The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนบ้านไอร์โซ ปีการศึกษา 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Manasay Hajida-oh, 2019-12-30 20:55:22

SAR โรงเรียนบ้านไอร์โซ ปีการศึกษา 2560

SAR โรงเรียนบ้านไอร์โซ ปีการศึกษา 2560

คำนำ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓)
และกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ท่ีกาหนดให้
สถานศึกษาทุกแห่งต้องจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา และมาตรา ๔๘ แห่ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานการประเมินตนเองเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาและเพอ่ื รองรบั การประกนั คณุ ภาพภายนอก

ในปีการศึกษา ๒๕60 โรงเรียนบ้านไอร์โซ ได้ดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแลและ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาที่กาหนด

รายงานการประเมินตนเองเล่มนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ทางโรงเรียนขอขอบคุณคณะครูและบุคลากรใน
โรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาและพิจารณาให้
ความเหน็ ชอบเพื่อเผยแพร่ต่อผู้เกีย่ วข้องต่อไป

โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต ๓

สำรบัญ

คานา หน้า
สารบัญ
ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐาน 1
1
 ข้อมลู ท่ัวไป 1
 ข้อมูลครแู ละบุคลากรของสถานศึกษา 3
 ขอ้ มูลนกั เรยี น 4
 ผลการประเมินระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 10
 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผเู้ รียน (RT) 11
 ผลการประเมินความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) 14
 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET) 15
 ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี 15
 ขอ้ มลู งบประมาณ 15
 ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม 16
 ขอ้ มูลผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. และขอ้ เสนอแนะ 22
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 22
 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น 29
 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา 31
 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ 32
 มาตรฐานท่ี 4 ระบบการประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ปี ระสิทธผิ ล 33
 ผลการประเมนิ ภาพรวม 34
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการช่วยเหลือ 34
 สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพฒั นาของแต่ละมาตรฐาน 36
 แนวทางการพฒั นาในอนาคต 36
 ความตอ้ งการการช่วยเหลือ 37
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก

๑รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2560 |

ส่วนที่ ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน

๑.๑ ข้อมูลท่ัวไป

ชื่อ โรงเรียนบ้านไอร์โซ

ทีต่ ้ัง หมู่ที่ ๕ ตาบล ชา้ งเผือก อาเภอ จะแนะ จงั หวัด นราธิวาส

สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๓

E-mail: [email protected]

เปดิ สอนระดับชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

เนอ้ื ท่ี ๘ ไร่ ๒ งาน ๔๘ ตารางวา

เขตพ้นื ที่บรกิ าร ๕ หมบู่ ้าน คือ

๑. บ้านไอร์โซ หา่ งจากโรงเรยี นประมาณ 0.55 กโิ ลเมตร
1.30 กโิ ลเมตร
๒. บ้านไอรล์ าคอ ห่างจากโรงเรยี นประมาณ 2.00 กโิ ลเมตร
4.00 กโิ ลเมตร
๓. บ้านปูลากโี ย หา่ งจากโรงเรียนประมาณ 8.00 กโิ ลเมตร

๔. บา้ นนาแบ ห่างจากโรงเรยี นประมาณ

๕. บา้ นไอร์ลาตา หา่ งจากโรงเรียนประมาณ

๑.๒ ข้อมูลครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา
1) จานวนบคุ ลากร

บคุ ลากร ผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอน พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจา้ ง เจา้ หนา้ ทอ่ี น่ื ๆ รวม
5 4 ทั้งหมด

ปกี ารศกึ ษา 2560 1 16 3 29

2) วุฒิการสูงสดุ ของบุคลากร

3.45% 13.79%

ปรญิ ญาโท
ปรญิ ญาตรี
ต่ากว่า ปวช.

82.76%

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๒รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

3) รายช่อื บคุ ลากรโรงเรียน

ท่ี ชื่อ-สกลุ อายุ ตาแหน่ง/วทิ ยฐานะ วุฒิ วชิ าเอก

ผู้บรหิ าร 38 ผ้อู านวยการ/ชานาญการพเิ ศษ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา

๑ นายมฮู ามดั มอลอ 41 ครู/ชานาญการพิเศษ กศ.ม. การบริหารการศกึ ษา
46 ครู/ชานาญการ วท.บ. เกษตร
ครผู ู้สอน/พนกั งานราชการ/ครูอตั ราจ้าง 31 คร/ู ชานาญการ ศศ.บ. ภาษาไทย
35 ครู/ชานาญการ วท.บ. เคมี
๒ นางคอยรียะห์ จนั ทร์สนทิ 32 คร/ู ชานาญการ ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา
๓ นายซอบรี สาเหาะ 31 ครู วท.บ. วิทยาการคอมพวิ เตอร์
๔ นายอิสมาแอล มะแซ 32 ครู ค.บ. ภาษาไทย
๕ นางซรู ียานี อสิ มาแอ 39 ครู ค.บ. ปฐมวยั
๖ นางสาวรอฮานิง สะแลแม 43 ครผู ชู้ ว่ ย ค.บ. การประถมศกึ ษา
๗ นายมะนาเซ หะยดี าโอะ๊ 47 ครผู ู้ชว่ ย วท.บ. สถิตปิ ระยุกต์
๘ นางสาววนดิ า อาลี 26 ครผู ชู้ ว่ ย ศษ.บ. พลศึกษา
๙ นางเสาวณี ปิยหิรัณย์ 31 ครูผ้ชู ่วย ศษ.บ. ปฐมวัย
๑๐ นายเจะ๊ สือแม มะเย็ง 39 ครผู ชู้ ว่ ย ค.บ. ปฐมวยั
๑๑ นายอาดัม ศรีตุลาการ 32 ครผู ชู้ ่วย ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ
๑๒ นายอามรี ดุ ดีน อาบูซาแล 30 ครูผู้ชว่ ย ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ
13 นางสาวฟซู ียะห์ อาบู 26 ครผู ชู้ ว่ ย ศษ.บ. ศิลปะ
14 นางสาวกามีฮะ ลโี กะ 49 พนกั งานราชการ ค.บ. เทคโนโลยีทางการศึกษา
15 นางสาวอามีน๊ะ ปหู ยงั 38 พนักงานราชการ วท.บ. สังคมศึกษา
16 นางสาวอามีเนา๊ ะ มะลาเฮง 27 พนักงานราชการ ค.บ. ภาษาอังกฤษ
17 นางสาวซอลีหะห์ สะมาแอดาโอะ 37 พนักงานราชการ ศศ.บ. สงั คมศึกษา
18 นายอารือมัน ตาเฮ 39 พนกั งานราชการ ศศ.บ. กฎหมายอสิ ลามศกึ ษา
19 นายตัรมซี ี อสิ มาแอ 29 ลูกจ้างช่วั คราว ค.ม. การสอนอสิ ลามศกึ ษา
20 นายอิรฟาน ขาลี 33 ลกู จ้างชัว่ คราว วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ
21 นางสุไรดา มะทา 30 ลกู จ้างชั่วคราว วท.บ. เคมี
22 นางสาวจริยา บอื ซา 31 ลกู จา้ งชวั่ คราว อ.ศษ. การศกึ ษาปฐมวยั
23 นายอับดุลเราะหม์ าน เจ๊ะอาแว
24 นางสาวรอฮีมะห์ โตะ๊ ลู 47 นักการภารโรง ม.3 -
25 นางสาวนรู ซี า วาแมง็ 34 รปภ.ครู ศศ.บ. รฐั ศาสตร์
26 นางซไู วบะ ตาเห 33 เจ้าหนา้ ทธี่ ุรการ บธ.บ. คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ
เจา้ หน้าทอ่ี ่ืน ๆ
27 นายสะอาดา ดอเลาะ
28 นางสาวนูรีดา หะยหี ะมะ
29 นางสาวสารีนา สะมะแอ

>> โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๓รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

๑.๓ ขอ้ มูลนักเรยี น

จานวนนักเรยี นปีการศกึ ษา ๒๕60 รวม 349 คน

ระดับชน้ั เรยี น จานวน จานวนนกั เรียน เฉลี่ยตอ่
หอ้ งเรียน ชาย หญิง รวม ห้อง
อ.2 20 22 42
อ.3 1 21 18 39 42
รวมอนุบาล 2 41 40 81 20
ป.1 3
ป.2 23 20 43 22
ป.3 2 31
ป.4 35 26 61 21
ป.5 2 24 18 42 19
ป.6 2 23 14 37 24
รวมประถม 2 25 23 48 19
รวมท้ังหมด 2 20 17 37
2 150 118 268
12 191 158 349
15

จานวนนักเรียน(คน) เปรียบเทียบข้อมูลจานวนนักเรียนปีการศึกษา 2558-2560

80 ป.6
48
70
49
60
37
50

40

30

20

10

0
อ.1 อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5

2558 0 47 63 50 47 51 35 50
2559 0 38 43 73 43 44 50 40
2560 0 42 39 43 61 42 37 48

>> โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๔รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

๑.๔ ผลการประเมนิ ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
1) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2560

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2560

หน้าท่พี ลเมอื ง 24.62 75.8
ภาษาอังกฤษ 90.12
การงานอาชีพ 35.05 98.24
45.14 99.51
ศลิ ปะ
สุขศกึ ษา 26.9 80.00 100.00
ประวัติศาสตร์ 14.28

สังคม 23.78
วิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ 20.00 40.00 60.00
รอ้ ยละ
ภาษาไทย

0.00

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 65.79
ภาษาอังกฤษ
การงานอาชพี 23.69 97.37
100
ศลิ ปะ 18.43 100
สขุ ศึกษา 13.16
ประวัติศาสตร์ 10.53 100.00
5.27
สังคม
วิทยาศาสตร์ 23.69
คณติ ศาสตร์

ภาษาไทย

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00

ร้อยละ

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๕รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

หน้าที่พลเมอื ง 89.29
ภาษาอังกฤษ
การงานอาชพี 10.72 57.15 100
20.00 98.22
ศลิ ปะ 41.08
สขุ ศึกษา 44.65 100
ประวัติศาสตร์ 92.86
40.00 60.00 80.00
สงั คม ร้อยละ 96.43
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ 100.00

