน่วยงานหลักในการดำาเนินงานโครงการสัตวแพทย์ พระราชทานร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ สมาคมด้านสัตวแพทย์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงได้ ร่วมกันดำาเนินงานโครงการสัตวแพทย์พระราชทานขึ้นมาตั้งแต่ปี งบประมาณ 2550 จนถึงปัจจุบัน กรมปศุสัตว์ได้บูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้าน ปศุสัตว์ในการพัฒนาบริการด้านสุขภาพสัตว์ ได้จัดให้มีการดำาเนินการ โครงการสัตวแพทย์พระราชทานในพระราชดำาริฯ พื้นที่จังหวัดลพบุรี มีเป้าหมายการออกหน่วยให้บริการในเขตพื้นที่อำาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี แบ่งเป็นสุนัขและแมว 300 ตัว โคเนื้อและกระบือ 1,000 ตัว แพะและแกะ 500 ตัว โดยมีคณาจารย์ นิสิต นักศึกษา ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สัตวแพทย์และนักวิชาการจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาค กำาหนด ดำาเนินการระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤษภาคม 2567 รวมระยะเวลา 3 วัน สำาหรับกิจกรรมโครงการสัตวแพทย์พระราชทานฯ ครั้งนี้ ประกอบด้วย การตรวจรักษาพยาบาลสัตว์ทั้งด้านอายุรกรรม สูติกรรม ศัลยกรรม การฉีดวัคซีนป้องกันโรคสัตว์ การกำาจัดพยาธิ ภายใน - ภายนอก การเก็บตัวอย่างเพื่อสำารวจสภาวะโรค การฝึก อบรม ให้ความรู้ แนะนำาการเลี้ยงการดูแลสัตว์ให้ถูกสุขลักษณะการ ผลิตแร่ธาตุและอาหารสัตว์แก่เกษตรกร เป็นต้น ในการดำาเนินการ ครั้งนี้ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากทุกภาคส่วนในจังหวัดลพบุรี…. สวัสดี บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ รับ 5 รางวัลเกียรติยศด้านความเป็นเลิศแห่งภูมิภาคเอเชีย จากเวที The 14th Asian Excellence Awards 2024 จัดขึ้นที่ โรงแรม JW Marriott ฮ่องกง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ที่ผ่านมา จัดโดยนิตยสาร Corporate Governance Asia สื่อชั้นนำาด้านการเงินของฮ่องกง และ เอเชีย สะท้อนความเป็นองค์กรธุรกิจที่ยึดมั่นหลักธรรมาภิบาลที่ดี ควบคู่กับการสร้างความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืนให้กับผู้บริโภคทั่วโลก ผ่านการพัฒนาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (SDGs) CPF คว้า 5 รางวัลยอดเยี่ยมระดับเอเชีย “Asian Excellence Award 2024” CPF คว้า 5 รางวัลยอดเยี่ยมระดับเอเชีย “Asian Excellence Award 2024”


10 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE กิ จ ก ร ร ม เ ด่ น “เบทาโกร” “เบทาโกร” ชูแนวคิด ชูแนวคิด “Smart Solutions Solutions for Sustainable Sustainable life” ในงาน THAIFEX-ANUGA THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 “เบทาโกร” “เบทาโกร” ชูแนวคิด ชูแนวคิด “Smart Solutions Solutions for Sustainable Sustainable life” ในงาน THAIFEX-ANUGA THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ “BTG” ตอกย้ำ�ก�รเป็นผู้นำ�ธุรกิจอ�ห�ร ชูแนวคิด “Smart Solutions for Sustainable life” ในง�น THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 โดยยกทัพนำ�ผลิตภัณฑ์อ�ห�รคุณภ�พสูงและหล�กหล�ยภ�ยใต้แบรนด์ Betagro, S-Pure, Itoham และผลิตภัณฑ์โปรตีนท�งเลือก (Alternative Protein) แบรนด์ Meatly! ม�จัดแสดง พร้อมนำ�เสนอโซลูชันครบวงจรสำ�หรับผู้ประกอบก�ร ด้�นอ�ห�รที่ครอบคลุมตั้งแต่ก�รให้คำ�แนะนำ�ด้�นก�รบริห�รจัดก�ร ก�รดำ�เนินธุรกิจอย่�งมีประสิทธิภ�พ เพื่อเพิ่มขีดคว�มส�ม�รถ สร้�ง โอก�สก�รต่อยอดธุรกิจ และเติบโตไปด้วยกันอย่�งยั่งยืน


สัตว์เศรษฐกิจ 11 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ คู่ค้าทั่วโลก...เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ คู่ค้าทั่วโลก...เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ คู่ค้าทั่วโลก...เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ คู่ค้าทั่วโลก...เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ งาน งาน THAIFEX-ANUGA THAIFEX-ANUGA THAIFEX-ANUGA THAIFEX-ANUGA ASIA ASIA 2024 2024 คณะทูตน�น�ประเทศ คู่ค้� และผู้นำ�หน่วยง�นภ�ครัฐและเอกชน เยี่ยมชมและชื่นชอบบูธ ของ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมแสดง ในง�น THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 แนวคิด ครัวของโลกด้วยนวัตกรรมความยั่งยืน หรือ “Kitchen of the world with Sustainovation” ด้�นนวัตกรรมอ�ห�ร ตอบเทรนด์โลกทั้งด้�นก�รส่งเสริมสุขภ�พที่ดี รสช�ติอร่อย พร้อม รับผิดชอบต่อสังคมและใส่ใจสิ่งแวดล้อม ส่งออก Soft Power อ�ห�รไทยสู่ผู้บริโภคทั่วโลก


12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายอรรถกร ศิริลัทธยากร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเข้าร่วมพิธีเปิดงานโครงการ Thailand Buffalo Heritage โดยมีนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน พร้อมด้วย นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วม ณ ลานหลังวัดมหาธาตุ อุทยานประวัติศาสตร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ว่า รัฐบาลมี นโยบายสนับสนุนการสร้างพลังสร้างสรรค์ หรือ Soft Power ของ ประเทศ เพื่อเป็นแนวทางสำาคัญที่จะยกระดับและพัฒนาความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมถึงส่งเสริมความเป็นผู้นำา ของประเทศไทยในเวทีระดับโลก เพื่อขานรับนโยบาย Soft Power ด้านเทศกาลประเพณีไทย รมช.อรรถกร กล่าวว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรม ปศุสัตว์ ได้จัดงานดังกล่าวขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการยกระดับ การพัฒนาควายไทยให้เป็น Soft Power ระดับโลก ขับเคลื่อน เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับควายไทย นอกจากนี้ เพื่อเป็นการดำารงควายไทยให้อยู่คู่กับสังคม และวิถี เกษตรกรรมของไทย และส่งเสริมให้ควายไทยได้รับการยกระดับและ ถูกมุ่งเน้นในเชิงพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อเป็นสัตว์ เศรษฐกิจ สามารถเป็นอาชีพที่สร้างรายได้หลัก รายได้รอง หรือ รายได้เสริม ให้กับเกษตรกร โดยบูรณาการความร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สมาคม อนุรักษ์และพัฒนาควายไทย สมาคมพัฒนาพันธุ์ควายไทย และภาค ส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำาหรับภายในงาน Thailand Buffalo Heritage มีกิจกรรมที่ น่าสนใจ ได้แก่ การประกวดควายชิงถ้วยรางวัลนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำานวน 30 รุ่น ประกอบ ด้วย ควายดำา ควายเผือก ควายแคระ และควายยักษ์ รวมทั้งมีการ จัดนิทรรศการควายไทยสู่ควายโลก และนิทรรศการด้านอาหารสัตว์ การจำาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ เป็นต้น ทั้งนี้ ขอเชิญ ชวนผู้ที่สนใจเข้าชมงาน ระหว่างวันที่ 1 - 2 มิถุนายน 2567 ตั้งแต่ เวลา 09.00 น. - 20.00 น. ณ ลานหลังวัดมหาธาตุ อุทยาน ประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา “Thailand Buffalo Heritage” ดันควายไทย สู่ Soft Power ระดับโลก


สัตว์เศรษฐกิจ 13 น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส ก้าวเข้าสู่ช่วงปลายปี ช่วงนี้สภาพอากาศ และสภาพแวดล้อมก าลังเปลี่ยนแปลง อาจพบฝนประปรายสลับกับลมหนาว ทั้งคน และสัตว์ในไทยนั้น อาจคุ้นเคย หรือชินกับการปรับร่างกายให้เข้ากับอุณหภูมิสูง หรืออากาศร้อนที่มีตลอดเกือบทั้งปีได้ ดีกว่า ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิลดต ่า มีลมหนาว สัตว์ก็อาจจะไม่คุ้นชิน ปรับสรีรวิทยาในร่างกายไม่ทัน เกิดความเครียด ภูมิคุ้มกัน ลดต ่าลง จึงมีโอกาสติดเชื้อใหม่ หรือเชื้อที่อาจพบแฝงอยู่ในร่างกายโดยปกติไม่ก่อโรค ก็กลับมาก่อโรคระบาดที่รุนแรงขึ้นได้ ดังตัวอย่างเช่น โรคคอบวมในโคกระบือ เป็นต้น ที่มักพบระบาดตั้งแต่ปลายฤดูฝนต่อเนื่องไปยังฤดูหนาว โรคคอบวม หรือ โรคเฮโมรายิก เซฟติซีเมีย (Haemorrhagic septicemia) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย พาสทูเรลล่า มัลโต ซิดา (Pasteurella multocida) แกรมลบ รูปร่างกลม รูปแท่งหัวท้ายมน มี 5 ไทป์(A, B, D, E, F) ที่พบมากในไทยคือ ไทป์ B พบเชื้อได้ในเกือบทุกประเทศ แต่พบมากในเอเชีย แอฟริกา และเขตที่มีการเลี้ยงกระบือมากๆ โรคนี้จะระบาดได้รวดเร็ว ท าให้ เกิดการป่วยและตายจ านวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบือ ส่วนโคอาจรุนแรงน้อยกว่า ส่วนแพะ แกะ สุกร ม้า อูฐ กวาง กระทิง ลิง ช้าง ก็ติดโรคได้ แต่อาการแทบจะไม่รุนแรง และโรคนี้ไม่ติดต่อสู่คน แบคทีเรียชนิดนี้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานพอสมควร เช่น แปลงหญ้า ดินชื้นแฉะ มีรายงานว่าในแปลงหญ้าที่แห้งอาจ อยู่ได้แค่ 24 ชม. แต่หากในดินหรือทุ่งหญ้าชื้นแฉะ หรือในน ้าอาจอยู่ได้นานหลายวัน จนถึง 2-3 สัปดาห์ หรือมีรายงานนาน เป็นเดือนก็ได้ แต่แบคทีเรียนี้ก็ถูกท าลายได้ง่ายด้วยความร้อน แสงแดด รวมถึงยาฆ่าเชื้อทั่วไปก็สามารถฆ่าได้ง่ายเช่นกัน แบคทีเรียจะถูกขับออกมาจากสัตว์ที่เป็นตัวเก็บเชื้อ หรือแพร่เชื้อผ่านทางสิ่งคัดหลั่ง หรือสิ่งขับถ่าย เช่น น ้ามูก น ้าลาย น ้านม อุจจาระ ปัสสาวะ และติดต่อไปสู่ตัวอื่นโดยทางการหายใจ หรือการกิน ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ป่วย หรือกินเชื้อ ที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร น ้า หรือสิ่งปูรองนอน โดยที่โรคนี้ไม่ติดต่อผ่านแมลง ในบริเวณที่มีความชุกโรคสูง จะพบเชื้อนี้ในตัวโคกระบือได้ประมาณ 5% ของฝูง อยู่ที่บริเวณโพรงจมูก คอหอย ทอนซิล โดยไม่แสดงอาการป่วย หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นพาหะ หรือตัวเก็บกักเชื้อ แต่ในช่วงที่เกิดการระบาดขึ้นแล้ว จะพบตัว ที่เป็นพาหะนี้เพิ่มมากขึ้นเป็น 20% เลยก็เป็นได้ปัจจัยเสริมที่ท าให้เชื้อก่อความรุนแรงเพิ่มขึ้น หรือแพร่ออกมานั้นได้แก่ ภาวะ ความเครียดจากการเปลี่ยนฤดูกาล ร้อนจัด หนาวจัด เคลื่อนย้ายสัตว์ ใช้แรงงานหนัก สภาพร่ายกายอ่อนแอ มีโรคอื่น พยาธิ สภาพแวดล้อมเปียกหรือชื้นแฉะ ไม่ค่อยมีแสงแดด ขาดอาหาร อาหารไม่มีคุณภาพ ได้รับวิตามินแร่ธาตุไม่ถูกต้องครบ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผ้จูดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส มีกรณีศึกษาหนึ่งน่าสนใจมาก อยากน ามาเล่าสู่กันฟัง ฟาร์มขนาดใหญ่แห่งหนึ่งเลี้ยงสุกรมาค่อนข้างนานแบบดั้งเดิม จนเมื่อประมาณ 2 ปีที่แล้ว ได้เกิดการระบาดใหญ่ของโรค ASF ขึ้น จากความเสียหาย และมาตรการควบคุมก าจัดโรค จึงได้ ท าลายสุกรทิ้งทั้งหมด ปิดฟาร์ม ล้างท าความสะอาด ฆ่าเชื้อ พร้อมกับปรับปรุงฟาร์มโดยเฉพาะในส่วนของระบบความ ปลอดภัยทางชีวภาพให้ดี และได้มาตรฐานยิ่งขึ้น เช่น การกางมุ้งตาข่ายคลอบทุกโรงเรือน โรงเรือนเปิดสมัยก่อนก็รีโนเวท ปรับปรุง ให้กลายเป็นโรงเรือนปิดระบบ EVAP เป็นต้น จัดระบบการเข้าฟาร์ม อาบน ้าเปลี่ยนเสื้อผ้าฆ่าเชื้อก่อนเข้า เป็นต้น เมื่อถึงเวลาเหมาะสม แน่ใจว่าก าจัดเชื้อ ASF จนหมดไปได้ก็ท าการเริ่มต้นสร้างฝูงสุกรใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มต้น จากน าเข้าพันธุ์แท้ปลอดโรค ASF เข้ามาเลี้ยงเพื่อผลิตแม่สุกรทดแทนตัวเองในระบบฟาร์มปิด ไม่น าแม่สุกรสองสายพันธุ์จาก ภายนอกเข้ามาอีกเลย ดูเหมือนว่าทุกอย่างก าลังจะไปได้สวย แต่สักพักหนึ่งสุกรกลับค่อยๆ เริ่มป่วยตาย อัตราความเสียหาย เพิ่มมากขึ้นอีกครั้ง ซึ่งเบื้องต้นจากลักษณะอาการทางคลินิก รอยโรคต่างๆ มิได้บ่งชี้ถึงโรค ASF ที่จะกลับมาระบาดใหม่แต่ อย่างใด ยืนยันด้วยการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ก็ให้ผลลบเช่นเดียวกัน ลักษณะของฟาร์ม ตั้งอยู่ห่างไกลจากแหล่งชุมชุน ห่างฟาร์มอื่น ห่างจากสถานที่เสี่ยงอันจะน าโรคเข้าสู่ฟาร์ม ฟาร์มมี รั้วรอบขอบชิด มีประตู 2 ชั้น จากนอกฟาร์มผ่านชั้นแรกเข้าสู่ส่วนบ้านพัก และส านักงาน ผ่านการพ่นน ้ายาฆ่าเชื้อโรครถและ ยานพาหนะที่จ าเป็นต้องเข้าฟาร์ม จากนั้นก่อนเข้าสู่ส่วนเลี้ยงสัตว์ ต้องมีการอาบน ้า เปลี่ยนเสื้อผ้า เปลี่ยนรองเท้า ผ่านการ พ่นน ้ายาฆ่าเชื้อโรค ทั้งคนและรถก่อนเข้าสู่ส่วนเลี้ยงสัตว์ กักโรคคนงานก่อนเข้าเลี้ยงสัตว์ มีระบบโรงเรือน อุปกรณ์ ระบบ EVAP ล้วนได้มาตรฐานการจัดการผ่านมาตรฐานที่ควรจะเป็น ปัญหาสุกรป่วยตายเพิ่มมากขึ้นนั้น พบในฝูงสุกรอนุบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เลี้ยงอยู่ในโรงเรือน EVAP ป่วยตายมี ทั้งเฉียบพลัน และเรื้อรังด้วยอาการระบบทางเดินหายใจ ไอ หอบ อาการระบบประสาทเช่น ชัก และอื่นๆ เช่น หูม่วง และเมื่อ สุกรกลุ่มนี้ลงเลี้ยงช่วงขุน ก็พบป่วยตาย มีอัตราการเสียหายต่อเนื่องคล้ายคลึงกัน จากสถิติที่มากสุดเคยพบว่าเสียหาย 40- 50% เลยก็มีฟาร์มจัดการปัญหานี้ด้วยวิธีการคัดทิ้งยกทั้งคอกที่แสดงอาการ หรือมีสุกรตาย จากการผ่าชันสูตรซาก บางตัวไม่ พบวิการหรือรอยโรคใดๆ แต่ส่วนใหญ่พบความผิดปกติที่มีไฟบรินคล้ายหนองสีขาวเหลืองปกคลุมยึดติดแน่นกับถุงหุ้มหัวใจ แกลสเซอร์ เงียบร้ายทำาลายฟาร์ม เรียนรู้จากกรณีศึกษา มีกรณีศึกษาหนึ่งน่าสนใจมาก อยากนำามาเล่าสู่กันฟัง ฟาร์มขนาดใหญ่แห่งหนึ่งเลี้ยงสุกรมาค่อนข้างนานแบบดั้งเดิม จนเมื่อประมาณ 2 ปีที่แล้ว ได้เกิดการระบาดใหญ่ของโรค ASF ขึ้น จากความเสียหาย และมาตรการควบคุมกำาจัดโรค จึงได้ทำาลายสุกรทิ้งทั้งหมด ปิดฟาร์ม ล้างทำาความสะอาด ฆ่าเชื้อ พร้อมกับปรับปรุงฟาร์มโดยเฉพาะในส่วนของระบบความปลอดภัยทางชีวภาพให้ดีและได้มาตรฐานยิ่งขึ้น เช่น การกางมุ้งตาข่ายคลอบทุกโรงเรือน โรงเรือนเปิดสมัยก่อนก็รีโนเวท ปรับปรุง ให้กลายเป็นโรงเรือนปิดระบบ EVAP เป็นต้น จัดระบบการ เข้าฟาร์ม อาบน้ำาเปลี่ยนเสื้อผ้าฆ่าเชื้อก่อนเข้า เป็นต้น เมื่อถึงเวลาเหมาะสม แน่ใจว่ากำาจัดเชื้อ ASF จนหมดไปได้ก็ทำาการเริ่มต้นสร้างฝูงสุกรใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มต้นจากนำาเข้าพันธุ์แท้ ปลอดโรค ASF เข้ามาเลี้ยงเพื่อผลิตแม่สุกรทดแทนตัวเองในระบบฟาร์มปิด ไม่นำาแม่สุกรสองสายพันธุ์จากภายนอกเข้ามาอีกเลย ดูเหมือน ว่าทุกอย่างกำาลังจะไปได้สวย แต่สักพักหนึ่งสุกรกลับค่อย ๆ เริ่มป่วยตาย อัตราความเสียหายเพิ่มมากขึ้นอีกครั้ง ซึ่งเบื้องต้นจากลักษณะ อาการทางคลินิก รอยโรคต่าง ๆ มิได้บ่งชี้ถึงโรค ASF ที่จะกลับมาระบาดใหม่แต่อย่างใด ยืนยันด้วยการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ก็ให้ ผลลบเช่นเดียวกัน ลักษณะของฟาร์ม ตั้งอยู่ห่างไกลจากแหล่งชุมชุน ห่างฟาร์มอื่น ห่างจากสถานที่เสี่ยงอันจะนำาโรคเข้าสู่ฟาร์ม ฟาร์มมีรั้วรอบขอบชิด มีประตู 2 ชั้น จากนอกฟาร์มผ่านชั้นแรกเข้าสู่ส่วนบ้านพัก และสำานักงาน ผ่านการพ่นน้ำายาฆ่าเชื้อโรครถและยานพาหนะที่จำาเป็นต้อง เข้าฟาร์ม จากนั้นก่อนเข้าสู่ส่วนเลี้ยงสัตว์ ต้องมีการอาบน้ำา เปลี่ยนเสื้อผ้า เปลี่ยนรองเท้า ผ่านการพ่นน้ำายาฆ่าเชื้อโรค ทั้งคนและรถก่อน เข้าสู่ส่วนเลี้ยงสัตว์กักโรคคนงานก่อนเข้าเลี้ยงสัตว์มีระบบโรงเรือน อุปกรณ์ระบบ EVAP ล้วนได้มาตรฐานการจัดการผ่านมาตรฐานที่ควร จะเป็นปัญหาสุกรป่วยตายเพิ่มมากขึ้นนั้น พบในฝูงสุกรอนุบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เลี้ยงอยู่ในโรงเรือน EVAP ป่วยตายมีทั้งเฉียบพลัน และ เรื้อรังด้วยอาการระบบทางเดินหายใจ ไอ หอบ อาการระบบประสาทเช่น ชัก และอื่น ๆ เช่น หูม่วง และเมื่อสุกรกลุ่มนี้ลงเลี้ยงช่วงขุน ก็พบป่วยตาย มีอัตราการเสียหายต่อเนื่องคล้ายคลึงกัน จากสถิติที่มากสุดเคยพบว่าเสียหาย 40-50% เลยก็มี ฟาร์มจัดการปัญหานี้ด้วยวิธี การคัดทิ้งยกทั้งคอกที่แสดงอาการ หรือมีสุกรตาย จากการผ่าชันสูตรซาก บางตัวไม่พบวิการหรือรอยโรคใด ๆ แต่ส่วนใหญ่พบความผิดปกติ ที่มีไฟบรินคล้ายหนองสีขาวเหลืองปกคลุมยึดติดแน่นกับถุงหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด น้ำาในช่องอกมีสีออกเหลืองข้น ทั้งนี้ช่วงที่ผ่านมาพบมีแม่สุกร ตายไป 2-3 ตัว พบรอยโรคดังที่กล่าวมาในช่องอกเช่นเดียวกัน ซึ่งผลจากการเก็บส่งชันสูตรทางห้องปฏิบัติการพบว่าเป็นโรคแกลสเซอร์ (Glasser ’s disease) แต่ทั้งนี้อาจมิฟันธงเป็นแต่แกลสเซอร์โรคเดียว เพราะผลการตรวจคุณภาพน้ำาทางชีววิทยา พบเชื้อ E.coli เกินมาตรฐาน ซึ่งแม้ทำาการ ฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีนแล้ว แต่ด้วยปริมาณที่มาก ทำาให้มีความเป็นไปได้ที่เชื้ออาจหลงเหลือพอก่อโรคได้อยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคบวมน้ำา


14 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE (Edema disease) อีกทั้งโปรแกรมวัคซีนจากช่วงก่อนที่มีASF ระบาด ได้ลดลงมาเหลือน้อยที่สุดเท่าที่จำาเป็นนั้น โปรแกรมวัคซีนพื้นฐาน บางโรคเช่น อหิวาต์สุกร พิษสุนัขบ้าเทียม อาจไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันนี้ ปัญหาและความผิดปกติที่เกิดขึ้นบางส่วนอาจเกิดจาก จำานวนเข็ม และช่วงเวลาที่ทำาวัคซีนทั้งสองโรคนี้ไม่เหมาะสม จนคุ้มโรคได้ไม่ดีอาจมีสองโรคนี้เกิดขึ้นในฝูงด้วยก็เป็นได้ นอกจากนี้ยังอาจ วินิจฉัยแยกแยะจากอาการ หรือวิการอื่นที่เจออีกเล็กน้อยได้แก่ โรคพาสเจอร์เรลโลซีส หรือโรคเอพีพีหรือโรคสเตรปโตคอกคัส ร่วมด้วย ก็เป็นได้ ทั้งนี้จากการวินิจฉัยเบื้องต้น แม้ว่าจะปรับระดับเพิ่มมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพให้อยู่ในระดับสูงแล้ว แต่ทำาไม่ยังเกิดโรคเก่าแก่ โรคที่มีมาแต่โบราณเช่นแกลสเซอร์นี้ขึ้นในฟาร์มได้อีก เริ่มแรกอาจสันนิษฐานได้ว่าเป็นฟาร์มที่เลี้ยงสุกรมายาวนานมากแล้ว โรงเรือนเก่า อาจมีเชื้อหลงเหลืออยู่ แม้ว่าจะใช้มาตรการเข้มข้นกำาจัด ASF แต่เชื้อแกลสเซอร์อาจหลุดรอดเหลือมาก็เป็นได้นอกจากนี้ยังอาจติดแฝงมา กับสุกรพันธุ์แท้ที่นำาเข้ามาเลี้ยงแต่เริ่มต้นใหม่ก็เป็นได้ นอกจากนี้เชื้อก็ยังอาจเล็ดรอดเข้าสู่ฟาร์มได้อีกหลายทางเช่น คน วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ อาหาร สัตว์พาหะ และอีกมากมายหลายทางก็เป็นได้ มิได้หมายความว่าหากมีมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพเข้มงวด ขั้นสูงป้องกัน ASF ได้แล้ว จะป้องกันโรคอื่นได้ 100% นั่นอาจเป็นความเข้าใจผิด เพราะแต่ละเชื้อ แต่ละโรคย่อมมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ทั้งตัวเชื้อ ทางของการติดต่อ ระยะฟักตัว ความทนทาน พยาธิกำาเนิดเกิดโรค การป้องกันในอีกหลาย ๆ โรคยังต้องอาศัยการทำาวัคซีนอยู่ ดังมีหลายกรณีศึกษาที่ผ่านมาพบว่าหลังเกิด ASF ระบาด มีการเพิ่มมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพขั้นสูงสุด ลดการรบกวนสุกร ลดความเครียด ลดการกดภูมิคุ้มกันร่างกาย ด้วยการหยุด ลดชนิด และจำานวนเข็มของการทำาวัคซีนโรคต่าง ๆ ให้น้อยลงมากที่สุด และยัง คงอย่างนี้ไว้ตลอดมา สุดท้ายหลายฟาร์มกลับมีรายงานโรคต่าง ๆ ระบาดขึ้นในฝูงหลังจากควบคุม ASF ได้หรือเริ่มต้นเลี้ยงใหม่อยู่เนือง ๆ ได้แก่ โรค PRRS โรคอหิวาต์สุกร โรคเอพีพีโรคปอดมัยโคพลาสมา เป็นต้น โรคแกลสเซอร์ หรืออาจเรียกว่า โรคเยื่อเสื่อมและข้อทั่วไปอักเสบในสุกร มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Haemophilus parasuis รูปร่างเป็นแท่ง กลม หรือมีรูปร่างแตกต่างกันได้หลายแบบ ปัจจุบันพบมากกว่า 15 ซีโรไทป์ก่อโรคเฉพาะในสุกร เป็นได้ทุกช่วง อายุ แต่มักพบหลังหย่านมตั้งแต่อายุ 5-8 สัปดาห์เป็นต้นไป แบคทีเรียผ่านออกมากับสิ่งคัดหลั่งจากการหายใจ ไอ จามของสุกรป่วยเท่านั้น ติดผ่านการหายใจ มักเกิดจากการสัมผัสกันทางตรง แต่ทางอ้อมผ่านคน วัสดุอุปกรณ์อาหาร น้ำา ยานพาหนะ สัตว์พาหะ ก็เป็นได้เช่นกัน การติดเชื้อนี้ค่อนข้างง่าย พบได้ทั่วโลก โดยมีปัจจัยโน้มนำาได้แก่ ความเครียดหลังหย่านม การขนย้าย การรวมคอก อาหาร สุขศาสตร์และ การจัดการที่ไม่เหมาะสมเช่น แก๊สแอมโมเนียสูง ความชื้นสูง ซึ่งจากกรณีศึกษาฟาร์มด้านบน ก็เข้าข่ายนี้ด้วยจากโรงเรือน EVAP ที่จะ ความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนเปิดอยู่แล้ว รวมถึงอากาศที่วนเวียนภายใน อันเอื้อให้เชื้อเพิ่มจำานวน อยู่ได้นาน และติดต่อสู่ตัวอื่นได้ง่ายมาก ยิ่งขึ้น โดยเมื่อปรับเปลี่ยนนำาสุกรชุดต่อมาลงอนุบาลในโรงเรือนเปิด กลับพบว่าสุกรป่วยตายน้อยลงมากอย่างมีนัยสำาคัญ เชื้อนี้มีระยะฟักตัวประมาณ 2-7 วัน ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการใด ๆ อาจมีเพียง 10% ที่แสดงอาการหนัก แต่ก็อาจพบมากกว่านี้ได้ หากมีปัจจัยเอื้อเหมาะสม สุกรป่วยจะแสดงอาการทางคลินิกได้ 3 ระบบ คือ 1 ทางเดินหายใจ มีไข้สูงปานกลางถึงมาก น้ำาหนักลด ขนหยาบ แกร็น ไม่กินอาหาร ซึม อ่อนเพลีย ไม่อยากเคลื่อนไหว หายใจลำาบาก หายใจตื้น ยืดคอและหัว อ้าปากหายใจ ไอ อัตราการเต้น ของหัวใจสูง มีสีม่วงคล้ำาที่ผิวหนังส่วนปลาย เยื่อตาขาวคั่งเลือด หนังตา และใบหูบวมน้ำา 2 ระบบข้อต่อ บวม ร้อน มีของเหลวภายใน เจ็บปวด เมื่อจับคลำา หรือลุกขึ้นยืนจะส่งเสียงร้องเจ็บปวดมาก ไม่อยากลุกเดิน เดินขากระเผลก ยืนด้วยปลายกีบและเดินลากขา มีช่วงก้าว สั้น ๆ ชอบนอนเท้าทั้งสี่เก็บเข้าหาลำาตัว 3 ระบบประสาท กล้ามเนื้อสั่นกระตุก ตะคริว สองขาหลังทำางานไม่ประสานกัน อัมพาต ล้มตัวลง นอนตะแคง ดิ้นรนลุกขึ้น ชักตะกาย รุนแรงจะตายใน 2-3 วัน จากภาวะติดเชื้อเข้ากระแสเลือด หากเป็นแบบเรื้อรังจะรอด และเกิดข้ออักเสบ เรื้อรัง ลำาไส้อุดตัน หัวใจล้มเหลว อวัยวะทำางานไม่สมบูรณ์จากเยื่อเหนียวที่ยึดติดกันแน่น แม่สุกรสาวอาจแท้งได้ โดยเฉลี่ยโรคนี้จะมีอัตรา การป่วย 50-75% อัตราการตาย 10% ขึ้นไปหรือมากกว่า เยื่อหุ้มปอด น ้าในช่องอกมีสีออกเหลืองข้น ทั้งนี้ช่วงที่ผ่านมาพบมีแม่สุกรตายไป 2-3 ตัว พบรอยโรคดังที่กล่าวมาในช่องอก เช่นเดียวกัน ซึ่งผลจากการเก็บส่งชันสูตรทางห้องปฏิบัติการพบว่าเป็นโรคแกลสเซอร์ (Glasser ’s disease) แต่ทั้งนี้อาจมิฟันธงเป็นแต่แกลสเซอร์โรคเดียว เพราะผลการตรวจคุณภาพน ้าทางชีววิทยา พบเชื้อ E.coli เกิน มาตรฐาน ซึ่งแม้ท าการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีนแล้ว แต่ด้วยปริมาณที่มาก ท าให้มีความเป็นไปได้ที่เชื้ออาจหลงเหลือพอก่อโรค ได้อยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคบวมน ้า (Edema disease) อีกทั้งโปรแกรมวัคซีนจากช่วงก่อนที่มีASF ระบาด ได้ลดลงมาเหลือ น้อยที่สุดเท่าที่จ าเป็นนั้น โปรแกรมวัคซีนพื้นฐานบางโรคเช่น อหิวาต์สุกร พิษสุนัขบ้าเทียม อาจไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ ปัจจุบันนี้ ปัญหาและความผิดปกติที่เกิดขึ้นบางส่วนอาจเกิดจากจ านวนเข็ม และช่วงเวลาที่ท าวัคซีนทั้งสองโรคนี้ไม่เหมาะสม จนคุ้มโรคได้ไม่ดี อาจมีสองโรคนี้เกิดขึ้นในฝูงด้วยก็เป็นได้ นอกจากนี้ยังอาจวินิจฉัยแยกแยะจากอาการ หรือวิการอื่นที่เจออีก เล็กน้อยได้แก่ โรคพาสเจอร์เรลโลซีส หรือโรคเอพีพีหรือโรคสเตรปโตคอกคัส ร่วมด้วยก็เป็นได้ ทั้งนี้จากการวินิจฉัยเบื้องต้น แม้ว่าจะปรับระดับเพิ่มมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพให้อยู่ในระดับสูงแล้ว แต่ท า ไม่ยังเกิดโรคเก่าแก่ โรคที่มีมาแต่โบราณเช่นแกลสเซอร์นี้ขึ้นในฟาร์มได้อีก เริ่มแรกอาจสันนิษฐานได้ว่าเป็นฟาร์มที่เลี้ยงสุกร มายาวนานมากแล้ว โรงเรือนเก่า อาจมีเชื้อหลงเหลืออยู่ แม้ว่าจะใช้มาตรการเข้มข้นก าจัด ASF แต่เชื้อแกลสเซอร์อาจหลุด รอดเหลือมาก็เป็นได้ นอกจากนี้ยังอาจติดแฝงมากับสุกรพันธุ์แท้ที่น าเข้ามาเลี้ยงแต่เริ่มต้นใหม่ก็เป็นได้ นอกจากนี้เชื้อก็ยัง อาจเล็ดรอดเข้าสู่ฟาร์มได้อีกหลายทางเช่น คน วัสดุอุปกรณ์ยานพาหนะอาหารสัตว์พาหะ และอีกมากมายหลายทางก็เป็นได้ มิได้หมายความว่าหากมีมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพเข้มงวดขั้นสูงป้องกัน ASF ได้แล้ว จะป้องกันโรคอื่นได้ 100% นั่นอาจเป็นความเข้าใจผิด เพราะแต่ละเชื้อ แต่ละโรคย่อมมีคุณสมบัติแตกต่างกันทั้งตัวเชื้อ ทางของการติดต่อ ระยะฟักตัว ความทนทาน พยาธิก าเนิดเกิดโรค การป้องกันในอีกหลายๆ โรคยังต้องอาศัยการท าวัคซีนอยู่ ดังมีหลายกรณีศึกษาที่ผ่านมา พบว่าหลังเกิด ASF ระบาด มีการเพิ่มมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพขั้นสูงสุด ลดการรบกวนสุกร ลดความเครียด ลด การกดภูมิคุ้มกันร่างกาย ด้วยการหยุด ลดชนิด และจ านวนเข็มของการท าวัคซีนโรคต่างๆ ให้น้อยลงมากที่สุด และยังคงอย่าง นี้ไว้ตลอดมา สุดท้ายหลายฟาร์มกลับมีรายงานโรคต่างๆ ระบาดขึ้นในฝูงหลังจากควบคุม ASF ได้ หรือเริ่มต้นเลี้ยงใหม่อยู่ เนืองๆ ได้แก่ โรค PRRS โรคอหิวาต์สุกร โรคเอพีพี โรคปอดมัยโคพลาสมา เป็นต้น โรคแกลสเซอร์ หรืออาจเรียกว่า โรคเยื่อเลื่อมและข้อทั่วไปอักเสบในสุกร มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Haemophilus parasuis รูปร่างเป็นแท่ง กลม หรือมีรูปร่างแตกต่างกันได้หลายแบบ ปัจจุบันพบมากกว่า 15 ซีโรไทป์ ก่อโรค เฉพาะในสุกร เป็นได้ทุกช่วงอายุแต่มักพบหลังหย่านมตั้งแต่อายุ 5-8 สัปดาห์เป็นต้นไป แบคทีเรียผ่านออกมากับสิ่งคัดหลั่ง จากการหายใจ ไอ จามของสุกรป่วยเท่านั้น ติดผ่านการหายใจ มักเกิดจากการสัมผัสกันทางตรง แต่ทางอ้อมผ่านคน วัสดุ อุปกรณ์ อาหาร น ้า ยานพาหนะ สัตว์พาหะ ก็เป็นได้เช่นกัน การติดเชื้อนี้ค่อนข้างง่าย พบได้ทั่วโลก โดยมีปัจจัยโน้มน าได้แก่ ความเครียดหลังหย่านม การขนย้าย การรวมคอก อาหาร สุขศาสตร์และการจัดการที่ไม่เหมาะสมเช่น แก๊สแอมโมเนียสูง ความชื้นสูง ซึ่งจากกรณีศึกษาฟาร์มด้านบน ก็เข้าข่ายนี้ด้วยจากโรงเรือน EVAP ที่จะความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนเปิดอยู่ แล้ว รวมถึงอากาศที่วนเวียนภายใน อันเอื้อให้เชื้อเพิ่มจ านวน อยู่ได้นาน และติดต่อสู่ตัวอื่นได้ง่ายมากยิ่งขึ้น โดยเมื่อ ปรับเปลี่ยนน าสุกรชุดต่อมาลงอนุบาลในโรงเรือนเปิด กลับพบว่าสุกรป่วยตายน้อยลงมากอย่างมีนัยส าคัญ


