The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wilailuk3369, 2022-09-11 23:44:34

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์



รายงาน

เร่ือง ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

จดั ทำโดย
นางสาวกุลนัฐ ศรชี ่นื
นางสาววิไลลกั ษณ์ กระจกแก้ว
นางสาวขนิษฐดา ทัศนิยม

เสนอ
อาจารย์ จนั ทร์วลยั สนั ตะเลขวงศ์

รายงานเลม่ นเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวิชา
การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครอื ขา่ ย (30901-2202)

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
วิทยาลัยเทคนคิ บงึ กาฬ



คำนำ
รายงานฉบบั น้จี ัดทำขน้ึ เพ่ือปฏบิ ตั ิการเขยี นรายงานการคน้ ควา้ ทีถ่ ูกต้องอย่างเปน็ ระบบ อันเป็นส่วน
หนงึ่ ของการศึกษารายวชิ า 30901-2022 การวิเคราะห์และออกแบบระบบเครอื ข่าย ซ่ึงจะนำไปใช้ในการทำ
รายงานการคน้ คว้าสำหรบั รายวชิ าอน่ื อกี ต่อไป การทีผ่ ้จู ดั ทาเลอื กทาเรือ่ ง “ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์”
เนอื่ งด้วยเทคโนโลยีในปจั จุบันเกิดการพัฒนาขน้ึ อยา่ งมาก และส่วนหน่งึ ในการพัฒนาคือระบบเครือขา่ ย ซง่ึ
เปน็ ตัวช่วยในการเช่ือมต่อหรอื ส่งต่อขอ้ มูล ระหวา่ งคอมพิวเตอรด์ ว้ ยกัน และเนอ่ื งด้วยเทคโนโลยที ่พี ัฒนาเพื่อ
อรองรับการเชอื่ มต่อกับเน็ตเวิรค์ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ยงิ่ มีบทบาทมากข้ึนในปัจจบุ นั ท้งั การเช่ือมตอ่ ไร้
สาย การส่งข้อมลู การแชร์ไฟล์ การดูสอ่ื บนั เทิงต่างๆ จนเกิดไปสว่ นหนงึ่ ในชวี ติ ประจาวนั ของมนษุ ย์ โดยการ
ทาใหก้ ารส่งต่อข้อมูลตา่ งๆได้สะดวกมากขึ้น ดังนัน้ จงึ มีความจำเปน็ มากทตี่ ้องนำเสนอความรทู้ ่ีเขา้ ใจถกู ตอ้ ง
เกยี่ วกบั ระบบคอมพวิ เตอร์
รายงานเลม่ นี้กลา่ วถึงเนื้อหาเกีย่ วกับระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรบั ผู้ที่ต้องการความรู้
ความเขา้ ใจเก่ยี วกับระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ถี่ ูกต้อง และแนวทางการรบั รู้และเข้าใจของระบบเครือขา่ ย
คอมพิวเตอร์ ให้มีปริมาณเพิ่มขึ้นไม่น้อยลงกว่าเดิม อาทิเชน่ ความหมาย ความเป็นมา และการทำงานของ
ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ทาให้ สามารถนาไปเผยแพร่ความรคู้ วามเขา้ ใจได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนดิ า สมประจบ ที่กรณุ าใหค้ วามรูแ้ ละคำแนะนาโดยตลอด
และขอบคุณบรรณารักษแ์ ละเจา้ หนา้ ทขี่ องสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีให้ความ
สะดวกในการคน้ หาข้อมลู รวมไปถึงทา่ นเจา้ หน้าที่หนงั สือ บทความ งานวจิ ัย ทผี่ ้เู ขียนใช้อา้ งองิ ทุกท่าน หากมี
ขอ้ บกพร่องประการใด ผูเ้ ขียนขอน้อมรับไวเ้ พอื่ ปรบั ปรงุ ต่อไป

นางสาวกลุ นัฐ ศรีช่นื
นางสาววไิ ลลกั ษณ์ กระจกแก้ว

นางสาวขนิษฐดา ทศั นิยม
12 กนั ยายน 2565



สารบญั
หน้า

คำนำ………………………………………………..............................………………………………………………… ก
สารบญั ภาพประกอบ…………………………………........................…………………………………………….. ข
บทที่
1.บทนำ…………………................................…………………………………………………….………...............1

1.1 ความหมายของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร…์ …………………............……………….…….1
1.1.1 การใชท้ รัพยากรร่วมกัน……………………………………………....................…….1
1.1.2 การแชร์ไฟล…์ ………………………………………………………….......................... 1
1.1.3 การติดต่อสอ่ื สาร………………………………………………………........................ 2
1.1.4 การใช้อนิ เทอร์เนต็ ร่วมกัน……………………………………………...................… 2

1.2 ความเป็นมาของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์………………………………………...........… 2
1.2.1 อินเทอร์เนต็ (Internet) ………………………………………………….................. 2
1.2.2 ไอพแี อดเดรส (IP Address) ……………………...........…………………….........2-3

2.การทำงานของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์………………………………………………………............… 4
2.1 ผขู้ อใชบ้ ริการ (Client) ………………………………………………………………….................. 4
2.2 ผู้ให้บริการ (Server) ……………………………………………………………………................….4

3.ประเภทของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์……………………………………………………………...............5
3.1 เครือขา่ ยส่วนบคุ คล (PAN) …………………………………………………………...............…….5
3.1.1ความหมายของเครือข่ายส่วนบุคคล………………………………………….........… 6
3.1.2 อปุ กรณข์ องเครือข่ายสว่ นบุคคล……………………………………………..........… 6
3.2 ระบบเครือขา่ ยระดับทอ้ งถนิ่ (LAN) ……………………………………….…………...........…. 7
3.2.1 ลกั ษณะการใช้ของระบบเครอื ขา่ ยระดับท้องถิน่ …………………….....………...7

3.2.2 ประโยชน์ของระบบเครอื ขา่ ยระดบั ท้องถ่ิน………………….....…………………..7

3.3 ระบบเครือข่ายระดบั เมือง (MAN) …………………………………………………….…………....8

3.3.1 ความหมายของระบบเครอื ข่ายระดับเมือง…………………………...……………..8



3.3.2 เทคโนโลยีทใี่ ช้ระบบเครือข่าบระดับเมือง………………………...……………… 8-9
3.4 ระบบเครอื ข่ายระดับประเทศ (WAN) …………………………………………………..……......9

3.4.1 ชนิดของระบบเครอื ข่ายระดบั ประเทศ……………………………………...……...10
3.4.2 ประเภทเครอื ข่ายของระบบเครือข่ายระดบั ประเทศ…………………............10
4.อปุ กรณข์ องระบบเครือข่าย…………………………………………………………………..............……….....12
4.1 ฮบั (Hub) ………………………………………………………………………………….……………….12
4.2 การด์ เครือขา่ ย (Network Adapter) ……………………………………………….……………12
4.3 โมเดม็ (Modem) ………………………………………………………………………………………..13
4.4 เกตเวย์ (Gateway) ………………………………………………………..……………………………14
4.5 เราเตอร์ (Router) ……………………………………………………………………..………………..14
4.6 สายสัญญาณ………………………………………………………………………………...............15-16
การเชื่อมตอ่ ของระบบเครือข่าย................................................................................................17
5. สรุป…………………………………………………………………………........………….............……………....18
บรรณานกุ รม.………………………………………………………………………………….................………….19-20