ภาษาไทย

0.00

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หนา้ ท่ีพลเมอื ง 89.29
ภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพ 10.72 57.15 100
20.00 98.22
ศลิ ปะ 41.08
สุขศึกษา 44.65 100
ประวัติศาสตร์ 92.86
40.00 60.00 80.00
สังคม รอ้ ยละ 96.43
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ 100.00

ภาษาไทย

0.00

>> โรงเรียนบ้านไอร์โซ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๖รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน้าท่พี ลเมอื ง 40
ภาษาอังกฤษ 25.72
การงานอาชีพ
17.15 74.29 100
ศลิ ปะ 40 80.00 100
สุขศกึ ษา
ประวัติศาสตร์ 20 100.00

สังคม 0
วิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ 11.43
20.00
ภาษาไทย

0.00 40.00 60.00
ร้อยละ

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน้าท่พี ลเมอื ง 20 33.34 97.78
ภาษาอังกฤษ 86.67
การงานอาชีพ 8.89 44.45
2.23 100
ศลิ ปะ 40.00 60.00 100
สุขศกึ ษา 6.67 ร้อยละ
ประวัติศาสตร์ 80.00 100.00

สังคม
วิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์

ภาษาไทย

0.00 20.00

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๗รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หน้าทพี่ ลเมือง 35.3 97.06
ภาษาอังกฤษ 82.36
การงานอาชีพ 29.42 47.06
91.18
ศลิ ปะ 32.36 97.06
สขุ ศกึ ษา 17.65
ประวัติศาสตร์ 80.00 100.00
26.48
สงั คม
วิทยาศาสตร์ 20.00 40.00 60.00
คณติ ศาสตร์ รอ้ ยละ

ภาษาไทย

0.00

2) ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ป.6

ป.5

ป.4

ป.3

ป.2

ป.1

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ดเ่ี ยย่ี ม 23.26 88.52 7.14 51.35 12.50 35.14
ดี 20.93 3.28 52.38 8.11 37.50 0.00
ผา่ น 44.19 0.00 28.57 35.14 43.75 56.76
ไมผ่ า่ น 11.63 8.20 11.90 5.41 6.25 8.11

>> โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๘รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

3) ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น

ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ป.6
ป.5
ป.4
ป.3
ป.2
ป.1

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ดเ่ี ยย่ี ม 2.33 8.20 16.67 2.70 0.00 0.00
ดี 30.23 31.15 30.95 24.32 0.00 21.62
ผ่าน 55.81 52.46 40.48 67.57 93.75 70.27
ไมผ่ า่ น 11.63 8.20 11.90 5.41 6.25 8.11

4) ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 5 ดา้ น

ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 5 ดา้ น
250

200

จานวนนักเรียน (คน) 150

100

50

0 การคดิ การแก้ปญั หา การใชท้ กั ษะชวี ติ การใชเ้ ทคโนโลยี
245 245 245 245
การสือ่ สาร
ผา่ น 245 23 23 23 23

ไม่ผ่าน 23

>> โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๙รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2560 |

5) ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

ร้อยละของผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

100.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
90.00 88.37 91.80 88.10 94.59 93.75 91.89
80.00
70.00 11.63 8.20 11.90 5.41 6.25 8.11
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00

ผา่ น
ไมผ่ ่าน

>> โรงเรียนบา้ นไอร์โซ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๑๐รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

๑.๕ ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผูเ้ รยี น (Reading Test: RT) ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผเู้ รยี น (Reading Test: RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560

80.00 73.57 73.34 69.58 69.52 71.58 71.43
70.00
60.00 37.74 49.25 43.50
50.00 9.10 36.05 22.58
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00

การอ่านออกเสยี ง การอา่ นรู้เร่อื ง คะแนนรวมเฉลยี่
ระดบั โรงเรยี น
ระดับประเทศ ระดับสงั กดั สพฐ. ระดบั เขตพนื้ ท่ี

ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (Reading Test: RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560
จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ดมี าก 00..0000 25.71 71.42
0.00 71.42

ดี 2.855.7111.42

พอใช้
5.71

ปรับปรุง 17.14 88.57
100.00
0.00 20.00 40.00 60.00 80.00

รวม 2 ดา้ น การอา่ นรู้เรอ่ื ง การอ่านออกเสยี ง

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๑๑รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

1.6 ผลการประเมินความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (National Test : NT) ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
๑) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ประจาปกี ารศึกษา ๒๕60

คะแนนเฉลย่ี ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเ้ รียนระดบั ชาติ (NT)
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2560

60.00 52.67 37.75 45.31 45.24
50.00 24.39 26.54
40.00 30.46 19.91 22.85 27.13
30.00 20.71 21.16
20.00

10.00

0.00 ดา้ นคานวณ ดา้ นเหตผุ ล เฉลี่ยทั้ง 3 ดา้ น
ดา้ นภาษา

ระดบั โรงเรยี น ระดับเขตพน้ื ท่ี ระดับประเทศ

100.00 คะแนนเฉลีย่ ร้อยละของจานวนนักเรียนทมี่ ีผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียน
90.00 ระดับชาติ (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
80.00 จาแนกตามระดับคุณภาพ
70.00
60.00 95.12
50.00
40.00 70.73
30.00 65.85
20.00
10.00 34.15
0.00 29.27