สัตว์เศรษฐกิจ 15 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โรคนี้มีรอยโรคค่อนข้างจำาเพาะคือ เยื่อบุ เยื่อหุ้มช่องโพรงร่างกายอักเสบแบบมีไฟบรินเป็นเยื่อเหนียวมาปกคลุม พบที่เยื่อหุ้มสมอง เยื่อหุ้มปอด ช่องอก ถุงหุ้มหัวใจ เยื่อบุช่องท้อง เยื่อบุช่องเชิงกราน เยื่อบุโพรงจมูกคอหอยหลอดลม และข้อต่อ ในโพรงร่างกายมีของเหลว ขุ่น สีเทาเหลืองสะสม และกลายเป็นไฟบรินตามมา น้ำาในไขข้อข้นหนืด มีไฟบรินสีเขียวเหลือง มีหนองภายใน เนื้อเยื่อโดยรอบมีการอักเสบ วินิจฉัยโดยการเพาะเชื้อแบคทีเรียจากสุกรป่วย น้ำาไขข้อ และน้ำาในช่องโพรงต่าง ๆ เลือดในหัวใจ น้ำาไขสันหลัง สมอง หลอดลม ปอด หัวใจ ตับ ม้าม ไต ซึ่งเป็นเชื้อที่ยากต่อการเพาะเลี้ยง และยังเป็นโรคที่วินิจฉัยยาก เพราะมีอาการเหมือนหลายโรคอื่น ๆ คือ มัยโคพลาสมา ชนิดลงข้อต่อ โรคติดเชื้อสเตรปโตคอกคัส โรคบวมน้ำาจาก E.coli โรคพิษสุนัขบ้าเทียม โรคไข้หนังแดง โรคติดเชื้อ Actinobacillus suis และปัจจุบันมักเป็นเชื้อที่ติดแทรกซ้อนร่วมตามมาภายหลังจากเชื้อติดอื่นในระบบทางเดินหายใจมาก่อน ได้แก่ โรค PRRS โรคเซอร์โคไวรัส โรคปอดมัยโคพลาสมา โรคโพรงจมูกอักเสบติดต่อ โรคไข้หวัดใหญ่สุกร จนกลายเป็นกลุ่มอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจซับซ้อนในสุกร (PRDC) ที่ทำาให้ความรุนแรงเพิ่มขึ้น 20% ยาที่มีรายงานว่าออกฤทธิ์ดีต่อเชื้อนี้ได้แก่ อะม็อกซิซิลลิน แอมพิซิลลิน เซฟาโรสปอริน ด็อกซี่ซัยคลิน เอนโรฟลอกซาซิน ฟอสโฟมัยซิน เป็นต้น หากเป็นนานแล้ว แสดงอาการ มีรอยโรคหนักแล้ว รักษาไม่ค่อยหาย เนื่องจากไฟบรินหรือรอยโรคที่เกิดขึ้นแล้วคงอยู่ ทำาให้การ ทำางานของอวัยวะต่าง ๆ ผิดปกติไป ทำางานไม่ได้ควรรักษาแต่เริ่มติดเชื้อใหม่ ๆ หรือแสดงอาการแต่ต้น หากเป็นเรื้อรังในฟาร์ม นิยมทำา วัคซีนป้องกันมากกว่า โดยทั่วไปนิยมทำา 2 เข็มในสุกรสาวก่อนเข้าฝูง สุกรนางทำาช่วง 2-3 สัปดาห์ก่อนคลอด หรือทุก ๆ 4-6 เดือน ส่วน ลูกสุกรทำาที่อายุ3-4 สัปดาห์ซึ่งโปรแกรมวัคซีนแต่ละฟาร์ม ควรได้รับการพิจารณาและแนะนำาจากสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม หรือผู้เชี่ยวชาญ เพราะต้องปรับให้เหมาะสมกับความรุนแรงของโรค สถานภาพโรค และสถานภาพของภูมิคุ้มกันโรคในฝูง รวมถึงโรคอื่น ๆ ที่มีในฝูงประกอบ ด้วย ฟาร์มนี้มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพที่เข้มงวดอยู่แล้ว จึงแนะนำาการใช้ยาในสุกรที่ป่วยใหม่ รวมถึงแนะนำาการทำาวัคซีนป้องกันโรค แกลสเซอร์ทั้งในฝูงแม่พันธุ์และลูกสุกร รวมถึงปรับเปลี่ยนโปรแกรมวัคซีนพื้นฐานเดิมที่มีอยู่เช่น วัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์สุกร วัคซีนป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้าเทียม ให้เหมาะสมตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ้น ทั้งเรื่องการฆ่าเชื้อโรคในน้ำาดื่มและน้ำาล้างคอก อันจะช่วยลดปัญหาจาก E.coli ในรูปแบบต่าง ๆ ได้และปรับปรุงระบบการฆ่าทำาลายเชื้อโรคทั้งสิ่งแวดล้อม โรงเรือน การปฏิบัติงาน รวมถึงการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา ควบคุม และป้องกันเชื้อโรค อันคาดว่าโรคพาสเจอร์เรลโลซีส โรคเอพีพีโรคสเตรปโตคอกคัส ก็น่าจะได้รับผลกระทบลดลงด้วยเช่นกัน แต่ ทั้งนี้การเลี้ยงสุกรถือเป็นพลวัตินั่นคือ เป็นสิ่งที่ไม่เคยหยุดนิ่งอยู่กับที่ มีการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่และปฏิสัมพันธ์กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ดังเช่น เมื่อกำาจัดโรค ASF ได้แล้ว โรคเก่า ๆ ที่เคยมีเคยเป็นก็กลับมา ดังเช่น แกลสเซอร์ที่เห็นได้ชัดเจนในครั้งนี้และในอนาคตอาจมีโรคอื่น ๆ ที่เป็นฐานของภูเขาน้ำาแข็งโผล่ขึ้นมาให้เห็นทดแทนอีกก็เป็นได้ ดังนั้นการเลี้ยงสุกรจึงเป็นศาสตร์และศิลป์ให้เรารังสรรค์ แก้ไขปัญหา วางกลยุทธ์ใหม่ ๆ ป้องกัน มีล้มลุกคลุกคลาน และยืนหยัดขึ้นได้ใหม่กันไม่รู้จบ...:D เอกสารอ้างอิง https://niah.dld.go.th/webnew/knowledge/knowledge-major-diseases-in-animals/disease-in-pigs/glasser https://www.veterinariadigital.com/en/post_blog/glasser-disease/ https://www.bishoptonvets.co.uk/ https://pasusart.com/โรคระบบทางเดินหายใจ/ เชื้อนี้มีระยะฟักตัวประมาณ 2-7 วัน ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการใดๆ อาจมีเพียง 10% ที่แสดงอาการหนัก แต่ก็อาจพบ มากกว่านี้ได้หากมีปัจจัยเอื้อเหมาะสม สุกรป่วยจะแสดงอาการทางคลินิกได้ 3 ระบบ คือ 1 ทางเดินหายใจ มีไข้สูงปานกลาง ถึงมาก น ้าหนักลด ขนหยาบ แกร็น ไม่กินอาหาร ซึม อ่อนเพลีย ไม่อยากเคลื่อนไหว หายใจล าบาก หายใจตื้น ยืดคอและหัว อ้าปากหายใจ ไอ อัตราการเต้นของหัวใจสูง มีสีม่วงคล ้าที่ผิวหนังส่วนปลาย เยื่อตาขาวคั่งเลือด หนังตา และใบหูบวมน ้า 2 ระบบข้อต่อ บวม ร้อน มีของเหลวภายใน เจ็บปวด เมื่อจับคล า หรือลุกขึ้นยืนจะส่งเสียงร้องเจ็บปวดมาก ไม่อยากลุกเดิน เดิน ขากระเผลก ยืนด้วยปลายกีบและเดินลากขา มีช่วงก้าวสั้นๆ ชอบนอนเท้าทั้งสี่เก็บเข้าหาล าตัว 3 ระบบประสาท กล้ามเนื้อสั่น กระตุก ตะคริว สองขาหลังท างานไม่ประสานกัน อัมพาต ล้มตัวลงนอนตะแคง ดิ้นรนลุกขึ้น ชักตะกาย รุนแรงจะตายใน 2-3 วัน จากภาวะติดเชื้อเข้ากระแสเลือด หากเป็นแบบเรื้อรังจะรอด และเกิดข้ออักเสบเรื้อรัง ล าไส้อุดตัน หัวใจล้มเหลว อวัยวะท างาน ไม่สมบูรณ์จากเยื่อเหนียวที่ยึดติดกันแน่น แม่สุกรสาวอาจแท้งได้ โดยเฉลี่ยโรคนี้จะมีอัตราการป่วย 50-75% อัตราการตาย 10% ขึ้นไปหรือมากกว่า โรคนี้มีรอยโรคค่อนข้างจ าเพาะคือ เยื่อบุ เยื่อหุ้มช่องโพรงร่างกายอักเสบแบบมีไฟบรินเป็นเยื่อเหนียวมาปกคลุม พบ ที่เยื่อหุ้มสมอง เยื่อหุ้มปอด ช่องอก ถุงหุ้มหัวใจ เยื่อบุช่องท้อง เยื่อบุช่องเชิงกราน เยื่อบุโพรงจมูกคอหอยหลอดลม และข้อต่อ ในโพรงร่างกายมีของเหลวขุ่น สีเทาเหลืองสะสม และกลายเป็นไฟบรินตามมา น ้าในไขข้อข้นหนืด มีไฟบรินสีเขียวเหลือง มี หนองภายใน เนื้อเยื่อโดยรอบมีการอักเสบ วินิจฉัยโดยการเพาะเชื้อแบคทีเรียจากสุกรป่วย น ้าไขข้อ และน ้าในช่องโพรงต่างๆ เลือดในหัวใจ น ้าไขสันหลัง สมอง หลอดลม ปอด หัวใจ ตับ ม้าม ไต ซึ่งเป็นเชื้อที่ยากต่อการเพาะเลี้ยง และยังเป็นโรคที่วินิจฉัยยาก เพราะมีอาการเหมือนหลาย โรคอื่นๆ คือ มัยโคพลาสมาชนิดลงข้อต่อ โรคติดเชื้อสเตรปโตคอกคัส โรคบวมน ้าจาก E.coli โรคพิษสุนัขบ้าเทียม โรคไข้หนัง แดง โรคติดเชื้อ Actinobacillus suis และปัจจุบันมักเป็นเชื้อที่ติดแทรกซ้อนร่วมตามมาภายหลังจากเชื้อติดอื่นในระบบ ทางเดินหายใจมาก่อน ได้แก่ โรค PRRS โรคเซอร์โคไวรัส โรคปอดมัยโคพลาสมา โรคโพรงจมูกอักเสบติดต่อ โรคไข้หวัดใหญ่ สุกร จนกลายเป็นกลุ่มอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจซับซ้อนในสุกร (PRDC) ที่ท าให้ความรุนแรงเพิ่มขึ้น 20% ยาที่มีรายงานว่าออกฤทธิ์ดีต่อเชื้อนี้ได้แก่ อะม็อกซิซิลลิน แอมพิซิลลิน เซฟาโรสปอริน ด็อกซี่ซัยคลิน เอนโรฟลอกซา ซิน ฟอสโฟมัยซิน เป็นต้น หากเป็นนานแล้ว แสดงอาการ มีรอยโรคหนักแล้ว รักษาไม่ค่อยหาย เนื่องจากไฟบรินหรือรอยโรค ที่เกิดขึ้นแล้วคงอยู่ ท าให้การท างานของอวัยวะต่างๆ ผิดปกติไป ท างานไม่ได้ควรรักษาแต่เริ่มติดเชื้อใหม่ๆ หรือแสดงอาการ แต่ต้น หากเป็นเรื้อรังในฟาร์ม นิยมท าวัคซีนป้องกันมากกว่า โดยทั่วไปนิยมท า 2 เข็มในสุกรสาวก่อนเข้าฝูง สุกรนางท าช่วง 2-3 สัปดาห์ก่อนคลอด หรือทุกๆ 4-6 เดือน ส่วนลูกสุกรท าที่อายุ 3-4 สัปดาห์ ซึ่งโปรแกรมวัคซีนแต่ละฟาร์ม ควรได้รับการ พิจารณาและแนะน าจากสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม หรือผู้เชี่ยวชาญ เพราะต้องปรับให้เหมาะสมกับความรุนแรงของโรค สถานภาพโรค และสถานภาพของภูมิคุ้มกันโรคในฝูง รวมถึงโรคอื่นๆ ที่มีในฝูงประกอบด้วย ฟาร์มนี้มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพที่เข้มงวดอยู่แล้ว จึงแนะน าการใช้ยาในสุกรที่ป่วยใหม่ รวมถึงแนะน าการ ท าวัคซีนป้องกันโรคแกลสเซอร์ทั้งในฝูงแม่พันธุ์ และลูกสุกร รวมถึงปรับเปลี่ยนโปรแกรมวัคซีนพื้นฐานเดิมที่มีอยู่เช่น วัคซีน ป้ัโิ์ัีป้ัโิั้ีใ้ัิิ่ึ้ั้ื่่ื้โใ


16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติวอนอธิบดีกรมศุลกากร ในฐานะ “ประธานคณะทำางานประสานงานแก้ไขปัญหาหมูเถื่อน” เร่งสานต่อ คดีให้จบ หลังร้างราการเรียกประชุมหารือคณะทำางานมานานกว่า 10 เดือน ทำาคดีไม่คืบและปัญหายังไม่คลี่คลาย เกษตรกรทั่วประเทศ มองการทำางานภาครัฐด้วยความหนักใจ หวั่น “ผู้ร้าย” ทำาลาย หลักฐาน โยกย้ายเงิน และหลบหนี จนเจ้าหน้าที่รัฐคว้าน้ำาเหลว พร้อมกันนี้ยังขอรัฐตรวจสอบหมูเถื่อนซ้ำาทั่วประเทศและเร่งดำาเนิน คดีหวั่นยังมีตกค้างพร้อมระบายออกมากดราคาหมูไทยไม่ผ่านเส้น คุ้มทุน เกษตรกรเผชิญปัญหาต้นทุนการผลิตสูงสวนทางกับราคาที่ยัง ยืนอ่อน กดดันเกษตรกรต้องออกจากอาชีพ นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ ผู้เลี้ยง...ร้องรัฐตรวจซํ้า หวั่น “หมูเถื่อน” ตกค้างแทรกแซงราคาหมูไทย นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ เปิดเผยว่าเกษตรกรมีความหนักใจเกี่ยวกับความล่าช้าใน การดำาเนินคดีหมูเถื่อนที่ขณะนี้หยุดชะงักอยู่หลายคดี ไม่ว่าจะเป็น “คดี161 ตู้” และ “คดี2,385 ใบขน” ซึ่งแตกเป็นคดีย่อยอีกหลาย คดีภายใต้ความรับผิดชอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) และ ป.ป.ช. (คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ) ความเสียหาย หรือนำาไปสู่การทำาลายหลักฐานของผู้ร้ายในขบวนการ หมูเถื่อน ปัญหานี้หากถูกซ่อนไว้ใต้พรม เงียบหาย มันจะวกกลับมา ทำาลายเกษตรกรได้อีกในอนาคต นอกจากนี้ การทำางานของกรมศุลกากรเองก็ยังไม่ได้รับการ เปิดเผยในหลายประเด็น อาทิการสอบสวนการยื่นขอเปิดเขตปลอด อากร (Free Zone) รวมถึงการตรวจสอบตู้ตกค้างในท่าเรือกรุงเทพ และลาดกระบัง ตลอดจนเหตุผลที่ไม่มีการอายัดสินค้าในเขตปลอด อากรของผู้ต้องหา 2 บริษัทในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีที่โดนจับไปก่อน หน้า อีกทั้งยังไม่มีการสืบสวนหาข้อเท็จจริงในการกระทำาผิดของ เจ้าหน้าที่กรมประมง ที่อนุมัตินำาเข้าสินค้าหมูเถื่อนที่สำาแดงเท็จเป็น ปลาแช่แข็ง ซึ่งล้วนเป็นข้อมูลสำาคัญที่จะทำาให้คดีเดินหน้าต่อไปได้ เมื่อต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สมาคมฯ ได้ยื่นหนังสือถึง อธิบดีกรมศุลกากรเพื่อขอให้สานต่อภารกิจของคณะทำางานฯ แล้ว ผู้เลี้ยงคาดหวังการแก้ปัญหาที่รวดเร็ว รวมถึงการวางแผนป้องกัน ไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีกในอนาคต เพื่อรักษาอาชีพของเกษตรกร ทุกคน ภายใต้ศรัทธาและความเชื่อมั่นในกระบวนการทางกฎหมาย ของบ้านเมือง ที่ควรเอาผิดผู้ร้ายให้ได้ไม่ว่าคน ๆ นั้นจะเป็นใคร อนึ่ง คณะทำางานประสานงานแก้ไขปัญหาการนำาเข้าสินค้า ประเภทเนื้อสุกรหรือชิ้นส่วนสุกรที่ผิดกฎหมายและการบริหารจัดการ ของกลาง ตั้งขึ้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2566 มี“อธิบดีกรมศุลกากร” เป็นประธานคณะทำางานฯ มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง เป็นคณะ ทำางานหลายภาคส่วน อาทิผอ.สำานักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ ผอ.สำานักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง สำานักงานตำารวจแห่งชาติ กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ และ สมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติเป็นต้น ส่วนหนึ่งน่าจะเกิดจากการไม่มีการประชุมติดตามงานใด ๆ ในคณะ ทำางานฯ (คณะทำางานประสานงานแก้ไขปัญหาการนำาเข้าสินค้า ประเภทเนื้อสุกรหรือชิ้นส่วนสุกรที่ผิดกฎหมายและการบริหารจัดการ ของกลาง) มานานกว่า 10 เดือนแล้ว จนเป็นเหตุให้การสืบสวน สอบสวนหาหลักฐานข้อเท็จจริงเพื่อสนับสนุนการทำางานของ DSI - ป.ป.ช. ไม่คืบหน้า ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา สมาคมฯมีการทำางานอย่างต่อเนื่อง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของพี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรทั้งประเทศ ให้กลับมาประกอบอาชีพได้อย่างปกติสุข หลังบอบช้ำาแสนสาหัสจาก ปัญหาหมูเถื่อน แต่ในช่วงเกือบปีมานี้กลับไม่มีการเรียกประชุมคณะ ทำางานฯเพื่อติดตามความคืบหน้าด้านการสอบสวนและแก้ปัญหา ใด ๆ จนทำาให้เกษตรกรทั่วประเทศหนักใจ เกรงคดีล่าช้าจนเกิด


สัตว์เศรษฐกิจ 17 ล่าสุดจากการที่สมาคมฯ ได้ร่วมสังเกตการณ์ตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์ตกค้าง ที่ท่าเรือแหลมฉบัง พร้อมกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ กรมศุลกากร กรมปศุสัตว์และ กรมประมง ซึ่งเป็นตู้ตกค้างล็อตที่ 2 พบ “หมูเถื่อน” ซึ่งเป็นชิ้นส่วนแช่แข็ง ทั้งเนื้อ หมูสามชั้นและเครื่องใน จำานวน 460 ตัน และได้ส่งมอบให้กรมปศุสัตว์เพื่อนำาของ กลางดังกล่าวไปทำาลายฝังกลบตามขั้นตอนตามหลักวิชาการ เพื่อป้องกันโรคระบาด การเข้าตรวจค้นซ้ำาที่ท่าเรือแหลมฉบัง เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567 เป็นการ ขยายผลจากการจับกุมหมูเถื่อน 161 ตู้เมื่อปลายปี2566 ทำาให้พบตู้คอนเทนเนอร์ ตกค้างอีก 92 ตู้ในจำานวนนี้เป็นตู้ต้องสงสัยว่าเป็นหมูเถื่อน 16 ตู้และมีการตรวจ เพิ่มอีก 1 ตู้รวมทั้งหมด 17 ตู้ได้ของกลางหมูเถื่อนตามที่คาดการณ์ไว้โดยในตู้ สุดท้ายมีการซุกซ่อนมากับปลาทะเลแช่แข็ง “หมูเถื่อนที่เข้ามาในประเทศไทยแม้จะจับกุมได้น้อยลงแต่ก็ยังวางใจไม่ได้ เพราะ ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มยังไม่สามารถปรับขึ้นข้ามเส้นคุ้มทุนไปได้ ซึ่งราคาหน้าฟาร์ม ขณะนี้อยู่ที่ 68-74 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนยังสูง 80-82 บาทต่อกิโลกรัม สวนทางกับการบริโภคของประชาชนที่ยังชะลอตัวตามเศรษฐกิจ” นายสิทธิพันธ์กล่าว นอกจากนี้เกษตรกรยังมีความยากลำาบากในการบริหารจัดการต้นทุนการผลิตที่ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งวัตถุดิบอาหารสัตว์ ค่าไฟฟ้า ค่าพลังงาน และปัจจัยการ ป้องกันโรค ล้วนทำาให้ค่าใช้จ่ายในฟาร์มและต้นทุนการเลี้ยงหมูต่อตัวสูงขึ้น ขณะที่ ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงขึ้นเฉลี่ยที่ 11.20 - 12 บาทต่อกิโลกรัม และไม่สามารถ หาข้าวโพดได้ เนื่องจากช่วงที่ผ่านมาอากาศแปรปรวนผลผลิตมีน้อย โดยปกติไทย ผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ปีละ 5 ล้านตัน ขณะที่ความต้องการสูงถึง 8 ล้านตัน ต้อง นำาเข้าทดแทนส่วนขาดปีละ 3 ล้านตัน ผู้เลี้ยงหมูไทยประสบปัญหาขาดทุนสะสมมานานกว่า 1 ปีหลังเผชิญวิกฤต ราคาหมูตกต่ำาในปี2566 จากหมูเถื่อนที่ทะลักเข้ามาในประเทศมากกว่า 64,000 ตัน ต้นทางจากประเทศบราซิลและประเทศทางยุโรปที่มีต้นทุนเฉลี่ยประมาณ 40-50 บาท ต่อกิโลกรัม (ราคาหมูมีชีวิต) ซึ่งต่ำากว่าไทย 50% กดดันให้เกษตรกรไทยต้องยอม ขายในราคาขาดทุน จนถึงขณะนี้มีเกษตรกรต้องเลิกอาชีพไปแล้วไม่น้อยกว่า 50,000 ราย “อยากขอให้ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ดำาเนินการตรวจสอบหมูเถื่อนที่ยังตกค้าง อยู่ในประเทศทั้งในห้องเย็นและท่าเรือต่าง ๆ โดยเฉพาะท่าเรือคลองเตย ที่ยังมี ตู้คอนเทนเนอร์ตกค้างอีกจำานวนหนึ่ง และเร่งดำาเนินคดีกับผู้กระทำาตามกฎหมาย ทุกคน เพราะหมูเถื่อนเป็นปัจจัยทำาให้เกิดหมูส่วนเกิน ราคาหมูไทยจึงไม่เป็นไปตาม กลไกตลาด เกษตรกรไทยไม่สามารถแข่งขันได้ และจนถึงขณะนี้ หมูเถื่อนที่เข้ามา นานกว่า 1 ปี เป็นหมูที่หมดอายุ ไม่เหมาะกับการบริโภค ที่สำาคัญไม่ผ่านการตรวจ สอบสารตกค้าง สารปนเปื้อน โดยเฉพาะสารเร่งเนื้อแดง ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ทำาให้ คนไทยอยู่ในภาวะเสี่ยง จึงจำาเป็นต้องปราบปรามให้หมดสิ้น เพื่อยกระดับความ ปลอดภัยทางอาหารของคนไทยและสนับสนุนผู้เลี้ยงหมูไทยมีกำาลังใจสานต่ออาชีพ เลี้ยงหมูต่อไป” นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติกล่าวทิ้งท้าย ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


