The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 20104-2110

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acad.head1, 2021-09-21 22:44:24

วิชา งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 20104-2110

วิชา งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 20104-2110

วชิ า งานซ่อมเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า 20104-2110

เรือ่ ง เคร่อื งมอื สาหรบั งานซอ่ มเคร่ืองใช้ไฟฟา้

แบบทดสอบก่อนเรยี น

1. ข้อใดไมใ่ ชห้ น้าทข่ี องไขควงและไขควงวดั ไฟ ง. ใส่สวิตซ์
ก. ขันสกรู ข. ต่อฟวิ ส์ ค. ปอกสายไฟ ง. 4 ชนิด
2. คมี ทีใ่ ชส้ าหรบั การเดินสายไฟมกี ช่ี นิด
ก. 1 ชนดิ ข. 2 ชนดิ ค. 3 ชนดิ
3. ข้อใดคือการใช้ไขควงทีถ่ ูกต้อง
ก. ใช้สกดั ไม้
ข. เชด็ ด้วยนา้ มนั ก่อน
ค. ใช้ปากแบบเดยี วกับสกรู
ง. ใชค้ มี จบั ดา้ มตอนใช้งาน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน(ต่อ)

4. ขอ้ ใดคอื คอ้ นทใ่ี ชต้ อกเข็มขดั รดั สายไฟ ง. คอ้ นหงอน
ก. ค้อนหัวแบน ข. ค้อนหวั กลม ค. คอ้ นปอนด์
5. ข้อใดคอื การใชเ้ คร่อื งมอื อย่างถกู วธิ ี
ก. ใช้สว่านเจาะรูทป่ี นู
ข. ใช้ไขควงตอกตะปู
ค. ใช้คีมขันเกลยี ว
ง. ใช้ค้อนวัดไฟ

แบบทดสอบก่อนเรยี น(ตอ่ )

6. ถ้าต้องการหาค่าแรงดนั ไฟฟ้า ควรใชเ้ ครอ่ื งมอื ใด

ก. มลั ตมิ เิ ตอร์ ข. สวา่ น ค. ไขควง ง. คีม
ง. ตดั สาย
7. ขอ้ ใดคอื หน้าทีข่ องคมี

ก. เคาะตะปู ข. ขันนอ็ ต ค. เจาะรู

8. ขอ้ ใดคอื หนา้ ท่ขี องหัวแรง้

ก. การบัดกรเี พอ่ื เชอ่ื มหรอื ประสาน

ข. ใช้วดั โวลต์

ค. ใชใ้ นงานไมใ้ นการเซาะรอ่ ง

ง. ขันสกรหู รือเกลยี ว

แบบทดสอบก่อนเรียน(ต่อ)

9. รปู ทีก่ าหนดให้คอื เคร่อื งมือชนดิ ใด

ก. มลั ตมิ ิเตอร์
ข. เตา้ ตเี สน้
ค. หัวแร้ง
ง. คีม

แบบทดสอบกอ่ นเรียน(ตอ่ )

10. รูปท่ีกาหนดให้คือเครอื่ งมอื ชนดิ ใด

ก. มลั ติมิเตอร์
ข. เตา้ ตเี ส้น
ค. หวั แรง้
ง. คมี

เครอื่ งมอื สาหรับงานซ่อมเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า

ในงานซ่อมเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เครอื่ งมือสาหรบั งานซ่อมมีความจาเป็นอย่าง
ย่ิง ซ่ึงในการเลอื กใช้ เคร่อื งมือน้ันจาเป็นตอ้ งใช้ให้เหมาะสมกบั งาน ดังน้ัน กอ่ นทา
การใชเ้ ครอ่ื งมือชนิดใด ควรศกึ ษาและทาความเขา้ ใจถึงประสทิ ธภิ าพ ตลอดทง้ั
ลักษณะการใช้งานให้ถกู ตอ้ งและมคี วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน โดยแบง่
ลักษณะการใชง้ านของเคร่อื งมือ สาหรบั งานซ่อมเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า ดงั น้ี
1. เครือ่ งมอื ประเภทไขควง
2. เคร่อื งประเภทคีม
3. เครอื่ งประเภทประแจ
4. เครอ่ื งมือตรวจสอบวงจรไฟฟา้
5. เครื่องมอื ประเภทอ่ืน ๆ