ปรับปรุง 4.88 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 0.00 ดมี าก

พอใช้ ดี
ดา้ นภาษา ดา้ นคานวณ ดา้ นเหตผุ ล

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๑๒รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

๒) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รียนระดบั ชาติ (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
ประจาปีการศึกษา ๒๕59 – ๒๕60

๒.๑) เปรยี บเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ
(NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา ๒๕59 – ๒๕60

ความสามารถ ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา รอ้ ยละของผลต่าง
2559 2560 ระวา่ งปกี ารศกึ ษา
ดา้ นภาษา
ดา้ นคานวณ 24.46 20.71 -3.75
ด้านเหตผุ ล
รวมความสามารถเฉลีย่ ทง้ั 3 ด้าน 22.92 19.91 -3.01

18.95 22.85 +3.90

22.11 21.16 -0.95

๒.๒) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT)
ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕9-๒๕60 จาแนกตามรอ้ ยละของระดับคณุ ภาพ

ความสามารถด้านภาษา (Literracy)

0.00 29.27
ดมี าก

0.00
0.00
ดี
0.00

พอใช้
9.37

ปรับปรุง 70.73
90.62

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00
รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี น ปี 2559 ร้อยละของจานวนนกั เรียน ปี 2560

>> โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๑๓รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy)

0.00
ดมี าก

0.00

0.00
ดี

0.00

พอใช้ 34.15
15.62

ปรับปรุง 65.85
84.37

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00
รอ้ ยละของจานวนนกั เรียน ปี 2559 ร้อยละของจานวนนักเรียน ปี 2560

ความสามารถดา้ นเหตผุ ล (Reasoning ability)

0.00 95.12
ดมี าก 84.37

0.00 60.00 80.00 100.00
0.00 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียน ปี 2560
ดี
0.00

4.88
พอใช้

15.62

ปรับปรุง

0.00 20.00 40.00
รอ้ ยละของจานวนนกั เรียน ปี 2559

>> โรงเรียนบ้านไอร์โซ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๑๔รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

๑.7 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕60

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

คะแนนเฉ ่ีลย 50.00
45.00
40.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวม
35.00 เฉลี่ย
30.00 46.58 36.34 37.12 39.12
25.00 45.29 32.73 35.55 38.13 39.79
20.00 30.31 27.08 24.01 28.97
15.00 28.38 24.84 19.06 26.08 37.93
10.00
5.00 27.59
0.00
24.59
ระดบั ประเทศ
ระดับสังกัด สพฐ.
ระดับเขตพนื้ ที่
ระดบั โรงเรยี น

๒) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕59-๒๕60

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน
ปีการศกึ ษา 2559 - 2560
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

คะแนนเฉ ่ลีย 35
30
25 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลยี่
20 28.86 25.29 26.05 29.07 27.32
15 28.38 24.84 19.06 26.08 24.59
10 -0.48 -0.45 -6.99 -2.99 -2.73
5
0
-5
-10

2559
2560
ผลการพัฒนา

>> โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๑๕รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

1.8 ข้อมูลอาคารสถานที่

๑) อาคารเรยี น 3 หลงั จานวน 13 ห้องเรียน ไดแ้ ก่

- แบบ สปช.102/26 (อาคารเรยี น ตชด.) จานวน 6 ห้อง สรา้ งเมือ่ พ.ศ.2537

- แบบ สปช.102/26 (อาคารเรยี นอนุบาล) จานวน 3 หอ้ ง สร้างเมอ่ื พ.ศ.2537

- แบบ สปช.105/29 (อาคาเรียนพระราชทาน) จานวน 4 หอ้ ง สร้างเม่ือ พ.ศ.2548

๒) อาคารประกอบ

- อาคารเอนกประสงค์ จานวน 1 หลงั สร้างเมอ่ื พ.ศ.2537

- อาคารหอ้ งสมดุ กาญจนาภเิ ษก จานวน 1 หลัง สร้างเม่ือ พ.ศ.2539

- อาคารกจิ กรรมสหกรณ์ จานวน 1 หลงั สร้างเม่ือ พ.ศ.2540

- อาคารละหมาด จานวน 1 หลัง สรา้ งเมอื่ พ.ศ.2541

- ส้วม แบบ สปช.604-45 จานวน 3 ท่ี สรา้ งเม่ือ พ.ศ.2537

3) สนามกีฬา

- สนามฟตุ บอล

- สนามวอลเล่ยบ์ อล

4) แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น

- หอ้ งสมดุ จานวน 1 หลัง

- ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 1 หอ้ ง เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 10 เครอ่ื ง

1.9 ข้อมูลงบประมาณ

งบประมาณ รายรับ-รายจ่าย

รายรับ จานวน/บาท รายจ่าย จานวน/บาท
เงนิ งบประมาณ
เงนิ นอกงบประมาณ งบดาเนนิ การ/เงินเดอื น-ค่าจ้าง
เงินอนื่ ๆ (ระบ)ุ งบพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
งบอืน่ ๆ
รวมรายรับ
- อาหารกลางวนั
- สาธารณูปโภค