18 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE การเลี้ยงหมูสำาหรับ ชมพูนุท บุญทิม หรือ ใบพลู เป็นภาพ ชินตาที่เห็นและสัมผัสมาตั้งแต่เกิด จนกลายเป็นทักษะอาชีพติดตัว ของเธอ หลักจบการศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ พระจอมเกล้า พระนครเหนือ เมื่อปี 2555 จึงไม่ลังเลที่จะรับมรดกอาชีพที่พ่อแม่ สร้างไว้ แต่ด้วยหัวคิดทันสมัยเธอจึงเปลี่ยนรูปแบบการเลี้ยงหมูขุน จากเลี้ยงในโรงเรือนเปิด เป็นฟาร์มระบบปิดมาตรฐาน และขยายการ เลี้ยงจาก 200-300 ตัว เป็น 3,500 ตัว หลังจากทำาฟาร์มหมู ที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นธุรกิจ ครอบครัวจนประสบความสำาเร็จ ชมพูนุท จึงต้องการขยายการเลี้ยง หมูให้ใหญ่ขึ้น สร้างธุรกิจนี้ให้เติบโตขึ้น จึงตัดสินใจเปิดใจกับการร่วม เป็นเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการเลี้ยงสุกรขุน หรือ คอนแทรค ฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) กับ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ แม้ว่าเมื่อก่อนจะมีความคิดว่าต้องทำา ธุรกิจเอง โดยไม่ทำาคอนแทรคกับใคร เพราะชอบความอิสระ จนอาจ เรียกว่าเป็นการตั้งกำาแพงในใจก็ได้ “เมื่อเป้าหมายคือการเติบโต และต้องการขยายงานให้ใหญ่ขึ้น บนพื้นฐานความเสี่ยงต้องต่ำา ซีพีเอฟ ถือเป็นบริษัทต้น ๆ ที่คิดถึง เพราะตัวเอง “โตมากับซีพี” เนื่องจากที่ฟาร์มของพ่อแม่ก็ซื้อลูกหมู ซีพีเข้าเลี้ยง และใช้อาหารของบริษัทอยู่แล้ว และยังอยากพิสูจน์ใน สิ่งที่บางคนยังเข้าใจผิด ว่าการร่วมธุรกิจกับบริษัทใหญ่เราอาจ เสียเปรียบ แต่เมื่อได้มาร่วมทางเดินกับซีพีเอฟแล้ว ก็พิสูจน์ได้ว่า สิ่งที่คนอื่นคิดนั้นไม่ใช่เลย ในทางกลับกันอาชีพเรามั่นคง รายได้และ ผลตอบแทนดีเกินกว่าที่คิดไว้เสียอีก วันนี้นอกจากตัวเองจะประสบ ความสำาเร็จแล้ว คนรอบข้างก็ได้รู้ว่าบริษัทสนับสนุนเกษตรกรให้ เติบโตไปด้วยกันจริง ๆ” ชมพูนุท เกษตรกรรุ่นใหม่กล่าวอย่างมั่นใจ “เนตรบุญฟาร์ม” เกษตรกรยุคใหม่ ใช้ Smart Farm ยกระดับการเลี้ยงหมู สำาหรับการขยายความสำาเร็จสู่ “เนตรบุญฟาร์ม” ต.หนอง ประตู่ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี บนพื้นที่ 47 ไร่ เธอตัดสินใจลงทุน เลี้ยงหมูในเฟสใหญ่ ก่อสร้างโรงเรือน 7 หลัง ความจุหมูขุนรวม 10,500 ตัว เมื่อกลางปี 2565 พร้อมนำาระบบฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farm) มาใช้บริหารจัดการฟาร์มเลี้ยงหมู ทั้งการติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV ในโรงเรือนเลี้ยงและจุดสำาคัญอื่น ๆ รอบฟาร์ม มีระบบ สั่งการทำางานเปิด-ปิดพัดลม และการทำางานของ Cooling Pad ด้วย ระบบอัตโนมัติ ส่วนการให้อาหารใช้ไซโล และกำาลังพัฒนาให้มีระบบ สั่งการอัตโนมัติที่คาดว่าจะติดตั้งได้ในเร็ว ๆ นี้ ชมพูนุทบอกว่า ระบบ Smart Farm มีส่วนสำาคัญมากในการผลักดันความสำาเร็จ เพราะ สามารถจัดการและสั่งการทุกอย่างผ่านโทรศัพท์ กรณีมีปัญหาจะมี ข้อความแจ้งเตือนทันที ทำาให้การทำางานง่ายขึ้น แก้ปัญหาทันท่วงที ทีมงานเข้าดูแลแก้ไขอย่างรวดเร็ว สามารถดูได้ทุกที่ทุกเวลา “ถ้าไม่มีสมาร์ทฟาร์มชีวิตยุ่งยากแน่นอน วันนี้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมเข้ามามีบทบาทกับเกษตรกรมากขึ้น แม้จะมีการลงทุนเพิ่ม แต่ถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า เมื่อตัดสินใจทำาสมาร์ทฟาร์มและได้ใช้ จริง ๆ ถือว่าคุ้มมาก เพราะไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็สามารถบริหารจัดการ ฟาร์มได้ อย่างเช่นตอนที่ไปเที่ยวญี่ปุ่น ก็ยังสั่งงานข้ามประเทศได้ สามารถดูการทำางานของระบบและทีมงานได้ทุกวันนี้ทำางานง่ายมาก แค่เพียงมีโทรศัพท์เท่านั้น” ชมพูนุท กล่าว นอกจากระบบการผลิตอัจฉริยะแล้ว เนตรบุญฟาร์มยังใช้ระบบ ไบโอแก๊ส ในการบำาบัดของเสียในการผลิต ได้ก๊าซชีวภาพเป็น พลังงานสะอาด นำามาปั่นไฟฟ้าใช้ในฟาร์ม ช่วยลดค่าไฟได้ถึง 50-60% และที่นี่ยังติดตั้งเครื่องแยกกากตะกอนก่อนเข้าระบบ ไบโอแก๊ส เพื่อลดตะกอนในบ่อหมัก กากตะกอนที่ได้นำาไปใช้ในสวน


สัตว์เศรษฐกิจ 19 ผลไม้ ขณะเดียวกัน น้ำาหลังการบำาบัดก็ยังนำาไปแบ่งปัน เป็นน้ำาปุ๋ย ให้กับเพื่อนเกษตรกรรอบข้าง ช่วยป้องกันปัญหาภัยแล้งและทำาให้อยู่ ร่วมกับชุมชนได้เป็นอย่างดี สำาหรับเคล็ดลับความสำาเร็จของชมพูนุท อย่างแรกคือต้องทำาให้ งานทั้งหมดเป็นระบบ ต้องทุ่มเทกับงาน ใส่ใจ ดูแลอย่างจริงจัง ปัจจัยต่อมา คือการสร้างทีมงานแบบใจแลกใจ เพราะทุกคนใหม่หมด ไม่มีประสบการณ์เลย จึงต้องสอนกันตั้งแต่เริ่มต้น ให้เรียนรู้ไปด้วย กัน โชคดีที่ทีมงานทุกคนเปิดรับและเรียนรู้ พร้อมก้าวไปด้วยกัน การผลิตจึงมีประสิทธิภาพดี หมูมีคุณภาพ ความเสียหายน้อย ผลตอบแทนจึงมากตามไปด้วย “หนึ่งปีที่ผ่านมา ผลลัพธ์เหนือความคาดหมายหลาย ๆ อย่าง จริง ๆ แล้วไม่ได้ตั้งเป้าหมายเรื่องตัวเลขผลกำาไรเลย ขอแค่วาง ระบบให้เข้มแข็ง แต่ผลที่ออกมาดีกว่าที่คิดไว้มาก ๆ วันนี้ความ สำาเร็จที่ตั้งเอาไว้ถือว่าได้เริ่มต้นแล้ว และเรามีเพื่อนคู่คิดอย่างซีพีเอฟ ที่จะเดินไปด้วยกัน บริษัทไม่เคยทิ้งเกษตรกร เวลามีปัญหาผู้บริหาร ซีพีเอฟก็ลงมาช่วยดูเอง เพื่อร่วมกันแก้ไขอย่างจริงจัง เราจึงอุ่นใจ ที่ได้บริษัทมาดูแลสนับสนุนใกล้ชิด ซึ่งหากเราทำาให้เต็มที่ความสำาเร็จ ย่อมเกิดกับทั้งตัวเองและบริษัทไปพร้อม ๆ กัน เรียกว่า WIN - WIN ทั้งคู่ เชื่อว่าอาชีพนี้จะสร้างความมั่นคง วันนี้พ่อกับแม่วางมือแล้ว เรียกว่าเกษียณอย่างเกษมโดยให้เราและสามีดูแลกิจการแทนทั้งหมด และการเลี้ยงหมูก็จะกลายเป็นมรดกอาชีพให้กับลูกทั้ง 2 คนของเรา ได้อย่างแน่นอน” ชมพูนุท กล่าวอย่างมั่นใจ ด้าน นายสมพร เจิมพงศ์ ผู้อำานวยการใหญ่ ธุรกิจสุกร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ซีพีเอฟ มุ่งมั่นยกระดับระบบการบริหารฟาร์ม เลี้ยงสัตว์ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาโดยตลอด ตั้งแต่ การทำางานด้วยระบบอัตโนมัติ (Automation System) การติดตั้ง กล้องวงจรปิด (CCTV) โดยผนึกกำาลังกับ TRUE จนถึงการใช้ เทคโนโลยี AI และ IoT นำาไปสู่การจัดการฟาร์มด้วยระบบฟาร์ม อัจฉริยะ (SMART Farm Solution) สามารถควบคุมการเลี้ยงได้ จากระยะไกล โดยไม่จำาเป็นต้องเข้าไปในระบบการเลี้ยง ดูพฤติกรรม ความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ผ่านสมาร์ทโฟนได้ทุกที่ ทุกเวลา ทำาให้บริหารจัดการการเลี้ยงสุกรได้ตลอดเวลา ช่วยให้การ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ทำางานของผู้ปฏิบัติงานมีความสะดวกรวดเร็วขึ้น และยังถ่ายทอด องค์ความรู้ไปสู่เกษตรกรในโครงการส่งเสริมการเลี้ยงสุกร หรือ คอนแทรคฟาร์ม นำาเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ ให้เป็นระบบเดียวกัน กับบริษัท เพื่อก้าวสู่การเป็นเกษตรอัจฉริยะ ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตและลดต้นทุนในระยะยาว ปัจจุบันฟาร์มเกษตรกรได้ติดตั้ง CCTV ทั้งหมดแล้ว 100% รวมถึงการสนับสนุนให้เกษตรกรฟาร์มสุกรขุนใช้ระบบ ออโต้ฟีด หรือ Auto Feeding Systems ที่ช่วยลดคนเข้าไปให้อาหารในโรงเรือน เพื่อให้คนสัมผัสตัวสัตว์น้อยที่สุด ลดความเสี่ยงการนำาโรคต่าง ๆ สู่ ฝูงสุกร ตามมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ทำาให้วันนี้ สัตวบาล 1 คน สามารถดูแลสุกรได้ 30,000 ตัว หรือ มากกว่าเดิมถึงหนึ่งเท่าตัว ที่สำาคัญการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาสนับสนุนการเลี้ยง ทำาให้คนรุ่นใหม่ที่เป็นลูกหลานเกษตรกร หันมาสนใจอาชีพนี้มากขึ้น เพราะสามารถควบคุมการทำางาน การ จัดการฟาร์ม และยกระดับรายได้ ด้วยเทคโนโลยี ขณะเดียวกัน ซีพีเอฟยังใช้ระบบ Sound talk ซึ่งเป็นอุปกรณ์ IoT ติดตั้งในโรงเรือนเลี้ยงสุกรขุน เพื่อตรวจวัดเสียง ไอ แปลงให้ เป็นคลื่นเสียง ส่งสัญญาณไปยังส่วนกลาง และจะแจ้งข้อมูลให้คน เลี้ยงทราบได้ทันที ทำาให้รู้ความเสี่ยงของสุกร ช่วยในการตัดสินใจ รักษาสัตว์อย่างทันท่วงที ช่วยลดการแพร่กระจายโรค ส่งผลให้ปัญหา ด้านสุขภาพลดลง และป้องกันการแพร่กระจายในฝูงสัตว์ จึงถือเป็น เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยติดตามสุขภาพสุกร เพื่อให้ได้เนื้อสัตว์คุณภาพ ปลอดภัย ปลอดโรค นอกจากนี้ ซีพีเอฟยังพัฒนาการเลี้ยงสุกรแบบครบวงจร ด้วย ระบบสุกรอัจฉริยะ (SMART PIG) ใช้ในการเลี้ยงสุกรในทุกช่วงวัย ด้วยการเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิต ช่วยเพิ่ม ศักยภาพการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่ โดยข้อมูลทั้งหมดถูกนำา ขึ้นไปในระบบคราวด์ ทำาให้สามารถการติดตามทั้งเรื่องสุขภาพและ การเติบโตของสุกรได้ง่ายผ่านคิวอาร์โค้ด ขณะที่ระบบรายงานออนไลน์สำาหรับเกษตรกร (CHAT BOT) ช่วยในการบันทึกข้อมูลการผลิตได้ทั้งหมด ตั้งแต่จำานวนสุกร ปริมาณ อาหาร ประวัติการให้วัคซีน ผ่านสมาร์ทโฟน ที่รวดเร็วกว่าการจด บันทึก และยังสามารถส่งภาพพฤติกรรมสุกรภายในโรงเรือนให้ สัตวบาลและสัตวแพทย์ ช่วยวิเคราะห์สุขภาพสุกรได้ทุกที่ทุกเวลา ด้านกระบวนการแปรรูปเนื้อสุกร ซีพีเอฟนำาเทคโนโลยี IoT มาใช้ ด้วยการติดตั้งกล้องอัจฉริยะ ทำางานร่วมกับระบบ AI เพิ่ม ความแม่นยำาในการวิเคราะห์อัตราส่วนระหว่างเนื้อแดงกับไขมันใน ชิ้นเนื้อ ทำาให้สินค้าได้มาตรฐาน ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค และสามารถตรวจสอบย้อนกลับมาได้ถึงฟาร์มเลี้ยงต้นทาง เพื่อ พัฒนาคุณภาพการเลี้ยงให้ดียิ่งขึ้น ที่สำาคัญการนำาเทคโนโลยีมา ปรับใช้ ตั้งแต่ฟาร์มสุกรซึ่งเป็นต้นน้ำา ทำาให้สุกรมีความสุข หรือ Happy Pig ต่อเนื่องไปถึงกระบวนการแปรรูปปลายน้ำา ส่งผลให้ได้ เนื้อสุกรที่มีคุณภาพ ปลอดโรค และปลอดภัยสำาหรับผู้บริโภคทุกคน.


20 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ช่วง 2-3 ปีที่ผ่าน เกษตรกรผู้เลี้ยงปศุสัตว์ต้องเผชิญกับปัญหา ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงวัตถุดิบ บางชนิดในบางช่วงเวลาก็เกิดภาวะขาดแคลน หามาใช้ได้ยากขึ้น อันมีสาเหตุหลากหลายปัจจัยซ้ำาเติมกันมาเรื่อย ๆ ตั้งแต่โรคระบาด โควิด-19 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกอย่างรุนแรง และ สงครามรัสเซีย-ยูเครนที่ส่งผลกระทบมากมาย โดยนอกจากเป็น ผู้ส่งออกวัตถุดิบอาหารบางชนิดเป็นรายใหญ่แล้ว ยังรวมถึงน้ำามัน และปุ๋ยที่ใช้ในการเกษตรกรรมเพาะปลูก ก็ล้วนมีราคาที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งสิ้น ทั้งหมดทั้งมวลจึงส่งผลกระทบต่อปริมาณ และราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ในบ้านเราค่อนข้างมากอันได้แก่ ข้าวโพด กากถั่วเหลือง ข้าวสาลีเป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นกลุ่มที่เราปลูกหรือผลิตได้เองน้อย หรือ ไม่ได้เลย ซึ่งนอกจากรัฐออกนโยบายเพื่อช่วยเหลือ หรือบรรเทาทุกข์ เดือดร้อนให้แล้ว แต่เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ก็จำาเป็นต้องปรับตัวเอง ขนานใหญ่เช่นเดียวกัน เพื่อให้อยู่รอดได้ 1. การจัดการให้อาหาร ถือเป็นเรื่องพื้นฐาน และปรับได้ง่าย ที่สุดในภาวะเช่นนี้ โดยเริ่มตั้งแต่การเก็บรักษาอาหารให้มิดชิด ไม่ให้หนู แมลงสาบ หรือสัตว์อื่นมาแอบกิน หรือแทะทำาลายให้หก หล่น เสียหาย จากนั้นควรเข้มงวดขั้นตอนการให้ การตักอาหาร ไม่ให้ตก หก หล่น หรือเหลือทิ้งในถุงในรถเข็น ส่วนปริมาณการให้ นั้นควรปรับให้เหมาะสมกับแต่ละตัว แต่ละประเภทหรือช่วงของสัตว์ ให้ได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้เช่น น้ำาหนัก คะแนนความสมบูรณ์รูปร่าง (BSC) ช่วงให้ไข่ หรือช่วงให้น้ำานมลูกสุกร เป็นต้น โดยเน้นให้มี อาหารเหลือทิ้งน้อยที่สุด ซึ่งนอกจากจะช่วยลดต้นทุนค่าอาหารได้ แล้ว ยังช่วยให้สัตว์มีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย จากเชื้อโรคในอาหารที่ เหลือจนบูดเน่าเสีย 2. วัตถุดิบทางเลือก หรือวัตถุดิบอื่น ๆ ที่คุ้นเคยกันดีที่ควร เพิ่มปริมาณการใช้ให้มากขึ้น หรือใช้เพื่อทดแทนชนิดที่ราคาสูง หรือ หายากขึ้นในสูตรอาหารเดิม โดยขั้นต้นควรเลือกใช้วัตถุดิบที่เราผลิต ได้เอง และมีมากในประเทศ สามารถใช้ได้ง่าย เป็นชนิดที่ใช้กันบ่อย อยู่แล้ว มีข้อมูลการใช้มาก และที่สำาคัญคือ ต้องพิจารณาให้รอบคอบ ว่าเมื่อใช้แล้ว ต้นทุนค่าอาหารจะถูกลงจริง นั่นคือต้องใช้ให้ถูกช่วง (ช่วงที่ราคาถูก) ที่อาจเหมาะสมในช่วงนี้ได้แก่ ปลายข้าว มันเส้น เป็นต้น แต่ก็อาจมีข้อจำากัด มีปัจจัยควบคุมปริมาณการใช้ รวมถึง คุณภาพ จำาเป็นต้องปรับเปลี่ยนสูตรโดยเพิ่มปริมาณ เพิ่มชนิดใหม่ ลดปริมาณ ตัดออก ในวัตถุดิบชนิดอื่น ๆ ที่ประกอบอยู่ในสูตรเดิม เนื่องจากวัตถุดิบทุกชนิดในสูตรมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันทั้งหมด จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะใช้วัตถุดิบชนิดหนึ่งเข้ามาทดแทนอีกชนิดหนึ่ง เมื่อวัตถุดิบอาหารสัตว์แพง... เมื่อวัตถุดิบอาหารสัตว์แพง... ต้องปรับตัวอย่างไร ? ต้องปรับตัวอย่างไร ?


สัตว์เศรษฐกิจ 21 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ได้เลย โดยใช้ปริมาณเท่าเดิม และไม่ต้องเปลี่ยนแปลงอื่นใดเลย หาก ทำาเช่นนั้นก็อาจมีผลกระทบต่ออัตราการกินได้การเจริญเติบโต และ ผลผลิตของสัตว์ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ตัวอย่างการใช้ปลายข้าวเพื่อทดแทนข้าวโพด มีข้อดีคือ ปลอดภัย มีสารพิษจากเชื้อราน้อยกว่ามาก เยื่อใยต่ำา ให้พลังงานสูง แต่มีไขมันที่น้อยกว่า อาจมีปัญหาคือ ความน่ากิน คุณภาพซากอาจ ไม่ดีไม่สวย ไม่เป็นไปตามที่ตลาดสุกรต้องการ แต่แนวโน้มการใช้ ในสุกรก็ยังให้ผลตอบแทนโดยรวมที่คุ้มค่ากว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) ส่วนในสัตว์ปีกเช่น ไก่ มักมีปัญหาเรื่องสีซาก และไข่แดง ส่วนการใช้มันแทนข้าวโพดนั้น จะส่งผลให้อาหารร่วน ฟ่าม เป็นฝุ่นผงมากขึ้น อัดเม็ดยาก จัดเก็บ ยาก มีหินดินทรายปลอมปนมาก ส่งผลต่อโภชนะโดยรวมของสูตร อาจพบข้อเสียคือคุณภาพซากที่มีสารสีลดลง และสัตว์ปีกจะมีไข่แดง ซีดเช่นเดียวกับการใช้ปลายข้าว รวมถึงต้องเสริมโปรตีนเพิ่มมากขึ้น เช่น กากถั่วเหลือง จึงต้องปรับสูตรเพื่อทดแทน หรือแก้ไขข้อเสียนี้ และพิจารณาว่าคุ้มค่าที่จะทำาหรือไม่ 3. วัตถุดิบทางเลือก หรือวัตถุดิบอื่น ๆ ที่ไม่คุ้นเคย หรือไม่ ค่อยได้ใช้กัน เช่น กากปาล์ม กากมะพร้าว กากเบียร์ กากมัน มันหมัก ข้าวเปลือกบด กระถิน เป็นต้น สามารถนำามาใช้โดยต้อง มีงานวิจัยรองรับ ต้องเข้าใจวิธีใช้และรู้ข้อมูลทางวิชาการให้ถ่องแท้ ในแง่คุณภาพ กายภาพ ชีวภาพ และเคมีรวมถึงผลเสียที่วัตถุดิบ นั้นมี ทำาความเข้าใจจุดเด่น จุดด้อยที่จะกระทบต่อโครงสร้างให้ ถ่องแท้เสียก่อน เริ่มต้นใช้ทีละน้อย ๆ ข้อจำากัดที่อาจพบได้คือ ความ น่ากินต่ำา และมีปริมาณมากเฉพาะบางช่วง หรือบางฤดูกาล ข้อจำากัด ในภาพรวมกลุ่มนี้อาจมีผลต่อคุณภาพอาหาร และสุขภาพสัตว์ เช่น สารเคมี โภชนะ เยื่อใย ส่วนวัตถุดิบทางเลือกที่ต้องระวังเช่น เนื้อป่น กระดูกป่น เลือด ซึ่งมีความเสี่ยงในการนำาโรคเข้าฟาร์ม โดย เฉพาะในสุกรที่ต้องระวังโรค ASF ในช่วงนี้เป็นอย่างยิ่ง 4. ปรับสูตรอาหารให้ถูกต้อง แม่นยำา และเหมาะสมมากขึ้น โดยคำานึงถึงข้อมูลที่เป็นปัจจุบันของสายพันธุ์สัตว์สภาพฟาร์ม ความ ต้องการของการผลิต เช่น การเจริญเติบโต FCR คุณภาพซากและ เนื้อ หรือตรงความต้องการทางเศรษฐศาสตร์ที่ตั้งไว้มากที่สุด เช่น ต้นทุนค่าอาหารต่อการผลิตเนื้อ (FCG) ลดต้นทุน เพิ่มกำาไร สูญเสีย น้อยที่สุด ค่า ROI เป็นต้น จึงต้องทำาสูตรอาหารที่แตกต่างกัน เพื่อ ตอบสนองแต่ละวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยต้องคำานึงอยู่เสมอว่าอัตรา การกินอาหารได้ น้ำาหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (ADG) FCR FCG และค่า ROI นั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง ในภาวะเช่นนี้ไม่ควรทำาสูตรแบบเผื่อไว้เหมือนก่อน ยกตัวอย่าง แนวทางนี้ได้แก่ การลดสเปคโภชนะบางค่าให้ต่ำาลง เช่น พลังงาน โปรตีน ใช้วัตถุดิบที่หายากหรือได้มาน้อย หรือราคาแพง ให้มีปริมาณ ต่ำาลง หรือเปลี่ยนไปเลย โดยที่ผลผลิตออกมาอยู่ในระดับที่ยังยอมรับ ได้ แต่สามารถลดต้นทุนได้จริง ทั้งนี้การปรับสูตรอาหารต้องคำานึง ถึงเรื่องสำาคัญคือ อัตราการกินได้หากสัตว์กินได้น้อยลง ย่อมกระทบ ต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพ อาจทำาให้% การเสียหาย หรือ สูญเสียมากขึ้น ซึ่งความเสียหายที่เกิดขึ้น อาจทำาให้ต้นทุนโดยรวม สูงมากขึ้นไปอีก เสียมากกว่าได้ จึงต้องระวังข้อนี้ไว้ให้ดีการปรับ จึงต้องทำาอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย ๆ ค่อย ๆ เพิ่ม แล้ว พิจารณาผลตอบสนองที่เกิดขึ้น ห้ามทำาแบบก้าวกระโดด การจะปรับสูตรอาหารให้ประสบผลสำาเร็จนั้น จำาเป็นต้องตรวจ สอบคุณภาพวัตถุดิบทั้งที่ใช้อยู่แล้ว และทางเลือกที่จะนำามาเพิ่ม หรือ ทดแทน ให้ถูกต้องตามความเป็นจริงมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์ประกอบทางเคมี เพื่อจะได้นำามาคำานวณ และสร้างสูตรอาหาร ที่ปรับลดค่าต่าง ๆ ให้ต่ำาลงได้อันจะส่งผลกระทบด้านลบต่อตัวสัตว์ น้อยที่สุด ที่นิยมทำากัน และได้ผลดีเช่น ลดโปรตีนหยาบ (Crude protein) หรือลด % โปรตีน แต่เพิ่มหรือคำานวนสมดุลกรดอะมิโนทดแทน ให้ ผลดีคือ ประสิทธิภาพการใช้โปรตีนดีขึ้น สร้างเนื้อได้มากขึ้น โปรตีน ที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้จะลดน้อยลง จุลชีพก่อโรคก็ลดน้อยลง สุขภาพ ทางเดินอาหารดีขึ้น ของเสียหรือไนโตรเจนที่ถูกขับถ่ายออกมา น้อยลง สภาพแวดล้อมดีขึ้นจากแก๊สแอมโมเนีย เอมีน ที่มีปริมาณ น้อยลง สัตว์เครียดน้อยลง ผลระคายเคืองต่อทางเดินหายใจลด น้อยลง ลดโอกาสเกิดแผลที่ฝ่าเท้าสัตว์ปีกเช่น ไก่ ให้น้อยลง สุขภาพ