1

บทท่ี 1
บทนำ

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) คือ ระบบทีม่ ีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่อง
เชื่อมต่อกนั โดยใช้สอื่ กลาง และสามารถสื่อสารข้อมลู กนั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซึง่ ทาให้ผใู้ ชค้ อมพิวเตอรแ์ ต่
ละเคร่ืองสามารถแลกเปลีย่ นข้อมูลซ่ึงกนั และกนั ได้
นอกจากนย้ี งั สามารถใช้ทรัพยากรท่มี ีอยใู่ นเครอื ข่ายร่วมกนั ได้ เชน่ เครอื่ งพมิ พ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดสิ ก์ เปน็ ตน้
การใชท้ รพั ยากรเหล่านผ้ี ่านเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยให้ประหยัดค่าใชจ้ ่ายได้มาก เม่ือมีการเชอื่ มตอ่ กบั
เครอื ข่ายอ่ืนๆ ที่อย่หู า่ งไกล เชน่ ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ซงึ่ เปน็ เครอื ข่ายทเี่ ชือ่ มตอ่ คอมพิวเตอร์ท่ัวโลก กท็ าให้
สามารถแลกเปล่ียนข้อมูล ขา่ วสาร ได้กับคนท่วั โลก โดยใชแ้ อพพลเิ คชน่ั เชน่ เวบ็ อเี มลล์ เปน็ ต้น

1.1 ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือขา่ ย (Network) เปน็ การเชื่อมต่อระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเขา้
ด้วยกนั เพ่อื ทาใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถสอื่ สารกันได้ "ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบเนต็ เวิร์ก คอื กลมุ่
ของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีถูกนามาเชื่อมต่อกนั เพือ่ ให้ผู้ใช้ในเครอื ขา่ ยสามารถตดิ ต่อสอื่ สาร
แลกเปลย่ี นขอ้ มลู และใช้อปุ กรณ์ต่างๆ ในเครือขา่ ยรว่ มกนั ได"้ เครอื ข่ายน้ันมหี ลายขนาด ตง้ั แต่ขนาดเล็กที่
เชอ่ื มต่อกนั ดว้ ยคอมพวิ เตอร์เพยี งสองสามเครื่อง เพ่ือใช้งานในบ้านหรือในบริษทั เล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาด
ใหญท่ เ่ี ช่ือมตอ่ กันทวั่ โลก สว่ น เครอื ข่ายภายในบา้ น (Home Network) ซง่ึ เปน็ ระบบ LAN ( Local Area
Network) ท่ี เปน็ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรข์ นาดเล็กๆ หมายถึงการนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ มา
เชอื่ มต่อกันในบ้าน สง่ิ ท่ีเกดิ ตามมาก็คือประโยชน์ในการใช้คอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ

1.1.1 การใชท้ รัพยากรร่วมกัน
การใช้อุปกรณต์ ่างๆ เชน่ เครื่องพิมพ์รว่ มกัน กล่าวคือ มีเคร่อื งพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนใน
เครือข่ายสามารถใช้เครื่องพมิ พ์นี้ได้ ทาให้สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไมต่ ้องลงทุนซอ้ื เครอื่ งพิมพ์
หลายเคร่อื ง (นอกจากจะเปน็ เคร่ืองพมิ ์คนละประเภท)

1.1.2 การแชรไ์ ฟล์
เม่อื คอมพวิ เตอร์ถูกติดต้งั เปน็ ระบบเน็ตเวิร์คแลว้ การใช้ไฟล์ข้อมูลรว่ มกนั หรือการแลกเปล่ียนไฟลท์ า
ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไม่ตอ้ งอปุ กรณ์เกบ็ ขอ้ มลู ใดๆ ทง้ั สิ้นในการโอนยา้ ยขอ้ มูลตัดปญั หาเรอ่ื งความจุของส่ือ
บันทกึ ไปไดเ้ ลย ยกเวน้ อุปกรณใ์ นการจัดเก็บข้อมลู หลักอย่างฮารด์ ดสิ ก์ หากพ้ืนท่เี ตม็ ก็คงตอ้ งหามาเพิ่ม

2

1.1.3 การตดิ ต่อสื่อสาร
โดยคอมพิวเตอร์ที่เช่อื มต่อเป็นระบบเนต็ เวริ ค์ สามารถติดต่อพูดคุยกบั เครื่องคอมพิวเตอร์อืน่ โดย
อาศยั โปรแกรมสอ่ื สารท่ีมคี วามสามารถใชเ้ ป็นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ไดเ้ ชน่ เดียวกัน หรอื การใช้อีเมล์ภายในก่อให้
เครือข่าย Home Network หรือ Home Office จะเกิดประโยชนน์ ้อี กี มากมาย

1.1.4 การใชอ้ ินเทอร์เน็ตร่วมกนั
คอมพิวเตอรท์ กุ เคร่ืองท่ีเช่ือมตอ่ ในระบบ เนต็ เวริ ค์ สามารถใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตไดท้ กุ เครอ่ื ง โดยมี
โมเด็มตวั เดียว ไม่วา่ จะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอยา่ ง ADSL ยอดฮิตในปัจจบุ นั

1.2 ความเป็นมาของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
ในโลกปัจจุบัน พฒั นาการสุดยอดแหง่ ยุค สารสนเทศ แทบไมม่ ใี ครไม่รจู้ ัก ส่งิ ท่ีทาให้โลก ไรพ้ รมแดน
เส้นแบง่ เขตประเทศ หรือโซนเวลา คอมพิวเตอร์ ทุกคน ทุกบา้ นเรอื น เป็นส่วนหนง่ึ ของอภิมหาเน็ทเวริ ์ค ยาม
เมอื่ ต่อเข้าบริการอนิ เทอร์เนต็ แลว้ กเ็ ปรียบเสมือน เพ่ือนข้างโต๊ะทางาน ตดิ ตอ่ ส่ือสารได้รวดเรว็ ทนั ใจ ช่วั
พริบตา ทง้ั ส่งจดหมาย พูดคยุ ฟังเสียง ดูภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น เรอ่ื งราวท่ีเก่ยี วพัน กบั อภมิ หาเน็ทเวริ ค์
ระดับโลก หรอื อินเทอรเ์ น็ต มีแงม่ ุมท่ีน่าสนใจ มากมายหลายดา้ น และพฒั นาสิ่งใหม่เปน็ รายวัน เพ่อื ให้
เครือข่ายยักษ์นี้ ยืนอายุยาวนานตลอดกาล ความเรว็ ท่เี พ่ิมมากขึน้ แทบไร้การรอคอย ข้อมลู ส่งได้มหาศาลข้ึน
และจะเขา้ มาเปน็ สว่ นหน่งึ ของ ชีวิตประจาวันอยา่ งแนน่ อน คล้ายกับ ทีวี ตู้เย็น ฯลฯ เราจะทยอย คัดมานา
เสนอเพม่ิ ขนึ้ ทุกๆ เดอื น เชญิ ตดิ ตามอ่านไดเ้ ป็นประจำ

1.2.1 อินเทอร์เน็ต (Internet)
มาจากคำว่า Inter Connection Network ซ่งึ กค็ ือ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรช์ นดิ หนึ่ง ท่ีมีขนาด
ใหญ่ครอบคลุมทั้งโลก มีคอมพวิ เตอร์นับสิบล้านเคร่ือง ต่อโยงถงึ กนั เสมอื นใยแมงมมุ โดยใช้ โปรโตคอล
(Protocol) หรือ มาตรฐานในการรับส่งข้อมลู ภาพ เสียง ท่มี ชี ือ่ ว่า ทีซีพ/ี ไอพี (TCP/IP : Transmission 3
Control Protocol / Internet Protocol) ซ่ึงสามารถเลอื ก เส้นทางในการติดต่อ ได้หลายๆ เสน้ ทาง
หรอื จะเรียกไดว้ ่า เป็นการสอ่ื สารแบบไร้มิติ ไซเบอรเ์ สปซ (CyberSpace)

