องค์ความร้แู ละการถา่ ยทอดความรู้ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ คนอุบลราชธานี
ตำบลโนนกุง อำเภอตระการพืชผล
ชื่อ-สกุล นางสาวนรศิ รา โคตรพนั ธ์ ช่อื เลน่ แบม อายุ 21 ปี
ท่ีอยู่ 97 หมู่ท่ี 5 บ้านนาหว้ ยแดง ตำบลโนนกุง อำเภอตระการพืชผล จงั หวดั อบุ ลราชธานี
เบอร์โทรศัพท์ 097-2397718 Line : bamtrust.97 facebook : Bam Naris Fanpage : เป่ยี มสขุ ฟารม์
ดา้ นการเกษตรผสมผสาน
ประวตั ชิ ีวติ และผลงาน
นางสาวนริศรา โคตรพันธ์ อายุ 21 ปี จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง จากวทิ ยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี ในสาขาพืชศาสตร์ ซึ่งมีความมุ่งม่ัน และต้องการพัฒนาพื้นท่ีทำกินของ
ครอบครัว โดยเร่ิมต้นวางแผนพ้ืนท่ี และการทำแผนการประกอบธุรกิจและเร่ิมการปรับปรุงพ้ืนที่ด้วยตัวเอง
และพัฒนาพื้นท่ีพร้อมกับครอบครัว จนเป็นพ้ืนท่ีการเกษตรครบวงจร และสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้
และเปน็ ผูใ้ ห้คำแนะนำเร่อื งการเกษตรให้กับคนในชุมชนได้
องคค์ วามรู้และความเชี่ยวชาญ
นางสาวนริศรา โคตรพันธ์ ซึง่ เป็นผูม้ ีความรู้ในการทำการเกษตร จบการศึกษาระดบั ประกาศนียบัตร
วชิ าชีพช้ันสูง จากวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี ในสาขาพืชศาสตร์ และสามารถขับเคล่ือนพื้นท่ี
ทำกินของตนเป็นพื้นท่ีการเกษตรผสมผสาน ท่ีสามารถสร้างงาน สร้างรายได้ ตลอดจนการให้ความรู้และ
แนะนำการเกษตรกับคนในชุมชน
กระบวนการ/ขนั้ ตอน/วธิ ดี ำเนนิ งาน
นางสาวนริศรา โคตรพันธ์ ได้มกี ารวางแผน เขียนแผนงาน และการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระบบ
ตลอดจนการลงมือทำงานด้วยตวั เอง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. การปรบั ปรุงทดี่ นิ ให้พร้อมในการทำการเกษตร
2. การลอ้ มรั้วแบง่ พนื้ ทใ่ี นในการทำการเกษตร เช่น พืน้ ที่ปลูกผัก เลีย้ งสัตว์ ปลกู ผลไม้ แหลง่ น้ำ
3. จดั ทำระบบนำ้ ซ่งึ ใช้ในการเล้ยี งววั และเอื้อประโยชนใ์ นการปลกู พืชผัก
4. การปลูกพชื ผกั ตามฤดูกาล (ปลอดสารเคมี) และการเล้ียงสตั ว์
5. การวางแผนดแู ล รักษาการเกษตร
6. การตลาดและการจัดจำหน่าย (ส่งผา่ นพ่อค้าคนกลาง และจดั จำหนา่ ยเองในชุมชน)
7. การวางแผนพัฒนาการทำการเกษตรครั้งต่อไป
วธิ ีการถ่ายทอดองคค์ วามรู้แหลง่ เรยี นรู้เพือ่ นำส่กู ารปฏิบัติ
1. สามารถเป็นเปน็ วทิ ยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านการเกษตรแกช่ มุ ชน โดยใชก้ ลวธิ ใี นการเปล่ียน
แนวความคดิ ดงั้ เดิมของเกษตรกรใหย้ อมรับการเปลยี่ นแปลงทอี่ ยู่บนพน้ื ฐานเกษตรเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มีการส่งขา่ วสารแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ นั โดยใช้ส่ือตา่ งๆ ผ่าน facebook : Bam Naris และ