เครือ่ งมอื ประเภทไขควง

เครอ่ื งมือประเภทไขควงนี้ใช้สาหรบั การขันยดึ หรือถอดสกรแู ละนอต
ตอ่ ฟิวส์ ใสส่ วิตซ์ ส่วนไขควงวัดไฟใช้ในการตรวจเช็คกระแสไฟ แบง่ ตามลกั ษณะ
การใช้งาน คือ ไขควงปากแบน ไขควงปากแฉก ไขควงปากบล็อก

เครอ่ื งมือประเภทไขควง (ตอ่ )

1. ไขควงปากแบน
ใชส้ าหรบั ขันหวั สกรทู เี่ ป็นแบบหวั ผา่ ดังรปู ท่ี 1.1 และ 1.2 โดยในการขนั

ต้องใหป้ ากของไขควง ลงไปในรอ่ งของหัวสกรพู อดี เพราะถา้ ปากไขควงใหญ่
เกนิ ไปจะทาให้หวั สกรสู กึ หรอื เยินได้ และถา้ ปาก ไขควงเล็กเกนิ ไปจะทาให้ปากไข
ควงบิดงอ หรือไม่มีแรงขันมากพอทาให้ไขควงเสยี หายได้

รปู ท่ี 1.1 ไขควงปากแบบขนาดต่างๆ รปู ที่ 1.2 การใชไ้ ขควงปากแบบขันหัวสกรู

เครื่องมือประเภทไขควง (ต่อ)

2. ไขควงปากแฉก
มีลักษณะเปน็ ปากแฉก ใช้สาหรับขนั ยดึ นอตหรือสกรทู เ่ี ปน็ หวั สแี่ ฉก ดัง

รปู ที่ 1.3 การเลือกใชไ้ ขควงปากแฉกตอ้ งใชใ้ หเ้ หมาะสมกับขนาดของหวั สกรู
ลักษณะดงั รปู ที่ 1.4

รปู ที่ 1.3 ไขควงปากแฉกแบบตา่ งๆ รปู ท่ี 1.4 การใช้ไขควงปากแฉกขันหัวสกรู

เครอ่ื งมือประเภทไขควง (ต่อ)

3. ไขควงปากบลอ็ ก
ปลายไขควงแบบนี้มลี ักษณะเปน็ บลอ็ ก หกเหลี่ยม ใช้สาหรับสวมขนั นอต

หรือสกรทู ่ีเปน็ หัว แบบหกเหลีย่ ม มคี วามสะดวกในการขันหรอื คลาย หัวนอตได้ดี
ลักษณะดงั รูปท่ี 1.5

รปู ที่ 1.5 ไขควงปากบล็อก

เคร่อื งมือประเภทไขควง (ตอ่ )

วธิ ใี ช้และการบารุงรักษา
1) ไมค่ วรใช้ไขควงแทนสกดั หรือค้อน
2) ไมค่ วรใชไ้ ขควงท่ีเป้อื นนา้ มัน เพราะอาจเกดิ พลาดพล้งั กระแทกมือได้
3) ควรเลอื กใชไ้ ขควงท่มี ปี ากลักษณะเดียวกับชนิดของหัวสกรู
4) การใชไ้ ขควง ควรจบั ท่ดี า้ มของไขควงไมค่ วรใชค้ มี จับดา้ มไขควงขันสกรู
5) ใช้ไขควงทีม่ ดี า้ มเปน็ ฉนวนในงานชา่ งไฟฟา้
6) ถา้ ไขควงชารดุ ตอ้ งซ่อมทันที
7) หลกี เลี่ยงการใชไ้ ขควงถอดหรอื คลายสกรเู ก่าทช่ี ารดุ
8) เม่ือเลกิ ใช้แล้วควรทาความสะอาดและเกบ็ เข้าท่ีใหเ้ รยี บร้อย