1.2.2 ไอพแี อดเดรส (IP Address)
เคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ต่ละเคร่ืองที่เชื่อมต่ออยใู่ นอินเตอร์เน็ตตอ้ งมีแอดเดรส (address) ซึ่งเหมือนกับ
บ้านตอ้ งมีเลขท่บี ้านเพื่อท่จี ะบอกไดว้ ่าเปน็ บ้านไหน แอดเดรสของเครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเคร่ืองตอ้ งไม่ซา้ กนั
ทงั้ นีจ้ ะได้แยกออกว่าเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งไหน แอดเดรสท่ใี ชใ้ นอินเตอรเ์ นต็ คือ IP address
IP Address รปู แบบของ IP address นั้นเป็นตวั เลขลว้ น( มขี นาด 32 บิต) เวลาเขียน IP address
แต่ละตวั จะเขยี นแทนด้วยเลขฐานสบิ โดยแบง่ เลขฐานสบิ ทเ่ี ขียนออกมาเป็นสสี่ ่วน แตล่ ะสว่ นค่ันด้วยจดุ ดงั
ตัวอยา่ ง

3

161.211.48.9
แต่ละส่วนจะต้องมีค่าอยู่ระหวา่ ง 0 ถึง 255 เกินกวา่ นัน้ ไม่ได้ แอดเดรสในตัวอย่างน้ีเปน็ แอดเดรสของ

เครือ่ งคอมพิวเตอร์ของคณะอักษรศาสตรเ์ ครื่องหนึ่ง ( ซ่งึ เคร่อื งนท้ี าหนา้ ท่เี ป็นเซิร์ฟเวอร์) แอดเดรสน้ที า่ นไม่
สามารถกาหนดไดต้ ามใจชอบ เพราะถา้ กาหนดไดต้ ามใจชอบจะทาให้มแี อดเดรสซ้ากนั (คือ อาจมี
คอมพิวเตอรส์ องเคร่ืองมีหมายเลขเดียวกัน ทาให้แยกไมอ่ อกว่าเปน็ เครอ่ื งไหน) หน่วยงาน Internet Network
Information Center (InterNic) ขององคก์ ร Network Solution Incorpaoration (NSI) ท่ีรฐั เวอรจ์ เิ นยี
สหรัฐอเมรกิ าเป็นผูก้ าหนดหรือให้ IP address เมื่อหนว่ ยงานใดได้นาคอมพิวเตอร์หรือเนต็ เวริ ์กตอ่ เข้ากับ
อินเตอรเ์ น็ตแล้วตอ้ งทาการขอ IP address แต่ไม่จาเปน็ ต้องขอโดยตรงกับ InterNic ก็ได้ มีหนว่ ยงานทรี่ บั IP
address จาก InterNic มา แลว้ มาทาหนา้ ให้ IP address เช่น หน่วยงานประเภท ISP ให้ IP address แกผ่ ูท้ ่ี
เปน็ สมาชกิ

ยกตวั อย่างในกรณีของจฬุ าฯ ไดร้ ับแอดเดรสจาก InterNic มาจานวนหนงึ่ ประมาณหกหมน่ื กว่า
หมายเลข แอดเดรสของจฬุ ามีค่าระหว่าง 161.200.0.0 ถึง 161.200.255.255 ChulaNet ซงึ่ เป็นผู้ดูแลเนต็
เวริ ์กของจุฬา ฯเป็นผ้คู อยกาหนดแอดเดรสให้แกค่ อมพิวเตอรใ์ นเน็ตเวิร์กของจฬุ า ฯ กล่าวคือถา้ อย่ใู นจุฬาฯ
ใหข้ อ IP address จาก ChulaNet การอา้ งองิ ถงึ คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องใดกต็ ามต้องใช้แอดเดรสในการอ้างอิง
ดงั นน้ั ท่านต้องทราบแอดเดรสของเครื่องคอมพวิ เตอร์ทตี่ ้องการตดิ ต่อก่อน ท่านจึงจะสามารถติดต่อสอื่ สารกับ
คอมพิวเตอรน์ นั้ ได้ เงื่อนไขน้ีทาใหเ้ กดิ ปัญหาในการใช้อินเตอร์เน็ต เพราะวา่ แอดเดรสที่วา่ นเ้ี ป็นตัวเลขลว้ นทา
ให้ยากต่อการจดจาและใช้งาน และแอดเดรสตวั เลขยังไม่ส่ือความหมายอีกด้วย แตถ่ ้าใช้แอดเดรสท่ีเป็นช่ือใน
การอ้างองิ ถึงคอมพิวเตอร์จะสดวกกว่า และง่ายต่อการจดจา เพือ่ แกป้ ัญหาดังกลา่ วนจี้ ึงไดม้ กี ารพฒั นา
Domain name system ขึ้นมา

รปู ที่ 1 ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (WAN) : (sites.google.com)

4

บทที่ 2
การทำงานของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

คอมพวิ เตอร์ท่ีนามาเช่ือมต่อกนั ในเนต็ เวิรก์ จะประกอบด้วย ฮารด์ แวรท์ ่ีเชือ่ มต่อโปรแกรมควบคุม
และสือ่ นาข้อมลู ซงึ่ คอมพิวเตอรท์ ง้ั หมดในระบบจะมีหน้าที่ทางานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

2.1 ผู้ขอใชบ้ ริการ (Client)
คือ คอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ในระบบเน็ตเวิรก์ ท่ผี ใู้ ช้สามารถเขา้ ไปใชท้ รัพยากรตา่ งๆ ของเครือขา่ ยตดิ ต่อกบั
Server เรยี กว่า "Client" (Work Station) Client จะเปน็ คอมพิวเตอร์ที่ใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการต่างๆ เชน่
windows xx หรือแมคอนิ ทอช เป็นต้น ซึ่งสามารถเขา้ ไปขอใช้บรกิ ารจาก Server ได้ เชน่ ฮาร์ดดิสก์ สาย
สื่อสาร ไฟล์ฐานข้อมูล เรียกว่า Database client และเครอ่ื งพิมพบ์ น Server ได้ ราวกับว่าเปน็ ส่วนหนึง่ ของ
ผู้ใชเ้ อง กอ่ นท่จี ะเร่ิมติดต่อกับ Server ต้องทาการโหลดโปรแกรมท่ีเรียกวา่ "Network Shell" กอ่ น ซงึ่ ต้องกา
หนดประเภทของ คาร์ด หน่วยความจา หมายเลขอินเทอรร์ ับปต์ และรายละเอียดต่างๆ ของ Network Shell
ใหต้ รงกับฮารด์ แวร์และไดรเวอร์ที่ใช้ ตอ่ จากนน้ั จึงจะเรม่ิ ทางานได้