22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ทางเดินอาหารของไก่ก็อาจดีขึ้นด้วย จากการลดกากถั่วที่เป็นแหล่ง โปรตีนย่อยยากให้มีปริมาณน้อยลง ซึ่งการทำาตาม Ideal protein concept นี้ พบว่าสัตว์จะโต และให้ผลผลิตที่ดีแต่ต้องสมดุลกับ พลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้เพราะการจะนำากรดอะมิโนที่ได้รับไปสร้าง หรือสังเคราะห์โปรตีนได้นั้น จำาเป็นต้องอาศัยพลังงาน สัดส่วนต้อง สัมพันธ์กันเสมอ โดยในแง่วัตถุดิบทางเลือกทดแทนนั้น พบว่าการ ใช้ปลายข้าวนั้นจะสามารถปรับสมดุลกรดอะมิโนได้ดีกว่าการใช้มัน ในแง่ของโปรตีนนี้อาจพิจารณาความต้องการกรดอะมิโนว่าจะเลือก ใช้ในรูปแบบ Total basis หรือ SID basis ถ้าวัตถุดิบใดไม่ทราบ ค่า ก็อาจส่งตรวจ หรืออ้างอิงจากวัตถุดิบอื่นที่ใกล้เคียงแทนได้ อีกข้อที่นิยมทำากันก็คือ ลดพลังงานให้ต่ำาลง คำานวณพลังงาน ในสูตรอาหารโดยคำานึงถึงพลังงานที่สูญเสียไปด้วย เช่น พลังงานที่ หายออกไปกับอุจจาระ ปัสสาวะ และความร้อน แนะนำาควรใช้ค่า พลังงานในรูปแบบ พลังงานใช้ประโยชน์ได้สุทธิ(NE) มาคำานวณใน สูตร วัตถุดิบทางเลือกที่ดีควรมีค่าพลังงาน NE ใกล้เคียงกับค่า พลังงานใช้ประโยชน์ได้ (ME) ค่าพลังงานนี้จึงเป็นอีกเกณฑ์ หรือ ปัจจัยที่นำามาเลือกใช้วัตถุดิบทางเลือกได้เป็นอย่างดีกรณีวัตถุดิบที่ ไม่สามารถหาค่า NE ได้ก็ให้เทียบจากค่า ME แทน ถ้าหากเท่า กัน ก็ควรเลือกชนิดที่มีไขมันสูงกว่า เยื่อใยต่ำากว่า เพราะมีแนวโน้ม ให้ค่า NE สูงกว่า ในส่วนของเยื่อใย หากวัตถุดิบมีเยื่อใยสูง ก็จะ ย่อยได้ไม่ดีกรณีเยื่อใยใกล้เคียงกัน และต้องเลือกนั้น ให้พิจารณา ว่าถ้าใช้เอนไซม์ชนิดย่อยโพลีแซคคาไรด์ที่ไม่ใช่แป้ง (NSP) ในสูตร ก็ให้เลือกเยื่อใยชนิดที่ละลายน้ำา ถ้าไม่ใช้ก็เลือกเยื่อใยที่ไม่ละลายน้ำา จะดีกว่า 5. สารเสริม เช่น เอนไซม์ไม่ว่าจะเดี่ยว หรือรวม หลักการ ที่น่าสนใจคือ การปลดปล่อยสารอาหารออกมา เช่น ชนิดย่อย NSP ได้พลังงานออกมา ชนิดย่อยไฟเตทได้ฟอสฟอรัสออกมา ชนิดย่อย โปรตีนได้กรดอะมิโนออกมา การใช้เอนไซม์จะทำาให้ใช้วัตถุดิบทาง เลือกได้หลากหลาย และผันแปรได้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ ราคาถูกกว่า หรือในกรณีลดโภชนะบางประเภท เช่น โปรตีน ทำาให้ มีช่องว่างของราคาให้มาใช้เอนไซม์ได้อันส่งผลให้ช่วยลดต้นทุนการ ผลิตได้และยังช่วยเรื่องของเสียที่ขับถ่ายออกมาโดยที่สัตว์ย่อยไม่ได้ หรือดูดซึมไม่หมดให้น้อยลงด้วย สัตว์ก็จะมีสุขภาพทางเดินอาหารที่ ดีขึ้น อาจช่วยปรับรูปแบบของวัตถุดิบให้เอนไซม์ทำางานได้ง่ายขึ้น เช่น บดปลายข้าว หรือกากถั่วเหลืองให้มีขนาดเล็กลง การเลือกใช้ เอนไซม์ให้เหมาะสมกับสูตรอาหารจึงค่อนข้างเป็นตัวเลือกที่ดีและ น่าสนใจในภาวะขาดแคลนวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดยในแต่ละครั้งที่มี การใช้เอนไซม์ควรตรวจสอบ ติดตาม หรือประเมินผลทั้งในด้านการ เจริญเติบโต การให้ผลผลิต และผลทางเศรษฐศาสตร์การลดต้นทุน และรายได้ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงความคุ้มค่า ROI 6. เสริมสุขภาพทางเดินอาหารสัตว์ให้แข็งแรง ลดปริมาณเชื้อ ก่อโรคในสิ่งแวดล้อม ล้างพักคอกฆ่าเชื้อให้ได้ตามมาตรฐาน และใน น้ำาดื่มควรผ่านการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน และไม่นำาเชื้อโรคเข้าฟาร์ม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ นอกจากนี้แล้วควรให้สัตว์กิน สารกลุ่มโปรไบโอติกส์และ/หรือ พรีไบโอติกส์ที่มีผลช่วยเพิ่มจุลชีพ กลุ่มจุลินทรีย์ประจำาถิ่น (Normal flora) ซึ่งดีมีประโยชน์ ให้เพิ่ม มากขึ้น แต่กลับลดจุลชีพก่อโรค หรือก่อโทษในทางเดินอาหารให้น้อย ลง เมื่อใช้แล้วทางเดินอาหารสัตว์มีแนวโน้มแข็งแรงมากขึ้น สัตว์จะ สามารถย่อย และดูดซึมสารอาหารไปใช้ได้ดีและเพิ่มมากขึ้น จึงให้ ผลผลิตได้เท่าเดิม แม้ว่าจะมีโภชนะที่ต่ำาลงก็ตาม ตรงกันข้ามกับสัตว์ ที่ได้รับอาหารโภชนะสูง แต่สุขภาพทางเดินอาหารไม่ดีก็ไม่สามารถ ย่อย และดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ กลับขับถ่ายทิ้งออกมา หมด สุขภาพทางเดินอาหารที่ดีแข็งแรง ทำาให้การย่อยและดูดซึมดี ขึ้น ค่า FCR จะดีขึ้น ค่า ROI มากขึ้นตามมา 7. อาหารเม็ดสำาเร็จรูป อาหารจะได้รับการปรับสูตร ปรับ โภชนะ เลือกใช้วัตถุดิบ และเติมสารเสริมต่าง ๆ ที่กล่าวมาอย่าง เหมาะสมกับต้นทุนราคาที่ต้องจ่ายโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ทำาให้ ต้นทุนด้านอาหารนี้ถูกกว่า หรืออยู่ในระดับที่ยอมรับได้ในแง่ของ ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์อีกทั้งเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก ไม่วุ่นวาย หรือสลับซับซ้อนเหมือนผลิตและต้องปรับสูตรเอง อาหารเม็ด สำาเร็จรูปจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยแก้ปัญหาได้ดีในภาวะเช่นนี้ เนื่องจากผู้ผลิตเป็นระดับอุตสาหกรรม สามารถซื้อวัตถุดิบได้ทีละ ปริมาณมาก ๆ มีสต็อกสำารองไว้ทำาให้มีราคาต้นทุนที่ต่ำากว่าซื้อปลีก ใช้เอง ทั้งคุณภาพดีเนื่องจากต้องมีระบบตรวจสอบควบคุมคุณภาพ ทั้งระบบการผลิตมีการสูญเสียน้อย อีกทั้งเมื่อผ่านความร้อนจาก กระบวนการอัดเม็ด จะทำาให้อาหารบางส่วนสุก เช่น แป้งที่สุก สัตว์


สัตว์เศรษฐกิจ 23 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ให้ยาวนานขึ้น อย่าเพิ่งเปลี่ยนอาหารเป็นเบอร์ที่สเปคสูง หรือราคา สูงขึ้น แม้ว่าจะถึงกำาหนดมาตรฐานต้องเปลี่ยนแล้วก็ตาม แต่วิธีนี้ ต้องคำานึงถึงผลกระทบกับผลผลิตให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดด้วย เพื่อลด ผลเสียที่อาจเกิดขึ้น จึงควรทดแทน หรือชดเชยด้วยการจัดการที่ดี ขึ้นในด้านต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม โรงเรือน อุณหภูมิการจัดการ ใด ๆ ก็ตามที่ช่วยลดความเครียดให้สัตว์ได้ 10. รูปแบบการเลี้ยง หรือรูปแบบฟาร์ม ซึ่งมีหลายงานวิจัยที่ ให้ผลว่าการเลี้ยงสุกรแบบ 2 site แทนแบบเดิม 3 site ให้ผลใน แง่บวกคือ สุกรจะเครียดจากการเคลื่อนย้ายน้อยลง ผลทำาให้โตเร็ว ขึ้น จะมีค่า FCR ที่ดีขึ้น จึงลดปริมาณอาหารที่ใช้เลี้ยงให้น้อยได้ แต่การปรับแบบนี้อาจต้องแลกมาด้วยการเพิ่มต้นทุนในด้านอื่นแทน เช่น การปรับปรุงโรงเรือน อุปกรณ์และค่าพลังงานในการกกความ ร้อนให้ลูกสุกร ที่กล่าวมาข้างต้นนี้อาจเป็นเพียงแค่ความรู้พื้นฐานให้เห็นภาพ รวมกว้าง ๆ มิได้ลงลึกซึ้งในแง่รายละเอียด หรือเทคนิคในการปฏิบัติ มากนัก หากแต่ต้องการความรู้ที่ลึกซึ้ง ขั้นตอนวิธีการในการปรับ ตัว และเปลี่ยนแปลงอย่างละเอียด แนะนำาควรปรึกษานักวิชาการที่ เชี่ยวชาญของกรมปศุสัตว์ ภาควิชาที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ผู้จัดจำาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น เอนไซม์รวมทั้งที่ปรึกษาอิสระ หรือ Consultant เฉพาะทาง ด้านนี้ก็น่าจะได้รับคำาแนะนำาที่ดีมีประสิทธิภาพถูกต้อง เหมาะสม บนพื้นฐานของหลักการทางวิชาการ อย่าให้ภาวะข้าว (สัตว์) ยาก หมากแพง มาเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมการ เลี้ยงปศุสัตว์อันเปรียบเสมือนแหล่งอาหาร และครัวของประเทศ….. อ้างอิง ถอดความ สรุป เรียบเรียงใหม่โดยใช้พื้นฐานความรู้จาก งานสัมมนาวิชาการเรื่อง “เอาให้เคลียร์ เอาให้ชัด วัตถุดิบอาหารสัตว์ขึ้นลง” โดย BIS group งานสัมมนาวิชาการเรื่อง “สงครามบานปลาย ซัพพลายมีปัญหา ทางรอดอยู่ตรงไหน” โดย VPG งานสัมมนาวิชาการเรื่อง “ทันโรคทันเหตุการณ์อาหารสัตว์และวัตถุดิบ 2565 - แนวโน้มวัตถุดิบอาหาร สัตว์ปี2565” โดย KUVA สามารถย่อย และนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากกว่า และรูปแบบ เม็ดก็พบว่ามีอัตราการสูญเสียจากสัตว์คุ้ยเขี่ยจนกระจายหกหล่น หรือ กลายเป็นผงฟุ้งลอย หรือสัตว์ไม่กิน กินไม่ได้น้อยกว่ารูปแบบผง จากการเก็บข้อมูลในฟาร์ม หรือภาคสนามหลาย ๆ ครั้ง มักพบว่า ฝูงที่ใช้อาหารเม็ดจะมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) ที่ดี กว่า แต่ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยของแต่ละงานวิจัย ทดลอง หรือสังเกตด้วย การเลือกใช้อาหารเม็ดสำาเร็จรูปนอกจากเรื่องราคาแล้ว ควรพิจารณา จากค่า FCR ที่ดีกว่าร่วมด้วย 8. สต็อกวัตถุดิบ เช่น ข้าวโพดให้ได้มากที่สุด ในรายใหญ่ ๆ อาจต้องสร้างเป็นไซโลไว้เก็บ ตรงข้อนี้อาจทำาได้ยาก เนื่องจากต้อง ใช้เงินลงทุนที่สูงขึ้น และบางครั้งในภาวะขาดแคลนวัตถุดิบ ก็อาจหา วัตถุดิบมาสต็อกไว้ไม่ได้และแม้สต็อกไว้ได้มาก ก็จะมีปัญหา ภาระ ต้องใช้เงินทุนมากขึ้นในการจัดการ ดูแล และเก็บวัตถุดิบเหล่านั้น ให้ดีคงสภาพ และมีคุณภาพดีที่สุด ไม่เน่าเสีย ไม่มีเชื้อราขึ้น ไม่มี มอด จึงต้องชั่งน้ำาหนักเทียบข้อดีข้อเสียหากจะดำาเนินการตามข้อนี้ เทียบกับการใช้อาหารเม็ดสำาเร็จรูป 9. ปรับโปรแกรมการให้อาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มี ความเสียหายสูง เช่น โรคระบาด ASF แต่ราคาสุกรต่ำา หรือภาวะ โรคระบาดโควิด-19 ที่ราคาเนื้อสัตว์ต่ำาลง จากกำาลังการบริโภคลดลง และขาดแคลนแรงงานในระบบอุตสาหกรรมปศุสัตว์ อาจทำาให้ต้อง เลี้ยงสัตว์นานขึ้น ต้นทุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าอาหาร จึงสูงขึ้น เรื่อย ๆ ช่วงนี้จึงอาจปรับหรือบรรเทาปัญหาด้วยการใช้อาหารที่ทำาให้ ต้นทุนต่ำานานมากขึ้นกว่าเดิม ให้สัตว์กินอาหารเบอร์ที่ราคาถูกกว่า


24 สัตว์เศรษฐกิจ “ไข่ไก่” เป็นหนึ่งในอาหารหลักของคนไทยมาตั้งแต่ในอดีต และ เป็นอาหารที่ราคาจับต้องได้สำาหรับคนทุกชนชั้น ดังนั้นเมื่อไหร่ราคา ขยับขึ้นก็จะเกิดเสียงบ่นตามมาทันที โดยไม่ได้พิจารณาปัจจัย แวดล้อมที่มีผลต่อการผลิตในแต่ละช่วง เช่น ดินฟ้าอากาศ ต้นทุน การป้องกันโรค วัตถุดิบอาหารสัตว์ ต้นทุนพลังงาน ฯลฯ เหล่านี้ ล้วนมีความสำาคัญที่ผลักดันราคาเพิ่มขึ้นทั้งสิ้น ไม่ใช่เฉพาะสินค้า เกษตรแต่รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมด้วย แม้ผู้เลี้ยงพยายามให้ข้อมูล ในส่วนนี้ แต่ผู้บริโภคหรือองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคไม่พิจารณาเป็น หลัก หากแต่เป้าหมายอยู่ที่ราคาที่ต้องจ่ายเท่านั้น ความจริงก็คือ ราคาสินค้าเกษตรมีขึ้นและมีลงตามอุปสงค์-อุปทาน (DemandSupply) “ไข่” เป็นสินค้าที่ตลาดในประเทศมีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์ มีผู้เลี้ยงไม่น้อยกว่า 10,000 รายทั่วประเทศ ทั้งรายเล็ก รายกลาง รายใหญ่ ดังนั้นการแข่งขันด้านราคาจึงสูงและเป็นไปตามกลไกตลาด (Market Mechanism) ยากที่จะมีการผูกขาด (Monopoly) หรือ ฮั้วราคากัน (Price Collusion) เพราะแต่ละกลุ่มมีอำานาจต่อรองสูง คนที่ได้ประโยชน์สูงสุดจากการแข่งขันสมบูรณ์นี้ คือ ผู้บริโภค ที่สำาคัญคนไทยมีไข่รับประทานเพียงพอ ไม่ขาดแคลน ในราคาที่ เหมาะสม หากย้อนกลับไปดูราคาไข่ไก่เมื่อ 50 ปีที่แล้ว ราคาเฉลี่ยฟอง ละ 75 สตางค์ - 1 บาท ขณะที่ราคาล่าสุด 4 บาท ถือว่าไม่ได้ ปรับขึ้นสูงกับเวลาครึ่งทศวรรษ แต่เมื่อเทียบกับราคาน้ำามันเชื้อเพลิง LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ที่ปรับบ่อยเป็นรายสัปดาห์หรือรายวันก็มีประสบการณ์กันมาแล้ว จาก ราคาเฉลี่ยน้ำามันดีเซลลิตรละไม่ถึง 10 บาท วันนี้ 35 บาท และ ยังมีกองทุนน้ำามันเพลิงอุดหนุนราคาไม่ให้แพงเกินไปมาหลายสิบปี แต่ไข่ไก่ไม่มีกองทุนใด ๆ สนับสนุน หรือแม้จะเปรียบเทียบกับราคา ทองคำา ที่ปรับสูงขึ้นและในแต่ละวันอาจปรับขึ้น 3-5 รอบ จากราคา ทองรูปพรรณ 500 บาทต่อน้ำาหนัก 1 บาท ปัจจุบันราคามากกว่า 40,000 บาท หรือแม้แต่เทียบกับมะนาวที่ช่วงหน้าร้อนทุกปีราคาพุ่ง ขึ้นไปถึง 8-10 บาทต่อลูก จากปกติ 2-3 บาท ก็เป็นเพียงช่วงเวลา สั้น ๆ เท่านั้น เห็นได้ว่าทั้งสินค้าโภคภัณฑ์และสินค้าเกษตรมีการ ปรับขึ้น-ลงทั้งสิ้น ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2567 ที่ผ่านมา เครือข่าย สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ 4 แห่ง ประกาศราคาแนะนำาไข่คละขึ้น 3 ครั้ง ๆ ละ 20 สตางค์ต่อฟอง จาก 3.40 บาท และปรับขึ้นล่าสุด เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ที่ผ่านมา อยู่ที่ 4 บาทต่อฟอง โดยให้ เหตุผลว่าเป็นช่วงเปลี่ยนฤดู ไก่ป่วย ออกไข่น้อยและขนาดเล็กลง ประกอบกับราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์สูงขึ้น จึงต้องปรับราคาให้ สอดคล้องกับต้นทุน ประกอบกับเป็นช่วงโรงเรียนเปิดเทอม ความ ต้องการไข่สูงขึ้น แต่ผลผลิตน้อยปกติ สำาหรับราคาที่สูงขึ้นเป็น 4 บาทต่อฟอง ไม่ได้เป็นราคาสูงสุด ครั้งแรก เพราะเมื่อเดือนกรกฎาคม 2566 ราคาก็ยืนอยู่ในระดับ 4 บาทต่อฟอง จนถึงสิ้นปี และปรับลดลงช่วงต้นปี 2567อยู่ที่ 3.40 บาทต่อฟอง ตามผลผลิตที่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น สะท้อนให้เห็นว่าราคา ผู้เลี้ยงไก่ไข่ยํ้า.. ราคาปรับตามกลไกตลาด หลังผลผลิตน้อย


สัตว์เศรษฐกิจ 25 ขึ้นได้ก็ลงได้ ก่อนจะมีการปรับขึ้นอีกครั้งช่วงเข้าสู่ฤดูร้อน และช่วง ที่ร้อนที่สุดในเดือนมีนาคม-เมษายน ที่ผ่านมา ที่อากาศร้อนจัด มากกว่าทุกปี ถึงขนาดเกษตรกรเลี้ยงไก่ไข่บางพื้นที่ต้องซื้อน้ำาดื่มมา ใช้ในฟาร์มทั้งให้แม่ไก่และใช้พ่นน้ำาเพื่อลดอุณหภูมิในฟาร์ม อากาศ ร้อนแล้งดังกล่าวทำาให้แม่ไก่ไม่ไข่ตามปกติและขนาดของไข่ฟอง เล็กลง ผลผลิตโดยรวมลดลง นับเป็นปีที่ผู้เลี้ยงไก่ไข่ต้องแบกต้นทุน เพิ่มขึ้นมากกว่าทุกปี นอกจากนี้ ร้านอาหารจานด่วนที่มีการปรับราคาขึ้น หรือ ปรับ ราคาอาหารเมนูไข่ขึ้นนั้น ผู้บริโภคไม่ต้องกังวล เนื่องจากกระทรวง พาณิชย์ มีมาตรการตรวจสอบและดูแลราคาอาหารตามสั่งให้เกิด ความเป็นธรรมกับผู้บริโภค ซึ่งนายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ย้ำาว่า การปรับขึ้น ราคาไข่ไก่อยู่ที่ฟองละ 4 บาท เป็นผลมาจากปัญหาภัยแล้ง อากาศ ร้อน ทำาให้ไข่ออกน้อย ซึ่งเป็นไปตามฤดูกาล จึงได้สั่งการให้กรม การค้าภายในติดตามผลผลิตและสินค้าอื่น ๆ ทั้ง ผลไม้ พืชผัก และ จัดทำาแผนการผลิตและช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาด เพื่อสร้างความเป็น ธรรมให้กับผู้ผลิตและผู้บริโภค ด้านเกษตรกรวอนผู้บริโภคเข้าใจ ไข่ไก่มีขึ้นมีลง ช่วงนี้ผลผลิต น้อยจากอากาศแปรปรวน คาดอีกไม่นานเข้าสู่ภาวะปกติ พร้อม ขอบคุณกรมปศุสัตว์ - ก.พาณิชย์ ดูแลทั้งเกษตรกรและผู้บริโภค นายพัสธนภูมิแตงอ่อน เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ สมาคมการค้า ผู้เลี้ยงไก่ไข่รายย่อยภาคกลาง เปิดเผยว่า ปัจจุบันราคาไข่ไก่ หน้าฟาร์มอยู่ที่ฟองละ 4 บาท เป็นราคาเดียวกับช่วงกลางปีของปี ก่อน ซึ่งเกิดจากปัจจัยที่มากระทบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะอากาศ แปรปรวน เดี๋ยวร้อนเดี๋ยวฝน ทำาให้แม่ไก่สุขภาพไม่ดี ออกไข่น้อย ลงและมีขนาดเล็กลง บางฟาร์มของเกษตรกรรายย่อยมีแม่ไก่ไข่ เสียหาย 7-10% “แม่ไก่ไข่ในฟาร์มเกษตรกรรายย่อยหลายรายเสียหายไปพอ สมควรจากอากาศแปรปรวน ส่วนแม่ไก่ที่ยังออกไข่ได้ก็ให้ผลผลิต ลดลงและฟองเล็กลง นับเป็นเรื่องปกติของการเลี้ยงสัตว์ซึ่งเป็น สิ่งมีชีวิต หากสภาพอากาศดีขึ้น แม่ไก่ปรับตัวได้ดีขึ้น ผลผลิตไข่ จะออกมามากขึ้น ขณะที่ราคาที่เพิ่มขึ้นเพียง 20 สต./ฟอง เมื่อ คำานวณจากอัตราบริโภคของคนไทยที่ 240 ฟอง/คน/ปีนั้น พบว่า เป็นรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นในครอบครัวเพียงคนละ 4 บาท/เดือนเท่านั้น ดังนั้น ขอผู้บริโภคอย่ากังวล” นายพัสธนภูมิกล่าว อย่างไรก็ตาม ราคาไข่ไก่มีขึ้นมีลงตามกลไกตลาด ดังเช่นที่ ช่วงนี้เป็นช่วงการเปิดเทอมของเด็กนักเรียน ซึ่งมีความต้องการ บริโภคไข่ไก่เพิ่มขึ้น สวนทางผลผลิตที่น้อยลง เมื่อผนวกกับต้นทุน การผลิตที่สูงขึ้น ทั้งค่าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำามัน ตลอดจนค่าแรงในภาคเกษตร จึงทำาให้ราคาไข่ขยับขึ้น ขอวอน ผู้บริโภคเข้าใจกลไกตลาด เมื่อเข้าสู่ภาวะปกติหรือผลผลิตออกมามาก ระดับราคาไข่ไก่จะลดลงเอง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้ ราคาไข่ไก่หน้าฟาร์มที่ฟองละ 4 บาท ไม่ใช่ราคาสูงสุด เป็นประวัติการณ์ เนื่องจากเป็นราคาเดียวกันกับช่วงกลางปีของปีที่ แล้ว แสดงให้เห็นว่าราคาไข่มีขึ้นมีลงเสมอ โดยราคาไข่ไก่จะอ่อน ไหวกับทุกสิ่งที่มากระทบ ไม่ว่าจะเป็นฤดูกาล สภาพภูมิอากาศ และ เทศกาล นอกจากนี้ราคาของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก็เป็นอีกปัจจัยต้นทุนสำาคัญ รวมถึง ค่าไฟฟ้า ค่าพลังงาน และค่าแรง ที่มีข่าวว่าจะปรับขึ้นเป็น 400 บาททั่วประเทศในเดือนตุลาคมนี้ ล้วน มีผลต่อราคาไข่ไก่ทั้งสิ้น การเลี้ยงไก่ไข่ของเกษตรกรและการซื้อไข่ไก่ของผู้บริโภค มี กรมปศุสัตว์ และกระทรวงพาณิชย์กำากับดูแล ซึ่งต้องขอบคุณทั้งสอง หน่วยงานรัฐที่ดูแลเกษตรกรและผู้บริโภคเป็นอย่างดีด้วยความเข้าใจ กลไกตลาด ทำาให้เกษตรกรสามารถผลิตอาหารเพื่อคนไทยได้ต่อไป ขณะเดียวกันก็ช่วยดูแลค่าครองชีพผู้บริโภค จัดหาสินค้าราคาสมเหตุ สมผลแก่การบริโภค-อุปโภคได้อย่างเหมาะสม. ด้าน นางพเยาว์อริกุล นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงไก่ไข่ รายย่อยภาคกลาง กล่าวว่า ในช่วงฤดูร้อน 2-3 เดือน ที่ผ่านมา อากาศร้อนจัดมากอุณหภูมิสูงระดับ 40-44 องศาเซลเซียส ส่ง ผลกระทบโดยตรงทำาให้แม่ไก่เครียด ไข่ลดลงและฟองมีขนาดเล็ก ผู้เลี้ยงจำาเป็นต้องหาทางช่วยระบายความร้อนให้อากาศในโรงเรือน เย็นลงเพื่อรักษาแม่ไก่ไว้ ด้วยการเปิดพัดลมและพ่นสเปรย์น้ำา ขณะที่หลายฟาร์มขาดน้ำา ต้องซื้อน้ำาดื่มและซื้อน้ำามาทำาความเย็นใน ระบบอีแว๊ปเพื่อช่วยให้สัตว์อยู่สบายขึ้น นอกจากนี้ ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นส่งผลให้หลายฟาร์มประสบ ปัญหาขาดทุนเพิ่มขี้น เพราะต้นทุนสูงกว่าราคาขาย แม้ว่าราคา ประกาศของเครือข่ายสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ 4 สหกรณ์ จะอยู่ที่ 3.80 บาทต่อฟอง แต่เกษตรกรไม่สามารถขายได้ตามราคาประกาศ เพราะ ไข่ฟองเล็ก ซึ่งเป็นผลจากอากาศร้อนจัด ทำาให้หลายฟาร์มต้องหยุด นำาแม่ไก่เข้าเลี้ยง รอดูระยะเวลาที่เหมาะสมให้ฝนตก มีน้ำาเพียงพอ เพื่อช่วยให้การเลี้ยงมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นโดยต้นทุนไม่สูงเกินไป


26 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “ช่วงร้อนแล้งที่ผ่านมา แม้ฟาร์มไก่ไข่ต้องแบกภาระต้นทุนทั้ง ค่าน้ำาและค่าไฟฟ้าสูงขึ้นมากกว่าปกติหลายเท่า แต่ก็ต้องทำาทุกวิถี ทางเพื่อรักษาแม่ไก่และผลผลิตไว้โดยเฉพาะพื้นที่ที่ขาดน้ำา เกษตรกร ต้องลงทุนซื้อน้ำาดื่มมาใช้ในฟาร์ม ล้วนเป็นปัจจัยผลักดันต้นทุนทั้งสิ้น ขณะที่บางรายขาดทุนจนต้องเลิกเลี้ยงไปแล้ว” นางพเยาว์กล่าว นางพเยาว์ ย้ำาว่าแม้ต้นทุนการผลิตไข่ยังขยับขึ้นต่อเนื่อง แต่ ฟาร์มก็ยังคงดูแลแม่ไก่ให้ดีที่สุด เพื่อให้ไข่ไก่มีปริมาณเพียงพอต่อ การผู้บริโภค เพราะถือเป็นหน้าที่ของเกษตรกรที่ดี ผู้บริโภคจึงไม่ ต้องกังวลว่าไข่จะขาดแคลน ขณะที่ราคาไข่ไก่ปรับขึ้น-ลง ก็เป็นไป ตามอุปสงค์อุปทาน ทั้งนี้ ไข่ไก่ เป็นอาหารโปรตีนคุณภาพดีและเข้าถึงได้ง่ายที่สุด เมนูไข่ยังเป็นอาหารยอดนิยมของคนทุกเพศทุกวัย ทั้งไข่เจียว ไข่ดาว ไข่พะโล้ ไข่ต้ม ฯลฯ ส่วนช่วงโรงเรียนเปิดเทอมจะมีความ ต้องการไข่เบอร์เล็กมากขึ้น ตามความต้องการของร้านอาหารใน โรงเรียน ขณะที่ นายชาณุวัฒณ์สิวะโมกข์รองเลขานุการสมาคมผู้เลี้ยง ไก่ไข่ ให้ข้อมูลว่า ระยะนี้ปริมาณไข่ไก่ในตลาดลดลงเนื่องจากไก่ออก ไข่น้อย ปีนี้พลิกผันจากอากาศร้อนจัดเป็นฝนตกชุก ทำาให้ไก่เครียด และป่วย เกษตรกรรายย่อยบางรายที่ทำาโรงเรือนแบบระบบเปิด ไก่ ปรับตัวไม่ทันในช่วงเปลี่ยนฤดูทำาให้เป็นหวัด ปริมาณไข่ไก่ในฟาร์ม ลดลงถึง 50% ก็มี ส่วนฟาร์มที่เป็นโรงเรือนปิดแบบอีแวปจะได้รับ ผลกระทบน้อยกว่า โดยภาพรวม ปริมาณไข่ไก่ในตลาดลดลงประมาณ 3 - 5% นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยความต้องการบริโภคไข่ไก่สูงขึ้น เนื่องจากเป็นช่วงเปิดภาคเรียน ขณะที่ผู้เลี้ยงประสบภาวะต้นทุน อาหารสัตว์ โดยเฉพาะข้าวโพดซึ่งเป็นอาหารสำาคัญของไก่ราคา สูงขึ้น สำาหรับการปรับขึ้นราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มเป็นฟองละ 4 บาท นี้ จะทำาให้ราคาเท่ากับช่วงไตรมาสที่ 3 - 4 ของปี 2566 ต่อมา ในช่วงต้นปี 2567 ราคาไข่ไก่ลดลงเหลือฟองละ 3.50 บาท แม้ ผู้เลี้ยงต้องการให้ราคาปรับขึ้นเนื่องจากปัญหาต้นทุนการผลิต แต่ใน ไตรมาสที่ 1 ราคาไข่ไก่หน้าฟาร์มอยู่ในเกณฑ์ไม่ดี จนมีการปรับขึ้น เป็นฟองละ 3.60 บาท ในวันที่ 17 เมษายน หลังจากที่สภาพอากาศ ร้อนจัด ส่งผลทั้งต่อปริมาณและขนาดของไข่ไก่ แล้วปรับขึ้นอีกครั้ง วันที่ 29 เมษายน เป็น 3.80 บาท แล้วเป็น 4 บาทในวันนี้ (29 พ.ค.) โดยกว่าจะเป็นไข่แต่ละฟองเกษตรกร มีต้นทุนการผลิตของ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องจากวัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่เป็นสัดส่วนประมาณ 70% ของต้นทุนการผลิตไข่ไก่ จึงทำาให้มีความจำาเป็นต้องปรับราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มขึ้นเพื่อให้ สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ ขณะนี้ไข่ไก่ไม่ได้เป็นสินค้าควบคุม แต่ ในการกำาหนดราคาโดยอิงจากราคาของสมาคมผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออก ไข่ไก่ ปัจุบันผู้เลี้ยงไก่ไข่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 1. ผู้เลี้ยงไก่ ไข่อิสระ 2. ผู้เลี้ยงไก่ไข่ครบวงจร 3. ผู้เลี้ยงไก่ไข่พันธสัญญา ส่วน ปัญหาการผูกขาดการนำาเข้าพันธุ์ไก่ไข่ส่งผลกระทบต่อปัญหาการผลิต ไข่ไก่ ดังนี้ พ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่มีราคาแพง ราคาลูกไก่/ไก่สาวสูงอย่าง ไม่เป็นธรรม ผู้เลี้ยงได้รับพันธุ์ไก่ล่าช้าทำาให้เกิดปัญหาการจัดการและ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพิ่มขึ้น เกษตรกรถูกกดดันไม่ให้ร้องเรียนเรื่องปัญหา ขาดแคลนลูกไก่พันธุ์ต่อหน่วยงานราชการ มิฉะนั้นจะไม่ได้รับไก่มา เลี้ยงอีกเลย เกษตรกรรายย่อยถูกบังคับทางอ้อมให้ซื้ออาหารสัตว์ และยาสัตว์จากบริษัทใหญ่ และผู้เลี้ยงรายย่อยต้องเลิกกิจการ แต่ ฟาร์มขนาดใหญ่และของบริษัทขยายตัวมากขึ้น