เครอื่ งประเภทคมี

คีม เป็นเคร่ืองมือท่ใี ชง้ านไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ ตัดสายไฟ จับอุปกรณ์
ชิ้นสว่ นต่าง ๆ การเลอื กใช้คีมควรใหเ้ หมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน คีม
ท่ีใช้สาหรับงานซ่อมเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ด้ามจับของคีมควรมีฉนวนห่อหมุ้ และไมส่ ึกหรอื
เสื่อมสภาพเพอ่ื ความปลอดภัยในการทางาน คมี ที่ใชง้ าน โดยแยกออกได้ 4 ชนดิ
คอื คมี ตดั สาย คมี ปากจระเข้ คีมปากจิ้งจก และคมี ยา้ หัวต่อสาย

เครือ่ งประเภทคีม (ต่อ)

1. คมี ตดั สาย
คีมตดั ใช้สาหรับตัดสายไฟ ขาอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และปอกสายไฟ

สามารถ ใชใ้ นการตัดสายไฟในพื้นทีแ่ คบ ๆ ได้สะดวก ข้อควร ระวงั ในการใช้งาน
คอื ไมค่ วรนาไปใช้ตัดวัสดุที่มี ความแขง็ เช่น ตะปู หวั สกรู ลวดหรอื สายไฟขนาด
ใหญ่ เพราะอาจทาใหค้ มี หมดความคม หรอื ชารุด เสียหายได้ ลกั ษณะดงั รปู ท่ี 1.6
และ 1.7

รปู ท่ี 1.6 คมี ตัด รปู ที่ 1.7 คมี ตดั และคีมปอก

เครอื่ งประเภทคีม (ต่อ)

2. คีมปากจิง้ จกหรือคมี ปากยาว
คมี ปากยาว มีลักษณะ ปากยาวเพือ่ ใช้ขันนอต สกรู หรอื จับชิ้นงานใน

พน้ื ท่ี จากัด นอกจากนี้ ยงั ใช้ตดั สายไฟได้ด้วย การใช้งาน ไม่ควรใช้ปากของคีมงดั
สงิ่ ของเพราะปากคีมอาจหกั และเสยี หายได้ ลกั ษณะดังรูปท่ี 1.8

รูปที่ 1.8 คีมปากยาว

เคร่ืองประเภทคีม (ต่อ)

3. คมี ปากจระเขห้ รือคีมช่างไฟฟ้า
คมี ชา่ งไฟฟา้ บางทีเรยี กวา่ คมี รวม เนื่องจากใช้งานได้หลากหลาย เช่น

ตดั สายไฟ ตอ่ สายไฟ งานซ่อมบารงุ อปุ กรณไ์ ฟฟ้า สามารถใชต้ ัดสายไฟขนาดไม่
เกนิ 10 ตารางมิลลิเมตร มแี รงบีบเพ่ือการตัดสายมากกวา่ คมี ตดั และคมี ปากยาว
ลักษณะดงั รปู ท่ี 1.9

รูปท่ี 1.9 คีมช่างไฟฟ้า

เครอื่ งประเภทคมี (ตอ่ )

4. คีมยา้ หวั ต่อสาย
คมี ยา้ ลักษณะการใช้งาน เครื่องมือยา้ วสั ดคุ ีมย้าน้ี จะมหี ลายรูปแบบ แต่

วัตถปุ ระสงคห์ ลกั กค็ อื การยา้ สายไฟ หรอื สายลวด สายสญั ญาณ เพอ่ื ใชบ้ ีบวสั ดุหมุ้
(พลาสติกหรือโลหะ) ให้เปลี่ยนรปู ตามรปู ทรงตา่ งๆ ของการออกแบบของคีม โดย
วสั ดทุ ี่นามาหุม้ สายสญั ญาณ หรอื สายไฟตา่ งๆนน้ั จะเกาะติดตัวสายไปด้วย ซึ่งคมี
ชนดิ นน้ี ิยมใชก้ ันมากใน วงการไฟฟา้ การสอ่ื สาร และคมนาคม ลกั ษณะดังรปู
1.10

รูปท่ี 1.10 คมี ย้าหัวต่อสาย

เครอ่ื งประเภทคีม (ตอ่ )