2.2 ผู้ให้บริการ (Server)
ในระบบ LAN จาเปน็ ต้องมีเครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่ีคอยทาหน้าที่ใหบ้ ริการทางด้านตา่ งๆ แก่คอมพวิ เตอร์อ่นื ๆ ซ่งึ
เป็นลกู ข่าย เรียกว่า "Server" โดยทวั่ ไปมีหนา้ ท่ี ให้บรกิ าร 3 ประการ คือ
1. บรกิ ารในการจัดเก็บข้อมลู เรียกว่า " File server"
2. ให้บรกิ ารด้านการพมิ พเ์ อกสารและควบคุมเครอื่ งพิมพ์ เรียกว่า "Printer server" และ
3. ให้บริการควบคุมด้านการสื่อสารท่จี ะต่อเชอ่ื มกบั อปุ กรณ์สื่อสารอน่ื เรยี กว่า "communication server"

5
บทที่ 3
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การจะใชเ้ ครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องต้องมคี วามเข้าใจในการเลือกใชเ้ ครือข่ายของคอมพิวเตอร์
ดันนี้
3.1 เครอื ข่ายส่วนบุคคล (PAN)
เครือข่าย ส่วนบคุ คล หรือ แพน (Personal area network) : PAN)PANPAN คอื "ระบบการ
ตดิ ตอ่ ส่ือสารไรส้ ายส่วนบุคคล" ย่อมาจาก Personal Area Network หรอื เรียกว่า BluetoothPersonal
Area Network (PAN)คือเทคโนโลยีการเขา้ ถึงไร้สายในพืน้ ทเ่ี ฉพาะสว่ นบุคคล โดยมรี ะยะทางไม่เกิน 1เมตร
และมีอัตราการรบั สง่ ขอ้ มูลความเรว็ สงู มาก (สงู ถึง 480 Mbps) ซ่งึ เทคโนโลยีที่ใชก้ ันแพร หลาย ก็เช่น• Ultra
Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee
ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4เทคโนโลยีเหลา่ น้ใี ชส้ าหรบั การตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์
ตอ่ พ่วง(peripherals) ใหส้ ามารถรบั สง่ ขอ้ มูลถึงกนั ได้ และยงั ใช้สาหรับการรับส่งสญั ญาณวดิ ีโอท่มี ีความ
ละเอยี ดภาพสงู (high-definition video signal) ได้ด้วยPersonal Area Network (PAN)
ชว่ ยให้เราสามารถจัดการข้อมูลระหวา่ งอปุ กรณ์ตา่ งๆท่ีเคล่ือนที่ไปมาได้ อย่างหลากหลายคิดค้นโดยนักวจิ ยั
ของ MIT รวมกบั IBM โดยจะสร้างกระแสไฟฟ้าแรงต่ำ (ระดับพิโคแอมป ) ออกไปตามผิวหนงั โดยเครือ่ งรบั
สญั ญาณตามจุดตา่ งๆ ของรา่ งกายสามารถรับสัญญาณได้ เทคโนโลยนี ี้จะเหมาะกับการใช้งานทางการแพทย์
เพราะอปุ กรณ์ โดยมากจะมีการติดตง้ั ตามลาตวั มนุษยพ์ ฒั นาโดย Bluetooth Special Interest Group

รูปที่ 2 เครือขา่ ยส่วนบคุ คล: (wordpress.com)

6

3.1.1 ความหมายของเครือข่ายส่วนบุคคล
เป็นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์สาหรบั การเชือ่ มต่อกันอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ภายในพนื้ ที่ทางานของแตล่ ะ
บคุ คล [1]กระทะให้การส่งผ่านขอ้ มลู ระหว่างอุปกรณ์เช่นคอมพวิ เตอร์ , มาร์ทโฟน , แท็บเล็ตและผู้ช่วย
ดจิ ิตอลสว่ นตัว กระทะสามารถใช้สาหรับการสื่อสารระหวา่ งอุปกรณส์ ่วนบคุ คลของตวั เองหรอื สาหรบั การ
เชอ่ื มต่อกับเครือข่ายในระดับทีส่ ูงข้ึนและอินเทอร์เนต็ ทอ่ี ปุ กรณ์หลกั หนึ่งใชเ้ วลาถึงบทบาทเป็นเกตเวย์

กระทะอาจจะเปน็ แบบไรส้ ายหรือดาเนินการมากกวา่ การเชื่อมต่อแบบใชส้ ายเชน่ USB เครือขา่ ยไร้สายพน้ื ที่
สว่ นบุคคล ( WPAN ) เป็น PAN ดาเนนิ การไปเปน็ ระยะส้ันตา่ ขบั เคล่ือนเครือขา่ ยไร้สายเทคโนโลยีเชน่ IrDA ,
ไร้สาย USB , บลทู ู ธหรือZigBee ระยะเอ้ือมของ WPAN จะแตกต่างกนั ไปตง้ั แต่ไม่กีเ่ ซนตเิ มตรจนถงึ ไม่ก่ี
เมตร

3.1.2 อุปกรณ์ของเครือข่ายส่วนบุคคล
แบบมีสาย เครือข่ายพื้นทส่ี ว่ นบุคคลแบบมสี ายใหก้ ารเชือ่ มต่อระยะส้นั ระหว่างอปุ กรณ์ตอ่ พ่วง
เทคโนโลยตี ัวอย่าง ไดแ้ ก่USB , IEEE-1394และสายฟ้า
แบบไรส้ าย เครือข่ายพ้นื ที่ส่วนบคุ คลแบบไรส้ าย (WPAN) เปน็ เครอื ขา่ ยส่วนบคุ คลทีเ่ ชื่อมตอ่ แบบไร้
สาย IEEE 802.15มกี ารผลติ มาตรฐานหลายประเภทของกระทะดาเนนิ งานในวง ISMรวมท้ังบลูทู ธ Infrared
Data Association (IrDA) มีการผลติ มาตรฐาน WPANs ที่ทางานโดยใช้การสอ่ื สารอนิ ฟราเรด
บลทู ูธ ใช้คลน่ื วิทยรุ ะยะสนั้ ใช้ใน WPAN รวมถึงตวั อย่างเชน่ อุปกรณบ์ ลูทูธ เช่นแปน้ พิมพ์, อปุ กรณช์ ้ี
ตาแหนง่ หฟู ังเสยี งและเครอ่ื งพมิ พอ์ าจเชื่อมต่อกับsmartwatches , โทรศัพทม์ ือถือหรอื คอมพวิ เตอร์
Bluetooth WPAN เรยี กอีกอยา่ งวา่ piconetและประกอบด้วยอปุ กรณ์ท่ีใช้งานไดถ้ ึง 8 เครอ่ื งในความสมั พนั ธ์
แบบมาสเตอร-์ สเลฟ (สามารถเชอื่ มต่ออปุ กรณเ์ พ่มิ เตมิ จานวนมากในโหมด "จอด") อปุ กรณ์ Bluetooth ตวั
แรกใน piconet เป็นเครอื่ งหลกั และอปุ กรณ์อน่ื ๆ ทัง้ หมดเปน็ เครอ่ื งรองทสี่ ่อื สารกบั เครอ่ื งหลัก โดยทว่ั ไป
แลว้ Piconet จะมชี ่วง 10 เมตร (33 ฟตุ ) แม้วา่ จะสามารถเข้าถงึ ชว่ งสูงสดุ 100 เมตร (330 ฟุต) ได้ภายใต้
สถานการณ์ทเี่ หมาะสม เราเตอร์ Bluetooth ระยะไกลพร้อมอาร์เรย์เสาอากาศเสริมเชื่อมต่ออุปกรณ์
Bluetooth ไดส้ งู ถงึ 1,000 ฟตุ เม่ือใชเ้ ครอื ขา่ ยแบบตาขา่ ย Bluetoothชว่ งและจานวนอุปกรณ์จะเพม่ิ ขึ้นโดย
ใชเ้ ทคนคิ เครือข่ายแบบตาข่ายเพอ่ื ถา่ ยทอดข้อมูลจากอปุ กรณเ์ คร่ืองหนง่ึ ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง เครอื ขา่ ยดังกลา่ ว
ไม่มีอปุ กรณห์ ลักและอาจถอื เปน็ WPAN หรอื ไมก่ ็ได้
ไออาร์ดเี อ (IrDA) ใช้แสงอินฟราเรดซ่ึงมคี วามถี่ต่ากวา่ ความไวของดวงตามนุษย์ อนิ ฟาเรดที่ใชใ้ น
โปรแกรมอ่นื ๆ การสื่อสารไร้สายสาหรับตัวอยา่ งเชน่ ในการควบคุมระยะไกล อปุ กรณ์ WPAN ทั่วไปทใี่ ช้ IrDA
ไดแ้ ก่ เครอื่ งพิมพ์ คีย์บอร์ด และอนิ เทอรเ์ ฟซการส่ือสารแบบอนกุ รมอื่นๆ