Fanpage : เป่ียมสุข ฟาร์ม
3. พื้นท่ี เปี่ยมสขุ ฟาร์ม เปิดใหป้ ระชาชนหรือผู้ที่สนใจในการทำการเกษตร เข้าไปศกึ ษาพร้อมทงั้ ให้
คำแนะนำตา่ งๆกบั ผู้ทีเ่ ข้ามาเยีย่ มชม
ผลผลิต/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการปฏิบตั ิ
1. สามารถทำอาชีพการเกษตรที่พ่งึ พาตนเองได้
2. การสร้างรายได้ โดยแบ่งที่มาของรายได้ดงั น้ี
- ปลกู ข้าว พนื้ ที่ 50 ไร่ รายได้ 150,000 บาท/ปี
- ปลูกมนั สำปะหลงั พนื้ ที่ทั้งหมด 13 ไร่ แบง่ เปน็ 2 สว่ น คือ 10 ไร่ ทำมนั แหง้ ขายสง่ ตลาด
ส่วนอกี 3 ไร่ ใชเ้ ปน็ อาหารเลย้ี งววั รายได้รวม 130,000 บาท/ปี
- ปลูกยางพารา พ้ืนท่ี 6 ไร่ ผลผลิตที่ได้ คือ ขย้ี างพารา รายได้ 50,000 บาท/ปี
- ปลกู กล้วย พื้นท่ี 1 ไร่ ผลผลติ ท่ไี ด้ ผลกล้วยและหน่อพนั ธ์ุเพอ่ื จำหน่าย รายได้ 50,000 บาท/ปี
- ปลูกผัก พ้นื ที่ 2 ไร่ รายได้ 80,000 บาท/ปี
- เล้ียงววั จำนวน 8 ตัว รายได้ 90,000 บาท/ปี
3. การรวมกลมุ่ การจดั ตง้ั กลมุ่ อาชพี เกษตร เพ่ือการจำหนา่ ยทางออนไลน์
4. การพัฒนาพื้นท่ี ใหเ้ ปน็ แหล่งองค์ความรู้เพ่ือพฒั นาการเกษตรทย่ี ง่ั ยืนของชุมชน
ลักษณะเครอื ขา่ ย และการสรา้ งเครือข่าย การมีส่วนร่วมกบั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง
1. เขา้ ร่วมโครงการต่างๆ ของภาครฐั และหน่วยงานดว้ ยความเตม็ ใจและเสยี สละ
2. ยินดีให้ใช้บา้ นและสวนเป็นสถานท่ปี ระชมุ จัดเวทีประชาคม และจุดสาธติ การเกษตร
3. จัดต้ังและรวบรวมกลุ่มอาชพี การเกษตรในชุมชน และเปน็ ตัวแทนในการจดั จำหน่ายสนิ คา้ ผ่าน
ออนไลน์ เพื่อชว่ ยเหลือและสนบั สนนุ การขายสนิ คา้
แผนงานในอนาคต และการนำไปขยายผล (Applicable)
1. สร้างแหล่งจำหนา่ ย และเปน็ ศูนยก์ ลางในการจัดจำหน่ายสินคา้ การเกษตรในชุมชน
2. พฒั นาการเกษตรที่ยง่ั ยืนใหแ้ กช่ ุมชนทอ้ งถน่ิ โดยการจดั เวทปี ระชาคม ร่วมกนั ทำแผนชมุ ชนท้ัง
ระยะสน้ั และระยะยาวท่ีเน้นเกษตรอนิ ทรีย์
3. ประสานงานและร่วมมอื กับหนว่ ยงานภาครัฐเพือ่ ขอรบั การสนับสนนุ การเกษตรในชุมชน
4. ผลกั ดันใหเ้ กิดการรวมกลมุ่ ทางการเกษตรของประชาชน เพ่อื ให้เกดิ ความเข้มแข็ง เช่น กลุ่มทำนา
กลุ่มปลกู พชื ไร่ , กลมุ่ ปลูกไม้ผล ฯลฯ
รางวลั หรือเกียรตคิ ณุ แหล่งเรียนรู้ท่ไี ด้รบั
1. เป็นผู้ให้ความร่วมมือในการบำเพญ็ ประโยชน์และมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาการเกษตร
2. เป็นผู้ใหค้ วามรู้ คำแนะนำ ด้านการเกษตรกับผู้ทส่ี นใจในชุมชนได้
3. ผา่ นการอบรมหลักสูตรการเพาะเห็ดเรืองแสง และการเพาะเลย้ี งแมลงหางหนีบ
4. ผ่านการอบรมเกษตรอินทรยี ์
5. ผา่ นการฝกึ ประสบการณ์สาขาพืชศาสตร์ ทีส่ ถานเี กษตรหลวงอนิ ทนนท์ จงั หวดั เชียงใหม่