วธิ ใี ช้และการบารุงรักษา
1) ใช้คีมให้เหมาะสมกบั ลักษณะงาน
2) ไมใ่ ช้คีมขันสกรูหรอื เกลยี วเพราะจะทาใหป้ ากคีมเยนิ
3) ไมค่ วรใช้คมี เคาะแทนค้อน
4) ก่อนใช้ ตรวจฉนวนหมุ้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ถา้ ชารุดห้ามใช้
5) เมื่อเลกิ ใช้ควรทาความสะอาดเก็บเข้าทใี่ ห้เรยี บรอ้ ย

เครอ่ื งประเภทประแจ

ประแจ ถอื เปน็ เคร่อื งมืออีกประเภทหน่งึ ท่ีใช้ในงานซ่อมเครอื่ งใช้ไฟฟา้
การถอดชิน้ ส่วนต่าง ๆ แบง่ ตามลักษณะการใชง้ าน ได้แก่ ประแจปากตาย ประแจ
แหวน ประแจเล่ือน ประแจหกเหล่ยี ม ประแจบลอ็ ก เป็นต้น

เคร่อื งประเภทประแจ (ตอ่ )

1. ประแจปากตาย
ประแจปากตาย ใช้สาหรบั ขันหัวนอตหรือสกรูท่ีเป็นเหลยี่ ม มหี ลาย

ขนาดให้เลือกใช้ตามขนาดของหัวนอต ปากของประแจไม่สามารถเล่อื นได้
ลกั ษณะดังรปู ท่ี 1.11

รปู ที่ 1.11 ประแจปากตาย

เครือ่ งประเภทประแจ (ต่อ)

2. ประแจเลอื่ น
ประแจเลื่อน โดยปากของประแจเลอ่ื นสามารถปรับเลอ่ื นให้ได้ ตาม

ขนาดของหวั นอต ลกั ษณะดังรปู ท่ี 1.12

รูปที่ 1.12 ประแจเลื่อน

เครื่องประเภทประแจ (ต่อ)

3. ประแจแหวน
ประแจแหวน มลี ักษณะ เปน็ หว่ งวงแหวน ภายในหว่ งวงแหวนมีล็อคและ

เหลีย่ มเพื่อจบั ยึดหวั นอตและสกรูได้ดี เหมาะ สาหรบั การขันยดึ ถอดหรอื คลาย
นอต สะดวกและ คล่องตวั ในการทางาน ลกั ษณะดังรูปที่ 1.13

รปู ที่ 1.13 ประแจหวาน

เคร่ืองประเภทประแจ (ต่อ)

4. ประแจหกเหลย่ี ม
ประแจหกเหล่ยี ม มี ลักษณะเปน็ หกเหลี่ยมใชข้ นั หรอื ถอดหวั นอตท่อี ยู่

ในรอ่ งลกึ ลกั ษณะดังรปู ที่ 1.14

รปู ที่ 1.14 ประแจหกเหลี่ยม

เครื่องประเภทประแจ (ตอ่ )

5. ประแจบลอ็ ก
ประแจบลอ็ ก เป็น ประแจทส่ี ามารถเปล่ียนหวั ประแจตามขนาดของ

นอตหรอื สกรูทตี่ ้องการขนั ซึง่ หัวของประแจปรบั เล่อื นบลอ็ กได้ ลักษณะดงั รูปท่ี
1.15

รูปท่ี 1.15 ประแจบล็อก

เครื่องประเภทประแจ (ตอ่ )

วธิ ใี ชแ้ ละการบารุงรักษา
1) ไมใ่ ชป้ ระแจตอกหรือตีแทนค้อน
2) ทาความสะอาดหลงั เลกิ ใช้งาน
3) หลกี เล่ียงการใช้ประแจที่มีขนาดใหญ่กวา่ สกรหู รอื นอต
4) ใชไ้ ขควงให้เหมาะสมกับกบั ลักษณะงานและรอ่ งของนอตสกรู
5) หลงั ใช้งานเช็ดทาความสะอาด แล้วเก็บใสก่ ลอ่ งเครอ่ื งมือ