สัตว์เศรษฐกิจ 27 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สำ�หรับผู้ที่มีคอเลสเตอรอลสูงอยู่แล้ว ควรปรึกษ� เรื่องก�รบริโภคไข่กับแพทย์ แต่โดยทั่วไปแล้ว ก�รรับ ประท�นไข่ไก่ประม�ณ 1 - 2 ฟองต่อวัน จะช่วยรักษ� สุขภ�พของหัวใจและกระดูกได้ ซึ่งก�รวิจัยได้ระบุให้เห็น ว่�ไข่เป็นส่วนหนึ่งของอ�ห�รเพื่อสุขภ�พหัวใจ และ สม�คมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริก� (American Heart Association) ยังสนับสนุนให้ช�วอเมริกันรับประท�นไข่ ทุกวันเพร�ะเป็นแหล่งโปรตีนคุณภ�พสูง. แพทย์ เผยผลง�นวิจัยชิ้นใหม่ พบ “ก�รกินไข่” ช่วยลดคว�มเสี่ยงโรค กระดูกพรุนได้กระตุ้นเอนไซม์ในร่�งก�ย เสริมสร้�งกระดูกให้แข็งแรง พร้อม แนะกินไข่วันละ 1 - 2 ฟองต่อวัน ดีต่อหัวใจและกระดูก รศ.นพ.วีระศักดิ์ จรัสชัยศรีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านนิติเวช มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ เปิดเผยว่� ก�รศึกษ�วิจัยในว�รส�ร Food and Function ของสหรัฐอเมริก� เผยแพร่เมื่อเดือนมกร�คมที่ผ่�นม� พบว่� ก�รบริโภคไข่ไก่ มีคว�มสัมพันธ์กับคว�มหน�แน่นของมวลกระดูกที่ม�กขึ้นในคนอเมริกัน ในง�นวิจัยฉบับนี้ได้เพิ่ม “ไข่ไก่” ให้เป็นอีกหนึ่งท�งเลือกในก�รบริโภค เพื่อลดคว�มเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) เพิ่มจ�กร�ยก�รอ�ห�ร อื่น ๆ ที่อุดมด้วยแคลเซียมอย่�ง ผักใบเขียว หรือผลิตภัณฑ์จ�กนม ซึ่งถือเป็น อ�ห�รที่ดีต่อสุขภ�พกระดูกม�อย่�งย�วน�น ก�รวิเคร�ะห์ของทีมนักวิจัย เปิดเผยว่� ผู้เข้�ร่วมโครงก�รวิจัยที่บริโภค ไข่ทั้งฟองอย่�งน้อย 3.53 ออนซ์ต่อวัน (ประม�ณไข่ขน�ดใหญ่ 2 ฟอง) มี ระดับคว�มหน�แน่นของมวลกระดูก (BMD :Bone Mineral Density) ในกระดูก โคนข�และกระดูกสันหลัง เพิ่มขึ้นอย่�งมีนัยสำ�คัญ โดยก�รศึกษ�ระยะย�วนี้ใช้ ข้อมูลที่รวบรวมระหว่�งปี2548-2553, 2556-2557 และ 2560-2561 และมี ผู้เข้�ร่วมม�กกว่� 19,000 คน ไข่ไก่ โปรตีนคุณภ�พดีมีโปรตีน (ประม�ณ 6 กรัมต่อไข่ไก่ขน�ดใหญ่ 1 ฟอง) และแคลอรีต่ำ� แม้ไข่ไก่ไม่ได้อุดมไปด้วยแคลเซียม และมีเพียง 24 มิลลิกรัม หรือประม�ณ 2% ของปริม�ณที่แนะนำ�ต่อวันของผู้ใหญ่ แต่จ�กก�ร ศึกษ� พบว่�ไข่ช่วยกระตุ้นกลุ่มของเอนไซม์ในร่�งก�ยที่เรียกว่� อัลค�ไลน์ ฟอสฟ�เตส (ALP) ซึ่งส�ม�รถเสริมสร้�งกระดูกให้แข็งแรงได้ ไข่ไก่ นอกจ�กจะช่วยกระตุ้นเอนไซม์ที่เสริมสร้�งกระดูกให้แข็งแรงได้แล้ว ยังอุดมไปด้วยส�รอ�ห�รหล�ยชนิดที่ช่วยบำ�รุงกระดูกให้แข็งแรงอีกด้วย เช่น วิต�มินดี ช่วยให้ร่�งก�ยดูดซึมแคลเซียม ซึ่งเป็นแร่ธ�ตุที่จำ�เป็นสำ�หรับ เสริมสร้�งให้กระดูกแข็งแรง นอกจ�กนี้ ไข่ยังเต็มไปด้วยโปรตีน สังกะสีและ แร่ธ�ตุอื่น ๆ ที่ช่วยดูแลสุขภ�พกระดูกโดยรวม ที่สำ�คัญยังช่วยในก�รสร้�งกระดูก อีกด้วย แม้มีก�รอภิปร�ยกันเป็นเวล�หล�ยปีเกี่ยวกับประเด็นคว�มกังวลว่�ไข่เป็น ส�เหตุที่ทำ�ให้คอเลสเตอรอลสูงหรือโรคหลอดเลือดหัวใจ แต่ก�รศึกษ�ได้ชี้ให้ เห็นว่�ก�รบริโภคไข่ในระดับป�นกล�ง (ประม�ณ 1 - 2 ฟองต่อวัน) ไม่ส่ง ผลกระทบอย่�งมีนัยสำ�คัญต่อระดับคอเลสเตอรอลในบุคคลที่มีสุขภ�พดี ผลงานวิจัยใหม่พบ “ไข่” ลดความเสี่ยงกระดูกพรุน


28 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ซีพี-ซีพีเอฟ ขับเคลื่อน “โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลาง วันนักเรียน” ปีที่ 36 หนุนโภชนาการที่ดี-สร้างแหล่งอาหารยั่งยืนให้ เยาวชน เครือเจริญโภคภัณฑ์ร่วมกับ บมจ.เจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือ ซีพีเอฟ และมูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์พัฒนาชีวิตชนบท เดินหน้า “โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน” สู่ปีที่ 36 บรรลุ เป้าหมาย “หนุนโภชนาการที่ดี-สร้างแหล่งอาหารยั่งยืน” แก่เด็กและ เยาวชนทั่วประเทศ ปักหมุดขยายโครงการในโรงเรียน 1,000 แห่ง ทั่วประเทศ ภายในปี2568 นายจอมกิตติ ศิริกุล ผู้บริหารสูงสุด สายงานด้านบริหารกิจการ สัมพันธ์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ และผู้ช่วยบริหารสำานักประธานคณะ กรรมการบริหาร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า เครือซีพีซีพีเอฟ และมูลนิธิ เจริญโภคภัณฑ์พัฒนาชีวิตชนบท ร่วมกันดำาเนิน “โครงการเลี้ยง ไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน” มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2532 จนถึงปัจจุบัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนในชนบทห่างไกล ทั่วประเทศ ช่วยเสริมสร้างโภชนาการที่ดีและการเติบโตสมวัย ทั้ง ด้านร่างกายและสติปัญญา โดยมีเป้าหมายขยายโรงเรียนเพิ่มขึ้นปีละ 25 แห่ง 36 ปี โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันฯ หนุนโภชนาการที่ดีให้เยาวชน


สัตว์เศรษฐกิจ 29 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปัจจุบัน มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการฯ รวม 959 โรงเรียนทั่วประเทศ มีนักเรียน 213,794 คน รวมทั้งครูและบุคลากรทางการศึกษา กว่า 16,086 คน และชุมชน 2,374 แห่ง ได้เรียน รู้ทักษะการเลี้ยงไก่ไข่ ตลอดจนสร้างสมหลักความคิด สุขภาพ การเงิน และการจัดการอาชีพ ในอนาคต ขณะเดียวกันยังประยุกต์กิจกรรมสู่การเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้การ บริหารจัดการธุรกิจเกษตร ขณะเดียวกันซีพีเอฟยังได้จัดจ้างผู้พิการช่วยงานในโรงเรียนที่ร่วม โครงการเลี้ยงไก่ไข่ฯ จนถึงปัจจุบันมีการทำาสัญญาจ้างงานคนพิการไปแล้วรวม 482 คน “โครงการเลี้ยงไก่ไข่ฯ ถือเป็นหนึ่งในโครงการที่ร่วมแก้ปัญหาทุพโภชนาการแก่เด็กและ เยาวชน พบว่าภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่ร่วมโครงการฯ จากร้อยละ 25.8 ในปี 2564 ลดลงเหลือร้อยละ 22.8 ในปี 2565 และเป็นการสร้างห้องเรียนอาชีพจากการเรียนรู้การบริหาร จัดการธุรกิจเกษตร นำาไปสู่การสร้างคลังเสบียงอาหารในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง ผลผลิต ไข่ไก่ที่จำาหน่ายให้แก่ชุมชน ทำาให้คนในชุมชนได้บริโภคไข่สดใหม่ในราคาย่อมเยาตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง เกิดเป็นรายได้หมุนเวียน ต่อยอดโครงการต่อเนื่อง เกิดเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน” นายจอมกิตติกล่าว ทางด้าน นายสมคิด วรรณลุกขี ผู้อำานวยการใหญ่ธุรกิจไก่ไข่ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟ มุ่งสนับสนุนให้โรงเรียนสามารถสร้าง แหล่งอาหารโปรตีนคุณภาพดีด้วยฝีมือของนักเรียน เพื่อ ให้เกิดการพัฒนาระบบการบริหารจัดการผลผลิตนำาไปสู่ความยั่งยืนของโครงการฯ โดยบริษัทเป็น ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เยาวชน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการฟาร์มขนาดเล็กได้ด้วยตนเอง ด้วย การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีนำาระบบการเลี้ยงและองค์ความรู้การจัดการมาตรฐาน พร้อมทั้งส่ง นักสัตวบาลเข้าสนับสนุนวิชาการตั้งแต่เริ่มต้นเลี้ยงจนถึงปลดแม่ไก่ไข่ รวมถึงแนะนำาการจำาหน่าย และตลาด เพื่อให้โครงการฯดำาเนินการได้โดยมีผลกำาไรเพียงพอสำาหรับการบริหารให้มีเงินทุน ส่งให้รุ่นต่อไปอย่างต่อเนื่อง ทำาให้โรงเรียนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังส่งเสริมด้าน การสื่อสารและการจัดการข้อมูล ด้วยการใช้แอปพลิเคชัน LINE เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ สื่อสาร มีการรวบรวมข้อมูลทางออนไลน์ด้วยกูเกิลฟอร์ม (Google Form) ช่วยให้รับทราบข้อมูล ที่รวดเร็ว ทำาให้สามารถการวางแผนการผลิตได้อย่างเหมาะสม “โครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน มีเยาวชนเป็นส่วนสำาคัญในการสร้างความ มั่นคงทางอาหารในโรงเรียน และเด็ก ๆ ยังได้เรียนรู้นอกตำารา เกิดประสบการณ์จากการลงมือ ปฏิบัติจริง ยังเป็นการสร้างห้องเรียนอาชีพ ให้น้อง ๆ ได้เรียนรู้การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต จนถึงการจำาหน่าย ที่สามารถนำาไปต่อยอดเป็นวิชาชีพในอนาคต” นาย สมคิด กล่าว สำาหรับโรงเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ สามารถติดต่อขอข้อมูลได้ที่ มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์พัฒนาชีวิตชนบท http://www.cp-foundationforrural.org โทร. 063-871-6545 หรือ 092-870-0783


The Leading Mycotoxin Testing Solutions 9/35 ถนนบางบอน 4 บางบอนเหนือ บางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร: 02-4162586 โทรสาร 02-4162587 www.auprogression.com / E-mail : [email protected] ชุดอุปกรณ์ในการทดสอบหาปริมาณของ Mycotoxin แบบรวดเร็ว ด้วยหลักการ ของ lateral flow strip โดยสามารถทดสอบได้ทั�งในวัตถุดิบและอาหารสัตว์ทุกชนิด One Approach Delivers Full Range Afiatoxin Detection for Complete Feeds สามารถทดสอบหาปริมาณของ Aflatoxin Total (B1,B2,G1,G2),Don,Fumonisin, Zearalenone,Ochratoxin,T2/HT2 และ Glyphosate ทดสอบ Mycotoxin ท�ง 6 ชนิด ได้ด้วยการส ักดตั วอย่างเพียงคร� ั งเดียว ั ไม่ต้องใช้สารพิษ Mycotoxin ในการทํา Calibration วิเคราะห์และรายงานผลเป็นตวเลขได้ภายใน 5-10 นาที ั ใช้งานง่าย ข�นตอนน้อย ผ ั ู้ใช้งานไม่จําเป็นต้องมีทกษะในงานห้องปฏิ ับติการมาก่อน ั ผลการทดสอบเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกบผลจาก HPLC ั


สัตว์เศรษฐกิจ 31 นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ นำ�ทีมผู้บริห�ร ข้�ร�ชก�ร และเจ้�หน้�ที่กรมปศุสัตว์ สักก�ระ สิ่งศักดิ์ประจำ�กรมปศุสัตว์ และทำ�บุญเนื่องในโอก�สวันคล้�ยวัน สถ�ปน�กรมปศุสัตว์ 82 ปี เพื่อคว�มเป็นสิริมงคล พร้อมทั้งจัดง�น วันคล้�ยวันสถ�ปน�กรมปศุสัตว์ ครบรอบ 82 ปี (5 พฤษภ�คม 2567) ภ�ยใต้แนวคิด “กรมปศุสัตว์ มุ่งมั่นสู่ Full Digitalization” เพื่อเป็นก�รรำ�ลึกถึงวันสถ�ปน�กรมปศุสัตว์ ครบรอบ 82 ปี โดย มีร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่� รัฐมนตรีว่�ก�รกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นประธ�นเปิดง�น ภ�ยในง�นมีพิธีไถ่ชีวิตโค ก�รจัด นิทรรศก�รของหน่วยง�นในสังกัดกรมปศุสัตว์ และนิทรรศก�รของ เกษตรกรและผู้ประกอบก�ร นอกจ�กนี้ยังมีก�รแสดงโชว์ Street Dance และให้บริก�รบริจ�คโลหิต โดยมีผู้เข้�ร่วม ประกอบด้วย ผู้บริห�รกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้บริห�รในสังกัดกระทรวง เกษตรฯ ผู้บริห�รจ�กหน่วยง�นภ�ยนอกทั้งภ�ครัฐและเอกชน และ เจ้�หน้�ที่ที่ เกี่ยวข้อง กว่� 1,000 ร�ย ณ กรมปศุสัตว์ พญ�ไท เขตร�ชเทวี กรุงเทพฯ ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กล่�ววว่� จ�กนโยบ�ยด้�นก�รเกษตรของรัฐบ�ล ซึ่ง กำ�หนดแนวท�ง “ตล�ดนำ� นวัตกรรมเสริม เพิ่มร�ยได้” มุ่งเป้�เพิ่ม ร�ยได้ให้เกษตรกร 3 เท่� ภ�ยในระยะเวล� 4 ปี กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ได้ดำ�เนินภ�รกิจเพื่อขับเคลื่อนนโยบ�ยของรัฐบ�ลให้ บรรลุเป้�หม�ย โดยตั้งเป้�หม�ย “เกษตรต้องอยู่ดี สินค้�เกษตร มูลค่�สูง ทรัพย�กรเกษตรยั่งยืน” ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยง�นหลักในก�รทำ�หน้�ที่ดูแลภ�คก�รเกษตรของประเทศ โดยมอบนโยบ�ยที่ส�ม�รถปฏิบัติได้จริง ให้หน่วยง�นในสังกัดร่วม กันบูรณ�ก�รในก�รทำ�ง�น เพื่อว�งร�กฐ�นก�รพัฒน�อย่�งเป็น ระบบ ยกระดับก�รทำ�ง�นเพื่อพัฒน�ภ�คก�รเกษตรให้สอดรับกับ ทิศท�งก�รเปลี่ยนแปลงของโลก โดยนำ�เทคโนโลยีม�ปรับใช้ทุก ภ�คส่วน 100% ภ�ยใต้แนวคิด People - centric ยึดประช�ชน เป็นศูนย์กล�ง และใช้เทคโนโลยีส�รสนเทศปลดล็อคศักยภ�พก�ร ทำ�ง�นของหน่วยง�น บุคล�กร และขับเคลื่อนก�รบูรณ�ก�ร เชื่อมโยงกับทุกภ�คส่วนอย่�งเป็นรูปธรรมวัดผลได้ ซึ่งกรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยง�นที่มีภ�รกิจสำ�คัญในก�รดูแลสุขภ�พสัตว์ ระบบก�รผลิต สัตว์ และก�รส่งเสริมด้�นคว�มปลอดภัยในอ�ห�รทั้งภ�ยในประเทศ และส่งออกสินค้�ปศุสัตว์ไปยังต่�งประเทศ จึงถือเป็นหน่วยง�นที่เป็น ตัวแปรสำ�คัญในก�รเพิ่มขีดคว�มส�ม�รถก�รแข่งขันได้ในระดับส�กล และสร้�งคว�มเข้มแข็งของภ�คเกษตรไทย ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ กล่�วว่� ภ�ยใต้ก�รนำ�ของร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่� รัฐมนตรีว่�ก�รกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มุ่งเน้นในก�ร ขับเคลื่อนนโยบ�ยรัฐบ�ลด้�นก�รเกษตรสู่คว�มสำ�เร็จ “เกษตรกร ต้องอยู่ดี สินค้�เกษตรมูลค่�สูง ทรัพย�กรเกษตรยั่งยืน” เพื่อ ช่วยเหลือและบรรเท�คว�มเดือดร้อนของพี่น้องเกษตรกร เกิดผล เป็นรูปธรรมชัดเจน และคว�มร่วมมือร่วมใจทำ�ง�นอย่�งบูรณ�ก�ร แบบครอบครัวเดียวกัน เพื่อพี่น้องเกษตรกรกินดี อยู่ดี มีร�ยได้ มีอ�ชีพที่มั่นคง สินค้�เกษตรมูลค่�สูง และภ�คเกษตรไทยคือผู้นำ� สินค้�เกษตรในตล�ดโลก ซึ่งกรมปศุสัตว์ข�นรับนโยบ�ยและ ขับเคลื่อนภ�รกิจอย่�งเต็มศักยภ�พ โดยกรมปศุสัตว์ได้นำ�เทคโนโลยี ดิจิทัลและข้อมูลดิจิทัลม�ปรับปรุงก�รทำ�ง�น ก�รเชื่อมโยงข้อมูล ภ�ยในองค์กรและระหว่�งองค์กร ซึ่งเป็นก�รเปลี่ยนแปลงโมเดลก�ร ทำ�ง�นของกรมปศุสัตว์ในภ�พรวม เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่�ง ๆ และ เปิดให้ทุกภ�คส่วนเข้�ม�มีส่วนร่วม เป็นก�รเพิ่มประสิทธิภ�พก�ร ปฏิบัติง�นและก�รให้บริก�รในทุกมิติ เพื่อก้�วเข้�สู่ก�รเปลี่ยนผ่�น สู่ยุคดิจิทัลอย่�งเต็มรูปแบบภ�ยใต้แนวคิด “กรมปศุสัตว์ มุ่งมั่นสู่ FULL DIGITALIZATION” ก�รจัดง�นครั้งนี้ เป็นก�รแสดงศักยภ�พก�รขับเคลื่อนภ�รกิจ ของกรมปศุสัตว์ ต�มนโยบ�ยของรัฐบ�ล ภ�ยใต้ก�รนำ�ของร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่� รัฐมนตรีว่�ก�รกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้วยก�รนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลม�พัฒน�ระบบก�รปฏิบัติง�น โดยภ�ยใน ง�นมีกิจกรรมที่หล�กหล�ย ประกอบด้วย พิธีไถ่ชีวิตโคเพศเมีย จำ�นวน 23 ตัว ซึ่งจะนำ�ไปช่วยเหลือเกษตรกรภ�ยใต้โครงก�ร ธน�ค�รโค-กระบือเพื่อเกษตรกร ต�มพระร�ชดำ�ริ จังหวัดลพบุรี ก�รจัดนิทรรศก�รของหน่วยง�นในสังกัดกรมปศุสัตว์ ภ�ยใต้แนวคิด “กรมปศุสัตว์ มุ่งมั่นสู่ FULL DIGITALIZATION” ก�รจัดนิทรรศก�ร ของเกษตรกรและผู้ประกอบก�ร พิธีมอบร�งวัลผู้มีผลง�นดีเด่น ของกรมปศุสัตว์ และโครงก�รกรมปศุสัตว์ร่วมใจบริจ�คโลหิต เฉลิมพระเกียรติพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว เนื่องในโอก�สพระร�ช พิธีมห�มงคลเฉลิมพระชนมพรรษ� 6 รอบ (28 กรกฎ�คม 2567) 82 ปี กรมปศุสัตว์ มุ่งมั่นสู่ Full Digitalization ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สถาบันเกษตรกรและสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติประจำาปี 2567 สถาบันเกษตรกรดีเด่น (กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์) “วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรโคเนื้อไทยเขาชัยสน” จัดตั้งกลุ่มเมื่อ พ.ศ. 2560 วัน ที่จดทะเบียน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 สมาชิกแรกตั้ง จำานวน 12 คน สมาชิกปัจจุบัน จำานวน 43 คน ประธานกลุ่ม นาง จำาเนียร เจียมสวัสดิ์ที่ทำาการกลุ่ม เลขที่ 253 หมู่ 8 ตำาบลหาน โพธิ์อำาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง โทรศัพท์08 1189 4756 ความคิดริเริ่มและความพยายามฟันฝ่าอุปสรรคในการสร้างผลงาน สมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเลี้ยงโคพื้นเมืองเป็นหลัก ต่อมาได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์กับเกษตรกรผู้เลี้ยง โครายอื่น ๆ ในแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีจุดเด่นจุดด้อยที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ การทำาอาชีพปศุสัตว์โดยการเลี้ยงโคสามารถประกอบเป็นอาชีพหลัก ได้ กลุ่มจึงมีแนวความคิดในการวางแผนที่จะส่งเสริมให้เกษตรกร เลี้ยงโคเนื้อ-โคขุนอย่างครบวงจรแบบไร้รอยต่อ มุ่งสู่ศาสตร์ของ พระราชาในรูปแบบของการเลี้ยงเอง แปรรูปเองและจำาหน่ายเอง สามารถเกื้อหนุนกับอาชีพอื่นได้ตามแนวทางทฤษฎีใหม่ของรัชกาล ที่ 9 โดยมีนายบรรชา เจียมสวัสดิ์ เป็นที่ปรึกษากลุ่ม จึงเกิดเป็น จุดเริ่มต้นในการจัดตั้งกลุ่มโคเนื้อไทยเขาชัยสน วิสาหกิจชุมชนฯ โคเนื้อไทยเขาชัยสน... สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 ปี พ.ศ. 2561 ปรับปรุงสายพันธุ์ได้โคลูกผสมสองสายพันธุ์ที่ เป็นโคพันธุ์พื้นเมืองผสมกับอินเดีย และทำาการปรับปรุงพันธุ์ต่อโดย ใช้โคสายพันธุ์ยุโรปเข้ามาผสมได้ลูกผสมสามสาย มีระดับสายเลือด เป็นโคพื้นเมือง 25% โคอินเดีย 25% และโคยุโรป 50% จากการ พัฒนาสายพันธุ์ดังกล่าวจนได้ลูกผสมพื้นเมืองระดับสายเลือดไม่เกิน 12.5% โคอินเดีย (บราห์มัน) ไม่เกิน 12.5% โคยุโรป (ชาโลเล่ แองกัส แบรงกัส วากิว) ระดับสายเลือดอยู่ที่ 50 ถึง 75% สายพันธุ์ที่ได้ดังกล่าวเป็นการปรับปรุงพันธุ์ร่วมกันของกลุ่มเกษตรกร กับกรมปศุสัตว์ทำาให้เกิดโคลูกผสมที่เหมาะสมแก่การเลี้ยงในเขตพื้นที่ พัทลุงและจังหวัดใกล้เคียงเรียกโคลูกผสมนี้ว่า “โคสามสายลูกผสม” ปีพ.ศ. 2562 สร้างเครือข่ายกับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคในจังหวัด พัทลุงและจังหวัดใกล้เคียง (11 เครือข่าย) สาเหตุที่ต้องมีเครือข่าย เนื่องจากการเลี้ยงโคเป็นอาชีพที่มีระยะเวลาที่ยาวนานและต้องการ เป็นที่ยอมรับในด้านการประกอบอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อ ในปี พ.ศ. 2563 มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 33 ราย มีโคทั้งหมด จำานวน 251 ตัว มีการจำาหน่ายโคมีชีวิตให้บริษัท สยามบีฟ จังหวัดราชบุรีและจด ทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนโคเนื้อไทย เขาชัยสน อำาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง


สัตว์เศรษฐกิจ 33 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ปี พ.ศ. 2564 กลุ่มขยายการตลาดเพิ่มขึ้นสามารถจำาหน่าย โคมีชีวิตให้ ห้างหุ้นส่วนจำากัด ชำาชุดดีน จังหวัดสตูล จากการ จำาหน่ายโคให้กับบริษัท 1 แห่ง เพิ่มขึ้นเป็น 2 แห่ง แต่เนื่องจาก มีปัญหาทางด้านเงินทุนในการบริหารจัดการจึงเริ่มหาแหล่งเงินทุน โดยประสานกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธ.ก.ส. เพื่อกู้เงินดอกเบี้ยต่ำาในโครงการล้านละร้อย นำาเงินที่ได้มา ปรับปรุงคอกสัตว์และซื้อโคเพิ่มเติม ปัจจุบันมีสมาชิก จำานวน 45 คน มีจำานวนโคเนื้อทั้งสิ้น จำานวน 453 ตัว ปี พ.ศ. 2566 กลุ่มเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยง โคเนื้อรายอื่น ๆ สมาชิกมีการพัฒนาตนเอง เข้าร่วมอบรมร่วมทำา กิจกรรมภายใต้โครงการต่าง ๆ เช่น การตัดแต่งซากและแปรรูป ผลิตภัณฑ์ ออกบูธ ขายเนื้อส่งตลาด ทำาให้เกิดความก้าวหน้าและ ความมั่นคงกับกลุ่มมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันกลุ่มฯ มีกิจกรรมที่ดำาเนินการ คือ การเลี้ยงโคพื้นเมือง การปรับปรุงพันธุ์การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ การผลิตและจำาหน่ายอาหารสัตว์ด้วยการพัฒนาที่ไม่หยุดนิ่งวิสาหกิจ ชุมชนโคเนื้อไทยเขาชัยสน ได้มีการเรียนรู้และสร้างเครือข่ายด้านการ ผลิตและจำาหน่ายโคเนื้อและการตลาด เข้าร่วมอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ และเพิ่มทักษะอย่างสม่ำาเสมอ มีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุนและให้ ความรู้ในเรื่องการเพิ่มผลผลิต การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และกลุ่มได้ จำาหน่ายเนื้อโคเกรดพรีเมียมที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคได้รับการ ตอบรับจากลูกค้าจำานวนมากเป็นที่ต้องการของตลาด ทำาให้กลุ่มมี ความเข้มแข็งสามารถยึดการเลี้ยงโคเป็นอาชีพหลักได้ เกษตรกรมี รายได้เพิ่มขึ้น โดยกลุ่มมุ่งเน้นให้เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อแบบครบวงจร แบบไร้รอยต่อ ตามศาสตร์พระราชา ความสามารถในการบริหารจัดการสถาบัน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรโคเนื้อไทยเขาชัยสน มีการบริหาร จัดการในรูปแบบของคณะกรรมการกลุ่มที่มีความโปร่งใสเป็นที่ ยอมรับและเชื่อถือทำาให้กลุ่มมีความมั่นคง สมาชิกทุกคนจะต้องปฏิบัติ ตามข้อกำาหนด เพื่อเป็นการสร้างระบบให้แก่กลุ่มสมาชิก มีการ ติดตามผลการดำาเนินการ และจัดทำาบัญชีที่สามารถตรวจสอบเอกสาร ทางการเงิน คณะกรรมการมีบทบาทหน้าที่ต่อการบริหารจัดการกลุ่ม 1) มีระเบียบข้อบังคับโดยใช้มติประชุมของสมาชิกที่มีองค์ ประกอบสำาคัญไว้ใช้ในการบริหารจัดการกลุ่มทำาให้กลุ่มเกิดความ เข้มแข็ง 2) คณะกรรมการทั้งหมด 15 คน แบ่งหน้าที่รับตามความรับ ผิดชอบกันอย่างชัดเจน 3) มีคณะกรรมบริหารเงินทุนหมุนเวียนโดยเฉพาะเพื่อจัดสรร วัตถุดิบให้แก่กลุ่มเกษตรกร 4) มีคณะกรรมการดูแลทางด้านสุขภาพของสัตว์ 5) มีคณะกรรมการกำาหนดราคาโคมีชีวิตเพื่อส่งขายสู่ตลาด บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกลุ่ม 1) มอบหมายให้สมาชิกทำาตามบทบาทและหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย 2) ส่งเสริมให้สมาชิกเข้าร่วมอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง 3) ควบคุมการดำาเนินงาน ร่วมออกกฎระเบียบข้อบังคับ ต่าง ๆ จัดทำาแผนการปฏิบัติงาน 4) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5) ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนภายในชุมชนและนอกชุมชนให้มี กิจกรรมร่วมกัน และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งด้านวัตถุดิบการผลิตและ การตลาด การดำาเนินงานและการให้บริการแก่สมาชิก 1) ผลิตอาหาร TMR ให้กับสมาชิก 2) จัดหาอุปกรณ์ในการแปรรูปให้สมาชิก 3) ให้ความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ด้านของการ ดูแลสุขภาพสัตว์ 4) จัดหาตลาดเพื่อจำาหน่ายสินค้า 5) จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อให้สามารถเข้าถึงและค้นหา ข้อมูลได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสถาบัน สมาชิกเข้าร่วมการประชุมสามัญและวิสามัญ ตามข้อกำาหนด ของระเบียบกลุ่มและมีเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรที่มีความมั่นคง แข็งแกร่ง มีการทำากิจกรรมร่วมกันเป็นประจำา ได้แก่ การร่วมพัฒนา


