The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

084 - ปรวรรตน์ มังกะลู - บันทึกการเรียน - B07

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 084_porawat mangkalu, 2020-12-09 03:31:08

084 - ปรวรรตน์ มังกะลู - บันทึกการเรียน - B07

084 - ปรวรรตน์ มังกะลู - บันทึกการเรียน - B07

บนั ทึกการเรียน
นายปรววรตน์ มงั กะลู

63105010084
วชิ า ED111 B07

หมายเหตุ : บันทกึ การเรียนฉบบั น้ีเป็นการสรปุ บันทึกการเรยี นรายวิชา ED111 ทเ่ี คยจดบันทึก
ทง้ั หมด และมีการเพิ่มเติมเนอื้ หาจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ เชน่ หนังสือและอนิ เตอรเ์ น็ต เพื่อใหไ้ ด้
ข้อมูลที่เพมิ่ มากขน้ึ ดงั น้ันหากมขี อ้ มลู ใดผิดพลาด ทางผู้จดทาขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ี้ดว้ ย

แฮรบ์ าร์ต Herbart Method เป็นปรชั ญาการศึกษาชาวเยอรมัน และเป็นผรู้ ิเร่ิมการจัดการเรยี นการ
สอนแบบบรู ณาการ โดยการเรียนการสอนในตามความคิดของ แฮร์บารต์ (Herbart Method)นนั้ คือ นกั เรียน
จะเรียนรู้สิ่งใดน้ันจะต้องมาจากความสนใจของเราก่อนเป็นอันดับแรก ในด้านการเรียนการสอนน้ันครูผู้สอน
จาเปน็ ตอ้ งสรา้ งความสนใจกอ่ นเป็นอันดบั แรก จึงเขา้ สขู้ ้ันตอนของการสอนจรงิ ๆเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
จุดม่งุ หมาย

1. ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรจู้ ากความสนใจก่อนการเรียนรู้
2. เพ่อื สรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งครูกบั ผูเ้ รียน เปน็ การสารวจขอ้ มูลนกั เรยี นว่าเขามพี ืน้ ฐานขนาดไหน
จะได้จดั การเรียนการสอนถูก (ความร้เู กา่ กับความร้ใู หม่)
3. เปน็ การส่งเสริมการจัดลาดบั ความรขู้ องผู้เรยี น
วิธกี ารสอน
1. ขนั้ เตรียม เปน็ ขั้นเรา้ ให้ผเู้ รยี นเกดิ ความสนใจก่อนเพอื่ จะเรยี นรสู้ งิ่ ใหมๆ่ ครูต้องทบทวนความรเู้ ดิม
ทม่ี อี ยูข่ องผเู้ รียน
2. ขั้นสอน เปน็ ข้นั ตอนที่ครูดาเนินการสอนความบทเรียน
3. ข้ันสัมพันธ์หรือทนทวนเปรียบเทียบ เป็นต่อจากการสอนเมือครูสอนเสร็จแล้วครูต้องทบทวน
ความรู้ที่ผู้เรียนได้รับ และครูตอ้ งทบทวนเปรยี บเทียบว่าความรู้ใหม่กับความรู้ท่ีเพิ่มมาสัมพันธ์กันไหมและจด
บนั ทึก
4. ข้ันต้ังกฎหรือข้อสรุป ครูกับผู้เรียนช่วยกันรวบรวมความรู้ท่ีเรียนมาต้ังแต่แรกแล้วจัดลาดับตาม
ขน้ั ตอนให้เปน็ ระบบ เพ่ือนให้ผเู้ รยี นสามารถนาความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจาวันได้
5.ขนั้ นาไปใช้ เป็นขน้ั ตอนท่ผี ้เู รียนนาเอาความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้

ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี

ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี เป็นใบอนญุ าตให้สามารถประกอบวิชาชพี นั้น ๆ ตามสาขาท่ีเรยี นมา โดย
ผทู้ ี่จะได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะต้องมีคณุ สมบตั ิตามที่องค์กรออกใบอนุญาตประกอบวิชาชพี กาหนด
ไว้ ผู้ท่ีไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพน้ัน ๆ ได้ ถ้าฝ่าฝืนจะมีโทษตามที่องค์กร
วชิ าชีพแต่ล่ะองคก์ รกาหนดไว้ (ตามเว็บวกิ )ิ

ครู ใชใ้ บประกอบวิชาชพี ครู
ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ใช้ใบประกอบวชิ าชีพครแู ละใบประกอบบริหารสถานศึกษา
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ใช้ใบประกอบวิชาชพี ครูและใบประกอบบริหารการศกึ ษา
บุคลากรทางการศึกษาท่ีมีกาหนดในกระทรวง ใช้ใบประกอบวิชาชีพครูและใบประกอบวิชาชีพ
ควบคุมอืน่ ๆ

พฒั นาการของวชิ าชพี ครู
การเร่ิมต้นและการเปล่ียนแปลงที่เก่ียวข้องกับครูในเบ้ืองต้นเป็นเพียงผู้สอนหวังผู้บอกความรู้
ซ่ึงไมไ่ ดม้ คี วามมั่นคงอะไรในกิจกรรมท่ี กระทั้งได้มีพัฒนาการอนั ยาวนานมาเป็นวชิ าชพี ครู ดงั นั้น เพือ่ นให้เกิด
ความรู้ ความเข้าในลากับขั้นตอนของการพัฒนาการของวิชาชีพครู ผู้เขียนจึงแบ่งออกเป็นยุค ( Era)
เรียกวา่ ยคุ พฒั นาการของวิชาชพี ครู ดงั ตอ่ ไปน้ี
1.ครูยคุ การศึกษาไทยโบราณ (ก่อน พ.ศ. 1730-2413)
ชนชาติไทยมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน การดาเนินชีวิตที่ให้คนไทยอยู่ดีมีสุข อยู่รอดปลอดภัย
และวัฒนาถาวรมาเป็นลาดับ ท่ีเรียกว่า วัฒนธรรมและประเพณี ได้ทาการสะสมไว้แล้วจึงนามาบอกต่อๆ
กับคนรุ่นหลงั ทเี่ รียกว่า การจัดการศกึ ษา
สมัยอาณาจักรน่านเจ้า ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการดาเนินการจัดการศึกษาไทย
ในประวัติศาสตร์จีนตอนหน่ึงได้กล่าวถึงชนชาติไทยไว้ว่า เมื่อครั้งอาศัยอยู่บริเวณมณฑลยูนาน เรียกว่า
อาณาจักรน่านเจ้า ไทยเป็นชนชาติโบราณที่มีการศึกษาดีชาติหนึ่ง บ้านเมืองมีความเจริญมาก มีกา ร
จัดระเบียบการปกครอง ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ มีการส่ังสอนอบรมและถ่ายทอดมาสู่คนรุ่นหลัง
ตามท่ีไดบ้ ันทึกไว้ในประวัตศิ าสตรด์ ึงกล่าวข้างต้น ในส่วนทีเ่ ก่ียวกับครนู ่าจะมีคาสาคัญ(Key word) อยู่ 2 คา
คือ มีการศึกษาดีชาติหน่ึง และ มีการสั่งสอนอบรมและถ่ายทอดมาสู่รุ่นหลัง จากสาคัญดังกล่าวย่อมแสดงให้
เหน็ ว่าชนชาติไทยมีครูมาตง้ั แตอ่ ดตี หรือครูไดอ้ บุ ัติขึ้นมาพร้อมๆ กบั การเกิดขน้ึ ของชนชาติไทย หรืออาจกลา่ ว
โดยสรุปว่าครูไทยเกิดข้ึนในสมัยอาณาจกั รน่านเจ้า ประกอบกบั ในสมัยนัน้ ไมม่ ีระบบโรงเรยี น บุคคลท่ีทาหน้าที่
เป็น ครู คอื ผู้รอบรู้เรื่องขนบประเพณีและวัฒนธรรมของเผา่ พนั ธ์ุไดแ้ ก่ หวั หน้าของชุมชน หรือผูน้ าครอบครัว

(เจริญ ไวรวัจนกูล. ม.ป.ป. : 17-18 ) ซ่ึงบุคคลดังกล่าวคือผู้ท่ีได้รับยกย่องให้เป็นครูเพศชายล้วน ครูจาแนก
ออกเปน็ 3 ระดับคอื

1.ตุห๊ ลวง คอื เจา้ อาวาส(เปน็ ผ้มู วี ชิ าสูง มีความรใู้ นวชิ าหนงั สอื ) ทาหน้าทเ่ี ป็นครูใหญ่
2.ตุ๊บาลก๋า คือ พระภิกษุท่ีมีพรรษาแกกว่า 5 พรรษาข้ึนไป ทาหน้าที่สอนหนังสือให้แก่พระภิกษุและ
สามเณรทว่ั ไป
3. ตุ๊หนาน คือ พระภิกษุท่ีอ่อนพรรษา ทาหน้าที่สอนโยมวัด (ศิษย์วัด) หมายถึง เด็กท่ีพ่อแม่นาไปฝาก
เปน็ ศิษย์
ดังนั้น ครูผู้สอนคือผู้บอกหรือให้ความรู้ หรือมีการส่ังสอน อบรม และถ่ายทอดมาสู่คนรุ่นหลัง เพื่อให้
ลูกศิษย์ได้นาความรู้ต่างๆ ไปใช้ในการประกอบอาชีพ ไปใช้ในการประกอบอาชีพ และใช้ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวนั ได้อยู่ปกติสุข
สมัยสุโขทัย สันนิษฐานได้ว่ามีการจดั ต้ังโรงเรียนขึ้นแล้วและมีนักวิชาการอยู่เป็นจานวนมาก ดังท่ีเห็นได้
จากการมีตัวอักษรไทยที่เรียกว่า ลายสือไทย ท่ีนามาใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญยิ่งในการศึกษาเล่าเรียน อบรม
ถ่ายทอดความรู้ สาหรับจัดการศึกษาในสมัยน้ันคงจัดร่วมกันระหว่างรัฐกับวัด ซ่ึงวัดเป็นศูนย์กลางแห่ง
ประชาคม โดยประชาคมเป็นได้ทั้งผู้เรียนและผู้สอนอยู่ในตัวเสร็จ (กรมวิชาการม. 2504 : 1 อ้างถึงใน
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช . 2547 : 22)
สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นดินแดนที่มีความเป็นเอกราชยาวนานมากกว่า 400 ปี ในยุคนี้มีการเปลี่ยนแปลง
และพฒั นาเป็นอยา่ งมากในทกุ ๆ ดา้ น เชน่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และการศึกษา สาหรบั ชน
ชาติในเอเชียท่ีเข้ามาทาการติดต่อค้าขายและทามาหากินประกอบด้วย จีน มลายู ญวน เขมร อินเดีย และ
อาหรบั เมอื่ มาถงึ ในรัชกาลของพระราชาธิบดีที่ 2 มีชนชาตยิ ุโรปเขา้ มาติดต่อคา้ ขายและทามาหากินที่เปน็ ชาติ
แรก คือ โปรตุเกส และมีชาตอิ ่ืนๆ ตามมา เช่น ฮอลนั ดา ฝรัง่ เศส เป็นต้น (วิทยาลัยครูสวนสุนันทรา. 2525 :
100)
ครูในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ พระภิกษุ ทาหน้าที่สาคัญในการให้การศึกษาแก่ยาวชนเนื่องจากวัดเป็น
โรงเรียนสาธารณะประเภทเดียวเท่านั้น นอกเหนือจากพระภิกษุแล้ว ผู้ที่เป็นครู ประกอบด้วย ปราชญ์ราช
บณั ฑติ ชา่ งวิชาชีพต่างๆ และบดิ ามารดา ในสมยั นี้มกี ารจดั ตงั้ โรงเรยี นมชิ ชันนารซี ่งึ เปน็ โรงเรียนทชี่ าวตะวันตก
ได้เขา้ มาสร้างไว้เพอื่ เผยแผศ่ าสนา และขณะเดียวกันทาการสอนวิชาสามัญไปดว้ ย ดังนน้ั บคุ คลที่มาเปน็ ครูใน
สมัยนี้มีเพ่ิมขึ้นอีกประเภทหนึ่ง คือ มิชชันนารี นับได้ว่าครูชาวต่างประเทศเกิดข้ึนแล้วในไทย ตามหลักฐาน
ทางการศกึ ษาทีก่ ลา่ วไวใ้ นหนังสอื ประวัติกระทรวงศึกษาธกิ าร 2435-2507 เขียนโดย กระทรวงศึกษาธกิ ารได้
ระบุว่าสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช การศึกษาเจริญก้าวหน้ามาก มีพวกสอนศาสนาชาวต่างชาติมาต้ังโง
เรียนสอนภาษและศาสนา (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2507 : 2 อา้ งถงึ ใน เจรญิ ไกรวจั นกุล ม.ป..ป. : 44 )