เคร่อื งมอื ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า

เครือ่ งมอื ทีใ่ ชต้ รวจสอบวงจรไฟฟา้ โดยท่วั ไป ไดแ้ ก่ มลั ติมิเตอร์ แคลมป์ออน
มิเตอร์ ไขควงทดสอบไฟฟ้า เปน็ ต้น
1. มลั ตมิ ิเตอร์
มลั ติมิเตอร์ เป็นเครือ่ งมอื วดั ทางไฟฟ้าท่นี ิยมใช้งานกนั ท่ัวไป เน่อื งจากสามารถ วดั ได้ทง้ั
แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความตา้ นทานไฟฟา้ โดยท่วั ไปแบ่งลักษณะการทางานได้
2 แบบ คอื มัลติมิเตอรแ์ บบเขม็ ช้แี ละแบบดจิ ิตอล ดงั รปู ท่ี 1.16

รูปที่ 1.16 มลั ตมิ เิ ตอร์แบบต่างๆ

เครอ่ื งมอื ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (ต่อ)

การใช้มัลตมิ ิเตอรว์ ดั ค่าความตา้ นทาน แสดงดังรูปที่ 1.17 มขี ั้นตอนปฏิบัตดิ งั นี้
1) ปรับสวิตช์เลอื กย่านการวดั มาที่ตาแหนง่ ย่านวัดความต้านทาน
2) ปรับสวิตชเ์ ลอื กย่านการวดั มาท่ียา่ นวัด R x 1
3) ทดสอบเครื่องวดั โดยนาปลายสาย เคร่ืองวดั มาแตะกนั หากเขม็ มเิ ตอร์ ช้ไี ม่ถงึ ตาแหนง่

ศนู ยใ์ หป้ รบั ที่ปุ่มปรบั ศูนยโ์ อหม์ เพอ่ื ใหเ้ ขม็ ช้ีตาแหนง่ ศนู ย์
4) นาสายมิเตอรข์ ั้วบวก (สแี ดง) และ ขัว้ ลบ (สีดา) มาต่อครอ่ มหรือขนาน กับความตา้ นทาน

ดังรปู ท่ี 1.17
5) อา่ นค่าจากสเกลโอห์มใหส้ มั พนั ธก์ ับ ย่านทต่ี ้งั ไว้
6) หากเข็มมิเตอรไ์ มเ่ บยี่ งเบนแสดงว่าค่า ความต้านทานเสีย ในลักษณะขาดวงจร

รูปที่ 1.17 การใชม้ ลั ติมเิ ตอร์วดั คา่ ความตา้ นทาน

เครอ่ื งมอื ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (ต่อ)

การใช้มลั ติมิเตอรว์ ัดคา่ แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง แสดงดงั รปู ท่ี 1.18 มขี ้นั ตอนปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ปรบั สวติ ช์เลอื กยา่ นการวดั มาที่ตาแหน่งย่านวัดแรงดนั ไฟตรง (DCV)
2) ปรบั สวิตช์เลอื กยา่ นการวัดอยู่ในตาแหนง่ การวดั สูงท่สี ดุ ไวก้ อ่ น แลว้ ค่อยปรับย่านการ

วัด ลงมาใหเ้ หมาะสมกบั แรงดนั ไฟฟา้ ท่ตี ้องการวัด
3) นาสายมิเตอร์วดั ครอ่ มหรอื ขนานกับโหลดโดยให้ขน้ั บวก (สีแดง) ของมัลติมเิ ตอร์ ตอ่

เขา้ กับ ข้วั บวก ( + ) ของแหล่งจ่ายไฟฟา้ และขว้ั ลบ (สีดา) ของมลั ตมิ เิ ตอร์ต่อเขา้ กบั
ขั้วลบ ( – ) ของ แหล่งจา่ ยไฟฟ้าดงั กล่าว
4) อา่ นค่าแรงดันไฟฟ้าท่วี ดั ไดจ้ ากสเกลมลั ติมเิ ตอร์ โดยใหส้ มั พนั ธก์ ับย่านการวัดท่ตี ง้ั ไว้

รูปท่ี 1.18 การใชม้ ัลตมิ ิเตอรว์ ัด
ค่าแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง

เครื่องมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (ตอ่ )