7

3.2 ระบบเครือขา่ ยระดับท้องถิ่น (LAN)
เปน็ ระบบเครือข่ายท่ใี ชง้ านอยู่ในบริเวณที่ไมก่ ว้างนัก อาจใชอ้ ยู่ภายในอาคารเดยี วกันหรืออาคารท่ีอยใู่ กล้กัน
เชน่ ภายในมหาวิทยาลยั อาคารสานักงาน คลังสนิ คา้ หรือโรงงาน เปน็ ตน้ การสง่ ข้อมูลสามารถทาได้ด้วย
ความเร็วสงู และมีข้อผดิ พลาดน้อย ระบบเครือขา่ ยระดับท้องถน่ิ จงึ ถกู ออกแบบมาใหช้ ่วยลด ตน้ ทนุ และเพอื่
เพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ร่วมกัน

3.2.1 ลกั ษณะการใชข้ องระบบเครือข่ายระดบั ท้องถ่นิ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์สอ่ื สารท่ีอยใู่ นทอ้ งทบ่ี ริเวณเดียวกนั เข้าดว้ ยกนั เชน่ ภายในอาคาร
หรอื ภายในองค์การท่ีมรี ะยะทางไมไ่ กลมากนัก เครือข่ายแลนจดั ไดว้ า่ เป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การ
สรา้ งเครอื ข่ายแลนนี้องคก์ ารสามารถดาเนินการทาเองได้ โดยวางสายสัญญาณสอื่ สารภายในอาคาร หรอื
ภายในพนื้ ทขี่ องตนเอง เครือข่ายแลนมีต้งั แตเ่ ครือข่ายขนาดเล็กที่เชือมโยงคอมพวิ เตอร์ตงั้ แต่สองเครือ่ งขึน้ ไป
ภายในหอ้ งเดียวกนั จนถึงเช่ือมโยงระหวา่ งหอ้ ง หรือองค์การขนาดใหญ่ เชน่ มหาวิทยาลัย มกี ารวางเครือขา่ ย
ทีเ่ ชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวทิ ยาลัย เครอื ข่ายแลนจงึ เป็นเครอื ข่ายท่ีรับผิดชอบโดยองค์การท่ีเปน็
เจ้าของ

3.2.2 ประโยชน์ของระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
- สามารถแบง่ เบาการประมวลผลไปยงั เคร่ืองตา่ งๆ เฉลยี่ กันไป
- สามารถแบง่ กนั ใชง้ านอปุ กรณ์ต่างๆ เช่น เคร่ืองพิมพ์ ซีดรี อมไดรฟ์ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทีม่ ีประสิทธิภาพสูง
เปน็ ต้น
- สามารถแบง่ กนั ใช้งานซอฟต์แวร์และข้อมูลหรือสารสนเทศตา่ งๆ รวมท้ังทาให้สามารถจดั เก็บข้อมลู เหล่านน้ั
ไวเ้ พยี งทีเ่ ดยี ว
- สามารถวางแผนหรือทางานร่วมกันเป็นกลุม่ ได้ แมจ้ ะไมไ่ ดอ้ ยูใ่ กล้กันกต็ าม 9
- สามารถใชใ้ นการติดตอ่ กัน เชน่ สง่ จดหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือการส่งเสยี งหรือภาพทางอิเลก็ ทรอนิกส์
เป็นต้น
- ช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายโดยรวมขององค์กร

8

รูปท่ี 3 ระบบเครือขา่ ยระดบั ทอ้ งถ่ิน : (sites.google.com)

3.3 ระบบเครอื ข่ายระดับเมือง (MAN)
เปน็ ระบบเครือข่ายทม่ี ขี นาดอยรู่ ะหวา่ ง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายทใี่ ช้ภายในเมอื งหรือ
จงั หวัดเท่านน้ั การเชอ่ื มโยงจะต้องอาศยั ระบบบริการเครือขา่ ยสาธารณะ จึงเปน็ เครอื ขา่ ยทใ่ี ช้กบั องคก์ ารที่มี
สาขาห่างไกลและต้องการเชอื่ มสาขา เหล่านั้นเข้าดว้ ยกนั เช่น ธนาคาร เครอื ขา่ ยแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก
จงึ มคี วามเร็วในการสื่อสารไม่สูง เน่อื งจากมสี ัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีท่ใี ช้กบั เครือข่ายแวนมีความ
หลากหลาย มีการเช่ือมโยงระหว่างประเทศด้วยชอ่ งสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลนื่ ไมโครเวฟ คล่นื วิทยุ
สายเคเบลิ

3.3.1 ความหมายของระบบเครือขา่ ยระดับเมอื ง
หมายถงึ การเช่ือมต่อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปน็ เครอื ข่ายขนาดกลาง ทีม่ รี ะยะทางการเชอ่ื มต่อไกล
กว่า ระบบเครือขา่ ยทอ้ งถ่นิ (LAN) แตร่ ะยะทางยังคงใกล้กว่าระบบ WAN (Wide Area Network) ได้แก่
เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ทเ่ี ช่ือมตอ่ กันภายในเมอื งเดยี วกนั หรือจังหวดั เดยี วกัน ในเขตเดยี วกนั ตัวอยา่ งเชน่
เคเบลิ ทีวี

3.3.2 เทคโนโลยีท่ใี ชร้ ะบบเครอื ข่ายระดบั เมือง
ATM ใช้ในการส่งข้อมลู ผูท้ ารายการผเู้ ขา้ ใช้ ภายในเมือง เพ่ือความปรอกภัยของระบบธนาคาร
FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือขา่ ยโดยอาศยั แบบ Fiber Optic ซงึ่ จะสามารถรบั ส่งขอ้ มลู ได้ที่
ความเร็วสงู ถึง 100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet หรอื สบิ เทา่ ของ Ethernet พน้ื ฐานลักษณะของ FDDI จะ

9
ตอ่ เปน็ Ring ทม่ี สี ายสองชนั้ เดนิ คู่ขนานกนั เพื่อสารองในกรณเี กิดสายขาดขึน้ วงจรจะไดต้ ัดส่วนทข่ี าดออก
แล้ววนสายที่เหลอื ใหค้ รบรอบเป็น Ring ตามเดิมในแบบเดียวกับสาย Token-Ring ของ IBM ลกั ษณะการ
รับสง่ ข้อมลู ของ FDDI กใ็ ช้วิธี Token-Passing เชน่ เดียวกบั Token-Ring สว่ นสายทีต่ ่อน้ันจะได้ระยะระหวา่ ง
แต่ละเคร่ืองไม่เกนิ 2 กโิ ลเมตร และระยะรวมทง้ั หมดไมเ่ กิน 100 กโิ ลเมตร