สมัยกรุงธนบุรแี ละกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ถือได้ว่าเป็นการส้ินการศึกษาไทยโบราณ ในสว่ นของ การ
จัดการศึกษาไมแ่ ตกต่างไปจากกรงุ ศรอี ยุธยา สาหรบั ในส่วนของครูข้นึ อยู่กบั สานักการศกึ ษา อาจเปน็ พระภิกษุ
ปราชญ์ราชบรั ฑิต ช่างวชิ าชีพตา่ งๆ บดิ ามารดา และพวกมิชชันนารสี าหรับมิชชันนารี วทิ ย์ วิศทเวทย์ (2555 :
50) ไดก้ ลา่ วว่า เม่อื พ.ศ. 2391 นางแมตตนู เปน็ มชิ ชันนารีชาวอเมรกิ นั ไดร้ บั เด็กชาวมอญมาสอนหนังสือให้

2. ครูยุคการศกึ ษาไทยในสมยั ปฏริ ูปการศึกษา
(พ.ศ.2414-2474)

การศึกษาของไทยในสมัยปฏิรูปการศึกษา อันเป็นผลเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ได้เสด็จไปต่างประเทศท้ังในเอเชียและยุโรป พระองค์ท่านจึงนาแนวความคิดมาใช้เพ่ือปฏิรูป
การศึกษา และใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบ้านเมือง จึงได้มีการจัดต้ังโรงเรียน (สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
2539 : 57)

การศึกษาของไทยในสมัยปฏิรปู การศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกบั ครมู ีการพัฒนา ดังน้ี
พ.ศ.2414 ตั้งโรงเรียนหลวงข้ึนในพระบรมมหาราชวงั โดยมีพระยาศรีสุนทรโวหาร(นอ้ ย อาจาริยางกูล)
ในขณะที่เป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ และมีการจัดต้ังโรงเรียนประเภทอ่ืนๆ เช่น โรงเรียนหลวง
สาหรบั สอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง
พ.ศ.2427 ทรงต้ังโรงเรียนหลวงสาหรับราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพหลายแห่ง แห่งแรกคือโรงเรียน
วัดมหรรณพาราม
พ.ศ.2435 ตัง้ โรงเรียนฝึกหัดครูเปน็ แห่งแรกท่ีตาบลโรงเลีย้ งเดก็ ต่อมายา้ ยไปอยู่ท่ีวดั เทพศริ ินทร์
พ.ศ.2437 นั่งเรียนฝึกหัดครูยุคแรก 3 คน สาเร็จการศึกษาได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
สอนภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
พ.ศ.2449 ยกระดับโรงเรียนฝึกหัดครู โดยปรับปรุงหลักสูตรให้สูงขึ้นเป็นโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์สอน
หลักสูตร 2 ปี รบั นกั เรยี นทส่ี าเรจ็ มัธยมศึกษา
พ.ศ.2450 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงข้ึนเป็นคร้ังแรกท่ีโรงเรียนเบญจมราชาลัยอน่ึง ใน พ.ศ. 2414
น้นั ได้มพี ระบรมราชโองการต้งั โรงเรยี น ซงึ่ ประกาศ ณ วนั พฤหัสบดี เดือนอา้ ย แรม 3 ค่า ปีมะแม พ.ศ.2414
จึงทาให้มองเห็นระบบโรงเรียนได้ 6 ประการ มีอยู่ 2 ประการท่ีเกี่ยวข้องกับครูอย่างชัดเจนคือ
(เจริญ ไกรวจั นกลู . ม.ป.ป. : 64)
1) โรงเรียนแห่งแรกท่ีสอนหนังสือไทยต้ังขึ้นในพระบรมมหาราชวัง มีขุนนางและเจ้าพนักงานจากกรม
พระอาลักษณท์ าหน้าท่ีเป็นครูสอน
2) ผู้เปน็ ครูเป็นข้าราชการ มเี งินเดอื น ผูเ้ รยี นมเี สอื้ ผ้าและอาหารกลางวันพระราชทาน
พ.ศ.2461 ปรับปรุงและขยายการฝึกหัดครู โอนกลับมาขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเดิมเป็นแผน
หน่งึ ขอโรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื น

สาหรับในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยมีปัญหาภายในหลายประการ
อาทิเช่น ปญั หาการเมอื งท่ีเกิดขน้ึ ทั่วทง้ั ภายในประเทศ อันเน่ืองจากมีการตนื่ ตัวทางการเมอื ง ปัญหาอทิ ธิพล
จักรวรรดินิยมตะวันตก ปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่า และปัญหาจาการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา
คือ พระราชบัญญัติเก่ียวกับการประถมศึกษา ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาท่ีเกิดจากขาดความพร้อมทางด้าน
งบประมาณการศกึ ษา และมีปัญหาอืน่ ๆ เป็นตนั ในส่วนทีเ่ ก่ยี วกบั ครูไม่มีการเปลยี่ นแปลง

3. ครยู ุคการศกึ ษาไทยในสมยั ไทยในสมยั การปกครองระบอบประชาธิปไตย (พ.ศ.2475-2487)
เน่ืองด้วยเม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยบุคคลคณะหน่ึง เรียกว่า “คณะราษฎร์”
เม่ือเปล่ียนแปลงการปกครองแล้ว อุดมการณ์ของคณะราษฎร์ท่ีมีเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาประเทศ
เรยี กว่า หลกั 6 ประการ
สาหรับในประการที่ 6 มีความว่า “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ในส่วนท่ีเก่ียวกับครู
พบว่าในปี พ.ศ.2484 มีการจัดต้ังกองฝึกหัดครูในกระทรวงธรรมการ (วิทยาลัยครูสวนสุนันทา 2525 : 107-
3108 และสถาบนั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา 2539 : 55-62)
4. ครูยุคมีพระราชบญั ญัติกอ่ นมใี บประกอบวิชาชีพ(พ.ศ.2488-2545)
พัฒนาการของครูในยุคนี้เป็นยุคท่ีมีกฎหมายเป็นของตนเอง มีศักดิ์ของอาชีพที่จะทาภารกิจตาม
บทบาท หน้าท่ี และสิทธิต่างๆ ภายใต้ของการรับรองของกฎหมายครูโดยเฉพาะสถานภาพของครูในช่วง
ระหวา่ งเวลาดงั กล่าวมีการพัฒนาการ ดงั ตอ่ ไปน้ี
4.1 พระราชบญั ญตั ิครู พุทธศกั ราช 2488 ไดบ้ ัญญัติสาระสาคัญเกยี่ วข้องกบั พัฒนาการของครู ดงั น้ี
4.1.1 ให้มีสภาในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กวา่ “ครุ ุสภา” และใหส้ ภาน้ีเป็นนิตบิ ุคคล (มาตรา 4)
4.1.2 คุรุสภามอี านาจและหน้าทีเ่ กีย่ วกับครู ดงั น้ี

4.1.2.1 ควบคุมและสอดส่องจรรยามรรยาทและวินัยครู พิจารณาโทษครู ผู้ประพฤติผิด และ
พจิ ารณาคาร้องทกุ ขข์ องครู

4.1.2.2 พทิ ักษส์ ิทธข์ิ องครภู ายในทีก่ ฎหมายกาหนด
4.1.2.3 สง่ เสริมให้ครไู ด้รบั สวสั ดกิ ารตา่ งๆ ตามสมควร
4.1.2.4 พัฒนาความรู้ ความสามารถ คณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพของครู (มาตรรา 6)
4.1.3 ครูตามมาตรา 24 ไดเ้ ปน็ กรรมการอานวยการคุรุสภา จานวน 10 คน มีการจัดสรรออกเปน็ ครตู าม
มาตรา 24

4.1.4 กาหนดให้ครู ได้แก่ (มาตรา 24 )
4.1.4.1 ขา้ ราชการครู (มาตรา 24 (1))
4.1.4.2 พนักงานเทศบาล (มาตรา 24 (3))
4.1.4.3 ข้าราชการกรุงเทพมหานครที่ดารงตาแหน่งเป็นผู้สอนประจาในสถานศึกษาของ

กรงุ เทพมหานคร (มาตรา 24/4)
4.1.4.4 ผู้ทาการสอนในสถานศกึ ษาที่อยู่ในความควบคุม ของกระทรวงศึกษาธิการ และได้รับการ

เงนิ เดอื นประจา ขอ้ ความน้ี หมายถงึ ครูโรงเรียนราษฎร์ หรือโรงเรียนเอกชน (มาตรา 24 (5))
4.1.4.5 ครูต้องเปน็ สมาชกิ ของครุสภา (มาตรา 26 )
4.1.4.6 กาหนดให้ครูต้องมีจรรยาและมารยาทอันดีงาม และครูต้องอยู่ในวินัยตามระเบียบ

ประเพณีของครูตามที่ครุสภาได้วางไว้ และตามระเบียบของสภาท่ีเก่ียวกับจรรยามารยาทและวินัย (มาตรา
29,30 และ31

4.2 พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษา พ.ศ. 2523 ได้บัญญัติสาระสาคัญเก่ียวข้องกับ
พัฒนาการของครู ดงั นี้

4.2.1 ได้ให้ความหมาย “ข้าราชการครู” หมายความวา่ ขา้ ราชการสังกัดสานกั งานคณะกรรมการ
ประถมศึกษาแห่งชาติ (มาตรา 3)

4.2.2 ในคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติมขี ้าราชการครูรวมอยู่ด้วย ซ่ึง เป็นข้าราชการครูผู้
ได้รับเลือกต้ังเป็นผแู้ ทนราชการครู จานวน 12 คน (มาตรา 5) ในคณะกรรมการ การประถมศึกษาจงั หวัดท่ี
เปน็ ข้าราชการครุ สังกดั สานกั งานการปฐมศึกษาจังหวัด ผู้ไดร้ ับเลือกตง้ั เปน็ ผู้แทนราชการครู ผไู้ ดร้ ับเลอื กตั้ง
เป็นผู้แทนข้าราชการครูทางกลุ่มโรงเรียนภายในเขตอาเภอกลุ่มโรงเรียนละ 1 คน (มาตรา 23 )
ในทกุ คณะกรรมการมีวาระอยใู่ นตาแหน่งคราวละ 4 ปี

5. ครยู ุคมใี บประกอบวชิ าชีพครู (พ.ศ. 2546)
สาหรับในยุคครูสมัยมีใบประกอบวิชาชีพ เป็นยุคที่อาชีพครูได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมา ก