การใชม้ ัลติมเิ ตอร์วัดคา่ กระแสไฟตรง แสดงในรปู ท่ี 1.19 มขี ัน้ ตอนปฏิบัตดิ ังน้ี
1. ปรบั สวติ ช์เลือกย่านการวัดมาท่ีตาแหน่งยา่ นวัดกระแสไฟตรง (DCA)
2. ปรบั สวติ ชเ์ ลอื กยา่ นการวัดอยู่ในตาแหนง่ การวดั กระแสไฟฟา้ สงู สดุ ไวก้ ่อน แลว้

ค่อยปรับลด ย่านการวดั กระแสไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั กระแสไฟฟา้ ท่ีวดั
3. วดั กระแสไฟตรงโดยต่อมลั ติมิเตอร์อนุกรมกบั โหลด โดยให้ขว้ั บวก (สแี ดง) ของมลั

ติมเิ ตอร์ ตอ่ เข้ากบั ขั้วบวก ( + ) ของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ และขั้วลบ (สีดา) ของมัลติ
มเิ ตอรต์ ่อเขา้ กับโหลด
4. อ่านคา่ กระแสไฟตรงทีไ่ ด้จากการวดั บนสเกลมัลตมิ เิ ตอร์

รูปท่ี 1.19 การใชม้ ัลตมิ เิ ตอร์วดั
คา่ ไฟฟา้ กระแสตรง

เครอ่ื งมอื ตรวจสอบวงจรไฟฟา้ (ตอ่ )

วิธีใช้และการบารุงรักษา
1) ศกึ ษาวิธใี ช้เครื่องมอื วดั ใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นใช้ เพราะหากใช้ผดิ จะเกิดความเสยี หายได้
2) เลอื กใช้เครือ่ งวัดใหถ้ กู กับชนดิ ของกระแสไฟฟ้า
3) ใช้แลว้ ตอ้ งเก็บรักษาใหด้ ี อยา่ ใหต้ กหรอื กระทบกระเทือนมาก ๆ อาจชารุดหรอื

เกิดความ เสยี หายได้

เครอื่ งมือประเภทอื่น ๆ

1. ค้อน
เปน็ เคร่ืองมือสาหรบั ตอก เคาะ สาหรับใช้งานไฟฟ้ามหี ลายชนดิ เช่น

ค้อนหงอน ทาด้วยเหลก็ ด้านหน้าเรียบ หงอนด้านบนใชถ้ อนตะปู ค้อนหัวแบนใช้
ตอกตะปูและเขม็ ขดั รดั สายในการเดนิ สายไฟ
วิธใี ช้และการบารุงรักษา
1) อยา่ ใชค้ ้อนงดั จนเกินกาลงั จะทาให้ดา้ มคอ้ นหัก
2) รกั ษาผวิ หนา้ ค้อนใหร้ าบเรียบเสมอกัน
3) ห้ามใชค้ ้อนทีช่ ารุด
4) หลังใชง้ านแล้วควรเชด็ ให้สะอาด เก็บไว้ในทเี่ กบ็ เครอื่ งมอื

เครื่องมอื ประเภทอ่นื ๆ (ตอ่ )

2. สว่าน
เปน็ เครื่องมือท่ีใช้สาหรับเจาะรูบนวัสดุหลายประเภท ทั้งงานไม้ งาน ปูน และงานโลหะ

วธิ ใี ชแ้ ละการบารุงรกั ษา
1) เลอื กสวา่ นใหเ้ หมาะสมกับงาน
2) ใส่ดอกสวา่ นให้ตรงและแนน่ ก่อนใช้งาน
3) ขณะเจาะตอ้ งต้งั ดอกสวา่ นใหต้ ัง้ ฉากกบั ชิ้นงาน จับชิน้ งานไว้ให้แน่น
4) ถา้ ต้องการเจาะรโู ต ควรใชด้ อกสว่านเล็กนาก่อน
5) ขณะเจาะควรคลายให้เศษวสั ดอุ อกบ้าง เพื่อลดแรงกดและป้องกันไมใ่ หด้ อกสวา่ นรอ้ นหรือหัก
6) หากช้นิ งานท่เี จาะเป็นไมก้ ่อนทะลคุ วรกลบั ไมเ้ จาะดา้ นตรงข้ามเพ่ือปอ้ งกันไมใ่ ห้แตก
7) การเจาะดว้ ยสวา่ นไฟฟา้ ไม่ควรลอ็ กป่มุ กดสวติ ช์ และตอ้ งระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ
8) เม่ือเลิกใช้งานให้ถอดดอกสว่านออกจากตัวสวา่ น ทาความสะอาด เก็บเข้าท่ีให้เรยี บร้อย