34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE หมู่บ้าน ร่วมงานในพิธีต่าง ๆ เป็นกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ความมั่นคงและส่งเสริมความร่วมมือในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 1) สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการกำาหนด การบริหารจัดการกลุ่ม เสนอข้อคิดเห็น ปัญหาต่าง ๆ เพื่อร่วมกัน แก้ไข พัฒนา ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม 2) สมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดทำาแผนและพัฒนากลุ่ม เข้าร่วม ประชุม ทำากิจกรรมร่วมกัน ได้แก่ ร่วมกันวางแผนการพัฒนากลุ่ม การพัฒนาหมู่บ้าน งานในพิธีต่าง ๆ เพื่อสร้างความสามัคคีส่งเสริม ความร่วมมือในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยกลุ่มมีการประชุมเพื่อ ปรึกษาหารือและแก้ปัญหากลุ่มผ่านไลน์ การประชุม 3 เดือนครั้ง ประชุมใหญ่สามัญ 1 ครั้ง ในวันที่ 31 ตุลาคมของทุกปี 3) สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำาเนินงานตามแผนและพัฒนากลุ่ม 3.1) มีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์และระดับสายพันธุ์ เพื่อให้ได้โคเนื้อลูกผสมที่เหมาะสม 3.2) คณะกรรมการเป็นผู้กำาหนดราคา โดยกำาหนดราคา ของโคในแต่ละช่วงอายุ สายพันธุ์ 3.3) เป็นศูนย์เครือข่าย ศพก. (ด้านปศุสัตว์) ของสำานักงาน ปศุสัตว์จังหวัดพัทลุง และเป็นศูนย์เรียนรู้ฯ ระดับภาคของ ธนาคาร ธ.ก.ส. 3.4) ดูแลสุขภาพสัตว์ ทำาวัคซีนปากเท้าเปื่อย วัคซีน ลัมปีสกิน การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ ด้านระบบสืบพันธุ์ ให้แก่ สมาชิกในกลุ่มและเกษตรกรท่านอื่นในพื้นที่บริเวณใกล้เคียง 3.5) การจัดการพืชอาหารสัตว์จัดหาวัตถุดิบที่มีราคาถูก ให้กับสมาชิก เช่น อาหารข้น อาหารหยาบ จัดทำาแปลงหญ้าเพื่อ เป็นเสบียงอาหารสัตว์ไว้ใช้ยามช่วงขาดแคลน 3.6) การผลิต แปรรูป และการตลาด จัดฝึกอบรม “การ ตัดแต่งซากโคเนื้อและการบรรจุภัณฑ์เนื้อโค” โดยมีวิทยากรจากกอง พัฒนาผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์ ร่วมกับ สำานักงานปศุสัตว์จังหวัด พัทลุง จัดฝึกอบรมให้สมาชิกกลุ่มและผู้ที่สนใจ 3.7) การเชื่อมโยงเครือข่าย ได้แก่ กลุ่มอันดามัน (ตรัง พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช) กลุ่มอ่าวไทย (จังหวัดสงขลา พัทลุง) กลุ่ม 5 จังหวัดชายแดนใต้และภาคใต้ตอนบน แผนและโอกาสในการพัฒนากลุ่ม มุ่งหน้าการสร้างแบรนด์ ภายใต้South Beef โดยการระดมทุนจากสมาชิกและเครือข่าย เพื่อ นำาไปจัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ ได้แก่ ตู้แช่ เครื่องเลื่อยกระดูก เครื่อง สไลด์ เครื่องซีล เพื่อเป็นช่องทางการจำาหน่ายแบบโมเดลธุรกิจ ซึ่ง ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อแบรนด์“วัวทะเลสาบพัทลุง” เพื่อสร้างความ เป็นอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ 4. สมาชิกมีส่วนร่วมรับรู้ปัญหาและร่วมแก้ไขปัญหาของกลุ่ม 1) ประชุมคณะกรรมการเพื่อสรุปผลการดำาเนินงาน ชี้แจง ปัญหาและรับฟังข้อเสนอแนะของสมาชิก 2) ประชุมสามัญประจำาปีของสมาชิก โดยรับฟังปัญหา ข้อเสนอ แนะของสมาชิก 3) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้กับสมาชิก โดยมีฝ่าย ประชาสัมพันธ์ประจำาหมู่บ้าน และไลน์กลุ่ม 4) การดำาเนินกิจกรรมของกลุ่มทุกกิจกรรมต้องไปไปตาม วัตถุประสงค์ของการรวมกลุ่ม 5. สมาชิกได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน มีแหล่งในการจำาหน่ายโค สู่ตลาดชัดเจน มีอาหาร TMR ไว้ใช้ภายในกลุ่ม มีอุปกรณ์ไว้ใช้ สำาหรับการทำาแปรรูปร่วมกันมีการแบ่งผลกำาไรร่วมกัน กิจกรรมด้านปศุสัตว์ 1) จัดฝึกอบรมให้แก่ผู้มีความสนใจการเลี้ยงโคเนื้อ-โคขุน โดย มีสมาชิกเข้าร่วมในการจัดฝึกอบรมตั้งแต่ปีพ.ศ.2562 - พ.ศ.2565 จำานวน 510 คน 2) เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มาฝึกงานและศึกษาดูงานเพื่อหา ประสบการณ์ โดยมีนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ เช่น มหาวิทยาลัย แม่โจ้มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาลัยเกษตรจังหวัดกระบี่ วิทยาลัย เกษตรจังหวัดสตูล วิทยาลัยเกษตรจังหวัดพัทลุง จำานวน 60 คน 3) เป็นศูนย์ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขาภิบาล การจัดการระบบ การจัดตั้งผังฟาร์ม การจัดการด้านการป้องกันโรคระบาด การจัดการ สุขภาพสัตว์การจัดการตัวสัตว์เช่น การแต่งกีบ การตอนและการ สูญเขา 4) ส่งเสริมด้านการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ โดยใช้เทคนิคการ ผสมเทียมและการตรวจระบบสืบพันธุ์สัตว์ เช่น ตรวจรัง-ไข่ ตรวจ การตั้งท้อง การทำาคลอดด้วยตนเอง


สัตว์เศรษฐกิจ 35 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ 5) ส่งเสริมด้านการตลาด โดยมุ่งเน้นถึงการตัดแต่งซากและ แปรรูปเนื้อ ตามความต้องการของตลาด ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสถาบัน กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อไทยเขาชัยสนมีระบบการทำาบัญชีที่สามารถ ตรวจสอบย้อนหลังได้ โดยยึดถือกฎระเบียบข้อบังคับกลุ่ม มีการ บริหารจัดการของคณะกรรมการที่มีความโปร่งใส แหล่งเงินทุน มีการถือหุ้นแรกเข้าของสมาชิก มีการรับฝาก เงินและมีเงินกู้ยืมให้แก่สมาชิก มีเงินทุนหมุนเวียนสามารถพัฒนา กลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง มีกองทุนเพื่อการผลิต และกองทุนเพื่อการ แปรรูป ระเบียบบริหารจัดการเงินของกลุ่ม มีการออมเพื่อการผลิต สวัสดิการที่เอื้อต่อสมาชิก การจัดสรรผลประโยชน์สมาชิกและกลุ่ม มีเงินออมทุกคน มีการฝากเงินอย่างต่อเนื่อง 1) จัดสรรผลกำาไร เงินปันผลตามหุ้น ทุนสะสม โบนัสกรรมการ สวัสดิการคณะกรรมการและคนทำางาน ทุนสวัสดิการสังคม และ สมทบกองทุนพัฒนาหมู่บ้าน 2) จัดทำาบัญชีกลุ่มมีการบันทึกบัญชีอย่างต่อเนื่อง จัดทำาบัญชี ปิดงบดุลในวันสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่ม ณ วันที่ 31 ตุลาคมของปี มีการสื่อสารเปิดเผยข้อมูลทางการเงินบัญชีอย่างสม่ำาเสมอ 3) ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ของสมาชิก ร่วมกันวิเคราะห์ ทางการตลาด (แนวโน้มในการผลิต) รณรงค์ให้สมาชิกทำาวัคซีน ป้องกันโรคเพื่อลดปัญหาโรคระบาด จัดหาแหล่งอาหารหยาบ (สดและแห้ง) ราคาถูกจากกลุ่มเครือข่าย ส่งเสริมให้สมาชิกใช้ จุลินทรีย์ในการจัดการมูลโคและเศษเหลือทิ้งจากคอกสัตว์เป็นปุ๋ยคอก ที่มีคุณภาพดี การทำากิจกรรมด้านสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 1) เป็นแหล่งเรียนรู้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อในจังหวัดพัทลุง และพื้นที่ใกล้เคียง 2) ช่วยเหลือเกษตรกรและกลุ่มเครือข่ายในการดูแลสุขภาพ สัตว์ 3) สนับสนุนผลิตภัณฑ์ให้สมาชิกเครือข่ายที่เลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง 4) ร่วมออกร้านนิทรรศการด้านปศุสัตว์ สำานักงานจังหวัด พัทลุง และในพื้นที่ปศุสัตว์เขต 8 5) ร่วมโครงการปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน 6) ร่วมพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนในวันสำาคัญต่าง ๆ เป็นประจำา ทุกปี 7) ดูแลต้นไม้สองข้างทางภายในหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1) ใช้มูลโคปรับสมดุลให้ระบบนิเวศ เป็นปุ๋ยอินทรีย์ในแปลง หญ้าและปลูกผักอินทรีย์ผลิตแก๊สชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงใช่ในครัวเรือน 2) นำาเศษฟางหรือเศษหญ้าที่เหลือจากการเลี้ยงหมักกับมูลโค ผลิตเป็นปุ๋ยหมัก 3) ปลูกป่าในชุมชนและดูแลพื้นที่สาธารณประโยชน์ของชุมชน ทุกวันสำาคัญ 4) ร่วมรณรงค์ให้คนในชุมชนอนุรักษ์ทรัพ ยากรป่าเป็นประจำา ทุกปีซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณป่าไม้ธรรมชาติในชุมชนและเป็นการ ปลูกจิตสำานึกให้คนในชุมชนรู้จักการให้คืนกลับสู่ธรรมชาติ


36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE อาหารสัตว์ร้องรัฐแก้วงจรปั่นราคาข้าวโพด กระทบห่วงโซ่การผลิตอาหาร วงจรอุบาทว์กักตุน-ข่มขู่-ปั่นราคาข้าวโพดให้พุ่งถึงกิโลกรัมละกว่า 13 บาทสมาคมผู้ผลิต อาหารสัตว์ไทสุดทน เร่งยื่นหนังสือ “ด่วนที่สุด” ถึงกระทรวงพาณิชย์ร้องแก้ปัญหาและทำาลาย พฤติกรรมมาเฟีย ก่อนห่วงโซ่การผลิตอาหารหยุดชะงักและเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ตายยกประเทศ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผยว่า ได้รับข้อ ร้องเรียนอย่างหนักจากสมาชิก ถึงความยากลำาบากในการหาซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะ ในช่วงนี้ที่มีการกักตุนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อเรียกร้องราคาขยับสูงขึ้น โดยมีเป้าสูงกว่า 13 บาท/กก. จากปกติควรจะอยู่ที่11บาท/กก.ในช่วงนี้ ซ้ำาขู่ไม่ส่งข้าวโพดเข้าโรงงาน ระบุโรงงาน อาหารสัตว์ไม่มีทางเลือกอื่น เนื่องจากถูกมัดมือมัดเท้าจากมาตรการรัฐหลายมาตรการ จึงต้อง ร้องขอความช่วยเหลือด่วนที่สุดไปยังกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ “การกักตุนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เกิดผลประโยชน์กับกลุ่มพ่อค้าคนกลางเท่านั้น ไม่เกิดประโยชน์ กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แม้แต่บาทเดียว เพราะผลผลิตข้าวโพดทั้งหมดอยู่ในมือ พ่อค้าคนกลางหมดแล้ว ราคาข้าวโพดที่ขยับขึ้นแค่กิโลกรัมละ 1 บาท คิดเป็นเม็ดเงินที่ต้อง จ่ายเพิ่มขึ้นถึง 5,000 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นภาระต้นทุนของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ สถานการณ์ เช่นนี้ดูเหมือนจะกลับไปใกล้เคียงกับเมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาหรืออาจเลวร้ายยิ่งกว่า เพราะธุรกิจ อาหารสัตว์ขาดทุนสะสมและมีการปิดโรงงานและขายกิจการไปแล้วหลายแห่ง เกษตรกรผู้เลี้ยง สัตว์ก็ขาดทุนและเลิกเลี้ยงกันไปจนนับไม่ถ้วน” นายพรศิลป์กล่าว ทั้งนี้สิ่งที่เอื้อประโยชน์ให้พ่อค้าคนกลางสามารถมีพฤติกรรมกักตุนข้าวโพดเพื่อเก็งกำาไร ได้มีหลายประการ อาทิ 1.) ผลผลิตข้าวโพดไทยมีแนวโน้มลดลง และจะออกสู่ตลาดอีกครั้งกลางเดือนกันยายน ช่วงนี้จึงเข้าสู่ภาวะขาดแคลนวัตถุดิบยาวนานกว่า 3 เดือน เปิดโอกาสให้มีการกักตุนสินค้า 2.) โรงงานอาหารสัตว์ไม่มีทางเลือกในการนำาเข้าวัตถุดิบทดแทน เพราะถูกบีบด้วย “มาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี3:1 ส่วน” ด้วยข้อกำาหนดให้ซื้อข้าวโพดภายในประเทศ ก่อน เพื่อนำาไปใช้แลกนำาเข้าข้าวสาลีแต่โรงงานไม่มีข้าวโพดเพียงพอ จึงเท่ากับถูกบังคับให้ซื้อ ข้าวโพดจากพ่อค้าในราคาที่เขาต้องการก่อน เป็นสาเหตุหลักให้พ่อค้าชะลอการส่งข้าวโพดเข้า โรงงานเพื่อดึงราคาให้สูงขึ้นอีก


สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ 3.) ราคาวัตถุดิบทดแทนปรับตัวสูงขึ้น สงครามระหว่างรัสเซียยูเครน ค่าระวางเรือ ค่าเงินบาทที่อ่อนตัว รวมถึงสถานการณ์เพาะ ปลูกข้าวสาลีที่มีแนวโน้มลดน้อยลง ส่งผลให้ราคาข้าวสาลีนำาเข้าอยู่ ที่ 12 บาท/กก. พ่อค้าคนกลางทราบถึงสถานการณ์นี้เป็นอย่างดีจึง ตั้งราคาขายข้าวโพดไว้ที่ 13 บาท/กก. สูงกว่าราคานำาเข้าข้าวสาลี เพราะหากไม่ซื้อข้าวโพดก่อนก็ไม่สามารถนำาเข้าข้าวสาลีได้ 4.) จากนโยบายรัฐที่มุ่งแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 โดยกระทรวง เกษตรฯ ผลักดันการหยุดรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีการเผาแปลง ปลูก ซึ่งสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยขานรับและสนับสนุนนโยบาย ดังกล่าว ทำาให้พ่อค้าเร่งทำาการกักตุนข้าวโพด เพราะรู้ดีว่าข้าวโพด ที่โรงงานจะรับซื้อได้นั้น จะมีปริมาณลดน้อยลง เพราะไม่สามารถซื้อ ข้าวโพดที่ผ่านการเผาแปลงได้ ทางออกเพื่อหยุดพฤติกรรมกักตุน การแก้ปัญหานี้ได้ดีที่สุดคือ กระทรวงพาณิชย์ต้องปลดล็อก มาตรการนำาเข้าข้าวสาลี 3 : 1 ส่วนในทันที เพื่อให้มีปริมาณ ข้าวสาลีเข้ามาเป็นทางเลือก คลายความกดดันในด้านปริมาณที่ขาด และลดสิ่งที่เอื้อให้พ่อค้าคนกลางทำาการกักตุนเก็งกำาไร แม้ราคา ข้าวสาลีณ ตอนนี้จะสูงถึง 12 บาท/กก. ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้อง นำาเข้า มิฉะนั้นจะไม่มีวัตถุดิบที่จะใช้ในการผลิต ย้ำาว่ากระทรวง พาณิชย์ต้องดำาเนินการในเรื่องนี้“ทันที” เพื่อไม่ให้สายพานการผลิต หยุดชะงัก นอกจากนี้ ต้องพิจารณาปลดมาตรการนำาเข้าอื่น ๆ โดยเฉพาะการนำาเข้าข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO เพื่อรองรับนโยบาย ไม่รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีการเผาแปลงปลูก ซึ่งจะทำาให้ข้าวโพด ที่ซื้อขายในระบบหายไปกว่า 2 ล้านตันด้วย “หากยังปล่อยให้สถานการณ์กักตุนนี้ยืดเยื้อต่อไป จะเกิด ผลกระทบรุนแรงต่อห่วงโซ่การผลิตอาหารทั้งระบบ เกษตรกรผู้เลี้ยง สัตว์ไม่สามารถประกอบอาชีพต่อได้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้เลี้ยงหมู รายย่อยที่ขาดทุนมาก่อนหน้า จากต้นทุนสูง และจากปัญหาหมูเถื่อน ที่สุดแล้วเศรษฐกิจชาติจะพังไม่เป็นท่า ไม่คุ้มเลยถ้าจะมัวอุ้มกลุ่ม พ่อค้าคนกลางกลุ่มเดียวแบบนี้” นายพรศิลป์กล่าว ด้าน สมาคมการค้าพืชไร่ เผยทำาหนังสือถึงกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ ร้องรัฐคงมาตรการ 3 : 1 เป็น มาตรการที่ช่วยปกป้องเกษตรกร หากยกเลิกส่งผลกระทบต่อ เกษตรกรผู้ปลูกพืชวัตถุดิบไทย นายพรเทพ ปู่ประเสริฐ อุปนายกสมาคมการค้าพืชไร่ ทำา หนังสือถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอธิบดีกรมการค้า ภายใน เรื่อง การลดปัญหา PM 2.5 พร้อมแนวทางแก้ไขและการ บิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจและเป็นข้ออ้างในการ ขอยกเลิกมาตรการ 3 : 1 ตามที่รัฐบาลมีนโยบายแก้ไขปัญหาฝุ่นควันพิษ PM 2.5 ซึ่ง การเผาแปลงปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ถูกอ้างว่าเป็นหนึ่งในสาเหตุหนึ่ง ที่ทำาให้เกิด PM 2.5 ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ซึ่งความเป็นจริง ในปัจจุบันการเผาแปลงเพื่อปลูกข้าวโพดในประเทศไทยได้ลดจำานวน ลงเป็นอย่างมาก เนื่องมาจากการกำาหนดเงื่อนไขการรับซื้อผลผลิต ข้าวโพดของโรงงานอาหารสัตว์ เช่น ต้องปลูกบนที่ดินที่มีเอกสาร สิทธิและมาตรการทางกฎหมายทั้งจับ/ปรับที่ภาครัฐบังคับใช้อย่าง เข้มงวด ดังนั้น ต้นตอหลักของปัญหาหมอกควันฝุ่น PM 2.5 นั้นเกิด จากลักลอบเผาป่า ไฟป่าในภาคเหนือ การใช้รถยนต์บรรทุก และ โรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้การกล่าวอ้างและบิดเบือนข้อเท็จจริงแบบ ไม่สร้างสรรค์ สนใจแต่ความเดือดร้อนของตนเองและไม่แยแสต่อ สภาพสังคมและความเป็นอยู่ของประชาชนของสมาคมผู้ผลิตอาหาร สัตว์ไทย ดังที่ปรากฏในสื่อต่าง ๆ ทางสมาคมการค้าพืชไร่เห็นว่าควรจะร่วมกันสนับสนุนหา ทางออกในการลดปัดหาฝุ่น PM 2.5 ร่วมกันโดยปรับเปลี่ยนวิธีการ กำาจัดเศษซากตอซังในแปลง เช่นการปลูกโดยไม่ไถ การปลูกแบบไถ แถวเว้นแถว และการกำาจัดเศษซากต่อซังด้วยวิธีทางชีวภาพ ไม่ควร ปล่อยให้กลุ่มผู้หาผลประโยชน์มาตั้งเงื่อนไขข้ออ้างจาก PM 2.5 มา สร้างเงื่อนไข ข้อจำากัดทางการค้าเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเรียกร้องขอยกเลิกมาตรการ 3 : 1 เพื่อประโยชน์ ของตนเพียงอย่างเดียว ส่วนนำาเข้าจากอเมริกา จากข้อมูลปีที่ 2023 แปลงนาในรัฐ อาร์คันซอ ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการเผากว่า 40% รองลงมา เป็นแปลงข้าวโพดและอื่น ๆ แต่ก็มีการนำาเข้ากากข้าวโพด DDGS และกากถั่วเหลืองจากสหรัฐอเมริกา แทนที่จะสร้างข้อจากัดให้เป็น มาตราฐานเดียวกันเดียวกับการรับซื้อภายในประเทศไทย ดังนั้น จึงควรหาแนวทางร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาให้กับเกษตรกรไทยและจะเป็น ผลดีต่อเศรษฐกิจท้องถิ่นไทยมากกว่า นอกจากนี้ จากสถานการณ์ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เบอร์ 2 อ้างอิงพื้นที่รับซื้อบางนา ขึ้นมาจากราคาลงมาต่าสุดเมื่อวันที่ 23/4/2567 10.2 บาท/กก. (เทียบราคาชิคาโก 452.5 USD/Bu และขึ้นมาอย่างรวดเร็วอยู่ระดับสูงถึง 11.30 บาท/กก. (เทียบราคา ชิคาโก 44.545 USD/Bu) โดยใช้เวลา 1 เดือนเท่านั้น แล้วมีการ


38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE กล่าวอ้างว่าในช่วงเวลาดังกล่างข้าวโพดไม่อยู่ในมือเกษตรกรแล้ว และกล่าวโทษพ่อค้าคนกลางว่ากักตุนเก็งกำาไร ไม่มีการขายของเข้า สู่โรงงานอาหารสัตว์ เป็นการให้ร้ายพ่อค้าคนกลางเพื่อผลประโยชน์ ในการเรียกร้องของกลุ่มตน ทั้งที่ผู้ที่มีอำานาจกำาหนดกลไกทางการค้าคือผู้รับซื้อเข้าโรงงาน ดูได้จากการเคลื่อนไหวราคา ซึ่งผู้กำาหนดราคารับซื้อและสร้าง เงื่อนไขมากมายต่าง ๆ ให้พ่อค้าคือบริษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์ ขนาดใหญ่ ชาวไร่ขอชี้แจง ทั้งนี้ทางสมาคมการค้าพืชไร่ขอชี้แจง เป็น ประเด็นดังนี้ 1. พ่อค้าใม่มั่นใจต่อสภาวะตลาด จึงเทขายในช่วงฤดูกาลออก ไปเป็นจำานวนมาก (ทางการสามารถตรวจเช็คปริมาณรับซื้อของ แต่ละโรงงานช่วงฤดูกาลพืชในช่วงที่ราคาข้าวในรอบฤดูกาล 2566/67 ที่ผ่านมา ราคาข้าวโพดขึ้นลงผันผวนมาก ทำาให้พ่อค้าคนกลาง ส่วนใหญ่กลัวขาดทุน จึงตกลงขายปั้วล่วงหน้าไปมาก ดูได้จากช่วง ต้นฤดูกาลที่ข้าวโพดฝนออก ราคาข้าวโพดสูงสุดในวันที่ 11/9/2566 อยู่ที่ 11.45 บาท/กก. (เทียบราคาชิคาโก 4.8375 USD/Bu) หลัง จากนั้นราคาข้าวโพดลดลงมาตลอดจนมาอยู่จุดต่าสุดวันที่ 14/11/2566 9.95 บาท (4.7825 USD/Bu) ทำาให้พ่อค้าติดราคาสูงหลายรายขาย ไม่ทันจึงติดต้นทุนสต๊อกที่สูง หลังจากนั้นราคาข้าวโพดกลับมาเริ่มสูงขึ้นจนถึงจุดสูงสุดรอบ ใหม่ในวันที่ 4/1/2567 อยู่ที่ระดับ 10.70 บาท/กก (466.5 USD/ Bu) หลังจากนั้นราคาก็ลงมาจนถึงจุดตำ่าสุดรอบใหม่ เมื่อวันที่ 23/4/2567 10.2 บาท/กก. (เทียบราคาชิคาโก 452.5 USD/Bu และขึ้นมาอย่างรวดเร็วอยู่ระดับสูงถึง 11.30 บาท/กก. (เทียบราคา ชิคาโก 4.5375 USD/Bu) ถ้าสังเกตระดับราคาขาลงมาตำ่าลงอย่าง ต่อเนื่องในช่วงที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ออก ทั้งสองรอบ คือรอบข้าวโพด ฝน กับรอบข้าวโพดหลังนา พอข้าวโพดในมือเกษตรกรลดลง ราคา ก็กลับมาเป็นขาขึ้น 2. ผู้รวบรวมตกลงซื้อขายข้าวโพดล่วงหน้าและประมูลขายให้ กับโรงงานระดับกลางและเล็ก ในระดับราคาเพียง 9.80-10.30 บาท ก่อนที่ราคาจะขึ้นเป็นจำานวนมาก 3. โรงงานที่มีรถเข้าน้อย และมีตัวแทนอยู่ในสมาคมที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งเงื่อนไขการรับซื้อโดย ผู้รวบรวมจะต้องลงทะเบียนที่ยุ่งยาก ซับซ้อนให้กับเกษตรกรก่อนจึงขายให้โรงงานนั้น ๆ ได้จึงมีผู้รวบรวม ไม่กี่รายที่สามารถขายให้กับโรงงานนั้นได้ 4. กลุ่มที่ได้ผลประโยชน์จากราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขึ้น สามารถตรวจสอบได้จาก อาทิโรงงานไหนมีสต็อกข้าวโพดมากที่สุด โรงงานไหนมีสต๊อกข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ และกากข้าวโพดและ มีการนำาเข้าวัตถุดิบทดแทนเหล่านั้นมากมากในช่วง 2-3 เดือนที่ ผ่านมา โรงงานไหนที่สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ทำาให้โรงงานที่มีศักยภาพน้อยกว่าต้องซื้อวัตถุดิบในราคาที่สูงขึ้น โรงงานไหนที่สามารถนำาเข้าข้าวโพด จากพม่าได้โดยตรงในปริมาณ ที่มากก่อนราคาข้าวโพดขึ้น กลุ่มไหนได้ประโยชน์จากการที่ยกราคาข้าวโพดมาระดับสูงแล้ว นำามาเป็นเหตุในการเรียกร้องให้ยกเลิกมาตรการ 3 : 1, เรียกร้อง ให้ปล่อยราคาอาหารสัตว์ลอยตัว หรือสามารถขายอาหารสัตว์ใน ระดับราคาที่สูงสู่เกษตรกรคู่พันธสัญญา และปรับขึ้นราคาข้าวโพดมา เพื่อให้ผู้ผลิตรายอื่นมาซื้อวัตถุดิบทดแทนกับตน บวกกับการสร้าง ความได้เปรียบทางการค้าของธุรกิจรายใหญ่ การนำาเข้าวัตถุดิบทดแทนจากต่างประเทศมีผลประโยชน์ทั้งใน และนอกระบบมูลค่าสูงที่อยู่กับกลุ่มบุคคลจำานวนไม่มาก ภาครัฐต้อง ตรวจสอบว่าต้องการนำาเข้าเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมหรือไม่ขณะที่ วัตถุดิบทดแทนตัวอื่นภายในประเทศมีอย่างเพียงพอ สมาคมการค้าพืชไร่ขอร้องให้คงมาตรการ 3 : 1 เพราะเป็น มาตรการที่ช่วยปกป้องเกษตรกรผู้ปลูกพืชวัตถุดิบไทยที่มี ประสิทธิภาพที่ดีระดับหนึ่ง หากมีการยกเลิกย่อมส่งผลกระทบต่อ เกษตรกรผู้ปลูกพืชวัตถุดิบไทย ธุรกิจการผลิตไทยควรเน้นการใช้ วัตถุดิบที่ผลิตได้ภายในประเทศเพื่อส่งเสริมความมั่นคงและพัฒนา เศรษฐกิจท้องถิ่นในประเทศ และยืนยันว่ากลุ่มผู้รวบรวมยังเป็น ประโยชน์ในห่วงโซ่ธุรกิจอาหารสัตว์เป็นเหมือนเขื่อนกักเก็บผลผลิต ที่ไม่ให้ออกไปขายให้กับโรงงานอาหารสัตว์มากเกินไปโดยเฉพาะใน ช่วงฤดูกาล แต่ปัจจุบันถูกมองเป็นหอกข้างแคร่ของกลุ่มผลประโยชน์ จึง ถูกให้ร้ายป้ายสีมาอย่างต่อเนื่อง การกล่าวหาและให้ร้ายต่อคู่ค้า เป็นการกระทำาที่น่ารังเกียจ ขัดแย้งต่อแนวทางการดำาเนินธุรกิจตาม ที่ประกาศสู่สาธารณะชนอย่างสิ้นเชิง ไร้ความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และประโยชน์ที่ยั่งยืนแก่ประเทศชาติ ต่อไป...