อันเป็นผลเน่ืองมาจากการวิเคราะห์ลักษณะงานของครูตามบทบาท หน้าท่ี ซึ่งลักษณะงานดังกล่าวไป
สอดคล้องกับลักษณะของงานวิชีพต่างๆที่เป็นวิชาชีพสูง จึงได้มีการยกระดับอาชพี ครเู ป็นวิชาชีพ โดยได้ตรา
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ซ่ึงได้บัญญัติสาระสาคัญที่แสดงให้เห็นถึง
พัฒนาการของอาชีพครไู ปสูค่ วามเป็นวิชาชีพครู ดังน้ี

5.1 จัดให้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติครู ตั้งแต่พุทธศักราช 2488 ถึง 2523 รวม 6 ฉบับ
(มาตรา 3 )

5.2 ได้บัญญัตคิ าวา่ “วชิ าชพี ” และให้ความหมายของคาว่า “ครู” ซึ่งพฒั นาจากยคุ ที่ 4 คอื ยุคครูสมัย
มีพระราชบญั ญัติกอ่ นมีใบประกอบวชิ าชพี (พทุ ธศกั ราช 2488-2545) สาหรับคานิยามของคาว่า “วิชาชีพครู”
และ “ครู” ดังนี้

5.2.1 “วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพทางการศึกษาที่ทาหลักทางด้านการเรียนการสอนและการ
สง่ เสริมการเรยี นรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีต่างๆ รวมทงั้ การรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัย
ข้ันพนื้ ฐาน และอุดมศึกษาทีต่ ่ากว่าปรญิ ญาทัง้ ของรฐั และเอกชน และการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาใน
ระดับเขตพื้นที่การศกึ ษา สนับสนนุ การศกึ ษาใหบ้ ริการหรอื ปฏบิ ัติงานเกย่ี วเนื่องกบั การจัดกระบวนการเรยี น
การสอน การนเิ ทศ และการบริหารการศึกษา
ในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ

5.2.2 “ครู” หมายความว่า บคุ คลท่ีประกอบอาชพี หลักทางดา้ นการเรียนการสอนและการสง่ เสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ข้ันพื้นฐาน และ อุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริญญา
ทั้งของรัฐและเอกชน

5.3 ได้บญั ญัติให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า “ครุสภา” มีกฎระเบียบอยู่ในกากับ
ของกระทรวงศึกษาธิการ (มาตรา 7 )

5.4 คุรุสภามีสถานภาพเป็นองคก์ รวชิ าชีพครู โดยกาหนดให้คุรสุ ภามีวตั ถุประสงคด์ งั ตอ่ ไปน้ี
5.4.1 กาหนดมาตรฐานวชิ าชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับการดูแลการปฏิบัตติ ามมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี รวมทง้ั การพฒั นาวิชาชพี
5.4.2 กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
5.4.3 ประสาน ส่งเสรมิ การศึกษาและการวจิ ัย ทเี่ กี่ยวกบั การประกอบวิชาชีพ (มาตรา 8 )
5.5 ครุ สุ ภามีอานาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
5.5.1 กาหนดมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี
5.5.2 ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้เป็นไป
ตามมาตราฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี
5.5.3 ออกใบอนญุ าตให้แกผ่ ู้ขอประกอบวิชาชีพ
5.5.4 พักใชใ้ บอนาตหิ รือเพิกถอนมบอนญุ าติ
5.5.5 สนนั สนุน ส่งเสริม และพฒั นาวิชาชีพตามมาตราฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ
5.5.6 สง่ เสริม สนบั สนุน ยกยอ่ ง และผดุงเกียรตผิ ปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
5.5.7 รบั รองปริญญา ประกาศนยี บตั ร หรือวุฒบิ ตั รของสถาบันตา่ งๆ ตามมาตรฐานวิชาชพี

5.5.8 รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวชิ าชพี รวมท้งั ความชานาญในการประกอบวิชาชพี
5.5.9 ส่งเสริมการศกึ ษาและการวจิ ยั เก่ยี วกับการประกอบวิชาชีพ
5.5.10 เปน็ ตัวแทนผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาของประเทศไทย
5.5.11 ออกขอ้ บงั คับของคุรุสภาวา่ ดว้ ย

1) การกาหนดลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 13
2) ออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต
และการรับรองความรู้ ประสบการณท์ างวิชาชพี ความชานาญในการประกอบวชิ าชพี
3) หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการในการขอรบั ใบอนุญาต
4) คุณสมบตั แิ ละลกั ษณะตอ้ งหา้ มของผูข้ อรับใบอนุญาต
5) จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการประพฤติผดิ จรรยาบรรณ อนั จะนามาซ่ึงความเสื่อมเสีย
เกียรตศิ กั ดิ์แหง่ วชิ าชพี
6) มาตรฐานวิชาชีพ
7) วิธีการสรรหา การเลือก การเลือกตั้ง และการแต่งต้ังคณะกรรมการ คุรุสภา และ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
8) องค์ประกอบ หลกั เกณฑ์ วิธีการคัดเลือกคณะกรรมการสรรหา
9) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาเลขาธิการครุ สุ ภา
5.5.12 ใหค้ าปรึกษาหรือเสนอแนะตอ่ คณะรัฐมนตรเี ก่ียวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชพี
5.5.13 ให้คาแนะนาหรือเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเก่ียวกับการประกอบวิชาชีพหรือการออก
กฎกระทรวง ระเบยี บ และประกาศต่าง ๆ
5.5.14 กาหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อการกระทาใด ๆ อนั อยู่ในอานาจหนา้ ทีข่ องครุ ุสภา
5.5.15 ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของคุรุสภา
ข้อบงั คับของคุรสุ ภา (มาตรา 11) นน้ั ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และเม่อื ได้ประกาศในราช
กิจจานเุ บกษาแลว้ ให้ใช้บงั คบั ได้
5.6 ในกรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดารงตาแหน่งครู ได้กาหนดคุณสมบัติ
เป็นการเฉพาะไว้ ดังนี้
5.6.1 เป็นผมู้ ีใบอนญุ าต และไมเ่ คยถูกสัง่ พักใชห้ รือเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญตั ิน้ี
5.6.2 เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปีหรือดารงตาแหน่ง
อาจารย์ 3 หรือมีวทิ ยฐานะเป็นครูชานาญการข้ึนไป (มาตรา 14)

5.7 ในคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีจานวน 17 คน ซ่ึงมาจากบุคคลจานวน 6 กลุ่ม กรรมการ
ท่มี าจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา จานวน 6 คน เมือ่ คิดคานวณเป็นสัดส่วน คือ 1 ใน 3 ซึ่งทาใหก้ ล่มุ น้ี
มีบทบาทมากในคณะกรรมการดงั กล่าว (มาตรา 12)

5.8 คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี มีอานาจและหน้าท่ี ดังน้ี
5.8.1 พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการพักใช้หรือเพิก

ถอนใบอนญุ าต
5.8.2 กากบั ดูแลการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา
5.8.3 ส่งเสริม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากาหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณใน

การประกอบวิชาชีพ
5.8.4 ส่งเสริม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่าง ๆ ตามท่ีกาหนดใน

ข้อบังคบั ของครุ สุ ภา
5.8.5 แตง่ ตงั้ ทป่ี รึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เพ่ือกระทาใด

ๆ อันอยู่ในอานาจและหน้าทีข่ องคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ
5.8.6 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดไว้ให้เป็นอานาจและหน้าที่ของคณะกรรมการ

มาตรฐานวชิ าชีพ
5.8.7 พิจารณาหรือดาเนินการในเร่ืองอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย

(มาตรา 25)
5.9 ให้วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพควบคุม ทั้งน้ี มิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุมไม่ได้รับอนุญาต

(มาตรา 43)
5.10 ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นขออีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นห้าปีนับแต่

วันที่ถกู สง่ั เพิกถอน (มาตรา 57)
5.11 ในพระราชบัญญัตินี้ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ

บุคลากรทางการศึกษา มีจานวน 23 คน จากบุคคลจานวน 5 กลุ่ม ท้ังน้ี กรรมการที่ได้รับการคัดเลือก
ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา จานวน 12 คน เป็นจานวนกึ่งหน่ึงของกรรมการท้งั หมด เป็นกลุ่มบุคคลท่ีมี
บทบาทมากในคณะกรรมการคณะนี้ และกาหนดใหม้ ีสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมสวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพ
ครแู ละบุคคลทางการศกึ ษา(มาตรา 60,64,67)

5.12 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษามี
ฐานะเปน็ นิตบิ คุ คลการกากับของกระทรวงศกึ ษาธิการ มอี านาจและหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี

5.12.1 รับผิดชอบเกี่ยวกับการดาเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ
ภาพครแู ละบุคลาการทางการศกึ ษา

5.12.2 ประสานและดาเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นท่ีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครแู ละบุคลาการทางการศึกษามอบหมาย

5.12.3 จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการดาเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดิการและสวสั ดภิ าพครูและบุคลาการทางการศึกษา (มาตรา 67 )

6. ครยู คุ มีความรุง่ โรจน์แหง่ วชิ าชีพครู (พ.ศ. 2547- ปัจจุบนั )
เนื่องด้วยได้มีพระราชบัญญัติมีระเบียบข้าราชการครูและบุคลาการทางการศึกษา พ.ศ.2547

เป็นพระราชบัญญัติที่ทาให้ครู มีความรุ่งโรจน์แห่งวิชาชีพครู ซ่ึงได้บัญญัติมาตราต่างๆ ที่ได้ช้ีให้เห็นถึง
ความรงุ่ โรจน์แหง่ วชิ าชพี ครู ดังน้ี

6.1 ไดใ้ หน้ ิยามศัพท์ คาวา่
6.1.1 “ข้าราชการครูและบคุ ลาการทางการศกึ ษา”
6..1.2 “ข้าราชการครู”
6.1.3 “วชิ าชีพ” (มาตรา 4 )

6.2 ในคณะกรรมการบริหารงานบุคลากรของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีกรรมการท่ีเป็น
ผูแ้ ทนข้าราชการครู จานวน 4 คน จากจานวนคณะกรรมการท้ังหมด 21 คน: มาตรา 7(5)

6.3 มีการกาหนดตาแหน่งวิทยฐานะและการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจาตาแหน่ง
ทกี่ าหนดใหม้ ีตาแหน่งครูผู้ช่วยและครทู ี่เปน็ ข้าราชการครู: มาตรา 38 (ก)

6.4 ใหต้ าแหน่งข้าราชการครเู ปน็ ตาแหน่งท่ีมีวทิ ยฐานะ ในส่วนของครูมวี ิทยฐานะ ดังนี้
6.4.1 ครูชานาญการ
6.4.2 ครชู านาญการพเิ ศษ
6.4.3 ครูเชีย่ วชาญ
6.4.4 ครูเชย่ี วชาญพิเศษ