เครื่องมอื ประเภทอนื่ ๆ (ต่อ)

3. เล่ือยมอื
เลอ่ื ยทใ่ี ช้สาหรบั งานช่างไฟฟา้ คอื เลือ่ ยปากไมห้ รอื เลอ่ื ยรอปากไม้ เปน็ รปู สเ่ี หลี่ยมผนื ผา้

สันดา้ นบนเปน็ เหล็กหนา มฟี ันเล่อื ยละเอยี ด ใชส้ าหรบั ตัดปากไม้ในการเขา้ ไม้ต่างๆ
วธิ ใี ชแ้ ละการบารุงรกั ษา
1) กอ่ นใชง้ านจะตอ้ งทาการปรับความตงึ ของใบเลอ่ื ยใหเ้ หมาะสม ไมต่ ึงหรอื หย่อนจนเกนิ ไป
2) เมือ่ เลิกใช้งาน ใหค้ ลายสกรูหางปลาหยอ่ นใบเลอ่ื ย
3) เลอื กใชใ้ บเลื่อยใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดชนิ้ งานทจ่ี ะทาการเลอ่ื ย
4) ขณะปฏิบัตงิ านเลอ่ื ย อย่าบิดใบเลือ่ ย เพราะจะทาใหใ้ บเล่อื ยหัก
5) จบั ยึดชิ้นงานให้มนั่ คง และสะดวกตอ่ การปฏิบตั งิ านเลือ่ ย
6) เคลื่อนชักใบเลื่อย ให้ตลอดความยาวของคมเล่ือย เพื่อให้ฟันเลื่อยสกึ หรอพรอ้ มๆกัน
7) หลงั เลิกใชง้ านใหท้ าความสะอาดโครงเล่ือยทกุ ครัง้
8) ขณะชักโครงเลอ่ื ยกลบั ไมต่ ้องออกแรงกดและไม่ต้องยกใบเลือ่ ย

เครื่องมอื ประเภทอ่ืน ๆ (ตอ่ )

4. สว่ิ
เปน็ เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในงานไมใ้ นการเซาะรอ่ งตา่ งๆ เพ่ือให้สายไฟฟ้ารอด

ผ่านได้
วิธีใช้และการบารงุ รกั ษา
1) กอ่ นใช้สวิ่ สกดั ควรตรวจสอบให้แน่ใจกอ่ นว่า ไม่มีนอต ตะปู สกรูหรือส่งิ อ่ืน
2) ส่ิวต้องมคี วามคม
3) เมอื่ สิ่วมกี ารชารดุ หรอื หกั งอ บ่นิ ควรเปล่ยี นทันที ไมค่ วรนามาใช้

เครอ่ื งมือประเภทอนื่ ๆ (ตอ่ )

5. เตา้ ตีเสน้
ใช้ในการตีเสน้ ตรงในแนวนอนหรอื แนวดิ่งใช้ในการเดนิ สายไฟฟา้

วิธใี ชแ้ ละการบารุงรักษา
1) เม่อื ต้องการใชง้ านให้เทผงสีฝุ่นลงในกลอ่ ง (อาจใส่นา้ เล็กน้อย หรือไม่ใส่กไ็ ด้)

เขย่าเพ่อื ใหผ้ งสคี ลกุ กับเชือกใหท้ ่วั

เครือ่ งมือประเภทอนื่ ๆ (ต่อ)

6. มีด
ใช้ในการปอกฉนวน ตัด ปอก ขดู หรอื ทาความสะอาดสายไฟ ใช้มากใน

การเดนิ สายไฟฟา้
วธิ ีใช้และการบารงุ รักษา
1) การปอกสายไฟควรตะแคงมีดทามมุ 45 องศา กบั สายไฟลกั ษณะเดยี วกับ