รวมรายจา่ ย

1.10 ขอ้ มูลสภาพชมุ ชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและภูเขา มีประชากร

ประมาณ 1,700 คน ประกอบด้วยบ้านเรือน จานวน 482 หลังคาเรือน (อ้างอิงจากระบบสถิติทางการทะเบียน
ประจาปี พ.ศ.2559 เม่ือวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559) อาชีพหลักของชุมชนคือ เกษตรกรรมและรับจ้างท่ัวไป
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ การทาเมาลิด การ
กวนอาซรู อ

2) ผู้ปกครองสว่ นใหญ่จบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา รายไดโ้ ดยเฉล่ยี ประมาณ 27,000 บาท/คน/ปี
๓) โอกาสและขอ้ จากดั ของโรงเรยี น

โอกาสของโรงเรยี น
๑. โรงเรียนอยใู่ นโครงการพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
๒. โรงเรียนตงั้ อยู่ในชมุ ชนที่มแี หล่งเรียนรูภ้ ายนอกและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ อยา่ งหลากหลาย
๓. โรงเรียนไดร้ บั ความรว่ มมือจากผ้ปู กครองนักเรียน ชุมชน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนเป็นอยา่ งดี

>> โรงเรียนบา้ นไอร์โซ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๑๖รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

4. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตาบล
ชา้ งเผือกและส่วนราชการอื่น ๆ

5. โรงเรยี นมีผู้บริหาร ซึง่ มีวสิ ัยทศั น์ในการบรหิ าร ทาให้องคก์ รเข้มแขง็
๖. โรงเรียนมหี ลักสูตรอสิ ลามศกึ ษาแบบเขม้
๗. โรงเรียนมีการตดิ ตาม ดูแลนกั เรียนทม่ี ปี ญั หาขาดเรียน ปญั หาด้านพฤติกรรม
๘. โรงเรียนมีแผนการปฏิบตั งิ านเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านที่ชัดเจน
๙. โรงเรียนมโี ครงสร้างการบรหิ ารทีช่ ดั เจน สามารถทางานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๑๐. โรงเรียนมีการจดั กิจกรรมทีส่ อดคลอ้ งตามความต้องการของชุมชนอย่างตอ่ เน่ือง
๑๑. โรงเรียนมกี ารประชมุ บคุ ลากรและคณะกรรมการสถานศกึ ษาเปน็ ประจา
๑๓. โรงเรียนมีหลักสตู รทอ้ งถ่นิ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของชุมชน
ขอ้ จากัดของโรงเรียน
๑. โรงเรียนอยู่ห่างไกลจากสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๓
๒. โรงเรยี นอย่หู า่ งไกลจากส่วนราชการทงั้ อาเภอและจงั หวดั
๓. ครสู ว่ นใหญ่เปน็ ครทู บี่ รรจุใหม่ ขาดประสบการณก์ ารทางาน
๔. ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรภ์ ายในโรงเรียนยังไมค่ ่อยเสถียร เน่อื งจากขาดผ้ใู หบ้ รกิ าร
๕. โรงเรียนมีส่อื อปุ กรณ์การเรยี นการสอนไมเ่ พยี งพอและขาดประสทิ ธิภาพ
๖. ผูป้ กครองนกั เรียนส่วนใหญ่คอ่ นข้างยากจนและไม่ค่อยให้ความสาคัญตอ่ การศึกษาเท่าท่คี วร
๗. โรงเรยี นขาดอาคารเรียน ห้องเรยี นไม่เพียงพอกับนกั เรยี น
1.11 ข้อมูลผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. และข้อเสนอแนะ (ประเมินเมอื่ 13-14 และ 17 ม.ิ ย. 2556)

จุดเด่น

ระดบั ปฐมวยั
๑. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา

๑. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มีการเจริญเติบโตสมวัย มีน้าหนักส่วนสูง และสมรรถภาพ
ทางกายและทางกลไกสมวัย มีสุขนิสัยที่ดีในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รู้จักหลีกเล่ียงการกระทาที่
นาไปสูก่ ารบาดเจ็บได้สมวยั

๒. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย คือมีสุขภาพจิตดีและมีสุนทรียภาพ ร่าเริง
แจ่มใส กล้าพูด กล้าทา สามารถเล่นและปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกับผู้อนื่ ได้ตามวยั มีความม่งุ ม่ันในการทางาน
มีมนษุ ยสมั พนั ธ์กบั คนคนุ้ เคยและแสดงความชนื่ ชอบ ตอบสนองต่องานศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

๓. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในชั้นต่อไป คือ มีทักษะพ้ืนฐานตามพัฒนาการทุกด้านสมวัย ท้ังทางด้าน
ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ สังคมและสติปัญญาประกอบกับมีความรู้พื้นฐานเก่ียวกับตนเอง บุคคล สถานท่ี
ธรรมชาติและเร่อื งเกี่ยวกบั ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั อยา่ งเดน่ ชัด

๔. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดต้ัง
สถานศึกษาเกิดเป็นอตั ลกั ษณข์ องเด็ก คือ ดุอารเ์ ป็นนิจ โดยเดก็ สามารถปฏิบตั ิไดเ้ ป็นกจิ นสิ ัย