สรปุ โดยรวม
การพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพ เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึนเจริญขึ้นในวงการของครู ตามหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์ท่ีเกี่ยวกับชนชาติไทยในสมัยโบราณ ครู คือ หัวหน้าชุมชน หัวหน้าหมู่บ้าน ท่ีทาการสอนให้
บรรดาสมาชิกให้มีความรู้เพื่อดารงชีพอย่างปกติสุขในเวลาต่อมาเม่ือชนชาติไทยได้เป็นปึกแผ่นมากข้ึน
ประกอบกับมีความผูกพันอยู่กับศาสนาพุทธ บคุ ลากรหลักทางด้านการสอน คอื พระภิกษุ ครั้นเมื่อประเทศ
ไทยไดม้ ีความสัมพันธก์ ับตา่ งประเทศ โดยเฉพาะชาติตะวันตก จึงทาให้เกดิ ผ้สู อนอีกกลมุ่ หนง่ึ คือ มิชชนั นารี
ที่เข้ามาตั้งโรงเรียนในประเทศไทยจึงเป็นเหตุผลท่ีทาให้ไทยต้องปฏิรูปการศึกษาในปัจจัยสาคัญคือ ครู การ
ปฏิรูปครูได้มีการจดั ต้งั โรงเรียนฝึกหัดครู ใหผ้ ู้ท่ีทาหน้าท่ีครูได้เปน็ ข้าราชการ และอาชีพครไู ดร้ ับการยอมรับ
ของประเทศไทย โดยการตราพระราชบัญญัติครูเป็นครูในคร้ังแรกในปีพุทธศักราช 2488 จึงทาให้ครูได้
พัฒนามาเป็นลาดับได้บังเกิดเป็นเกียรติยศแห่งวงการครู ที่ได้รับการยอมรับยกระดับอาชีพครูข้ึนเป็นวิชา
อาชพี ครซู ง่ึ เป็นวชิ าชพี ขนั้ สงู และวิชาชีพควบคมุ

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มสาหรบั ครู

ศลี 5 หรือ เบญจศลี
ปาณาตปิ าตา เวรมณี (สกิ ขฺ าปทสมาทิยาม)ิ
- เว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตท้ังปวง รวมถึงการทาร้ายสัตว์ หรือมนุษย์ด้วย แม้แต่คิด หรือ

วางแผน กถ็ ือวา่ ผดิ ศีลข้อน้แี ล้ว
อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกขฺ าปทสมาทยิ ามิ)
- เว้นจากการลกั ทรัพย์ เอาส่ิงของท่ีเจ้าของไม่ได้ให้ รวมถึงการเบียดบัง ฉ้อราษฎร์บังหลวง

เอาเปรยี บคนอืน่ ดว้ ย แม้แตค่ ิด หรอื วางแผน กถ็ ือว่าผดิ ศีลขอ้ นี้แล้ว
กาเมสมุ จิ ฉฺ าจารา เวรมณี (สกิ ขฺ าปทสมาทิยาม)ิ
- เว้นจากการประพฤตผิ ดิ ในกามทัง้ หลาย ขอ้ นเ้ี พยี งแคค่ ดิ กผ็ ิดแลว้
มสุ าวาทา เวรมณี (สิกขฺ าปทสมาทยิ ามิ)
- เวน้ จากการพดู เทจ็ คาหยาบ หรือพดู ส่อเสยี ด รวมถึงการพดู ให้คนแตกสามัคคกี นั ด้วย
สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏฐฺ านา เวรมณี (สกิ ขฺ าปทสมาทิยาม)ิ
- เว้นจากการด่ืมนา้ เมา อันเปน็ ทีต่ ั้งแห่งความประมาท

คารวะ 6

คารวะ 6 คือสิง่ ทค่ี วรเคารพสักการะ 6 อยา่ ง ไดแ้ ก่

พุทธคารวตา เคารพพระพุทธ

ธมั มคารวตา เคารพพระธรรม

สงั ฆคารวตา เคารพพระสงฆ์

สกิ ขาคารวตา เคารพการศกึ ษา

อปั ปมาทคารวตา เคารพในความไม่ประมาท

ปฏิสันถารคารวตา เคารพในปฏสิ นั ถาร หมายถึงมจี ิตใจเออื้ เฟ้ือเผอ่ื แผ่ต่อเพ่อื นมนษุ ย์

กลั ยาณมติ รธรรม 7

1. ปิโย (น่ารัก ในฐานเป็นที่สบายใจและสนิทสนม ชวนให้อยากเข้าไปปรึกษา ไต่ถาม — lovable;
endearing)

2. ครุ (น่าเคารพ ในฐานประพฤติสมควรแก่ฐานะ ใหเ้ กดิ ความร้สู กึ อบอนุ่ ใจ เป็นท่ีพง่ึ ใจ และปลอดภัย
— estimable; respectable; venerable)

3. ภาวนีโย (น่าเจริญใจ หรือน่ายกย่อง ในฐานทรงคุณคือความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง ทั้งเป็นผู้
ฝึกอบรมและปรับปรุงตนอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทาให้ระลึกและเอ่ยอ้างด้วยซาบซึ้งภูมิใจ — adorable;
cultured; emulable)

4. วตฺตา จ (รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักช้ีแจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยให้คาแนะนาว่า
กล่าวตักเตือน เปน็ ทีป่ รึกษาท่ดี ี — being a counsellor)

5. วจนกฺขโม (อดทนต่อถ้อยคา คือ พร้อมที่จะรับฟังคาปรึกษาซักถามคาเสนอแนะวิพากษ์วิจารณ์
อดทน ฟงั ไดไ้ มเ่ บื่อ ไม่ฉุนเฉยี ว — being a patient listener)

6. คมฺภีรญฺจ กถ กตฺตา (แถลงเร่ืองล้าลึกได้ สามารถอธิบายเร่ืองยุ่งยากซับซ้อน ให้เข้าใจ และให้
เรียนรู้เรือ่ งราวที่ลึกซึง้ ยง่ิ ขน้ึ ไป — able to deliver deep discourses or to treat profound subjects)

7. โน จฏฺฐาเน นิโยชเย (ไม่ชักนาในอฐาน คือ ไม่แนะนาในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปในทางเส่ือม
เสีย — never exhorting groundlessly; not leading or spurring on to a useless end)

บทบาทหนา้ ทภี่ าระงานและความรบั ผดิ ชอบของครู

พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายของ หน้าที่ ไว้ ดงั น้ี คอื กิจ
ทค่ี วรทา,กิจทต่ี ้องทา,วงแห่งกิจการ, สาหรับคาว่า ความรบั ผิดชอบ ให้ความหมายไว้ ดังนี้ คือการยอมรับตาม
ผลท่ดี ีและไม่ดใี นกิจการทไ่ี ดก้ ระทาไป

Dictionary of Education ได้ให้ความหมายของความรับผิดชอบไว้ ไว้วา่ “หน้าท่ีประจาของแต่ละ
บคุ คล เม่ือเขาได้รับมอบหมายให้งานอย่างใดอย่างหน่งึ ” ส่วนความหมายของครู ในที่นี้จะอธิบายตามรูปคา
ภาษาอังกฤษ คือ “Teachers” โดยสรุปจากคาอธิบายของ ยนต์ ชุ่มจิต ในหนังสือ ความเป็นครู ดังนี้ (ยนต์
ชุมจิต 2531: น. 49–55)

T (Teaching) – การสอน หมายถึง การอบรมส่ังสอนศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในวิชาการ
ท้ังหลายทั้งปวง ซึ่งถือว่าเป็นงานหลักของครูทุกคนทุกระดับชั้นที่สอน ตามระเบียบคุรุสภาว่าด้วยจรรยา
มารยาทและวินัยตามระเบียบประเพณีของครู พ.ศ. 2526 ข้อ 3 กาหนดไว้ว่า ครูต้องตั้งใจส่ังสอนศิษย์และ
ปฏิบัติหน้าท่ีของตนให้เกิดผลดีด้วยเอาใจใส่ อุทิศเวลาของตนให้แก่ศิษย์จะละท้ิงหรือทอดท้ิงหน้าท่ีการงาน
มิได้ และในข้อ 6 กาหนดไว้ว่า ครูต้องถ่ายทอดวิชาความรู้โดยไม่บิดเบือนและปิดบังอาพรางไม่นาหรือยอมให้
นาผลงานทางวชิ าการของตนเองไปใช้ในทางทีท่ ุจรติ หรอื เปน็ ภัยตอ่ มนษุ ยชาติ จากข้อกาหนดทั้ง 2 ขอ้ ที่นามา
กล่าวนี้จะเห็นว่าหนา้ ทขี่ องครทู ส่ี าคัญคอื การอบรมสง่ั สอนศิษย์ การถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ศษิ ย์ โดยเฉพาะ
ในข้อ 3 ของระเบยี บประเพณีของครู พ.ศ. 2526 น้ี ถือว่าการอบรมสัง่ สอนศษิ ย์เป็นหนา้ ที่ที่สาคัญมาก จะละ
ท้ิงหรือทอดทิ้งไม่ได้เพราะถ้าหากครูละท้ิงการสอนก็คือครูละทิ้งหน้าท่ีของครูซึ่งการกระทาเช่นน้นั จะมีผลต่อ
การเจรญิ เตบิ โตทางความคิดและสตปิ ัญญาของศิษย์เป็นอย่างมาก

กล่าวคือ ศิษย์ของครูจะไม่ได้รับการพัฒนา ความคิด ความรู้ และสติปัญญา หรือได้รับบ้างแต่ก็ไม่
เจรญิ เติบโตเท่าทค่ี วร ดงั น้นั ครทู ุกคนควรตระหนักในการสอนเป็นอันดับแรกโดยถอื วา่ เป็นหัวใจของความเป็น
ครคู ือการอบรมสัง่ สอนศิษยใ์ หเ้ ป็นคนดีมีความร้ใู นวิทยาการท้ังปวง ซง่ึ การท่ีครูจะปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ในการสอน
ของครไู ด้อย่างครบถว้ นสมบูรณ์นนั้ ซึง่ สาคัญที่ครูตอ้ งเพมิ่ สมรรถภาพในการสอนให้แก่ตนเอง

E(Ethics) -จริยธรรม หมายถงึ หน้าทใี่ นการอบรมจริยธรรมให้แกน่ กั เรียนซง่ึ ถือว่าเปน็ หน้าทห่ี ลกั อีก
ประการหน่ึงนอกจากการสั่งสอนในด้านวิชาความรู้โดยทวั่ ไปนอกจากนี้ครูทุกคนจะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้
เปน็ ผมู้ ีจริยธรรมอันเหมาะสมอีกดว้ ยเพราะพฤติกรรมอนั เหมาะสมท่ีครไู ดแ้ สดงออกจะเปน็ เครอ่ื
งมอื ทส่ี าคัญในการปลูกฝงั ศรทั ธาใหศ้ ษิ ย์ไดป้ ฏิบัติตาม

A ( Academic) – วิชาการ หมายถึง ครูตอ้ งมีความรับผิดชอบในวิชาการอย่เู สมอ กล่าวคือ ครตู ้อง
เป็นนักวิชาการอยู่ตลอดเวลา เพราะอาชพี ของครูต้องใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ ดังนั้นครู

ทุกคนต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่เู ป็นประจา หากไม่กระทาเช่นนั้นจะทาให้ความรู้ที่ไดศ้ ึกษาเล่าเรียนมา
นน้ั ลา้ สมัย ไม่ทันกบั การเปล่ยี นแปลงทางวชิ าการใหม่ ๆ ซึ่งมอี ย่างมากมายในปัจจุบัน

C (Cultural Heritage) – การสบื ทอดวฒั นธรรม หมายถงึ ครูตอ้ งมหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกับการสบื
ทอดมรดกทางวัฒนธรรมจากคนรนุ่ หน่ึงใหต้ กทอด
ไปสู่คนอีกรนุ่ หนึง่ หรอื รุ่นตอ่ ๆ ไป ซงึ่ มวี ิธกี ารทค่ี รจู ะกระทาได้ 2 แนวใหญ่ ๆ ดว้ ยกันคอื

1. การปฏิบตั ิตามวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามอย่างถูกต้องเป็นประจา กล่าวคือ ครู
ทุกคนจะต้องศึกษาให้เขา้ ใจในขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวัฒนธรรมอันดีงามของชาติอย่างถ่องแทเ้ สียก่อน
ต่อจากนนั้ จึงปฏิบัติตามให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสม เพื่อให้ศษิ ยแ์ ละประชาชนทัว่ ไปยดึ ถือเป็นแบบอยา่ ง เชน่