SMDS สามารถใช้อปุ กรณ์เชื่อมโยงทที่ าจากทองแดง หรือเสน้ ใยนาแสง ช่วยให้เกิดความเรว็ 1.544
Mbps ทั่วบรเิ วณทมี่ ีการถา่ ยทอดสัญญาณดิจิตอล ระดับ 1 (DS-1) หรอื ความเร็ว 44.736 Mbps ทั่วบริเวณท่ี
มีการถา่ ยทอดสัญญาณดจิ ติ อล ระดับ 3 (DS-3) นอกจากน้ัน หน่วยข้อมูล SMDS มขี นาดใหญ่เพียงพอที่จะ
รองรบั IEEE 802.3 IEEE802.5 และ ระบบต่อประสานข้อมูลแบบกระจายโดยใช้เส้นใยนาแสง (FDDI) ท้ังหมด

รปู ท่ี 4 เครอื ข่ายระดับเมือง : (sites.google.com)
3.4 ระบบเครือขา่ ยระดับประเทศ (WAN)
เปน็ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่เี ชือ่ มโยงระบบคอมพิวเตอรใ์ นระยะหา่ งไกล เปน็ เครือขา่ ยขนาดใหญ่ มี
การติดต่อตอ่ สื่อสารกนั ในบริเวณกว้าง เชน่ เช่ือมโยงระหว่างจงั หวัด ระหวา่ งประเทศ การสร้างเครอื ข่าย
ระยะไกลจึงต้องอาศยั ระบบบรกิ ารข่ายสายสาธารณะ เชน่ การสอ่ื สารแห่ง ประเทศไทย ใชว้ งจรสื่อสาร11
ผา่ นดาวเทียม ใช้วงจรส่ือสารเฉพาะกจิ ท่ีมใี ห้ บรกิ ารแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจงึ เป็นเครือข่ายท่ใี ชก้ ับ
องค์การท่ีมสี าขาห่างไกล และต้องการเชอื่ มสาขา เหล่าน้นั เขา้ ดว้ ยกัน

10

3.4.1 ชนิดของระบบเครือข่ายระดบั ประเทศ
Switched-WAN คือ เปน็ ระบบ WAN ทเ่ี ชอ่ื มต่อ กับระบบปลายทาง ซงึ่ โดยปกติ มัก หมายถงึ
อุปกรณ์ router ท่ีนาไปใช้ สาหรบั เชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ใหส้ ามารถเชือ่ มโยง ไปยังเครือข่ายอน่ื
อยา่ งเครือข่ายLAN หรือ เครือขา่ ย WAN เปน็ ตน้ ตวั อย่าง service-WAN ในยุคแรก เช่น X.25 ซึ่งตอ่ มา ก็ถูก
ทดแทนเทคโนโลยี frame layer นอกจากน้ี ยังมรี ะบบ atm รวมถึง wireless-WAN ทีจ่ ัดเปน็ เทคโนโลยี ที่
ไดร้ บั การกล่าวขานมาก
Point-to-Point WAN คอื เป็นระบบ WAN ท่ีใชส้ ายสื่อสาร จากระบบโทรศัพท์ หรือเคเบิ้ลทวี ี ที่
เชื่อมต่อกบั คอมพวิ เตอร์ ตามบ้าน หรือเครือขา่ ยLANขนาดเล็ก เพ่ือไปยงั บริษัท ผูใ้ หบ้ รกิ ารอนิ เตอร์เน็ต
(internet service Provider :ISP) ซ่งึ WAN ชนดิ นี้ บอ่ ยครัง้ ท่นี ามาใช้ เพื่อการเขา้ ถึงอินเตอรเ์ น็ต

3.4.2 ประเภทเครือขา่ ยของระบบเครือข่ายระดบั ประเทศ
1 . เครือข่ายสว่ นตวั (private network) เป็นการจดั ตง้ั ระบบเครอื ข่ายซึ่งมีการใช้งานเฉพาะองคก์ ร
เชน่ องค์กรที่มีสาขาอาจทาการสรา้ งระบบเครือข่าย เพอื่ เชอ่ื มตอ่ ระหว่างสานกั งานใหญก่ บั สาขาทม่ี อี ยู่
เปน็ ตน้
การจัดตั้งระบบเครือขา่ ยส่วนตัวมจี ุดเดน่ ในเรอื่ งของการรักษาความลับของขอ้ มูล สามารถ
ควบคมุ ดูแลเครือขา่ ยและขยายเครอื ข่ายไปยังจุดท่ตี ้องการ ส่วนขอ้ เสยี คอื ในกรณีที่ไม่ได้มีการสง่ ข้อมลู
ต่อเนอื่ งตลอดเวลา จะเสยี คา่ ใช้จ่ายสงู มากเมื่อเทียบกบั การสง่ ข้อมูลผ่านเครือข่ายสาธารณะ และหากมีการสง่
ขอ้ มลู ระหวา่ งสาขาต่างๆ จะตอ้ งมีการจัดหาชอ่ งทางส่ือสารเชอื่ มโยงระหว่างแต่ละสาขาด้วย ซ่ึงอาจจะไม่
สามารถจัดชอ่ งทางการสือ่ สารไปยังพนื้ ทที่ ่ีต้องการได้

2. เครือข่ายสาธารณะ (PDN: public data network) หรือบางคร้ังเรยี กว่าเครือขา่ ยมูลค่าเพ่ิม
(VAN: Value Added Network) เปน็ เครือข่าย WAN ทจ่ี ะมีองค์กรหน่งึ (third party) เป็นผู้ทาหน้าทใ่ี นการ
เดนิ ระบบเครือข่าย และให้เช่าชอ่ งทางการสอื่ สารให้กับ บริษทั ต่างๆ ท่ีต้องการสรา้ งระบบเครอื ขา่ ย ซงึ่ บริษัท
จะลดคา่ ใช้จา่ ยของตนลงได้ เนือ่ งจากมบี ุคคลอืน่ มาชว่ ยแบ่งปันคา่ ใช้จ่ายไป ซึ่งจะนิยมใชก้ ันมาก เน่ืองจากมี
ค่าใช้จา่ ยต่ำกวา่ การจดั ตั้งเครอื ข่ายส่วนตัว สามารถใช้งานไดท้ นั ทีโดยไม่ต้องเสียเวลาในการจดั ตง้ั เครือข่าย
ใหม่ รวมทง้ั มบี ริการให้เลอื กอย่าง หลากหลาย ซึ่งแตกตา่ งกันไปท้ังในส่วนของราคา ความเร็ว ขอบเขตพ้นื ที่
บรกิ าร และความเหมาะสมกับงานแบบตา่ ง ๆ

11
รูปที่ 5 เครอื ขา่ ยระดับประเทศ : (wordpress.com)