สัตว์เศรษฐกิจ 39 ‘รมช.อรรถกร’ ฉลองวันดื่มนมโลก (World Milk Day) 1 มิถุนายน 2567 เชิญชวนคนไทยดื่มนมเพิ่มขึ้น 25 ลิตรต่อคนต่อปี นายอรรถกร ศิริลัทธยากร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ได้รับมอบหมายจาก ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานพิธีเปิดงาน “วันดื่มนมโลก ปี 2567“ ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ อาคาร B ซึ่งตามที่องค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ได้กำาหนดให้วันที่ 1 มิถุนายนของทุกปี เป็น “วันดื่มนมโลก” หรือ “World Milk Day” เพื่อให้ประเทศและ องค์กรต่าง ๆ ให้ความสำาคัญและร่วมกันจัดกิจกรรมรณรงค์บริโภค นม โดยในปี 2567 ภายใต้แนวคิด “สร้างความสุข เสริมภูมิคุ้มกัน ดื่มนมทุกวัน ดื่มได้ทุกวัย บริโภคนมได้หลากหลายเมนู” เพื่อรณรงค์ การบริโภคนมในสังคมไทย มุ่งสร้างความเข้าใจและการรับรู้ใน วงกว้าง อีกทั้งเป็นการช่วยให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมไทยมีความมั่นคง ด้านอาชีพการเลี้ยงโคนมและผลิตน้ำานมคุณภาพดีให้คนไทยได้ดื่มมี สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง อย่างไรก็ตาม พบว่าสถานการณ์การบริโภคผลิตภัณฑ์นมใน ประเทศไทย มีการบริโภคนมที่น้อยมากถ้าเทียบกับอัตราการบริโภค นมของทั่วโลก ซึ่งมีอัตราการบริโภคนมพร้อมดื่มภายในประเทศ ประมาณ 18 ลิตร/คน/ปี ถ้ารวมผลิตภัณฑ์นมนำาเข้าจะอยู่ที่ 22 ลิตร/คน/ปี (ซึ่งต่ำากว่าค่าเฉลี่ยทั้งโลก) สัมพันธ์กับภาวะโภชนาการ ของเด็กไทย ที่มีส่วนสูงสมส่วนยังไม่ถึงค่าเป้าหมาย กระทรวง เกษตรฯ โดยคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมจึงได้ตั้งเป้าหมาย ในการส่งเสริมการบริโภคนมของคนไทยให้เพิ่มขึ้น จากเดิม 18 ลิตร/ คน/ปี เป็น 25 ลิตร/คน/ปี ภายในปี 2570 พร้อมทั้งสร้างการรับรู้ และการสร้างช่องทางการเข้าถึงนม เพื่อให้ผู้บริโภคได้ดื่มนมและ รับประทานผลิตภัณฑ์นมมากขึ้น “วันดื่มนมโลก เป็นการบูรณาการของภาคส่วนในอุตสาหกรรม นมอย่างครบวงจร ตั้งแต่ต้นน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา นําผลผลิต และผลิตภัณฑ์นมใหม่ ๆ มาแสดงให้ประชาชนได้รับความรู้ และมี ทัศนคติการดื่มนมที่ถูกต้อง เพื่อกระตุ้นให้คนไทยหันมาดื่มนม เน้น การสร้างนิสัยรักการดื่มนมในทุกเพศทุกวัย เพราะหากประชาชนมี ความรู้ความเข้าใจในการดื่มนม ก็จะเลือกบริโภคนมให้มากขึ้น ส่งผลให้มีสุขภาพแข็งแรง ภาคอุตสาหกรรมนมเข้มแข็ง เกษตรกร ผู้เลี้ยงโคนมผลิตน้ํานม คุณภาพชีวิตดีขึ้น มีรายได้ที่มั่นคง สร้าง ความมั่นคงทางอาหารของประเทศ” รมช.อรรถกร กล่าว สำาหรับกิจกรรม “วันดื่มนมโลก”ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 จัดขึ้น ณ ลานอเนกประสงค์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคาร B รัฐประศาสนภักดี ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ ในปีนี้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคีเครือข่าย ประกอบด้วย องค์การส่งเสริมกิจกรรมโคนมแห่งประเทศไทย สภาเกษตรกรแห่งชาติ ชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย จำากัด สมาคมผู้ผลิตนมพาสเจอไรส์ สมาคมอุตสาหกรรมนมและอาหาร กรมอนามัย องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ เครือข่าย นมดีทุกวัยดื่มได้ทุกวัน สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยใน พระราชูปถัมภ์ และหน่วยงานอื่น ๆ โอกาสนี้ รมช.อรรถกร และผู้บริหารกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ ได้ร่วมกันกล่าวคำาขวัญเชิญชวนการดื่มนม ปี 2567 “สร้างความสุข เสริมภูมิคุ้มกัน ดื่มนมทุกวัน ดื่มได้ทุกวัย บริโภคนมได้หลากหลายเมนู” พร้อมยกนมดื่มพร้อมกัน เพื่อเป็นการ ประกาศเจตนารมณ์ในการส่งเสริมการดื่มนมให้กับประชาชนชาวไทย นอกจากนี้ ภายในงานยังได้จัดกิจกรรม นิทรรศการ และการออก ร้านเปิดบูธมากมาย อาทิ บูธและร้านค้าผลิตภัณฑ์นมในราคาพิเศษ, นิทรรศการดื่มนมโลก, Workshop สาธิตการแปรรูปผลิตภัณฑ์นม, Milk Talkโดย นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการด้านนม เป็นต้น วันดื่มนมโลก... ชวนคนไทยดื่มนม 25 ลิตรต่อคนต่อ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์


40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำากัด สหกรณ์โคนมดีเด่นแห่งชาติใช้ ระบบฐานข้อมูลโคนมสมาชิก (G-Dairy) เพิ่มผลผลิตและพัฒนาพันธุ์ โคนม ด้วยการรวบรวมข้อมูลแบบ Real-time วิเคราะห์และประเมิน ศักยภาพการผลิต จำาแนกปัญหาต่างๆ ของฟาร์มโคนม จนลดความ สูญเสียได้คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจได้กว่า 11.7 ล้านบาท สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำากัด อำาเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี จัดตั้งเมื่อ 26 มกราคม พ.ศ. 2533 สมาชิกแรกตั้ง 100 คน สมาชิก ปัจจุบัน 110 คนประธานกรรมการ นายสุทธินัย พันธุ์แก้ว ที่ทำาการ สหกรณ์เลขที่ 335 หมู่ที่ 5 ตำาบลท่าหลวง อำาเภอท่าหลวง จังหวัด ลพบุรีโทรศัพท์036 680 701, 087 900 1585 ผลงานดีเด่นความคิดริเริ่ม สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำากัด จัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก ด้วยวิธี การช่วยตนเองและช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โครงการและกิจกรรมที่ สหกรณ์ดำาเนินการมุ่งให้บริการสมาชิก โดยมุ่งเน้นในการพัฒนา ศักยภาพสมาชิกในการบริหารจัดการฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ ให้สามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึงและทันต่อความต้องการ เช่น โครงการระบบฐานข้อมูลโคนมสมาชิก (G - Dairy) เป็น โครงการที่นำาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการเลี้ยงโคนม เพื่อแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ ซึ่งได้คัดเลือกสหกรณ์ โคนมท่าหลวง จำากัด เป็นสหกรณ์นำาร่อง เพื่อเป็นต้นแบบไป เผยแพร่ให้กับสหกรณ์โคนมอื่น มีการนำาระบบฐานข้อมูล G - Dairy มาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มผลผลิตและพัฒนาสายพันธุ์โคนม ด้วยการ รวบรวมข้อมูลโคนมของสมาชิกทั้งหมดแบบ Real - Time นำาข้อมูล มาวิเคราะห์และประเมินศักยภาพ การผลิต จำาแนกปัญหาต่าง ๆ ที่ฟาร์มโคนมต้องเผชิญ แล้วส่งต่อข้อมูลเกษตรกรให้ผู้เกี่ยวข้อง ทั้งหมออาสา เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องในการให้บริการสมาชิก ส่งผลให้ประสิทธิภาพระบบสืบพันธุ์และผลผลิตโคนมของสมาชิกดีขึ้น มีช่วงห่างการคลอดลูกลดลง 39 วัน สามารถลดความสูญเสียจาก การมีช่วงห่างการคลอดลูกที่ยาวเกินไป คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ ได้ประมาณ 11.7 ล้านบาท คุณภาพนำ้านมของสหกรณ์ดีขึ้น ไม่ถูกตัดราคาเนื่องจากคุณภาพ นำ้านมตำ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน สุขภาพโคนมดีขึ้น การควบคุมและ ป้องกันโรคมีประสิทธิภาพ ไม่พบการระบาดของโรคปากและเท้าเปื่อย ในโคนมของเกษตรกรและสมาชิกมีการจัดการฟาร์มที่ดีขึ้น นอกจาก นี้สหกรณ์ยังมีโครงการให้บริการกับสมาชิกแบบครบวงจร โดยการ สหกรณ์โคนมท่าหลวง ใช้ระบบฐานข้อมูล G-Dairy เพิ่มผลผลิต


สัตว์เศรษฐกิจ 41 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ส่งเสริมให้สมาชิกปลูกพืชอาหารสัตว์ เพื่อลดต้นทุนส่งผลให้สมาชิก สามารถลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์เดือนละ 1,000 บาท และส่งเสริม ให้เกษตรกรมีการนำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มีความหลากหลายมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ สร้างโอกาสในการเพิ่มคุณภาพและผลตอบแทนจากผลผลิต การลด ต้นทุน รายได้เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืน ความสามารถในการบริหารและการจัดการสถาบัน สหกรณ์มีคณะกรรมการดำาเนินการ 9 คน มีเจ้าหน้าที่ 18 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน ที่ปรึกษา 1 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ สหกรณ์เข้ามาตรวจสอบการดำาเนินงานและรายงานผลการตรวจสอบ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน เพื่อป้องกันการดำาเนินงานนอก กรอบวัตถุประสงค์ที่อาจส่งผลต่อสหกรณ์ มีการดำาเนินธุรกิจเพื่อให้ บริการสมาชิก 6 ธุรกิจ สามารถตอบสนองความต้องการสมาชิกได้ ครอบคลุมความต้องการ ผลการดำาเนินงานมีกำาไร 5 ธุรกิจ สหกรณ์ ให้ความสำาคัญกับการศึกษาอบรมของสมาชิก ทั้งการอบรมถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ์แก่ สมาชิกเดิมและสมาชิก ใหม่ และการอบรมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพมากกว่า 4 หลักสูตร ต่อปีมีสมาชิกเข้ารับการอบรมครบทุกคน มีการให้การศึกษาอบรม เกี่ยวกับการบริหารงาน แก่ฝ่ายจัดการและคณะกรรมการปีละ 3 หลักสูตร มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของสหกรณ์ แก่ สมาชิกและบุคคลภายนอกได้รับรู้มากกว่า 7 ช่องทาง มีการร่วมมือ หรือเชื่อมโยงเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจกับหน่วยงาน และองค์กร ภาคเอกชนมากกว่า 12 หน่วยงาน โดยปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2565 มีปริมาณธุรกิจ 260,652,250.50 บาท กำาไรสุทธิ5,141,872.34 บาท จ่ายเงินปันผล ให้สมาชิก 1,034,132.34 บาท และจ่ายเงินเฉลี่ยคืน 1,476,303.13 บาท สหกรณ์ได้จัดและจ่ายสวัสดิการให้แก่สมาชิก ด้านการสงเคราะห์และด้านอื่น ๆ และมีผลการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในอยู่ในระดับดี3 ปีบัญชี บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสถาบัน สมาชิกของสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจในสิทธิหน้าที่ สหกรณ์ ส่งเสริมให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์ ทั้งการเข้าร่วมประชุมและการดำาเนินธุรกิจ ใช้กระบวนการกลุ่ม สมาชิกมาพัฒนาสหกรณ์ ให้ความสำาคัญกับการประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อรับฟังปัญหาและความต้องการของสมาชิกอย่างใกล้ชิดมีการ บริหารจัดการโดยการประชุมคณะอนุกรรมการและคณะทำางาน ต่าง ๆ เพื่อกลั่นกรองงานและโครงการต่างๆ ก่อนนำาเสนอคณะ กรรมการ มีการประชุมคณะกรรมการอย่างสมำ่าเสมอและเป็นประจำา ทุกเดือน ร้อยละ 100 เพื่อพิจารณากำาหนดแนวทางการบริหาร จัดการสหกรณ์ และพิจารณาแก้ปัญหาอุปสรรคในการดำาเนินงาน สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินธุรกิจกับสหกรณ์ ในปีล่าสุด ร้อยละ 100 มีมูลค่าธุรกิจที่สหกรณ์ทำากับสมาชิก ไม่รวมเงินรับฝาก ในปีล่าสุดร้อยละ 100 ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสถาบัน ผลการดำาเนินงาน 3 ปีสหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงิน ซึ่ง ประเมินตามเกณฑ์ของกรมตรวจบัญชี สหกรณ์อยู่ในระดับมั่นคงดีทั้ง 3 ปีมีอัตราส่วนทุนสำารองต่อ สินทรัพย์เฉลี่ย 0.14 เท่า อัตราการจัดสรรกำาไรสุทธิเป็นทุนสำารอง เฉลี่ยร้อยละ 29.42 อัตราการจัดสรรกำาไรสุทธิเป็นทุนสะสมอื่น เฉลี่ย ร้อยละ 7.63 และอัตราทุนภายในต่อสินทรัพย์ เฉลี่ยร้อยละ 60.18 ปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2565 สหกรณ์มีทุนดำาเนินงานทั้งสิ้น 42,228,613.44 บาท เป็นทุนภายใน ซึ่งประกอบด้วย ทุนเรือนหุ้น 23,833,860 บาท ทุนสำารอง 11,445,596.05 บาท และทุนสะสม ตามข้อบังคับ ระเบียบและอื่น ๆ 1,809,285.05 บาท แสดงให้เห็น ว่าสหกรณ์มีความมั่นคงและมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดี การทำากิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สหกรณ์เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม ทั้งทางด้านสาธารณประโยชน์และด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมครบถ้วนทุกด้านและต่อเนื่องทั้ง 3 ปี เข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุนงบประมาณด้วยการจัดสรรเงิน สวัสดิการของสหกรณ์ในการทำากิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย กิจกรรมด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม การแสดง ความจงรักภักดีเช่น การร่วมทอดกฐินและผ้าป่า ด้านการศึกษา กีฬา เช่น มอบทุนการศึกษา ทุนเรียนดีให้กับ บุตรสมาชิก ร่วมกิจกรรมงานวันเด็ก โดยการนำาผลิตภัณฑ์นม ขนม ไอครีมไปแจกในงานเป็นประจำาทุกปีด้านสาธารณสุข การช่วยเหลือ ป้องกัน บรรเทาภัยธรรมชาติเช่น ร่วมบริจาคผลิตภัณฑ์นม สิ่งของ นำ้าดื่มเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยในช่วงสถานการณ์นำ้าท่วม การจัดทำา ตู้ปันสุขช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID - 19 บริจาคผลิตภัณฑ์ นมให้โรงพยาบาล ร่วมบริจาคเงินช่วยเหลือเด็กชาวเขาตามโครงการ น้องน้อยบนดอยสูง ด้านการรักษาสภาพแวดล้อมแหล่งนำ้าและชุมชน เช่น การ บำาบัดนำ้าเสียในศูนย์รับนำ้านมดิบก่อนปล่อยออกสู่ธรรมชาติด้านการ บำาบัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การปลูก ป่าเฉลิมพระเกียรติการเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา ด้านการประหยัด นำากลับมาใช้ซำ้า การลดใช้สารเคมีและอื่น ๆ เช่น การคัดแยกขยะ และการใช้ปุ๋ยจากมูลโคแทนปุ๋ยเคมี


42 สัตว์เศรษฐกิจ นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานเปิดงาน THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้าอาหารและเครื่องดื่มที่ยิ่งใหญ่และครบ วงจรที่สุดแห่งเอเชีย เป็นเวทีสำาคัญของไทยในการสร้างพันธมิตร ระดับโลกและยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มไทยเพิ่ม GDP ประเทศ ให้เป็นศูนย์กลางทางด้านอาหาร โดยมี นายนภินทร ศรีสรรพางค์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เอกอัครราชทูตจาก ประเทศต่าง ๆ ประจำาประเทศไทย นายสนั่น อังอุบลกุล ประธาน กรรมการหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นาย เจอราล์ด ออสการ์ โบเซ่ ประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โคโลญเมสเซ่ ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วมด้วย นายภูมิธรรม กล่าวว่า จากจุดแข็งด้านเกษตรกรรมของไทย ซึ่งเป็นต้นน้ำาของการผลิตและภาคอุตสาหกรรม รวมถึงความสามารถ คิดค้นนวัตกรรมทางด้านอาหาร มาตรฐานความปลอดภัย และความ สามารถในการตอบสนองความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ตามนโยบาย ตลาดนำา นวัตกรรมเสริม เพิ่มรายได้ ของรัฐบาล อุตสาหกรรมอาหารถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีบทบาท สำาคัญต่อเศรษฐกิจไทย โดยในปี 2566 การส่งออกสินค้าอาหาร ขยายตัว 2.7% จากปีก่อนหน้า มูลค่ากว่า 39,000 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ หรือประมาณ 1.37 ล้านล้านบาท ซึ่งมีปัจจัยสนับสนุนจาก LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ความต้องการสินค้าอาหารในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ จีน (+25.9%) และอาเซียน (+21.5%) โดยประเทศไทยเป็น ผู้ส่งออกอาหารอันดับที่ 12 ของโลก ปรับตัวดีขึ้นจากอันดับที่ 15 ของโลกในปี 2565 สำาหรับปี 2567 คาดว่าการส่งออกสินค้าอาหาร ของไทยจะขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 2% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 40,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือกว่า 1.4 ล้านล้านบาท งาน THAIFEX - ANUGA ASIA ในครั้งนี้ เป็นการจัดงาน ครั้งที่ 32 ถือเป็นงานแสดงสินค้านานาชาติในประเทศ ที่ประสบ ความสำาเร็จอย่างสูง ได้รับความเชื่อถือจากทั้งผู้จัดแสดงและผู้เข้าชม งานทั่วทุกมุมโลก ในปีนี้มีผู้เข้าร่วมจัดแสดงสินค้ารวมกว่า 3,000 บริษัท มากกว่า 6,000 คูหา จากกว่า 50 ประเทศ และมีผู้เข้าชม งานจากกว่า 130 ประเทศ คาดการณ์ผู้เข้าชมงานมากกว่า 80,000 ราย เป็นโอกาสสำาคัญของผู้ประกอบการไทยโดยเฉพาะ SMEs และ กลุ่ม Startup รวมถึงผู้ประกอบการจากส่วนภูมิภาคที่จะมีโอกาส นำาเสนอสินค้าและบริการ พบปะกับผู้นำาเข้า/ผู้ซื้อที่มีศักยภาพจาก ต่างประเทศ “คาดว่างานนี้จะมีเม็ดเงินสะพัดประมาณ 100,000 ล้านบาท เป็นของผู้ประกอบการไทยประมาณ 60,000 ล้านบาท ถือว่าเป็น ยอดที่ดีในการจัดงาน 4-5 วัน เป็นงานที่กระทรวงพาณิชย์ภาคภูมิใจ และให้ความสำาคัญในการดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นเวทีที่ทำาให้ ผู้ค้ากับผู้นำาเข้าเจอกันโดยตรง นอกจากนี้ กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศจะใช้ร้านอาหารไทยในต่างประเทศที่ได้รับตรา Thai SELECT THAIFEX – ANUGA ASIA 2024 งานแสดงสินค้าอาหารระดับโลก


สัตว์เศรษฐกิจ 43 เป็นโชว์รูมสินค้าไทยโชว์ให้กับชาวต่างชาติ ช่วยเผยแพร่ซอฟต์ พาวเวอร์ไทย และยังมีแผนที่จะสร้างแบรนด์ประเทศไทย ให้เห็นว่า ประเทศไทยมีดี” นายภูมิธรรม กล่าว งานจัดขึ้นภายใต้คอนเซ็ปต์ Beyond Food Experience เป็น มากกว่างานแสดงสินค้าอาหารทั่วไป โดยสินค้าที่นำามาจัดแสดง ภายในงานแบ่งออกเป็น 11 โซนสินค้า ประกอบด้วย สินค้าอาหาร ทุกประเภท อาหารทะเล อาหารแช่แข็ง ข้าว ผักและผลไม้ ขนม ขบเคี้ยว เครื่องดื่ม ชาและกาแฟ เครื่องมือ/เครื่องใช้/อุปกรณ์ รวม ถึงบริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม นอกจากนี้ ยังมีโซนพิเศษสำาหรับจัดแสดงสินค้าในกลุ่มฮาลาล ออแกนิกส์ และอาหารแห่งอนาคต พร้อมกิจกรรมสัมมนา นิทรรศการ การเจรจาการค้า และการแข่งขันทำาอาหารต่าง ๆ มากมาย สำาหรับไฮไลต์ กิจกรรม และโซนพิเศษของงาน กิจกรรมพิเศษ o การแข่งขัน Thailand Ultimate Chef Challenge 2024 เพื่อค้นหาสุดยอดเชฟทั้งในระดับมืออาชีพและระดับเยาวชน ตาม มาตรฐานการแข่งขันระดับโลก และถือเป็นการแข่งขันที่ใหญ่ที่สุด ของประเทศ o กิจกรรมเสวนาให้ความรู้ และ กิจกรรมเปิดโลกการค้ากับ ทูตพาณิชย์ (Export Clinic) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านการค้าระหว่างประเทศให้กับผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมที่ต้องการเข้าสู่ ตลาดการค้าระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ กิจกรรม Future Food Experience+ กิจกรรมสัมมนา ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารแห่งอนาคต โดยผู้เชี่ยวชาญจากไทยและ ต่างประเทศ รวมถึงกิจกรรม ชิมเมนูอาหารแห่งอนาคต โซนพิเศษ โซนสินค้าพิเศษ ได้แก่ THAIFEX - ANUGA Halal Market, THAIFEX - ANUGA Organic Market และ THAIFEX - ANUGA Future Food Market จัดแสดงสินค้ากลุ่มฮาลาล ผลิต ภัณฑ์ออร์แกนิก และสินค้าอาหารแห่งอนาคต จากทั้งผู้ประกอบการ ไทยและต่างชาติ THAIFEX - ANUGA Startup จัดแสดงผลิตภัณฑ์ธุรกิจ สตาร์ตอัปอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มแก่ผู้ซื้อหรือผู้สนใจ เพื่อ สร้างโอกาสทางธุรกิจ THAIFEX - ANUGA Trend Zone นำาเสนอเทรนด์ล่าสุด ของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มที่น่าสนใจ THAIFEX - ANUGA tasteInnovation Show จัดแสดง ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมดีเด่นของผู้ประกอบการที่เข้า ร่วมงาน Thai SELECT Pavilion สำาหรับผู้ประกอบการไทยที่ได้ รับตราสัญลักษณ์ Thai SELECT ประกอบด้วย การจัดนิทรรศการ แสดงความเป็นมาของโครงการ Thai SELECT การจัดแสดงสินค้า และการสาธิตการทำาอาหารจากผลิตภัณฑ์ที่ได้รับตราฯ รวมถึงยังมี โซนคูหาผู้ประกอบการ เพื่อการเจรจาการค้า Thai Halal Pavilion คูหาผู้ประกอบการฮาลาลของไทย พร้อมจัดโซนนิทรรศการแสดงสินค้าอาหารฮาลาล และจัดกิจกรรม สาธิตการทำาอาหารฮาลาล นิทรรศการ DITP Service Center ให้บริการข้อมูล ให้คำาปรึกษาด้าน การค้าระหว่างประเทศ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของกรม ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศแก่ผู้ประกอบการไทย และผู้นำาเข้า ต่างประเทศ Food Arcade (Future Food) เพื่อประชาสัมพันธ์และ สร้างการรับรู้เกี่ยวกับอาหารแห่งอนาคตในสินค้าประเภทต่าง ๆ นิทรรศการส่งเสริมผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อสร้างการรับรู้ เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรไทย พร้อมทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์และ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์สมุนไพร Thailand: The Land of Tropical Fruits เพื่อส่งเสริม สินค้าผักผลไม้สด และแปรรูป ช่วยผลักดันการส่งออกสินค้าเกษตร เสริมสร้างโอกาสทางการค้าระหว่างประเทศ และส่งเสริมภาพลักษณ์ สินค้าผลไม้ไทย (Country Brand) Information Stand ของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น หอการค้าไทย กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สมาคมผู้ผลิตอาหารสำาเร็จรูป มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นต้น


44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คณะทูตนานาประเทศ คู่ค้า และผู้นำาหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน เยี่ยมชมและชื่นชอบบูธ ของ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมแสดง ในงาน THAIFEXANUGA ASIA 2024 แนวคิด ครัวของโลกด้วยนวัตกรรมความ ยั่งยืน หรือ “Kitchen of the world with Sustainovation” ด้าน นวัตกรรมอาหาร ตอบเทรนด์โลกทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพที่ดี รสชาติอร่อย พร้อมรับผิดชอบต่อสังคมและใส่ใจสิ่งแวดล้อม ส่งออก Soft Power อาหารไทยสู่ผู้บริโภคทั่วโลก คุณเอกปิยะ เอื้อวุฒิเกริก กรรมการผู้จัดการ CPFNW กล่าว ว่า บริษัทฯ ให้ความสำาคัญในการนำานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อตอบโจทย์ความพึงพอใจของผู้บริโภคและสังคมรอบด้าน มุ่งมั่น สร้างความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอย่าง ยั่งยืน พัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น เพื่อให้ได้มา ซึ่งอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ควบคู่กับความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม “แนวคิด “Kitchen of the world with Sustainovation” แสดงถึงภารกิจหลักในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารของ CPF สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ผู้บริโภคแต่ละประเทศพึงพอใจ ทั้งรสชาติและโภชนาการที่ดีขณะที่กระบวนการผลิต ใช้นวัตกรรม คู่ค้าทั่วโลกชื่นชอบ Soft Power อาหารไทย เยี่ยมชมบูธซีพีเอฟ งาน THAIFEX และเทคโนโลยีตามแนวทางการพัฒนาเกษตรและโรงงานอัจฉริยะ เพิ่มประสิทธิภาพและการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า เพิ่ม สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน จัดหาวัตถุดิบอย่างรับผิดชอบ ปราศจากการตัดไม้ทำาลายป่า และร่วมลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” คุณเอกปิยะ กล่าว ปีนี้CPF นำาผลิตภัณฑ์หลากหลายมาแสดง แบ่งเป็น 6 โซน ได้แก่ 1.) Space Safety Standard : มาตรฐานความปลอดภัย สูงสุดของเนื้อไก่สด CP 2.) Superior Taste Awards 2024 & Other World Standards : การันตีรสชาติความอร่อยระดับโลก 3.) Innovative Products : ไก่เบญจาและหมูชีวา แบรนด์ U Farm, เนื้อจากพืช Meat Zero 4.) Net-Zero : ผลิตภัณฑ์สีเขียว 5.) Export - โดยแบรนด์ Authentic Asia อาหารเอเชีย Thai Cube จาก Kitchen Joy ที่ประสบความสำาเร็จแถบประเทศ สแกนดิเนเวีย รวมถึงเกี๊ยวกุ้งที่พัฒนาให้มีความหลากหลาย สอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคในแต่ละท้องที่ อาทิ เกี๊ยวกุ้ง จักรพรรดิซุปหมาล่า 6.) Import : ผลิตภัณฑ์ HARVEY BEEF และ CP Uoriki


สัตว์เศรษฐกิจ 45 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ผลิตภัณฑ์ไฮไลท์ปีนี้คือ ‘ซีพีชิคเก้นพอคเก็ต ไส้กรอกและ ชีส’ ที่คว้ารางวัลสุดยอดนวัตกรรม ตอบโจทย์ผู้บริโภคที่รักสุขภาพ Low-carb, High Protein เป็นแซนด์วิชรูปแบบใหม่ ไร้ขนมปัง โดย ใช้เนื้อไก่ส่วนอกประกบด้วยชีสและไส้กรอกแทน การันตีความ ปลอดภัยด้วย Space Safety Standard หรือ มาตรฐานความ ปลอดภัยขั้นสุดระดับอวกาศ ซึ่งเป็นมาตรฐานตามหลักเกณฑ์ความ ปลอดภัยด้านอาหารขององค์การ NASA และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ เครื่องหมายรับรองฮาลาล กลุ่ม COOKING HELPER by CP ได้รับตราสัญลักษณ์ Thai SELECT ได้แก่ ซอสปรุงรส สามเกลอ น้ำาจิ้มสุกี้ชาบูหมู กระทะ น้ำาจิ้มแจ่วอีสาน น้ำาจิ้มซีฟู้ดส์ และสังขยาใบเตย โดย ก.พาณิชย์ มอบให้ผลิตภัณฑ์อาหารไทยสำาเร็จรูปที่มีรสชาติไทยแท้ ใช้วัตถุดิบจากแหล่งท้องถิ่นเกิน 80% ผ่านกระบวนการผลิตและ ขั้นตอนของการปรุงอาหารมาตรฐานระดับสากล ผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ดำาเนินการได้เป็นรายแรกของภูมิภาค เอเชีย คือ ‘ไข่สดปลอดสาร Cage Free’ แบรนด์ U FARM’ ได้ รับคัดเลือกเป็นผลิตภัณฑ์แนะนำา “อาหารช่วยลดโลกร้อน” ได้รับ ฉลาก “คาร์บอนนิวทรัล” (Carbon Neutral Product) ปลอดคาร์บอน จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. และบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ใช้วัสดุรีไซเคิล 100% โดยตั้งแต่วันเปิดงาน นวัตกรรมอาหารที่จัดแสดงทั้ง 6 โซน ได้สร้างความประทับใจให้กับรัฐมนตรีผู้บริหารจากหน่วยงานรัฐ และ ลูกค้าจากทั่วโลกที่มาเยี่ยมชมบูธตั้งแต่วันเปิดงาน ทั้ง นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์นายสนั่น อังอุบลกุล ประธานกรรมการหอการค้าไทยและ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ดร.วิศิษฐ์ ลิ้มลือชา รองประธาน กรรมการ หอการค้าไทย และประธานคณะกรรมการอาหารแปรรูป และอาหารแห่งอนาคต รวมทั้งผู้บริหารในเครือฯ นางมาริษา เจียรวนนท์ ผู้ก่อตั้งและประธานโครงการเชฟแคร์ส นายธนิศร์ เจียรวนนท์ประธานคณะผู้บริหาร ธุรกิจค้าส่งแม็คโคร ประเทศไทย เป็นต้น นอกจากนี้บูธซีพีเอฟได้รับเสียงตอบรับที่ดีและเป็นที่ชื่นชอบ ของผู้เข้าร่วมงานทั้งคู่ค้า และคณะทูตนานาชาติจากหลายประเทศ ได้แก่ นายฌ็อง-โกลด ปวงเบิฟ (Jean-Claude Poimboeuf) เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำาประเทศไทย นายปาร์ค ยงมิน (Park Yongmin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเกาหลีประจำาประเทศไทย นายกุสตาโบ อัลแบร์โต มาร์ติโน (Gustavo Alberto Martino) เอกอัครราชทูตอาร์เจนตินา ประจำาประเทศไทย นายอาร์ตูร์ ดมอฮอฟสกี(Artur Dmochowski) เอกอัครราชทูตโปแลนด์ประจำา ประเทศไทย นายเปาโล ดีโอนีซี(Paolo Dionisi) เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิตาลีประจำาประเทศไทย นายโจนาธาน เดล คิงส์ (HE. Mr. Jonathan Dale Kings) เอกอัครราชทูตนิวซีแลนด์ประจำา ประเทศไทย นายเดวิด แฮนเซ็น (David Hansen) อุปทูตฯ สถาน เอกอัครราชทูตชิลีประจำาประเทศไทย พร้อมด้วยท่านทูตพาณิชย์จาก สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำาประเทศไทย และสถาน เอกอัครราชทูตสิงคโปร์ประจำาประเทศไทย เข้าเยี่ยมชมบูธเพื่อร่วม หารือโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ทั้งการส่งออกอาหารไทยไปทั่วโลก และนำาเข้าผลิตภัณฑ์รสชาติอร่อยจากนานาประเทศ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า อรมน ทรัพย์ทวีธรรม กล่าว ว่า “นวัตกรรมอาหารของซีพีเอฟ มีความน่าสนใจ ด้วยการเป็น Superfood ที่คัดสรรมาอย่างดีตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า รวมถึงมีบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้รับตราสัญลักษณ์ ไทยซีเล็คซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่กระทรวงพานิชย์มอบให้กับผลิตภัณฑ์ อาหารที่จะสามารถช่วยส่งเสริมชื่อเสียงให้กับประเทศ และเป็นที่ ยอมรับในตลาดโลก” บูธซีพีเอฟ ให้ความสำาคัญกับการนำานวัตกรรมและเทคโนโลยี ทันสมัย ผลิตอาหารได้มาตรฐาน มีคุณภาพ รสชาติอร่อย และหลาก หลายเมนูตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคที่ใส่ใจถึงสุขภาพ และ ความยั่งยืนมากขึ้น โดยมีผลิตภัณฑ์อาหารโดดเด่นหลากหลาย นำาโดย ผลิตภัณฑ์ไก่ซีพีมาตรฐานระดับอวกาศ Space Safety Standard ซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ความปลอดภัยด้านอาหารของ องค์การ NASA รวมถึงสินค้า Thai Cube จากแบรนด์Kitchen Joy สินค้าแบรนด์ CP Authentic Asia ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจ ของซีพีเอฟ ในการโปรโมตสินค้าอาหารไทย และอาหารเอเชีย สู่ผู้บริโภคทั่วโลก