- การแตง่ กายใหเ้ หมาะสมตามโอกาสต่าง ๆ
- การแสดงความเคารพและกิรยิ ามารยาทแบบไทย ๆ
- การจดั งานมงคลสมรส
2. การอบรมสั่งสอนนักเรยี นให้เขา้ ใจในวฒั นธรรมและประเพณอี ันดงี ามของไทยอย่างถูกต้อง และ
ในขณะเดียวกันก็กระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนได้ประพฤติปฏิบัติตามให้ถูกต้องตามแบบฉบับอันดีงามท่ีบรรพ
บรุ ุษไดย้ ดึ ถอื ปฏบิ ัติสืบตอ่ กนั มา
H ( Human Relationship) – มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง การมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีของครูต่อบุคคล
ทั่วๆไป เพราะการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีจะช่วยให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าท่ีของครู ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากน้ี การมีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีของครูยังช่วยทาให้สถาบันศึกษาท่ีครูปฏิบัติงานอยู่มีความเจริญก้าวหน้า
อย่างรวดเร็วอีกดว้ ย ดงั น้ัน ครทู ุกคนจงึ ควรถอื เป็นหน้าท่ีและความรบั ผิดชอบอีกประการหนง่ึ ท่ีจะตอ้ งคอยผูก
มติ รไมตรีอันดีระหว่าง บุคคลต่าง ๆ ที่ครูมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย มนุษย์สัมพันธ์ระหว่างครูกับบุคคลต่าง ๆ อาจ
จาแนกได้ ดงั นี้

ครกู ับนักเรยี น
ครูกับนักเรียนนับว่าเป็นบุคคลที่มีความใกล้ชิดกันมากท่ีสุด จนกระทั่งในอดีตยกย่องให้ครูเป็นบิดา

คนท่สี องของศิษย์ ผู้ปกครองเม่ือส่งบุตรหลานเข้าโรงเรียนก็ฝากความหวงั ไว้กับครู กลา่ วคือ มอบภาระต่าง ๆ
ในการอบรมดแู ล ลกู หลานของตนให้แก่ครู ดงั นน้ั ครจู งึ ควรปฏบิ ัติหนา้ ทขี่ องครูใหส้ มบูรณท์ ส่ี ุด
และควรสรา้ งมนุษย์สัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งครแู ละศิษยใ์ ห้แนน่ แฟน้ ให้ศิษย์มคี วามร้สู กึ ฝงั ใจตลอดไป

วิธีการที่ครคู วรจะทาต่อศษิ ย์ เช่น
1. สอนศษิ ย์ให้เกดิ ความสามารถในการเรียนรใู้ นวิชาการตา่ ง ๆ ใหม้ ากทส่ี ุดเทา่ ท่คี รูจะกระทาได้
2. สอนให้นักเรียนหรือศิษย์ของตนมีความสุขเพลิดเพลินกบั การเลา่ เรยี นไม่เบอ่ื หน่าย อยากจะเรียน

อยู่เสมอ
3. อบรมดูแลความประพฤติของศิษย์ให้อยู่ในระเบียบวินัยหรือกรอบของคุณธรรม ไม่ปล่อยให้ศิษย์

กระทาชวั่ ด้วยประการทัง้ ปวง
4. ดแู ลความทุกข์สุขอย่เู สมอ
5. เปน็ ทป่ี รึกษาหารือ ช่วยแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ให้แก่ศษิ ย์

ครูกบั ครู
ความสมั พันธ์ระหวา่ งครูกบั ครนู บั ว่ามีความสาคญั มากท่สี ดุ ต่อการพฒั นาวชิ าชพี ครู เพราะครูกับครูท่ี

ทางานสอนอยู่สถานศึกษาเดียวกัน เปรียบเสมือนบุคคลท่ีเป็นสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน หากสมาชิกใน
ครอบครัวเดียวกนั มคี วามสมานสามัคคีอนั ดตี ่อกันแลว้ นอกจากจะทาใหก้ ารอบรมส่งั สอนนักเรียนเปน็
ไปอย่างมีคุณภาพแล้ว ยังช่วยให้การปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ที่นอกเหนือจากการสอนเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพด้วย เมื่อเปน็ เช่นนี้ การพัฒนาสถานศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพครูก็จะดาเนินไปอย่างรวดเร็ว
วธิ ีท่ีครคู วรปฏิบัตติ ่อครู เพือ่ สร้างมนษุ ยส์ มั พนั ธต์ อ่ กัน เช่น

1. ร่วมมอื กนั ในการอบรมสง่ั สอนศษิ ยใ์ ห้เปน็ พลเมืองดีของชาติอย่างสม่าเสมอ
2. ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทางด้านวิชาการ เช่น การแนะนาการสอน, แนะนาเอกสาร หรือแหล่ง
วิทยาการให้
3. ชว่ ยเหลอื งานสว่ นตัวซึ่งกันและกนั เท่าที่โอกาสจะอานวย
4. ทาหนา้ ท่แี ทนกันเมอ่ื คราวจาเปน็
5. ให้กาลงั ใจในการทางานซ่งึ กนั และกนั ซงึ่ อาจจะแสดงออกในรูปของวาจาหรือการกระทากไ็ ด้
6. กระทาตนให้เป็นผู้มีความสุภาพอ่อนน้อมต่อกันเสมอ ไม่แสดงตนในทานองยกตนข่มท่าน หรือ
แสดงตนว่าเราเกง่ กว่าผอู้ ่ืน

ครกู บั ผ้ปู กครอง

ผู้ปกครองนักเรยี นเปน็ บุคคลอีกกลุ่มหนงึ่ นบั ว่ามีบทบาทสาคญั ต่อการพัฒนาการศกึ ษาเลา่ เรียนของ
ศิษย์และความก้าวหน้าของสถานศึกษา โรงเรียนใดที่สามารถโน้มน้าวให้ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามาใกล้ชิด
โรงเรียนอย่างสม่าเสมอ โรงเรียนนั้นจะสามารถพัฒนาได้อย่างรวดเร็วทั้งด้านคุณภาพการเรียนของนักเรียน

และการพัฒนาส่งิ แวดล้อมทางกายภาพและสังคมรอบ ๆ โรงเรียน วิธีการทค่ี รูสามารถสรา้ งมนุษยส์ ัมพันธ์กับ
ผูป้ กครองนักเรียนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เชน่

1. แจ้งผลการเรยี นหรอื ความเจรญิ กา้ วหน้าของศิษย์ใหผ้ ูป้ กครองนกั เรียนทราบเป็นระยะ ๆ
2. ติดต่อกับผู้ปกครองเพื่อช่วยแกป้ ัญหาของศิษยใ์ นกรณีทีศ่ ิษย์มปี ัญหาทางการเรียน ความประพฤติ
สขุ ภาพ อ่นื ๆ
3. หาเวลาเยย่ี มเยียนผู้ปกครองเมือ่ มีโอกาสอันเหมาะสม เช่น เม่ือได้ข่าวการเจบ็ ปว่ ย หรือสมาชกิ ใน
ครอบครัวถงึ แกก่ รรม เปน็ ต้น
4. เชิญผู้ปกครองร่วมทากิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น การแข่งขันกีฬา ประจาปี งานแจก
ประกาศนยี บตั ร หรืองานชุมนมุ ศษิ ยเ์ ก่า เปน็ ตน้
5. เมื่อได้รับเชิญไปร่วมงานของผู้ปกครองนักเรียน เช่น งานอุปสมบท งานขึ้นบ้านใหม่ งานมงคล
สมรส เป็นตน้ ตอ้ งพยายามหาเวลาวา่ งไปใหไ้ ด้
6. ครูควรร่วมมือกันทากิจกรรมเพ่ือส่งเสริมความรู้และอาชีพให้ผู้ปกครองและประชาชนในท้องถ่ิน
บา้ ง จะทาให้ประชาชนเหน็ ความสาคญั ของครมู ากยง่ิ ข้ึน
7. เม่ือชุมชนได้ร่วมมือกนั จัดงานต่าง ๆ เช่น งานประจาปีของวัด หรือ งานเทศกาลต่าง ๆ ครูควรให้
ความร่วมมืออยอู่ ย่างสมา่ เสมอ
8. ครูควรแจ้งข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ปกครอง โดยให้ผู้ปกครองไดท้ ราบเปน็ ระยะ ๆ ซ่ึง
อาจจะสง่ ข่าวสารทางโรงเรยี น หรือการตดิ ประกาศตามทอ่ี ่านหนงั สือประจาหมู่บา้ นกไ็ ด้
นอกจากครูจะต้องพยายามสร้างมนุษย์สัมพันธท์ ่ีดีกบั ชุมชนกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ดังกลา่ ว ซึ่งถอื ว่า เป็น
กลุ่มบคุ คลทมี่ ีความใกล้ชิดกับครู และครูก็ตอ้ งเกย่ี วข้องดว้ ยตลอดเวลาแล้ว ยังมกี ลุม่ บคุ คลอ่ืน ๆ ทค่ี รูจะต้องมี
มนุษย์สัมพันธท์ ี่ดีด้วยอีก เช่น พระภิกษุกับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะพระภิกษุสงฆ์ในวัดซ่ึงโรงเรียนต้ังอยู่ จะมี
สว่ นช่วยให้การดาเนนิ การงานต่าง ๆ ของ โรงเรยี นเป็นไปด้วยความเรียบร้อยมากขึ้น สว่ นประชาชนท่ัวไปนั้น
หากได้รบั ความประทับใจ เมอื่ มาติดต่องานกับโรงเรียน ก็จะเปน็ สว่ นเป็นพลังอีกส่วนหนึง่ ท่คี อยสนบั สนนุ งาน
การศกึ ษาของโรงเรยี นใหก้ ้าวหนา้ ต่อไป

E (Evaluation) – การประเมินผล หมายถึงการประเมินผลการเรียนการสอนนักเรียนซึง่ ถือว่าเป็น
หน้าที่และความรับผิดชอบท่สี าคัญย่ิงอีกประการหน่ึงของครเู พราะการประเมนิ ผลการเรียนการสอนเปน็ การ
วัดความเจรญิ กา้ วหน้าของศิษย์ในดา้ นต่างๆหากครสู อนแลว้ ไม่มกี ารประเมินผลหรือวดั ผลครูก็จะไมท่ ราบไดว้ ่า
ศษิ ยม์ ีความเจริญก้าวหนา้ ในดา้ นใดมากน้อยเพยี งใด ดงั นั้น ครจู ึงควรจะระลกึ อย่เู สมอว่า ณ ท่ีใดมกี ารสอน ที
น่นั จะตอ้ งมีการสอบ สาหรบั การประเมนิ ผลการเรียนการสอนของนักเรยี นนั้น ครูสามารถใช้วิธีการตา่ ง ๆ ได้
หลายวิธี ท้ังน้ีอาจจะใช้หลาย ๆ วิธีในการประเมินผลครั้งหน่ึงหรือเลือกใช้เพียงวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ในการ
ประเมนิ ผลการเรยี นการสอนนนั้ มีหลายวิธี เช่น

1. การสังเกต หมายถึง การสังเกตพฤติกรรมการทางาน การร่วมกิจกรรมกลุ่มหรือความตั้งใจใน
การศกึ ษาเลา่ เรียน เปน็ ต้น

2. การสมั ภาษณ์ หมายถงึ การสัมภาษณ์เพือ่ ต้องการทราบความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นการเรยี นของ
นักเรยี น ซง่ึ อาจจะเปน็ การสัมภาษณใ์ นเนอ้ื หาวชิ าการทเ่ี รยี น วธิ ีการเรยี น หรือวธิ กี ารทางาน เปน็ ตน้