การเหลาดนิ สอ อยา่ กดใบมดี ลกึ จนเกนิ ไป เพราะใบมอี าจตัดถูกลวดทองแดง
ภายในขาด

เคร่ืองมือประเภทอ่นื ๆ (ตอ่ )

7. หวั แร้ง
ใช้ในการบัดกรเี พือ่ เชื่อมหรอื ประสาน มีอยู่ 2 ชนิดคือ หัวแร้งเผาดว้ ย

ถา่ น และหัวแร้งไฟฟา้ หวั แร้งไฟฟ้าเหมาะทีจ่ ะใชก้ บั งานเดนิ สายไฟ และงานซอ่ ม
งานประสานเลก็ ๆ น้อยๆ ทีใ่ ชค้ วามร้อนไมม่ ากนกั

วธิ ีใช้และการบารงุ รักษา
1) ตอ้ งรกั ษาปลายหวั แรง้ ให้สะอาดอยูเ่ สมอ
2) อยา่ ให้หัวแลง้ บดั กรรี อ้ นจัดเกินไป
3) หัวแรง้ เมอ่ื ใช้แล้วตอ้ งจุ่มน้ากรดอย่างเจอื จาง แลว้ จึงเก็บเข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ข้อใดไม่ถกู ต้อง

ก. หลีกเลีย่ งการใชไ้ ขควงถอดหรอื คลายสกรเู กา่ ทช่ี ารุด

ข. ใช้ไขควงที่มีปากลักษณะตา่ งกบั ชนดิ ของหัวสกรู

ค. รักษาผิวหน้าคอ้ นใหร้ าบเรยี บเสมอกัน

ง. หวั แร้งเมอื่ ใชแ้ ลว้ ตอ้ งจุ่มนา้ กรดอยา่ งเจอื จาง แลว้ จงึ เกบ็ เขา้ ทีใ่ ห้เรยี บร้อย

2. คมี ที่ใช้สาหรับการเดนิ สายไฟมกี ี่ชนดิ

ก. 1 ชนดิ ข. 2 ชนิด ค. 3 ชนดิ ง. 4 ชนิด

3. คมี ชา่ งไฟฟ้า เรียกอกี อยา่ งหน่ึงวา่ อะไร

ก. คีมรวม ข. คีมปากจิง้ จก ค.คีมปากยาว ง.คมี ย้าหวั ตอ่ สาย

แบบทดสอบหลงั เรยี น (ตอ่ )

4. ประแจชนิดใด ใช้ขนั หรอื ถอดหัวนอตทอ่ี ยู่ ในร่องลกึ
ก. ประแจปากตาย ข. ประแจแหวน ค. ประแจหกเหลีย่ ม ง.ประแจบลอ็ ก
5. มัลติมเิ ตอร์ แบง่ ลกั ษณะการทางานไดก้ ีแ่ บบ
ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ

6. ขอ้ ใดคอื ค้อนทใ่ี ชต้ อกเข็มขดั รดั สายไฟ

ก. ค้อนหวั แบน ข. คอ้ นหวั กลม ค. ค้อนปอนด์ ง. คอ้ นหงอน

7. ขณะเจาะต้องต้ังดอกสวา่ นกอี่ งศากบั ชิ้นงาน

ก. 45 องศา ข. 60 องศา ค. 90 องศา ง. 120 องศา

8. การปอกสายไฟควรตะแคงมีดทามุมกีอ่ งศา กับสายไฟ

ก. 45 องศา ข. 60 องศา ค. 90 องศา ง. 120 องศา

แบบทดสอบหลงั เรียน (ตอ่ )

9. รปู ท่ีกาหนดใหค้ อื เครอ่ื งมอื ชนิดใด

ก. ประแจเลื่อน ข. ประแจแหวน ค. ประแจหกเหลี่ยม ง.ประแจบล็อก
10. รูปทกี่ าหนดให้คือเครือ่ งมอื ชนิดใด
ก. ประแจเล่อื น ข. ประแจแหวน ค. ประแจหกเหลีย่ ม ง.ประแจบล็อก


Click to View FlipBook Version