๕. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือโรงเรียนใน
โครงการพระราชดาริฯ การดาเนนิ งานส่งผลให้เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาศกั ยภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง ซึง่ เป็นพ้ืนฐาน
ของการใช้ชีวิตประจาวัน นอกจากนี้เด็กยังได้รับการดูแลด้านโภชนาการทาให้ได้รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์
ต่อร่างกาย ทาให้มสี ขุ ภาพรา่ งกายท่แี ขง็ แรง เจริญเติบโตตามวัยและเดก็ ไดเ้ รียนรเู้ กี่ยวกับอาชีพ

๖. โครงการพระราชดาริ เป็นโครงการพิเศษของสถานศึกษาแก้ปัญหาทุพโภชนาการให้เด็กมีสุขภาพดี
ปัญหาด้านเศรษฐกิจและงบประมาณอาหารกลางวันท่ีไม่เพียงพอ การฝึกอาชีพ และต้องการให้เด็กได้เรียนรู้

>> โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๑๗รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการปฏิบัติจริงและขยายผลสู่ชุมชนเพ่ือการปฏิบัติร่วมกันระหว่างชุมชนและ
สถานศึกษาสามารถเปน็ แบบอยา่ งของการเปล่ียนแปลงท่ดี ี
๒. ดา้ นการบริหารจัดการศึกษา

ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษามคี วามสามารถในการบริหารจดั การและพัฒนาสถานศึกษาโดยการจดั โครงสร้างการ
บริหารงานออกเป็น ๕ ฝ่าย มีการประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพัฒนางานให้มี
ประสทิ ธิภาพ อีกทั้งยังร่วมกันจัดสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในอาคารให้เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ มีความปลอดภัย
ถูกสุขลักษณะและจัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก เพื่อส่งเสริมให้เด็กมี
พฒั นาการทุกดา้ นสมวยั
๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ

ไมม่ ี
๔. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน

ไมม่ ี

>> โรงเรียนบ้านไอร์โซ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๑๘รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

ระดับประถมศกึ ษา
๑. ดา้ นผลการจดั การศึกษา

๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี คือ มีน้าหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
รวมท้ังรู้จักดูแลตนเองให้มีความปลอดภัยจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด ส่ิงมอมเมาทุกชนิดและมีสุนทรียภาพทั้ง
ทางดา้ นศลิ ปะ ดนตร/ี นาฏศลิ ป์

๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึ่งประสงค์ คือ มีความประพฤติที่ดีปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรมไทย อยู่ในโอวาทของพ่อแม่ ผู้ปกครอง สร้างความสุข ความสบายใจให้พ่อแม่ ช่วยทาธุรการงานต่าง ๆ
เช่น ทาความสะอาดบ้าน ช่วยซื้อของ ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัว ช่วยครูทางาน ทาความสะอาด
ห้องเรียน ร่วมกิจกรรมวันสาคัญที่สถานศึกษาจัดด้วยความขยันขันแข็ง ผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่ขาดเรียน ไม่มาสาย
ไม่ออกจากการศึกษากลางคัน เนื่องจากความประพฤติ ไม่มีปัญหาด้านการปกครอง มีความสุภาพ นอบน้อม มี
น้าใจ โอบอ้อมอารี รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน ซอ่ื สัตย์สุจรติ ทางานตามทีไ่ ด้รับมอบหมายดว้ ยความเต็มใจ ช่วย
บารุงดูแลรักษาสถานที่ ทรัพย์สินของสถานศึกษา มีความประหยัด รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และความเป็นไทย ยืด
มั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและมีจิตอาสารู้จัก
การบาเพ็ญประโยชนเ์ พือ่ สงั คมส่วนร่วม

๓. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดต้ัง
สถานศกึ ษา เกดิ เปน็ อัตลักษณข์ องผเู้ รียน คอื ดุอาร์เปน็ นิจ โดยเดก็ สามารถปฏิบัตไิ ด้เป็นกิจนสิ ัย

๔. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือโรงเรียนใน
โครงการพระราชดาริฯ การดาเนินงานส่งผลให้เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพอยา่ งต่อเน่ือง ซึง่ เป็นพ้ืนฐาน
ของการใช้ชีวิตประจาวัน นอกจากนี้เด็กยังได้รับการดูแลด้านโภชนาการทาให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ตอ่ รา่ งกาย ทาใหม้ ีสุขภาพร่างกายทแ่ี ขง็ แรง เจริญเตบิ โตตามวัยและเดก็ ได้เรียนร้เู กยี่ วกับอาชีพ

๕. โครงการพระราชดาริ เป็นโครงการพิเศษของสถานศึกษาแก้ปัญหาทุพโภชนาการให้เด็กมีสุขภาพดี
ปัญหาด้านเศรษฐกิจและงบประมาณอาหารกลางวันท่ีไม่เพียงพอ การฝึกอาชีพ และต้องการให้เด็กได้เรียนรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการปฏิบัติจริงและขยายผลสู่ชุมชนเพื่อการปฏิบัติร่วมกันระหว่างชุมชนและ
สถานศกึ ษาสามารถเป็นแบบอย่างของการเปล่ียนแปลงทดี่ ี