3. การทดสอบ หมายถึง การทดสอบความรูใ้ นวิชาการที่เรียน อาจจะเป็นการทดสอบทางภาคทฤษฎี
หรือภาคปฏิบัติกไ็ ด้ ถา้ จะให้ได้ผลดียิ่งขึ้นก็ควรมีการทดสอบทัง้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ใิ นการเรยี นการสอน
ทุก ๆ วิชา

4. การจดั อันดับคุณภาพ หมายถึง การนาเอาผลงานของนักเรียนแต่ละคนในกลมุ่ มาเปรียบเทยี บกัน
ในดา้ นคณุ ภาพ แล้วประเมนิ คณุ ภาพของนักเรียนแตล่ ะคนวา่ คนใด ควรอยู่ในระดับใด

5. การใช้แบบสอบถามและแบบสารวจ เป็นวิธีการประเมินผลการเรียนอีกแบบหน่ึง
เพอ่ื สารวจตรวจสอบคุณภาพการเรยี นการสอนทั้งของนกั เรยี นและของครู

6. การบันทกึ ย่อและระเบียนสะสม เป็นวิธีที่ครูจดบนั ทึกพฤติกรรมความเจริญก้าวหน้าของนักเรียน
แต่ละคนไว้เป็นลายลักษณอ์ ักษร

7. การศึกษาเป็นรายบุคคล หมายถึง เป็นวิธีการที่นิยมใช้กับนักเรียนที่มีปัญหาเป็นรายบุคคล
ปัญหาในท่ีน้ีหมายความวา่ ควบคุมทั้งเด็กท่ีเรียนเก่งและเดก็ ที่เรียนอ่อนรวมทั้งเด็กมีปัญหาในด้านพฤติกรรม
ต่าง ๆ ดว้ ย

8. การใช้วิธีสังคมมิติ เป็นวิธีการท่ีนยิ มใช้เพ่อื ให้สมาชิกในกล่มุ เดยี วกันประเมินคุณภาพของบุคคลใน
สมาชกิ เดียวกัน เพื่อตรวจสอบดวู ่า สมาชิกคนใดไดร้ ับความนยิ มสงู สุดในด้านใดดา้ นหน่งึ หรอื หลาย ๆ ดา้ นก็ได้

9. การให้ปฏิบัติและนาไปใช้ เป็นวิธีการท่ีครูต้องการทราบพัฒนาการทางด้านทักษะหรือการ
ปฏบิ ตั งิ านของนกั เรียนหลังจากท่ีได้แนะนาวธิ กี ารปฏิบตั ใิ หแ้ ลว้

การประเมินผลการเรียนการสอนทุก ๆ วิชา ครูควรประเมินความเจรญิ ก้าวหนา้ ของนักเรียนหลาย ๆ
ด้าน ทส่ี าคัญ คือ

1. ด้านความรู้ (Cognitve Domain ) คือ การวัดความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และการประเมนิ ผล

2. ด้านเจตคติ ( Affective Domain) คือ การวัดความรู้สึก ค่านิยม คุณธรรมและจริยธรรมของ
นักเรยี นในด้านตา่ ง ๆ เชน่ ความตรงตอ่ เวลา ความมรี ะเบียบวินยั ความเออ้ื เฟ้ือเผื่อแผ่ และความขยันขนั แข็ง
ในการทางาน เป็นตน้

3. ด้านการปฏิบัติ (Psychomotor Domian) คือการวัดด้านการปฏิบัติงานเพ่ือต้องการทราบว่า
นักเรียนทางานเป็นหรือไมห่ ลังจากทีไ่ ดศ้ กึ ษาภาคทฤษฎีแลว้ การวัดดา้ นการปฏิบัตงิ านหรือด้านทกั ษะนี้ ครูจะ
ใช้มากหรือน้อยจะต้องข้ึนอยู่กับลักษณะวิชาท่ีสอน วิชาใดเน้นการปฏิบัติงานก็จาเป็นต้องมีการวัดด้านการ
ปฏิบัติงานให้มาก ส่วนวิชาใดเน้นให้เกิดความงอกงามทางด้านสติปัญญา การวัดด้านการปฏิบัติงานก็จะลด
น้อยลง อย่างไรกต็ าม ในการเรียนการสอนทกุ ๆ วิชาควรจะมีการวัดในด้านการปฏบิ ัติงานบ้างตามสมควร

R (Research) – การวจิ ยั หมายถึง ครตู ้องเป็นนักแกป้ ัญหา เพราะการวจิ ัยเปน็ วธิ ีการแกป้ ัญหาและ
การศึกษาหาความจริง ความรู้ท่ีเช่ือถือได้โดยวิธีการวิจัยของครูในที่นี้ อาจจะมีความหมายเพียงแค่ค้นหา
สาเหตุตา่ ง ๆ ทนี่ กั เรยี นมีปญั หาไปจนถึงการวจิ ัยอย่างมรี ะบบในชั้นสูงก็ได้ สาเหตทุ ีค่ รูตอ้ งรับผิดชอบในด้านน้ี
ก็เพราะในการเรียนการสอนทุก ๆ วชิ า ควรจะตอ้ งพบกบั ปญั หาต่าง ๆ อยูเ่ สมอ เชน่ ปัญหาเดก็ ไมท่ าการบ้าน
เดก็ หนีโรงเรยี น เด็กที่ชอบรังแกเพื่อน และเดก็ ท่ชี อบลักขโมย เป็นตน้ พฤติกรรมตา่ ง ๆ เหล่าน้ี ถา้ ครสู ามารถ
แก้ไขไดก้ ็จะทาให้การเรยี นการสอนมีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน

การที่ครูจะแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน ครูจะต้องทราบสาเหตุแห่ง
ปญั หาน้ัน วิธีการท่ีควรจะทราบสาเหตุท่ีแท้จริงได้ครูจะต้องอาศัยการวิจัยเข้ามาช่วย ดังน้ัน หน้าที่ของครูใน
ดา้ นการค้นคว้าวิจัยจงึ เป็นงานท่ีครูจะหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้ เม่ือเป็นเช่นน้ี ครูทุกคนจึงควรศึกษากระบวนการวิจัยให้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจดว้ ย ข้นั ตอนในการวิจัยทีส่ าคญั มี ดงั น้ี

1. การตง้ั ปญั หา
2. การตงั้ สมมตุ ฐิ านเพอ่ื แก้ปญั หา
3. การรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
5. สรุปผล

สาหรบั ขัน้ ตอนของการทางานวจิ ยั ควรดาเนนิ งานตามลาดบั ต่อไปนี้
1. การเลือกปญั หาสาหรับการวิจัย
2. การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
3. การจากัดขอบเขตและการใหค้ าจากัดความของปญั หา
4. การตั้งสมมุตฐิ าน
5. การกาหนดประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
6. การสรา้ งเครื่องมือสาหรบั การวิจยั
7. การรวบรวมข้อมูล
8. การวเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมายข้อมูล
9. การสรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
10. การรายงานผลการวจิ ัย

S (Service) บริการ หมายถึง การให้บริการ คือ ครูจะต้องให้บริการแก่สังคมหรือบาเพ็ญตนให้เป็น
ประโยชน์ตอ่ สังคม ดังต่อไปนี้

1. บริการความรู้ทั่วไป ใหแ้ ก่นักเรียน ผูป้ กครอง ประชาชนในทอ้ งถนิ่
2. บริการความรู้ทางด้านความรู้และสุขภาพอนามัย โดยเป็นผู้ให้ความรู้หรือเป็นผู้ประสานงานเพ่ือ
ดาเนนิ การใหค้ วามรูแ้ กป่ ระชาชน
3. บริการด้านอาชีพ เช่น ร่วมมือกับหน่วยงานอื่นเพื่อจัดฝึกอบรมอาชีพระยะส้ันให้ประชาชนใน
ทอ้ งถน่ิ
4. บริการใหค้ าปรึกษาหารือทางด้านการศึกษาหรือการทางาน
5. บริการด้านแรงงาน เช่น ครรู ว่ มมอื กบั นักเรยี นเพอ่ื พฒั นาหม่บู ้าน
6. บรกิ ารดา้ นอาคารสถานท่แี กผ่ ู้ปกครองนักเรียนท่มี าขอใชอ้ าคารสถานทใ่ี นโรงเรยี นดว้ ยความเตม็ ใจ

หน้าท่ีและความรับผดิ ชอบของครู
1. สอนศิลปวิทยาให้แก่ศิษย์ ซึ่งถือเป็นหน้าที่สาคัญสาหรับครู ครูท่ีดีต้องทาการสอนอย่างมี

ประสิทธภิ าพ มีการพัฒนาการสอนให้สอดคลอ้ งกับความสามารถและความสนใจของนักเรยี น นอกจากน้นั ต้อง
สามารถให้บริการการแนะแนวในด้านการเรียน การครองตน และรักษาสุขภาพอนามัย จัดทาและใช้ส่ือการ
เรียนการสอนอย่างมปี ระสิทธภิ าพรวมทั้งสามารถปรับหลักสตู รการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับนโยบายการ
พฒั นาสภาพแวดล้อมของท้องถนิ่ และสถานการณบ์ ้านเมอื งในปัจจุบนั

2. แนะแนวการศกึ ษาและอาชีพที่เหมาะสมใหแ้ ก่ศิษย์ เพือ่ ช่วยให้ศิษย์ของตนสามารถเลอื กวิชาเรยี น
ได้ตามความเหมาะสม ท้งั นี้ครตู อ้ งคานงึ ถึงสตปิ ัญญาความสามารถ และความถนัดของบุคลิกภาพของศษิ ย์ดว้ ย

3. พัฒนาและส่งเสริมความเจริญกา้ วหน้าของศิษย์ โดยการจดั กิจกรรม ซง่ึ มที ั้งกจิ กรรมการเรยี นการ
สอนในหลกั สูตร และกิจกรรมการเรียนการสอนนอกหลกั สูตร

4. ประเมินผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ เพ่ือจะได้ทราบว่า ศิษย์ได้พัฒนาและมีความ
เจริญก้าวหนา้ มากน้อยเพยี งใดแล้ว การประเมินผลความเจรญิ ก้าวหน้าของศษิ ยค์ วรทาอย่างสมา่ เสมอ

5. อบรมคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย และค่านิยมท่ีดีงามให้แก่ศิษย์ เพ่ือศิษย์จะได้เป็น
ผ้ใู หญท่ ี่ดีของสังคมในวนั หนา้

6. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยงานและสถานศึกษา ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติครูและ
จรรยาบรรณครู เพ่อื เป็นแบบอย่างท่ดี ีแกศ่ ษิ ย์

7. ตรงต่อเวลา โดยการเข้าสอนและเลือกสอนตามเวลา ทางานสาเร็จครบถ้วนตามเวลาและรักษา
เวลาทน่ี ัดหมาย

8. ปฏบิ ตั ิงาน ทางานในหนา้ ที่ ท่ไี ด้รบั มอบหมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
9. ส่งเสริมและพฒั นาความรู้ความสามารถของคน โดยการศึกษาคน้ คว้าหาความรเู้ พิ่มเตมิ อย่เู สมอครู
ไทยในสมัยกรุงสุโขทัยถงึ กรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ คือ พระภกิ ษุ สมัยนัน้ ภาระหน้าท่ขี องพระภิกษทุ ่เี ป็นครู คือ
ต้องบิณฑบาตมาเล้ียงดูศิษย์อบรมศิษย์ในทางศาสนานอกจากน้ันครูจะสอนเขียนอ่านหนังสือ ไทยและบาลี
กิจกรรมในแตล่ ะวนั จะแสดงใหท้ ราบถึงหน้าทข่ี องพระท่ีเปน็ ครคู ือในช่วงเช้าหลงั จากทที่ า่ นฉันข้าวเสร็จ มีการ
เรยี นเขยี นอ่าน ต่อหนงั สือท่องบ่น ตอนกอ่ นเพล เด็กก็จะตอ้ งเตรยี มการให้พระฉนั เพลหลังอาหารกลางวันเด็ก
กฝ็ ึกหัดเขียน อา่ น ท่องบ่น พระกจ็ าวัด พอถึงเวลาบ่าย 1 โมง หรือ2 โมงพระก็ต่ืนนอนมาตรวจให้และสอบดู
ผ้เู ขยี นอา่ นไปตอนเชา้ วา่ ถูกตอ้ งเพยี งใด คนที่แม่นยากไ็ ด้เรียนต่อเตมิ ขน้ึ ไป บางแห่งมีการตรวจสอบในตอนเช้า
ตอนบ่ายจึงเรียนเขียนอ่านต่อ ถ้าใครเกียจคร้านก็จะถูกตีด้วยไม้ บ่าย 4 โมงคร่ึง หรือ 5 โมง จึงเลิกเรียน
วันหยุดเรียนได้แกว่ นั พระ และวันที่มีพิธีต่าง ๆ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2507 ).

พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542

ประกาศ ณ วันที่ 19 สงิ หาคม 2542 มผี ลบังคบั ใชเ้ ม่ือวันที่ 20 สงิ หาคม 2542

มาตรา 4 การศึกษา หมายความวา่ กระบวนการเรยี นรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคม โดย
การถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรรค์สร้าง จรรโลงความก้าวหน้าทาง
วิชาการ การสร้างองค์ความรู้ อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุนให้
บคุ คลเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง ตลอดชวี ติ

การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน หมายความว่า การศึกษากอ่ นระดบั อดุ มศกึ ษา
การศึกษาตลอดชีวติ หมายความว่า การศึกษาอันเกดิ จากการผสมผสานระหว่างการศกึ ษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศยั เพ่อื ใหส้ ามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต
การประกันคุณภาพภายใน หมายความว่า การประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาจากภายใน โดยบคุ ลากรในสถานศกึ ษา / หน่วยงานตน้ สังกดั
การประกันคุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพทาง
การศกึ ษา ผู้สอน หมายความวา่ ครู และคณาจารย์ในสถานศกึ ษาต่าง ๆ
ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพ ซึ่งท่ีมหี น้าท่ีหลักทางดา้ นการเรียนการสอน และการส่งเสริมการ
เรยี นรขู้ องผเู้ รียน ในสถานศึกษา ทั้งรัฐ และเอกชน
คณาจารย์ หมายความว่า บุคลากร ซึ่งทาหน้าท่ีหลักทางด้านการสอน และการวิจัย ในสถานศึกษา
ระดับอดุ มศึกษาระดับปรญิ ญาของรัฐ/เอกชน(ขอ้ สังเกต ไม่มคี าวา่ วชิ าชีพ/การเรียน/การสง่ เสรมิ )
ผ้บู ริหารสถานศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชพี ท่ีรับผดิ ชอบการบริหารสถานศกึ ษา ทงั้ รัฐ และ
เอกชน
ผู้บริหารการศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพ ที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา
นอกสถานศกึ ษา ตงั้ แตร่ ะดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษาขน้ึ ไป
บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และผู้สนับสนุน
การศกึ ษาซ่ึงทาหน้าท่ีในการให้บริการจัดกระบวนการเรยี นการสอน การนิเทศ

พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล

หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมาย และหลักการ ( มาตรา 1 – 9 )
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเปน็ ไปเพื่อพฒั นาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา
ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยูร่ ่วมกับผอู้ น่ื ได้อย่างมคี วามสุข

มาตรา 8 หลกั การจดั การศึกษา มีองค์ประกอบ ดงั นี้
- เปน็ การศกึ ษาตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชน
- ให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจดั การศกึ ษา
- การพัฒนาสาระ และกระบวนการเรยี นรู้ ให้เป็นไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง

หมวดที่ 2 สิทธิ และหน้าทท่ี างการศึกษา ( มาตรา 10 – 14 )
มาตรา 10 การจดั การศกึ ษา ตอ้ งจัดใหบ้ คุ คลมสี ทิ ธิ และโอกาสเสมอกัน ในการรบั การศกึ ษา ขน้ั พืน้ ฐาน ไม่
นอ้ ยกวา่ 12 ปี ที่รัฐตอ้ งจดั ให้ อยา่ งทว่ั ถึง มคี ณุ ภาพ และไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ า่ ย

การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร รฐั ต้องจัดให้ต้ังแต่แรกเกดิ หรือพบความพิการ โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่าย มสี ทิ ธิ
ไดร้ ับสิง่ อานวยความสะดวก สอื่ บริการ และความชว่ ยเหลอื

บุคคลท่ีมคี วามสามารถพิเศษ รัฐตอ้ งจดั ดว้ ยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ความสามารถของบุคคล
( ความแตกต่างระหว่างบุคคล )

มาตรา 13 บิดามารดา หรือผ้ปู กครอง มีสทิ ธิได้รับสิทธิประโยชน์ ( การศึกษาตามอัธยาศยั )
- การสนบั สนุนจากรัฐ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ียงดู และการศึกษาบตุ ร
- เงินอดุ หนนุ การจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
- การลดหยอ่ น หรอื ยกเวน้ ภาษี สาหรบั คา่ ใชจ้ ่ายการศกึ ษา

มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และอืน่ ๆ มีสทิ ธิได้รับสทิ ธปิ ระโยชน์ ( การศึกษาตามอธั ยาศยั )

- การสนบั สนนุ จากรัฐ ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการอบรมเลยี้ งดู และการศึกษาบุตร
- เงินอุดหนนุ การจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
- การลดหย่อน หรอื ยกเวน้ ภาษี สาหรับคา่ ใชจ้ ่ายการศึกษา

หมวดที่ 3 ระบบการศกึ ษา ( มาตรา 15 – 21 )
มาตรา 15 ระบบการศกึ ษา มี 3 ระบบ
การศกึ ษาในระบบ เป็นการศึกษาท่กี าหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสตู ร ระยะเวลาของการศึกษา การ
วดั ผล และประเมินผล ซ่ึงเปน็ เง่ือนไขของการสาเรจ็ การศกึ ษาท่ี แน่นอน
การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเงอ่ื นไขการสาเร็จการศึกษา
การศกึ ษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาทใ่ี หผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ

มาตราท่ี 16 การศกึ ษาในระบบ มี 2 ระดบั คอื
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จดั ใหไ้ ม่น้อยกวา่ 12 ปี ก่อนอุดมศกึ ษา
การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา ระดบั ต่ากว่าปรญิ ญา และระดบั ปรญิ ญา

มาตรา 17 การศึกษาข้ันบังคับ จานวน 9 ปี โดยเด็กอายุย่างเข้าปีท่ี 7 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
จนอายุยา่ งเข้าปีที่ 16 เวน้ แตส่ อบได้ชนั้ ปีท่ี 9 ของการศกึ ษาภาคบงั คบั

มาตรา 18 การจัดการศกึ ษาปฐมวัย และการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ให้จัดในสถานศกึ ษา ดงั น้ี
- สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เช่น ศนู ย์เดก็ เลก็ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็
- โรงเรียน เชน่ โรงเรยี นรฐั / เอกชน
- ศนู ย์การเรยี น

หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา (มาตรา 22 – 30) เปน็ หวั ใจของ พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ
มาตรา 22 การจัดการศึกษายึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า
ผเู้ รยี นสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตาม
ศกั ยภาพ

มาตราท่ี 23 จดุ เน้นในการจดั การศึกษา ( ทัง้ 3 ระบบ )

1.ความรู้ 2.คณุ ธรรม 3. กระบวนการเรยี นรู้ 4. บรู ณาการตามความเหมาะสม ดงั น้ี
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม รวมถึงประวัติความเป็นมาของสังคมไทย และ
ระบอบการปกครอง

ความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ความรเู้ ก่ยี วกบั ศาสนา ศลิ ปะวัฒนธรรม การกฬี า ภูมปิ ญั ญาไทยและการประยุกต์ใชภ้ มู ิปัญญา
ความรู้ และทักษะดา้ นคณติ ศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใชภ้ าษาไทยอยา่ งถูกต้อง
ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมีความสขุ

มาตรา 25 รัฐส่งเสรมิ การจัดตั้งแหล่งเรียนร้ตู ลอดชวี ิต

มาตรา 26 ใหส้ ถานศึกษาจัดประเมินผู้เรยี น ควบค่กู ับกระบวนการเรียนการสอน ( โดยถอื ว่าการประเมินผล
เป็นสว่ นหน่งึ ของการจัดการศกึ ษา และเป็นหน้าทข่ี องสถานศึกษา )

มาตรา 27 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนด หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

มาตรา 30 สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมผู้สอนให้สามารถวิจัย
เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น

หมวด 5 การบริหาร และการจัดการศกึ ษา ( มาตรา 31 – 46 )
สว่ นท่ี 1 การบรหิ าร และการจัดการศกึ ษาของรฐั
มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง ที่เป็นองค์กรหลักท่ีเป็นคณะบุคคลในรูปสภา
จานวน 4 องค์กร คอื

สภาการศกึ ษา มหี นา้ ท่ี
พิจารณา เสนอแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ กบั การศกึ ษาทกุ ระดบั
พจิ ารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
พจิ ารณาเสนอนโยบาย และแผน ในการสนับสนุนทรพั ยากร เพื่อการศกึ ษา
ดาเนินการประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
ให้ความเหน็ และคาแนะนาเกี่ยวกับกฎหมาย และกฎกระทรวง

คณะกรรมการสภาการศึกษา ( จานวน 59 คน ) ประกอบด้วย

ประธานกรรมการ รัฐมนตรกี ระทรวงศกึ ษาธิการ
กรรมการโดยตาแหนง่
ผ้แู ทนองค์กรเอกชน
ผแู้ ทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
ผูแ้ ทนองค์กรวิชาชีพ
ผู้แทนคณะสงฆ์
ผู้แทนศาสนาอสิ ลาม
ผแู้ ทนศาสนาอืน่
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ไม่นอ้ ยกวา่ กรรมการประเภทอน่ื รวมกนั ( 30 คน )
เลขาธิการสภาการศกึ ษา เป็นกรรมการ และเลขานกุ าร ( เป็นนิตบิ คุ คล )
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีหน้าท่ี พิจารณา เสนอแผนพัฒนามาตรฐาน และหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ การสนบั สนุนทรพั ยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ประกอบดว้ ย
กรรมการโดยตาแหน่ง ( ปลัดกระทรวง / เลขาฯ สภา / เลขาฯ อุดมศึกษา / เลขาฯ
อาชีวศึกษา / เลขาฯ คุรุสภา / ผอ.สานักงบประมาณ / ผอ.สานักสอนวิทย์ และเทคโนฯ / ผอ.สานักรับรอง
มาตรฐาน และประกันคุณภาพ)
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผ้แู ทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่
ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชพี ( ไม่มีผู้แทนศาสนา )
ผูท้ รงคณุ วุฒิ ไมน่ ้อยกว่ากรรมการประเภทอน่ื รวมกัน ( 12 คน และผแู้ ทนพระ 1 รปู )
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เปน็ กรรมการ และเลขานุการ (เปน็ นิติบคุ คล)
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ( ลกั ษณะคล้ายกันกับคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน )
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ( ลกั ษณะคล้ายกนั กบั คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน )

มาตรา 37 การบริหาร และการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ใหย้ ึดเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา โดยคานึงถึง

ปรมิ าณสถานศกึ ษา
จานวนประชากร
วัฒนธรรม
ความเหมาะสมด้านอ่นื ๆ
รัฐมนตรีกระทรวง โดยคาแนะนะของ สภาการศึกษา มีอานาจประกาศในราชกิจจานเุ บกษา กาหนดเขตพืน้ ท่ี
การศึกษา

มาตรา 38 คณะกรรมการเขตพน้ื ที่การศึกษา มีอานาจในการ กากบั ดูแล จดั ตั้ง ยบุ รวม หรือเลกิ สถานศกึ ษา
คณะกรรมการเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ( จานวน 15 คน )ประกอบดว้ ย
ผ้แู ทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผแู้ ทนองคก์ รส่วนทอ้ งถ่นิ
ผแู้ ทนสมาคมผู้ประกอบวชิ าชพี ครู
ผูแ้ ทนสมาคมผปู้ ระกอบวชิ าชีพบริหารการศึกษา
ผแู้ ทนสมาคมผปู้ กครอง และครู
ผ้ทู รงคุณวุฒิ
ผูอ้ านวยการเขตพื้นท่ีการศกึ ษา เป็นกรรมการ และเลขานกุ าร
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ประกอบดว้ ย
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผแู้ ทนครู
ผู้แทนองคก์ รชุมชน
ผู้แทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
ผู้แทนศษิ ย์เกา่
ผแู้ ทนพระภกิ ษุ/องคก์ รศาสนาอื่น
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
ผบู้ ริหารสถานศึกษา เปน็ กรรมการ และเลขานกุ าร

ส่วนท่ี 2 การบรหิ าร และการจัดการศกึ ษาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

มาตรา 41 องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ มสี ิทธจิ ัดการศกึ ษาได้ทกุ ระดบั

ส่วนท่ี 3 การบริหาร และการจัดการศกึ ษาของเอกชน
มาตรา 44 สถานศึกษาเอกชน เปน็ นติ บิ คุ คล

คณะกรรมการสถานศึกษาเอกชน ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน
ผรู้ บั ใบอนุญาต
ผู้แทนผปู้ กครอง
ผู้แทนองคก์ รชมุ ชน
ผู้แทนครู
ผแู้ ทนศิษยเ์ ก่า ( ไมม่ ผี แู้ ทน องค์กรส่วนท้องถ่ิน และ ศาสนา )
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 45 สถานศึกษาเอกชน มสี ิทธิจัดการศึกษาไดท้ กุ ระดบั

C-Teachers
หมายถึง ผู้สอนที่มีทกั ษะตา่ งๆ ซึ่งมีความจาเป็นต่อการเรียนการสอนในอนาคตนั่นเอง C-Teachers
ประกอบไปด้วยทกั ษะทีจ่ าเป็น 8 ประการดว้ ยกัน

1. C-Content ได้แก่ การท่ีผู้สอนจาเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญเน้ือหาท่ีตนรับผิดชอบในการสอน
น่ันเอง C ตวั แรกถือเปน็ ลักษณะทจ่ี าเปน็ อย่างท่สี ุด และขาดไมไ่ ด้สาหรับผสู้ อน เพราะถึงแมผ้ ู้สอนจะมีทกั ษะ
C อนื่ ๆ ทุกทักษะที่เหลือทั้งหมด แต่หากขาดซ่ึงความเช่ียวชาญในเนื้อหาการสอนของตนแลว้ เปน็ ไปไม่ได้เลย
ที่ผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้จากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากครูผู้สอนท่ีไม่แม่นในเนื้อหา หรือ ไม่เข้าใจในสิ่งท่ีตน
พยายามถ่ายทอด / สง่ ผ่านให้แกผ่ ูเ้ รียน

ผู้เขียนได้รับอิทธิพลจากแนวคิด C-Learning ของ Dr. Sellinger จาก CISCO (2006) และได้
นามาประยุกตแ์ นวคิดเพ่อื นาเสนอในบทความน้ี

2. C-Computer (ICT) Integration ได้แก่ การท่ีผู้สอนควรที่จะมีการฝึกฝนทักษะในการใช้
คอมพิวเตอร์ (ไอซีที) ในการบูรณาการกับการเรียนการสอนในช้ันเรียน สาเหตสุ าคัญที่ครผู ู้สอนจาเป็นต้องมี
ทักษะดา้ นการประยกุ ตค์ อมพิวเตอร์เปน็ เครอ่ื งมือหนึง่ ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์นั้น นอกจากจะเป็นการติดอาวุธด้านทักษะในการใช้ไอซีที โดย
ทางอ้อมให้แก่ผู้เรียนแล้ว หากมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ยังสามารถส่งเสริม
ทกั ษะกระบวนการคดิ ของผู้เรยี นได้เป็นอยา่ งดี

3. Constructionist ได้แก่ การท่ีผู้สอนเป็นผู้สร้างสรรค์ หรือ มีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดในเร่ือง
constructionism ซ่งึ มุ่งเน้นแนวคิดทีว่ ่า การเรียนรู้จะเกิดขนึ้ ได้น้ัน เป็นเรื่องภายในของตัวบุคคล จากการท่ี
ได้ลงมอื สร้างทากิจกรรมใดๆ ท่ีทาให้เกดิ การสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ท่ีเชือ่ มโยงกับประสบการณ์หรือความรู้เดิม
ท่ีอยูใ่ นตวั บคุ คลนน้ั ๆ มาก่อน ครผู ู้สอนท่ีเป็นผูส้ ร้างสรรค์ค์นนั้ ไมเ่ พยี งแตจ่ ะสามารถใชท้ กั ษะน้ีในการพฒั นาใน
ดา้ นของเน้ือหา องค์ความรู้ใหมๆ่ สาหรบั ผู้เรียนเองแล้ว หากยงั สามารถ นาไปใช้ในการสร้างแผนการเรียนรู้
ตา่ งๆ ซง่ึ ครอบคลุมกิจกรรมท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผสู้ รา้ งความร้ขู ้นึ ในตนเอง ผ่านการลงมอื ผลิตช้ินงานต่างๆ
เชน่ งานศิลปะ การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ฯลฯ

4. Connectivity ไดแ้ ก่ การที่ครผู สู้ อนมีทกั ษะในการจดั กจิ กรรมท่ีเชอื่ มโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
เพื่อนครูทั้งในสถานศึกษาเดียวกนั และต่างสถานศึกษา หรอื เช่ือมโยงกบั โรงเรยี น (สถานศกึ ษา) บ้าน และ /
หรือชุมชนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของผู้เรียน ท้ังน้ีเน่ืองจากแนวคิดท่ีว่าการเรียนรู้จะ
เกิดขึ้นได้อย่างดีนั้น เม่ือส่ิงท่ีเรียนรู้น้ันมีความสัมพันธ์โดยตรง หรือ เก่ียวข้องกับ ความสนใจ ประสบการณ์
ความเชื่อ สังคม และ วัฒนธรรมของผู้เรียน การที่ผู้สอนสามารถเช่ือมโยงส่ิงที่ผู้เรียนเรียนรู้ ในชั้นเรียนกับ
เพื่อน ครู ในโรงเรียน (สถานศึกษา) บ้าน และสังคมแวดล้อมท่ีผ้เู รียนเป็นส่วนหน่ึง ได้มากเท่าใด ก็ย่อมทาให้
ผเู้ รยี นเกิดการเช่ือมโยงระหวา่ งสงิ่ ทเ่ี รยี นรู้กับประสบการณต์ รงไดม้ ากเท่านน้ั

5. Collaboration ได้แก่ การที่ครูผู้สอนมีความสามารถในการเรียนรู้แบบร่วมมือกันกับผู้เรียนได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กล่าวคอื ผู้สอนจะตอ้ งมที กั ษะในบทบาทของการเป็นโคช้ หรือ ทีป่ รกึ ษาท่ีดีในการเรียนรู้
(ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในลักษณะของการเรียนรู้ด้วยตนเอง) ของผู้เรียน รวมท้ัง การเป็นผู้เรียนเองในบางคร้ัง
ทักษะสาคัญของการเปน็ โค้ช หรือ ที่ปรกึ ษาที่ดีน้ัน ได้แก่ การสร้างฐานการเรียนรู้ ( scaffold ) ให้กับผู้เรียน
เป็นระยะๆ อย่างเหมาะสม ท้ังนเี้ พ่ือให้ผู้เรียนเกิดฐานการเรียนรู้ที่เอ้ืออานวยในการต่อยอดการเรียนรู้แบบมี
ส่วนร่วมขึ้นได้ ท้ังนี้การเรียนรู้จะเกิดข้ึนในผู้เรียนได้อย่างจากัด หากปราศจากซึ่งฐานการเรียนรู้ที่เหมาะสม
จากผ้สู อน

6. Communication ได้แก่ การท่ีครูผู้สอนมีทักษะในการสื่อสารกับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสื่อสารใหม้ ีประสทิ ธิภาพไม่ได้หมายถึง เฉพาะการพฒั นาให้เกิด ทักษะของเทคนิคการส่ือสารที่ดี เช่น การ
อธิบายด้วยคาพูด หรือข้อความ การยกตัวอย่าง ฯลฯ เท่านั้น หากยังหมายรวมถึงการเลือกใช้สื่อ (media)
ต่างๆ ท่ีหลากหลาย ซ่ึงสามารถช่วยให้ผู้สอนสามารถส่งผ่านเน้ือหาสาระที่ต้องการจะนาเสนอ หรือสร้าง
สิง่ แวดลอ้ มท่เี อื้อใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม

7. Creativity ได้แก่ การที่ครูผู้สอนจะต้องเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะดังกล่าวนี้ ท้ังน้ี
เพราะบทบาทของครูผู้สอนในยุคสมัยหน้าน้ัน ไม่ได้มุ่งเน้นการเป็นผู้ป้อน / ส่งผ่านความรู้ ( impart ) ให้กับ
ผเู้ รียนโดยตรง หากม่งุ ไปสู่ บทบาทของการสร้างสรรค์ ออกแบบส่งิ แวดล้อมการเรียนรูท้ ี่เอ้ือใหผ้ ู้เรียนเกดิ การ

เรยี นรูด้ ้วยตนเองของผ้เู รียน ผู้สอนจะได้รบั การคาดหวงั ให้สามารถท่ีจะรงั สรรค์กจิ กรรมใหม่ๆ ต่างๆ ทส่ี ง่ เสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียน

8. Caring ได้แก่ การที่ครูผู้สอนจะต้องมีความมุทิตา ความรัก ความปรารถนา และความห่วงใย
อย่างจริงใจแก่ผู้เรียน ในทักษะทั้งหมดท่ีได้กล่าวมาน้ัน ทักษะ caring (มุทิตา) หรือ น้ีนั้น นับว่าเป็นทักษะที่
สาคญั ท่ีสุดก็วา่ ได้ ทง้ั น้เี พราะความมีมุทติ า รกั ปรารถนาดี และหว่ งใยกบั ผ้เู รียนของครูน้นั จะทาใหผ้ ้เู รียนเกิด
ความเช่ือใจต่อผู้สอน ส่งผลให้เกิดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในลักษณะการต่ืนตัวอย่างผ่อนคลาย ( relaxed
alertness ) แทนความรู้สึกวิตกกงั วล ( anxiety ) ในส่ิงทีจ่ ะเรียนรู้ ซ่ึง การต่ืนตัวอยา่ งผ่อนคลาย ถือว่า เป็น
ส่ิงแวดล้อมท่ีเหมาะสมทส่ี ดุ ที่จะทาให้สมองเกดิ การเรียนรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ


Click to View FlipBook Version