12
บทท่ี 4
อปุ กรณข์ องระบบเครอื ขา่ ย
4.1 ฮับ (Hub)
อุปกรณ์ทร่ี วมสญั ญาณที่มาจากอปุ กรณ์รบั ส่งหลาย ๆ สถานีเขา้ ดว้ ยกนั ฮบั เปรยี บเสมือนเป็นบสั ท่ี
รวมอยู่ทจ่ี ุดเดียวกัน ฮบั ท่ีใชง้ านอยภู่ ายใตม้ าตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลทีร่ บั -ส่ง
ผา่ นฮับจากเครอื่ งหนึ่งกระจายไปยงั ทุกสถานที ่ตี ิดตอ่ อยู่บนฮบั นั้น ดังน้ันทุกสถานีจะรบั สัญญาณข้อมลู ท่ี
กระจายมาได้ทงั้ หมดแตจ่ ะเลือกคัดลอกเฉพาะขอ้ มูลท่สี ง่ มาถึงตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมลู จงึ ต้องดูท่ี
แอดเดรส (address) ท่ีกากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือแพ็กเกจ

รปู ที่ 6 อุปกรณฮ์ บั : (sites.google.com)
4.2 การ์ดเครือข่าย (Network Adapter)
หรอื การ์ดแลน หรืออเี ทอร์เน็ตการ์ด ทาหนา้ ท่ีในการเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอรท์ ่ีใช้งานอยเู่ ข้ากบั ระบบ
เครอื ข่ายได้ เชน่ ในระบบแลนเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ุกเคร่อื งในเครือข่ายจะตอ้ งมีการ์ดเครอื ข่ายที่เชื่อมโยงด้วย
สายเคเบลิ จึงสามารถทาให้เคร่อื งติดต่อเครือข่ายได้

13

รูปท่ี 7 การด์ เครือข่าย : (sites.google.com)
4.3 โมเด็ม (Modem)
คอื อุปกรณ์ที่ทาหนา้ ท่แี ปลงสญั ญาณคอมพวิ เตอร์ให้สามารถเช่อื มคอมพิวเตอร์ทีอ่ ย่รู ะยะไกลเข้าหา
กันไดด้ ้วยการผ่านสายโทรศัพท์ โดยโมเดม็ จะทาหนา้ ทแ่ี ปลงสัญญาณ ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ ทั้งภาคสง่ และภาครับ
โดยภาคสง่ จะทาการแปลงสัญญาณคอมพวิ เตอร์ใหเ้ ปน็ สัญญาณโทรศัพท์ (Digital to Analog) ในขณะที่
ภาครับนั้นจะทาการแปลงสญั ญาณโทรศัพทก์ ลับมาเปน็ สัญญาณคอมพิวเตอร์ (Analog to Digital) ดงั น้นั ใน
การเชอ่ื มต่อเครือข่ายระยะไกลๆ เชน่ อินเทอรเ์ น็ต จึงจาเป็นตอ้ งใช้โมเด็ม โดยโมเดม็ มีทั้งแบบภายใน
(Internal Modem) ท่ีมีลักษณะเปน็ การด์ โมเด็มภายนอก (External Modem) ที่มลี ักษณะเปน็ กล่องแยก
ออกต่างหาก และรวมถงึ โมเด็มท่ีเปน็ PCMCIA ที่มักใชก้ บั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรโ์ นต้ บุ๊ค

รปู ที่ 8 โมเด็ม : (wordpress.com)

14

4.4 เกตเวย์ (Gateway) คอื
อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีช่วยในการสอ่ื สารข้อมลู หน้าทีห่ ลักของเกตเวย์ คือ ชว่ ยทาใหเ้ ครือข่าย
คอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรอื มากกว่าท่มี ีลักษณะไม่เหมือนกัน คอื ลกั ษณะของการเช่อื ต่อ (Connectivity)
ของเครอื ข่ายที่แตกต่างกัยน และมีโพรโตคอลสาหรบั การส่ง - รับขอ้ มูลต่างกัน เชน่ LAN เครือหนงึ่ เป็นแบบ
Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะซงิ โครนัส ส่วน LAN อีกเครือข่ายหน่ึงเปน็ แบบ Token Ring และใช้
โพรโตคอลแบบซิงโครนสั เพื่อให้สามารถติดต่อกนั ได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกนั เพื่อกาจัดวงใหแ้ คบลงมา
เกตเวยโ์ ดยทว่ั ไปจะใชเ้ ปน็ เครื่องมือสง่ - รบั ขอ้ มูลกันระหว่าง LAN 2 เครอื ข่ายหรือ LAN กบั เครื่อง
คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LAN กับ WAN โดยผ่านเครือขา่ ยโทรศัพทส์ าธารณะ เช่น X.25 แพก็ เกจ
สวติ ซ์ เครือข่าย ISDN เทเลก็ ซ์ หรอื เครอื ข่ายทางไกลอ่นื

รปู ที่ 9 เกตเวย์ : (sites.google.com)

4.5 เราเตอร์ (Router)
ในการเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์จะตอ้ งมกี ารเชื่อมโยงหลายๆ เครอื ข่าย หรืออปุ กรณ์หลายอยา่ ง
เขา้ ด้วยกัน ดังนั้น จึงมเี สน้ ทางเขา้ - ออกของข้อมูลไดห้ ลายเสน้ ทาง และแต่ละเส้นทางอาจใชเ้ ทคโนโลยี
เครือข่ายทต่ี า่ งกัน อุปกรณ์จดั เส้นทางจะทาหน้าทีห่ าเสน้ ทางท่เี หมาะสมเพ่ือให้การส่งข้อมลู เป็นไปอย่างมี
ประพสทิ ธิภาพ การที่อปุ กรณ์จดั หาเส้นทางต้องรับร้ตู ำแหน่งและสามารถนาข้อมลู ออกเสน้ ทางได้ถกู ต้องตาม
ตำแหนง่ แอดเดรสที่กากับอย่เู ส้นทางนน้ั ในการเชื่อมโยงเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเช่ือมโยงหลายๆ
เครือข่าย หรอื อปุ กรณห์ ลายอยา่ งเข้าด้วยกัน ดังนั้น จงึ มเี สน้ ทางเข้า - ออกของข้อมลู ได้หลายเสน้ ทาง และแต่
ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายทต่ี ่างกัน อปุ กรณจ์ ัดเสน้ ทางจะทาหน้าท่ีหาเส้นทางทเี่ หมาะสมเพ่ือให้

15
การส่งข้อมลู เปน็ ไปอย่างมปี ระพสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหาเสน้ ทางตอ้ งรบั ร้ตู ำแหนง่ และสามารถนาข้อมูล
ออกเส้นทางได้ถูกต้องตามตำแหน่งแอดเดรสท่กี ากบั อยู่เส้นทางนนั้

รปู ที่ 10 เราเตอร์ : (sites.google.com)
4.6 สายสญั ญาณ
เป็นสายสาหรบั เช่อื มต่อเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ต่างๆในระบบเข้าดว้ ยกนั หากเป็นระบบที่มีจานวนเครื่อง
มากกว่า 2 เครื่องก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนง่ึ โดยสายสญั ญาณสาหรับเชื่อมต่อเครอ่ื งในระบบเครือข่าย จะมี
อยู่ 2 ประเภท คือ
1 สาย Coax มลี ักษณะเป็นสายกลม คล้ายสายโทรทศั น์ ส่วนมากจะเป็นสดี าสายชนดิ น้ีจะใชก้ บั การด์
LAN ทใี่ ชค้ อนเน็กเตอร์แบบ BNC สามารถส่งสญั ญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตร สายประเภทนี้จะต้องใชต้ ัว
T Connector สาหรับเช่อื มต่อสายสัญญาณกบั การ์ด LAN ต่างๆระบบ และต้องใชต้ ั Terminator ขนาด 50
โอห์ม สาหรับปดิ หวั และทา้ ยของสาย