๒. ด้านการบรหิ ารจดั การศึกษา
ไม่มี

๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั
ไมม่ ี

๔. ด้านการประกนั คุณภาพภายใน
ไม่มี

>> โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๑๙รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

จุดที่ควรพัฒนา

ระดับปฐมวยั
๑. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา

๑. การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ รจู้ กั อดทนรอคอย และการเปน็ ผนู้ าผตู้ ามทด่ี ี
๒. การจดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดท้ ดลองทาหรอื เลน่ ส่ิงใหม่

๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา
๑. การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา สถานศึกษา

ดาเนินการโดยกาหนดให้ครูนาผลประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านไปใช้เพื่อการพัฒนาเด็กและพัฒนาแนวทางการ
จัดประสบการณก์ ารเรียนรู้

๒. การนานวตั กรรมISOMODELมาดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เนือ่ งและต่อยอดใหเ้ ป็นต้นแบบในการนาไปดาเนนิ งาน
๓. การจัดสัดส่วนครูให้เปน็ ไปตามเกณฑ์และการรายงานผลการประชุมของคณะกรรมสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

๓. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ
ครูจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์และจิตใจให้เดก็ รู้จักอดทน รอคอย และส่งเสรมิ การเรยี นรู้

ท่ีตอบสนองพัฒนาการของเด็ก

๔. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
การนาผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรบั ปรุงการปฏิบัตงิ าน

ระดบั ประถมศกึ ษา
๑. ดา้ นผลการจัดการศึกษา

๑. การสร้างความตระหนกั ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการสอบวดั ผลระดับชาติ
๒. การวิเคราะห์คา่ สถิติ คา่ เฉลีย่ ของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี น
๓. การจดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ประสบการณต์ รงกบั ผูเ้ รยี นภายนอกสถานศกึ ษาและการส่งเสรมิ การอา่ น
๔. การส่งเสริมผู้เรยี นให้มที ักษะการคดิ ทีห่ ลากหลาย

๒. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษา
๑. การดาเนนิ งานวชิ าการโดยเนน้ การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
๒. การนาผลการประเมนิ การดาเนินงานดา้ นวชิ าการมาเปน็ ขอ้ มูลเพ่อื การพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง
๓. สถานศึกษาดาเนนิ การวิเคราะห์เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวดั ผลและประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียน
๔. การรายงานผลการประชมุ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา
๕. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ สามารถสร้าง

ความคดิ รวบยอด สรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเองและมที กั ษะในการคิด
๖. การพฒั นานวตั กรรม ISO MODEL ให้เป็นตน้ แบบของการบริหารจดั การ

๓. ด้านการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
การนาผลการนิเทศภายในทุกด้านมาใช้เป็นสารสนเทศเพื่อการพัฒนาครู และส่งเสริมครูผลิตส่ือ

ประกอบการสอน

๔. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน
การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาเปน็ ข้อมลู พ้ืนฐานในการปรบั ปรุงการปฏิบตั งิ าน

>> โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๒๐รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

ขอ้ เสนอแนะ
ระดบั ปฐมวัย
๑. ดา้ นผลการจัดการศึกษา

๑. เด็กควรได้รับการส่งเสริมเก่ียวกับการอดทนรอคอยและการเป็นผู้นาผู้ตามที่ดีให้เด็กได้ปฏิบัติจริง
โดยบรู ณาการร่วมกับการทากิจกรรมหลกั ประจาวนั ๖ กิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง

๒. เด็กควรได้รับการส่งเริมด้านสติปัญญาให้มีทักษะการทดลองทาหรือเล่นส่ิงใหม่ โดยการบูรณาการ
ร่วมกบั กจิ กรรมหลกั ประจาวัน ๖ กจิ กรรม เชน่ การสรา้ งช้นิ งานท่มี ีความซบั ซ้อนขน้ึ การผลติ ช้ินงานจากเศษวสั ดุ
เปน็ ต้น

๒. ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา
๑. สถานศึกษาควรส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือรักษามาตรฐานท่ีสอดคล้องกับแนวทางการ

ปฏิรูปการศึกษาโดยการส่งเสริมให้ครูนาผลประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านไปใช้เพ่ือการพัฒนาเด็กและ
พัฒนาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงเป็นอันหน่ึงอันเดี่ยวกันของสาระการ
เรยี นรู้และทักษะต่าง ๆ และจัดกิจกรรมแบบบูรณาการรว่ มกับกจิ กรรมหลักประจาวัน ๖ กจิ กรรม โดยให้
เด็กได้ร้องเพลงและทาท่าทางประกอบเพลง เล่นสมมุติ เล่นละครสร้างสรรค์ สนทนาร่วมกัน ทดลอง
สร้าง วาด พับ ทาศิลปะแบบร่วมมอื เล่นเกม หรือประกอบอาหาร เป็นต้น

๒. สถานศึกษาควรนานวัตกรรม ISO MODEL มาดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและต่อยอด ให้สามารถ
นาไปเปน็ ต้นแบบในการดาเนนิ งานใหก้ ับสถานศกึ ษาอืน่ ๆ ได้