46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “นภินทร” เผยกรมทรัพย์สินทางปัญญา นำาสินค้า GI จำานวน 24 รายการ เข้าร่วมงาน THAIFEX-Anuga Asia 2024 ช่วยช่วย โอกาสทางการตลาดและเปิดตัวสู่ตลาดโลก ส่วนปีนี้ ตั้งเป้าขึ้น ทะเบียนให้ได้ 211 รายการ หลังล่าสุดทำาได้แล้ว 203 รายการ สร้างมูลค่าการตลาดรวม 7 หมื่นล้านบาท ระบุยังมีแผนควบคุม คุณภาพ ช่วยขยายตลาดทั้งในและต่างประเทศอีกเพียบ นายนภินทร ศรีสรรพางค์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง พาณิชย์เปิดเผยว่า กระทรวงพาณิชย์โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้นำาสินค้าที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(GI) จำานวน 24 รายการ ผู้ประกอบการ 28 ราย จาก 21 จังหวัดทั่วประเทศไทย เข้าร่วมจัดแสดงในงาน THAIFEX-Anuga Asia 2024 ที่ศูนย์แสดง สินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานีระหว่างวันที่ 28 พ.ค.- 1 มิ.ย.2567 เพื่อสร้างโอกาสในการขยายตลาดส่งออกให้กับ ผู้ประกอบการชุมชน เพราะในงานนี้จะมีผู้ซื้อ ผู้นำาเข้าจากทั่วโลก เดินทางมาร่วมชมงานและเจรจาธุรกิจ มั่นใจว่าสินค้า GI ที่เป็น ของดีท้องถิ่น จะเปิดตัวออกสู่ตลาดต่างประเทศได้เพิ่มมากขึ้น สำาหรับสินค้าทั้ง 24 รายการ ได้แก่ 1.ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง 2.ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้จ.ร้อยเอ็ด และจ.สุรินทร์3.ข้าวหอม มะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ 4.กาแฟดอยตุง จ.เชียงราย 5.กาแฟ เทพเสด็จ จ.เชียงใหม่ 6.ชาเชียงราย 7.กล้วยตากบางกระทุ่ม พิษณุโลก 8.กล้วยหอมทองพบพระ จ.ตาก 9.ส้มโอทับทิมสยาม ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 10.ส้มโอนครชัยศรีจ.นครปฐม 11.เนื้อ โคขุนโพนยางคำา จ.สกลนคร 12.ปลากุเลาเค็มตากใบ จ.นราธิวาส 13.ปลากะพงสามน้ำาทะเลสาบสงขลา 14.มะพร้าวน้ำาหอมบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร 15.มะพร้าวน้ำาหอมราชบุรี 16.พริกไทยตรัง 17.กระท้อนตะลุง จ.ลพบุรี18.ทุเรียนหลงลับแลอุตรดิตถ์19.สับปะรด ภูแลเชียงราย 20.มะขามหวานเพชรบูรณ์21.อะโวคาโดตาก 22.ไวน์ เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา 23.ไชโป้วโพธาราม จ.ราชบุรี และ 24.ข้าวแต๋นลำาปาง ทั้งนี้ ในปัจจุบันกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้ผลักดันให้มีการ ขึ้นทะเบียน GI ได้แล้ว 203 รายการ สร้างมูลค่าการตลาดรวม 70,000 ล้านบาท และในปี2567 ตั้งเป้าขึ้นทะเบียนสินค้า GI เพิ่ม เป็น 211 รายการ คาดว่าจะสร้างมูลค่ากว่า 76,000 ล้านบาท และ ยังส่งเสริมการขึ้นทะเบียนสินค้า GI ไทยในตลาดต่างประเทศ ซึ่ง ปัจจุบัน ได้ขึ้นทะเบียนสินค้า GI ไทย ในต่างประเทศแล้ว 8 รายการ ขณะเดียวกัน ได้ส่งเสริมการจัดทำาระบบควบคุมคุณภาพและ มาตรฐานผ่านการอนุญาตให้ใช้ตราสัญลักษณ์ GI ไทย สร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค และเป็นเครื่องมือในการในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับสินค้า ซึ่งปัจจุบันมีสินค้า GI ที่มีระบบควบคุมคุณภาพแล้ว จำานวน 165 สินค้า และยังมีแผนส่งเสริมการตลาดสินค้า GI ไทย ทั้งในและต่างประเทศ เช่น การขยายช่องทางการตลาดผ่านห้างสรรพ สินค้าชั้นนำา การจัด GI Pavilion ในงาน THAIFEX-Anuga Asia เพื่อสร้างโอกาสทางการค้าในตลาดโลก การขยายช่องทางจัดจำาหน่าย ออนไลน์ ขายสินค้า GI บนแพลตฟอร์ม Shopee Lazada การ ผลักดันให้เกิดการจัดทำาสัญญาซื้อขายสินค้า GI ล่วงหน้า (Contract Farming) การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน การยกระดับสินค้า GI ผ่านเมนู อาหารจากเชฟระดับมิชลิน ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักในแวดวงกูรู ด้านอาหารระดับประเทศ และผลักดันการนำาพื้นที่แหล่งผลิตสินค้า GI เป็นเส้นทางท่องเที่ยว โดยการร่วมมือกับกระทรวงท่องเที่ยวและ การกีฬา องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (อพท.) เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้ผลักดันสินค้า GI สู่ร้าน Thai SELECT ใน ต่างประเทศ โดยมีแผนที่จะขยายเครือข่ายสู่ร้านอาหารไทยที่เป็นร้าน Thai SELECT ที่มีกว่า 1,500 แห่งทั่วโลก ซึ่งเป็นการสร้างกระแส ในการใช้วัตถุดิบสินค้า GI มารังสรรค์เมนูสร้างการรับรู้แก่ผู้บริโภค ผลักดันให้สินค้า GI ไทย ที่เป็นสุดยอดวัตถุดิบอาหารและเป็นสินค้า ที่มีStory Telling อันจะช่วยยกระดับอาหารไทยให้ได้รับความนิยม และกระตุ้นการบริโภคสินค้า GI ไทย “พาณิชย์”นำาสินค้า GI โชว์งาน THAIFEX ช่วยเปิดตัวสู่ตลาดโลก


สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) หรือ “BTG” ตอกย้ำ�ก�ร เป็นผู้นำ�ธุรกิจอ�ห�ร ชูแนวคิด “Smart Solutions for Sustainable life” ในง�น THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 โดยยกทัพนำ�ผลิตภัณฑ์ อ�ห�รคุณภ�พสูงและหล�กหล�ยภ�ยใต้แบรนด์ Betagro, S-Pure, Itoham และผลิตภัณฑ์โปรตีนท�งเลือก (Alternative Protein) แบรนด์ Meatly! ม�จัดแสดง พร้อมนำ�เสนอโซลูชันครบวงจรสำ�หรับ ผู้ประกอบก�รด้�นอ�ห�รที่ครอบคลุมตั้งแต่ก�รให้คำ�แนะนำ�ด้�นก�ร บริห�รจัดก�ร ก�รดำ�เนินธุรกิจอย่�งมีประสิทธิภ�พ เพื่อเพิ่มขีด คว�มส�ม�รถ สร้�งโอก�สก�รต่อยอดธุรกิจ และเติบโตไปด้วยกัน อย่�งยั่งยืน สำ�หรับบรรย�ก�ศและกิจกรรมภ�ยในง�น “THAIFEX-ANUGA ASIA 2024” ง�นแสดงสินค้�อ�ห�รและเครื่องดื่มที่ใหญ่และครบ วงจรที่สุดในภูมิภ�คเอเชีย ณ อิมแพ็ค เมืองทองธ�นี “เบท�โกร” โชว์ศักยภ�พบริษัทอ�ห�รครบวงจรชั้นนำ�ของไทย เริ่มด้วย “นายวสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เบทาโกร จำากัด (มหาชน) นำาทีมผู้บริหาร “ดร.โอลิเวอร์ ก็อตชัลล์” ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ การ กลุ่มธุรกิจอาหาร และ “นายไตรรัตน์ ทองปลอด” ประธาน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโปรตีน ร่วมเปิดง�นและต้อนรับคู่ค้� เบทาโกร” ชูแนวคิด “Smart Solutions for Sustainable life” ในงาน THAIFEX 2024 ท�งธุรกิจที่เข้�เยี่ยมชมบูธ ในก�รนี้ “นายภูมิธรรม เวชยชัย” รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พร้อมด้วย “นายสุชาติ ชมกลิ่น” รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ “นายสนั่น อังอุบลกุล” ประธานกรรมการหอการค้าไทย และ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ตลอดจนคณะผู้บริห�รจ�กกระทรวง พ�ณิชย์ เยี่ยมชมบูธเบท�โกร โดยในปีนี้ เบท�โกรเดินหน้�ตอกย้ำ�แนวคิด “Smart Solutions for Sustainable life” นำ�เสนอผ่�น 5 โซน ที่เริ่มต้นจ�ก “โซนที่ 1 Smart & Sustainable Solutions for Life” นำ� เสนอนวัตกรรมเพื่อคว�มยั่งยืนของเบท�โกร ที่มุ่งมั่นเพิ่มคุณค่�ชีวิต ของทุกคน ด้วยอ�ห�รที่ดีกว่� สะท้อนผ่�นก�รผลิตอ�ห�รด้วย ม�ตรฐ�นและคว�มปลอดภัยขั้นสูงสุด ที่สำ�คัญม�พร้อมคุณภ�พและ คว�มอร่อยที่เหนือกว่� ร�ค�ที่เป็นธรรม ตลอดจนก�รผลิตอย่�ง ยั่งยืน ต�มม�ด้วย “โซนที่ 2 Smart Experiences by Betagro Food Retail” นำ�เสนอนวัตกรรมเพื่อยกระดับก�รแข่งขันสำ�หรับธุรกิจค้�ปลีก “โซนที่ 3 Smart Global Food Solutions by Betagro Food Export” ที่ม�พร้อมกับหล�กหล�ยผลิตภัณฑ์อ�ห�รส่งออก คุณภ�พจ�กเบท�โกรเพื่อสุขภ�พที่ดีอย่�งยั่งยืน


48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “โซนที่ 4 Smart Business Partnership Through Betagro CRM” ที่นำ�เสนอคว�มสำ�เร็จจ�กเจ้�ของแบรนด์ที่เติบโตไปด้วยกัน อย่�งยั่งยืน ไม่ว่�จะเป็น แดรี่โฮม, โอ้กะจู๋, Kinn’s The Buta, ขนมบ้�นโกไข่, ปั้น คำ� หอม และ บังเล�ะห์ ไก่ทอดเดช� สุดท้�ย “โซนที่ 5 Smart Innovations with Betagro Food Service” ที่ม�พร้อมกับนวัตกรรมและสินค้�ใหม่ ๆ เพื่อผู้ประกอบ ก�รด้�นอ�ห�ร และไฮไลท์ในง�นนี้ได้เปิดตัว “La Comida” แบรนด์ผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์พร้อมท�นสไตล์ยุโรป อีกทั้งยังมีก�รแลกเปลี่ยนประสบก�รณ์ จ�กพันธมิตรท�งธุรกิจ อย่�ง “โก โฮลเซลล์ (GO Wholesale)” ศูนย์ค้�ส่งวัตถุดิบอ�ห�รเพื่อผู้ประกอบก�ร ที่มี “นายริคาร์โด้ โบอารอตโต้” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธุรกิจเซ็นทรัล ฟู้ด โฮลเซล ประเทศไทย ม�ร่วมพูดคุย และมี “นางสุชาดา อิทธิจารุกุล” ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจในประเทศไทยและต่างประเทศ บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด โฮลเซล จำากัด ม�ร่วมให้กำ�ลังใจอีกด้วย ไม่เพียงเท่�นี้ ยังมี Kerry Cool ผู้ให้บริก�รขนส่งสินค้�ควบคุม อุณหภูมิม�แนะนำ�ให้แบบจัดเต็ม “ส่งเย็น ส่งไว ทั่วไทย” โดยมี “น�ยชยธร แต้ไพสิฐพงษ์” ประธ�นเจ้�หน้�ที่กลุ่มง�นกลยุทธ์และ นวัตกรรม เบท�โกร และ “น�ยวร�วุธ น�ถประดิษฐ์” รองประธ�น เจ้�หน้�ที่บริห�ร บริษัท เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำ�กัด (มห�ชน) ให้เกียรติร่วมต้อนรับผู้เข้�ชมง�น และภ�ยในง�น THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 เบท�โกร รับร�งวัล “THAIFEX - Anuga Taste Innovation Show 2024” จ�กเมนู “แกงเขียวหว�นเนื้อชิ้นจ�กพืชพร้อมท�น แบรนด์ Meatly!” และคว้� “ตร�สัญลักษณ์ Thai Select ประจำ�ปี 2567” จ�กผลิตภัณฑ์ อ�ห�รพร้อมท�นภ�ยใต้แบรนด์ “Betagro” และ “Meatly!” จำ�นวน 12 ร�ยก�ร อ�ทิ ข้�วแกงมัสมั่นไก่ ข้�วแกงเขียวหว�นไก่ ไก่สะเต๊ะ หลนเต้�เจี้ยวหมูสับจ�กพืช น้ำ�พริกลงเรือหมูสับจ�กพืช เป็นต้น ก�รันตีรสช�ติอ�ห�รยอดเยี่ยมที่ได้ม�ตรฐ�นอ�ห�รไทยอย่�งแท้จริง ทั้งนี้ ภ�ยในบูธเบท�โกร มีผู้ประกอบก�รทั้งในประเทศไทย และต่�งประเทศ ร่วมเยี่ยมชมนวัตกรรมใหม่และผลิตภัณฑ์อ�ห�ร ก�รเจรจ�ท�งก�รค้� และโอก�สก�รขย�ยธุรกิจสู่ก�รเติบโตอย่�ง คับคั่ง โดยมีทีมก�รจัดก�รลูกค้�สัมพันธ์ให้คำ�ปรึกษ�ตลอดง�นอีกด้วย ดร.โอลิเวอร์ ก็อตชัลล์ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่ม ธุรกิจอาหาร เบทาโกร เปิดเผยว่� จ�กแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2567 ที่ค�ดว่�จะขย�ยตัว 2.2 - 3.2% รวมถึงพฤติกรรม ผู้บริโภคให้คว�มสำ�คัญกับก�รดูแลสุขภ�พก�ยและจิตใจ เลือกอ�ห�ร ที่มีคุณภ�พ ปลอดภัยสูง จ�กแหล่งผลิตที่ตรวจสอบย้อนกลับได้ ทั้งยังตระหนักถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อก�รบริโภคที่ยั่งยืน เบท�โกรจึงเดินหน้�ว�งกลยุทธ์ขับเคลื่อนธุรกิจอ�ห�รเพื่อก�รเติบโต ต่อเนื่อง ด้วยก�รมุ่งคิดค้น วิจัยและพัฒน�ผลิตภัณฑ์อ�ห�รใหม่ ๆ เพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ที่มีคว�มหล�กหล�ยทั้ง ในและต่�งประเทศ ภ�ยใต้แบรนด์ Betagro, S-Pure และ Itoham และผลิตภัณฑ์โปรตีนท�งเลือก (Alternative Protein) ซึ่งเป็น นวัตกรรมอ�ห�รแห่งอน�คตจ�กแบรนด์ Meatly! โดยในปีนี้ ผลิตภัณฑ์อ�ห�รเบท�โกรได้รับ 3 ร�งวัลใหญ่ ได้แก่ 1) ร�งวัล Superior Taste Award 2024 โดย “ไข่ไก่สดแช่เย็น เอสเพียว (S-Pure Chilled Eggs)” ได้รับร�งวัลในระดับ 3 ด�ว และ “ข้�วมันกะทิขมิ้นแกงเขียวหว�นไก่ Betagro” ได้รับร�งวัลใน ระดับ 2 ด�ว 2) ร�งวัลนวัตกรรมอ�ห�ร THAIFEX - Anuga Taste Innovation Show 2024 จ�กเมนู “แกงเขียวหว�นเนื้อชิ้น จ�กพืชพร้อมท�น” แบรนด์ Meatly! และ 3) อ�ห�รพร้อมท�น ภ�ยใต้แบรนด์ “Betagro” และ “Meatly!” จำ�นวน 12 เมนูคว้� “ตร�สัญลักษณ์ Thai Select ประจำ�ปี 2567” อ�ทิ ข้�วแกงมัสมั่น ไก่ ข้�วแกงเขียวหว�นไก่ ไก่สะเต๊ะ หลนเต้�เจี้ยวหมูสับจ�กพืช น้ำ�พริกลงเรือหมูสับจ�กพืช เป็นต้น ซึ่งก�รันตีรสช�ติอ�ห�ร ยอดเยี่ยมที่ได้ม�ตรฐ�นอ�ห�รไทยอย่�งแท้จริง ขณะเดียวกัน ยังมุ่งสร้�งก�รรับรู้แบรนด์ ผลิตภัณฑ์อ�ห�ร และบริก�รต่�ง ๆ ผ่�น THAIFEX-ANUGA ASIA 2024 โดยใน ปีนี้ เบท�โกร โชว์ศักยภ�พผู้นำ�นวัตกรรมอ�ห�รคุณภ�พชั้นนำ�ระดับ ส�กล โดยส่งสินค้�เรือธงแบรนด์ “S-Pure” ผู้นำ�ตล�ดอ�ห�รซุปเปอร์ พรีเมียม เนื้อหมู ไก่ ไข่ ที่ผ่�นกระบวนก�รเลี้ยงแบบธรรมช�ติ 100% (100% Natural Pure Product) แบรนด์แรกและหนึ่งเดียว ของไทยที่ได้รับก�รรับรอง “ก�รเลี้ยงที่ไม่มีย�ปฏิชีวนะ (Raised Without Antibiotics - RWA)” จ�ก NSF สหรัฐอเมริก� ทั้ง 3 ผลิตภัณฑ์ และที่สำ�คัญยังเลี้ยงด้วยธัญพืชและวิต�มินที่มีประโยชน์


สัตว์เศรษฐกิจ 49 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ มอบโภชน�ก�รเหม�ะสมต�มแต่ละช่วงวัย เสริมด้วยจุลินทรีย์ที่มี ประโยชน์ Probiotic และ Prebiotic หรือที่เรียกรวมกันว่� Synbiotic ช่วยให้ระบบก�รย่อยอ�ห�รและก�รดูดซึมของสัตว์ดีขึ้น ทำ�ให้หมูและไก่ S-Pure แข็งแรงไม่เจ็บป่วยง่�ย เป็นผลิตภัณฑ์ที่ เลี้ยงด้วยม�ตรฐ�นที่ดีที่สุดจ�กฟ�ร์ม เพื่อจ�นอ�ห�รระดับโลก และด้วยไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคใหม่ เบท�โกรยังได้เดินหน้� พัฒน�สินค้�ที่ตอบโจทย์คว�มต้องก�รและรูปแบบก�รบริโภคที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่�งต่อเนื่อง อย่�ง S-Pure Portion Pack ที่ม� ในรูปแบบถ�ดแบ่งบรรจุ สะอ�ด สะดวกใช้ ช่วยประหยัดเวล�และ พื้นที่ในก�รจัดเก็บ ส�ม�รถตัดแบ่งใช้ได้ทีละส่วนเหม�ะสำ�หรับ หนึ่งมื้อ เพื่อคงคว�มสดและปลอดเชื้อ และหมูบดปรุงรสแบบหลอด ที่ใช้ง่�ยสะดวกสบ�ย รวมถึงสินค้�ในกลุ่มอ�ห�รพร้อมท�น กลุ่ม ไส้กรอกตอบโจทย์ก�รใช้ชีวิตที่เร่งรีบ พร้อมชูจุดเด่นบรรจุภัณฑ์เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งบรรจุภัณฑ์ถ�ดกระด�ษ (Paper Tray) ที่ ส�ม�รถลดก�รใช้พล�สติกได้ถึง 80% และบรรจุภัณฑ์แบบ mono material ที่ส�ม�รถย่อยสล�ย ดร.โอลิเวอร์ กล่�วเพิ่มเติมว่� สำ�หรับไฮไลท์ในง�นนี้ เบท�โกรยังได้เปิดตัว “La Comida” แบรนด์ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์พร้อม ท�นสไตล์ยุโรป “ช�ร์กูว์ทรี (Charcuterie)” ซึ่งผลิตจ�กเนื้อหมู S-Pure ที่นำ�ม�บรรจงตัดแต่งเนื้ออย่�งประณีต และผ่�นกรรมวิธี ถนอมอ�ห�รให้พร้อมท�นในแบบของช�วยุโรป ทั้งก�รหมักเกลือ และเครื่องเทศ ก�รบ่มและรมควัน หรือก�รปรุงสุกผ่�นคว�มร้อน ชูจุดเด่นคุณภ�พระดับพรีเมียมที่เหนือกว่� ในร�ค�ที่สมเหตุสมผล เหม�ะสำ�หรับผู้ประกอบก�รอ�ห�ร นำ�ไปเสิร์ฟ หรือประกอบอ�ห�ร ในเมนูต่�ง ๆ นอกจ�กนี้ เบท�โกรอยู่ในช่วงพัฒน�ร้�น La Comida Deli Shop เพื่อจำ�หน่�ยสินค้� La Comida ช�ร์กูว์ทรี ชีส และ สินค้�นำ�เข้�มุ่งตอบโจทย์กลุ่มลูกค้�ที่ชื่นชอบอ�ห�รสไตล์ยุโรป พร้อม มอบประสบก�รณ์อ�ห�รรูปแบบใหม่สำ�หรับคนไทย ซึ่งค�ดว่�จะ เปิดตัวภ�ยในปีนี้ ไม่เพียงเท่�นี้ เบท�โกร ยังเร่งขย�ยตล�ดภ�ยในประเทศผ่�น กลุ่มผู้ประกอบก�ร Food Service ด้วยก�รร่วมมือกับพันธมิตร และผู้ให้บริก�รด้�นอ�ห�ร ครอบคลุมโรงแรม ร้�นอ�ห�ร ค�เฟ่ โรงเรียนสอนประกอบอ�ห�ร ส�ยก�รบิน โดยนำ�คว�มเชี่ยวช�ญ ของเบท�โกร ทั้งในด้�นผลิตภัณฑ์อ�ห�รคุณภ�พและปลอดภัยสูง ก�รให้คำ�แนะนำ�ด้�นก�รบริห�รจัดก�ร ก�รดำ�เนินธุรกิจอย่�งมี ประสิทธิภ�พ เพื่อเพิ่มขีดคว�มส�ม�รถ สร้�งโอก�สก�รต่อยอดธุรกิจ และเติบโตไปด้วยกันอย่�งยั่งยืน ทั้งยัง พร้อมเดินหน้�ขย�ยตล�ดไปยังต่�งประเทศด้วย ผลิตภัณฑ์แบรนด์ S-Pure และ Betagro หลังจ�กที่ประสบคว�ม สำ�เร็จในก�รเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์เนื้อไก่แช่เย็นร�ยแรกจ�ก ประเทศไทย สู่ประเทศสิงคโปร์ ภ�ยใต้แบรนด์ S-Pure ซึ่งได้รับก�ร ตอบรับและเติบโตต่อเนื่อง และยังนำ�ผลิตภัณฑ์อ�ห�รพร้อมท�น แบรนด์ Betagro อ�ทิ ไก่ปรุงสุก หมูปรุงสุก ว�งจำ�หน่�ยทั้งใน Supermarket และ Convenience store รวมถึงก�รนำ�ผลิตภัณฑ์ อ�ห�รพร้อมท�นภ�ยใต้แบรนด์ Betagro ว�งจำ�หน่�ยใน 7-11 ฮ่องกง และมีแผนที่จะขย�ยไปอีกหล�ยประเทศ เพื่อเปิดประตูให้ ผู้บริโภคต่�งประเทศได้เข้�ถึงอ�ห�รไทย รสช�ติไทย นอกจ�กนี้ยัง เน้นร่วมมือกับพันธมิตรธุรกิจในก�รเป็นผู้จัดห� (Supply) ผลิตภัณฑ์ อ�ห�รเข้�สู่ Food & Restaurant Chain เพื่อก�รขย�ยตัวอย่�ง รวดเร็วทั่วทุกภูมิภ�คอีกด้วย “เบทาโกร มุ่งนำาเสนอนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพทั้ง ในและต่างประเทศ พร้อมยกระดับการให้บริการผู้ประกอบการอาหาร ที่ดียิ่งขึ้นแบบครบวงจร ตอกย้ำาความมุ่งมั่นของกลุ่มธุรกิจอาหารใน การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของความสำาเร็จในธุรกิจของคู่ค้า และด้วยแผน ธุรกิจที่วางไว้เชื่อว่ากลุ่มธุรกิจอาหารเบทาโกรจะเติบโตได้อย่าง แข็งแกร่ง” ดร.โอลิเวอร์ กล่�วทิ้งท้�ย


50 สัตว์เศรษฐกิจ งาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย ประจำาปี2567 (AGRITECHNICA ASIA และ HORTI ASIA 2024) จัดขึ้นโดย สมาคมเกษตรกรรมเยอรมัน (DLG - The German Agricultural Society) และ บริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค จำากัด (VNU Asia Pacific Co. Ltd.) โดยมีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นเจ้าภาพ ร่วม ถือเป็นเวทีเพื่อการเรียกร้องอย่างเร่งด่วนในการแก้ไขวิกฤติที่ กำาลังทวีความรุนแรงขึ้นในอุตสาหกรรมการเกษตรและทั่วโลก ภาวะ โลกร้อน มลพิษจากการเผาไม้ในที่โล่ง และการขาดแคลนอาหาร ไม่ใช่ภัยคุกคามที่ห่างไกลอีกต่อไป แต่เป็นความจริงที่ส่งผลกระทบ ต่อผู้คนนับล้าน ศูนย์รวมแห่งแนวทางการแก้ไขปัญหา สำาหรับงาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย ถือเป็น เวทีสำาคัญที่รวบรวมผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตร รวมถึงเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านี้ งานนี้ไม่ได้มีเพียงเวทีเพื่อ การนำาเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรที่ทันสมัย หรือ เวทีสำาหรับการเจรจาธุรกิจสำาหรับผู้ผลิตเพื่อการเกษตรจากทั่วโลก กับผู้ประกอบการภาคเกษตรในเอเชียเท่านั้น แต่ยังเน้นการส่งเสริม ความร่วมมือเพื่อผลักดันการปฏิบัติที่ยั่งยืนและการแก้ปัญหาที่ ครอบคลุม เพราะการแก้ปัญหาเหล่านี้ต้องการความร่วมมืออย่างเต็ม ที่จากพลเมืองทั่วโลกในการร่วมมือกันเพื่อสร้างอนาคตที่ดีที่ยั่งยืน สำาหรับธุรกิจการเกษตรและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และนวัตกรรมล่าสุด สามารถพบกับการเปิดตัวเทคโนโลยีและนวัตกรรมล่าสุดจาก ผู้แสดงสินค้ามากกว่า 320 ราย รวมถึงผู้ผลิตทางการเกษตร LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE และพืชสวนชั้นนำาของโลก เช่น แบรนด์ เนต้าฟิม (Netafim), คลาสมาน-เดลมันน์ (Klasmann-Deilmann), ดูมเมน ออ-เร้นจ์ (Dummen Orange), จอน เดียร์(John Deere), มาฮินทรา แอนด์ มาฮินทรา (Mahindra & Mahindra), แอ๊คโค่ (AGCO), ซีเอ็นเอช - นิว ฮอลแลนด์ (CNH - New Holland) และคลาส (CLAAS) โดยบริษัทเหล่านี้จะนำาเสนอเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความยั่งยืนในการเกษตร การแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะผู้จัดงานฯ และกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ในการจัดเวทีเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ ด้านการเกษตรระดับโลกให้กับเกษตรกรไทยกว่า 1,000 คน ผ่าน การนำาชมงานเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และประสบการณ์ที่มีค่า รวมถึงแนวทางการปฏิบัติโดยการนำานวัตกรรมไปประยุกต์ใช้เพื่อ ปรับปรุงเทคนิคการทำาฟาร์มให้เหมาะสมกับพื้นที่ในท้องถิ่น คำากล่าวจากผู้จัดงานและผู้สนับสนุน ศาสตราจารย์ ดร. สัตวแพทย์หญิง แคทารีน่า รีห์น (Prof. Dr. Med. Vet. Katharina Riehn) รองประธานและประธาน กรรมการ สมาคมเกษตรกรรมเยอรมัน กล่าวว่า “ความร่วมมือคือ หัวใจหลักของการแก้ไขปัญหา นั่นคือที่มาของธีมการจัดงานในปีนี้ ‘การร่วมสร้างสรรค์และเครือข่ายที่ยั่งยืน’ (Co-Creation and Sustainable Networks) สำาหรับการจัดงาน อะกริเทคนิก้า เอเชีย และฮอร์ติเอเชีย ประจำาปี2567 ได้สร้างสถิติใหม่ ด้วยการขยาย ขนาดของพื้นที่การจัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเท่าตัว จากการจัดงานในครั้งผ่านมา” อะกริเทคนิก้า เอเชีย และ ฮอร์ติ เอเชีย : เวทีเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน


Click to View FlipBook Version