16

รปู ที่ 11 สาย Coax : (sites.google.com)
2 สาย UTP (Unshied Twisted Pair) เปน็ สายสาหรับการ์ด LAN ทใ่ี ช้คอนเน็กเตอรแ์ บบ RJ-45
สามารถสง่ สญั ญาณได้ไกลประมาณ 100 เมตร หากคุณใข้สายแบบนจ้ี ะต้องเลอื กประเภทของสายอีกโดยทัว่ ไป
นยิ มใชก้ นั 2 รุ่น คือCAT 3 กับ CAT5 ซงึ่ แบบ CAT3 จะมีความเรว็ ในการสง่ สัญญาณ10 Mbps และแบบ
CAT 5 จะมีความเร็วในการส่งขอ้ มลู ที่ 100 Mbps แนะนาว่าควรเลอื กแบบ CAT 5 เพื่อการอัพเกรดใน
ภายหลงั จะได้ไม่ต้องเดนิ สายใหม่ ในการใชง้ านสายนี้ สาย 1 เสน้ จะตอ้ งใชต้ วั RJ – 45 Connector จานวน 2
ตัว เพอ่ื เป็นตวั เช่ือมตอ่ ระหวา่ งสายสญั ญาณจากการด์ LAN ไปยงั ฮับหรือเคร่ืองอ่ืน เช่นเดียวกับสายโทรศพั ท์
ในกรณีเปน็ การเชอื่ มตอ่ เคร่อื ง 2 เครื่องสามารถใชต้ ่อผา่ นสายเพยี งเส้นเดยี ไดแ้ ตถ่ ้ามากกว่า 2 เครอ่ื ง ก็จาเปน็
ตอ้ งต่อผา่ นฮับ

รูปที่ 12 สาย CAT : (wordpress.com)

17

การเช่ือมตอ่ ของระบบเครือขา่ ย Wireless LAN มี 2 ลกั ษณะ ดงั นี้

1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)

โครงสรา้ งการเช่ือมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการส่ือสารข้อมลู ระหวา่ งเคร่อื ง
คอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ต้ังแต่สองเครอ่ื งขน้ึ ไป โดยทไี่ ม่มีศูนยก์ ลางควบคมุ อปุ กรณ์ทุกเคร่ือง
สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันได้เอง ตัวสง่ จะใชว้ ิธกี ารแพรก่ ระจายคลนื่ ออกไปในทุกทศิ ทุกทางโดยไม่ทราบ
จดุ หมายปลายทางของตวั รบั วา่ อยูท่ ี่ใด ซงึ่ ตัวรับจะตอ้ งอยู่ในขอบเขตพนื้ ที่ใหบ้ ริการทค่ี ล่ืนสามารถเดนิ ทาง
มาถึงแล้วคอยเชค็ ข้อมลู วา่ ใช่ของตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผรู้ บั ปลายทางในเฟรม
ข้อมูลท่ีแพร่กระจายออกมา ถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนำข้อมูลเหล่าน้ันไปประมวลผลต่อไปการเช่ือมโยง
เครือข่ายไวรเ์ ลสแลนทใ่ี ช้โครงสร้างการเชอื่ มโยงแบบ Ad-hoc ไมส่ ามารถเชือ่ มโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายอีเธอร์
เนต็ ได้ เนื่องจากบนระบบไม่มีการใช้สญั ญาณเลย

2. การเชอ่ื มโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
โครงสรา้ งการเชือ่ มโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีข้อพเิ ศษกวา่ ระบบแบบ

Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยนเ์ ป็นศนู ยก์ ลางการเช่อื มโยง (ทำหน้าท่ีคลา้ ยฮบั ) และเป็นสะพานเชือ่ มเคร่ือง
คอมพวิ เตอร์ไรส้ ายอุปกรณ์ไวรเ์ ลสแลนเขา้ สเู่ คลือข่ายอีเธอร์เนต็ แลนหลัก (Ethernet Backbone) รวมถงึ การ
ควบคมุ การส่ือสารข้อมลู อุปกรณ์ไวรเ์ ลสแลน

18

สรุป

ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ คืออการเช่ือมต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ด้วยกันในการถา่ ยโอนขอ้ มูล
ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรม์ ี เครอื อขา่ ยท่ีกวา้ งไกลเริม่ จาก เครอื ขา่ ยส่วนตัว เครอื ข่ายทอ้ งถน่ิ
เครือข่ายระดบั เมือง เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ รวมอยดู่ ้วยกันแต่ ต้องเลือออกใชใ้ ห้สมั พันธก์ ับงานและองกรณ์ท่ี
ทางาน เครือขา่ ยย่อยเครือข่ายสาธารณ การจะใช้เครือขา่ ยได้ดีต้องมีอุปกรณ์ท่ี รองรับสัญญาณ เครือข่าย
เพื่อให้ได้รบั สัญญาณเครือข่ายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และตรงต่อความจาเป็นหรือตรงตามความต้องการที่จะ
ใช้ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เช่น อปุ กรณ์ฮัป เราเตอร์ เกตเวย์ อยา่ ลืมสายรับสัญญาณ เพ่อื ที่จะสามารถ ส่ง
สญั ญาณการเชื่อมต่ออได้เรว็ และมปี ระสิทธิภาพ

19

บรรณานกุ รม

“ ความหมายของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์,”[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/it514249230/home/khwam-hmay-khxng-computer-network
[สบื คน้ เมือ่ ตลุ าคม 2564]

“ ความเปน็ มาของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์,”[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=2368 [สบื คน้ เม่ือ ตลุ าคม 2564]

“ ความเป็นมาของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์,”[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=2368 [สบื คน้ เมื่อ ตุลาคม 2564]

“ การทางานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ,”[ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/kumlao2540/7-hlak-kar-thangan-khxng-rabb-kherux-khay-
khxmphiwtexr [สบื ค้นเม่ือ ตลุ าคม 2564]

“ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์, ”[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.1belief.com/article/lan-wan-man/ [สบื คน้ เมือ่ ตุลาคม 2564]

“ประเภทของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ PAN WAN LAN MAN, ”[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://sites.google.com/site/natpornpimon54/2-1-pra-pheth-khxng-kherux-khay-pan-man-
wan-lan [สบื ค้นเมื่อ ตุลาคม 2564]

“เครือข่ายสว่ นบุคคล ( PAN ), ”[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก :
https://en.wikipedia.org/wiki/Personal_area_network [สบื ค้นเมอ่ื ตุลาคม 2564]

“เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์, ”[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ - วิกพิ ีเดยี (wikipedia.org)
19 [สบื ค้นเม่ือ ตุลาคม 2564]

20

“อปุ กรณเ์ ครือขา่ ย, ”[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : อปุ กรณ์เครือขา่ ย (Network devices) | (wordpress.com)
[สบื ค้นเมือ่ ตุลาคม 2564]
“ระบบเครือข่าย แบบ WAN, ”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : ระบบเครือขา่ ยแบบ WAN (mahidol.ac.th)
[สืบค้นเม่ือ ตุลาคม 2564]

“ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระดับเมือง, ”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/jesadawin/hnwy-thi-2-rabb-kherux-khay-khxmphiwtexr-
1/prapheth-khxng-kherux-khay/metropolitan-area-network-hrux-man [สืบคน้ เม่ือ ตลุ าคม 2564]

“ประโยชนข์ องเครอื ข่าย LAN , ”[ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก :
https://rawin2hyun.wixsite.com/lannaja/registry [สบื คน้ เม่อื ตุลาคม 2564]


Click to View FlipBook Version