๓. สถานศึกษาควรจัดสัดส่วนครูให้เป็นตามเกณฑ์ คือ ครู ๑ คน ต่อเด็ก ๑๐ คน ถึง ๑๕ คน
และการรายงานผลการประชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไป
ช้นั หนึ่งภายใน ๑๕ วนั นับแต่วันท่ีมกี ารประชมุ รวมถึงการดูแลโรงอาหารใหม้ ีความสะอาดเพม่ิ ขน้ึ

๓. ด้านการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
ครูควรส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจให้เด็กรู้จักอดทน รอคอย ทั้งในห้องเรียนและ

นอกห้องเรียน ครูควรส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีตอบสนองพัฒนาการของเด็ก ตามความสามารถ และวิธีการ
การเรียนรู้ของเด็ก โดยการนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านไปใช้เพื่อการพัฒนาเด็กและพัฒนา
แนวทางการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาควรนาผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการ

ปฏิบัติงาน โดยการติดตามตรวจสอบให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้เพิ่มขึ้น เช่น การนาผลดาเนินงาน
เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เพ่ือจะได้รู้จุดเด่น จุดด้อยและนาไปเป็น
แนวทางมาปรบั ปรุงพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทีต่ รงจุด

ระดบั ประถมศกึ ษา
๑. ดา้ นผลการจัดการศึกษา

๑. ควรสร้างความตระหนักใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจให้ความสาคัญต่อการสอบวัดผลระดบั ชาตแิ ละ
มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองให้มีความสนใจ เอาใจใส่การศึกษาของบุตรให้มากยิ่งขึ้น เพ่ือประสาน
วงจรการพฒั นาผเู้ รยี นรว่ มกนั ในทกุ ดา้ น

๒. ควรจัดให้มีการวิเคราะห์ค่าสถิติ ค่าเฉล่ียของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนเพื่อเปรียบเทียบ
ค่าเฉลี่ยต่าง ๆ ในหลายมิติท้ังในระดับเครือข่ายและจังหวัดและพิจารณาหัวข้อย่อยผู้เรียนยังอ่อนในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ใด เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการวางยุทธศาสตร์ในการสอนซ่อมเสริมให้สามารถดาเนินการได้ตรงและ

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๒๑รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2560 |

สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนให้มากยิ่งขึ้น จัดระบบการสอนซ่อมเสริมผู้เรียนตามความต้องการ โดยการพัฒนา
ระบบสารสนเทศและการสอนซ่อมเสริมให้มีการซ่อมเสริมตามกลุ่มความจาเป็นกลุ่มความต้องการ และกลุ่ม
สง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางวิชาการตามความเหมาะสม

๓. ผู้เรียนควรได้รบั การเข้าร่วมกจิ กรรมกบั ผอู้ นื่ ภายนอกสถานศกึ ษาโดยการปฏบิ ัติจรงิ เพม่ิ ข้นึ เชน่ การ
เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หรือมูลนิธิ เป็นต้น รวมถึงการส่งเสริมการอ่านอย่าง
ต่อเนื่อง โดยการติดต้ังอินเทอร์เน็ตเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและอ่านหนังสือแบบออนไลน์ รวมถึงการจัด
กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน บนั ทึกการอ่าน การสรุปผลบันทึกการอา่ นในวนั หยดุ เปน็ ต้น

๔. ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมด้านการคิดท่ีเป็นรูปธรรมโดยการแปลผลจากการอ่านและบันทึกการ
อ่านมาเป็นฐานในการผลิตช้ินงานท่ีเกิดจากความคิดของผู้เรียน เช่น โครงงาน การเขียนเร่ืองสั้น การวิเคราะห์
ขา่ วสาร การผลิตชนิ้ งานตามจินตนาการ และส่งเสรมิ Critical Thinking กระบวนการตดั สนิ ใจและดาเนินการแบบ
ทีมงาน ใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสเขา้ ถงึ ความรหู้ รอื ความตอ้ งการทจ่ี ะเรียนรู้

๒. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
๑. สถานศกึ ษาควรดาเนนิ การเพือ่ การพฒั นาและสง่ เสรมิ ด้านวชิ าการโดยเน้นการพฒั นากระบวนการเรียนรู้

โดยส่งเสริมให้ครูนาผลจากการอบรมสัมมนามาขยายผลหรือปฏิบัติให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมถงึ กิจกรรมท่ีครรู ับผดิ ชอบให้ดาเนินการอย่างเต็มศักยภาพและมีการติดตามรายงานผลเปน็ ระยะ

๒. สถานศกึ ษาควรนาผลการประเมินการดาเนินงานด้านวชิ าการมาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื ง
๓. สถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผลท่ีเหมาะสม เช่น การ
วิเคราะห์ข้อสอบรายข้อในระดับความยาก/ง่าย ความเท่ียงตรงของคาถามท่ีครอบคลุมเน้ือหาและสอดคล้องกับ
เนื้อหาทีแ่ บง่ เปน็ หมวด หนว่ ยย่อยหรอื ไม่ เปน็ ต้น
๔. สถานศึกษาควรมีการรายงานผลการประชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานต่อ
ผูบ้ ังคับบัญชาเหนือข้ึนไปชัน้ หนง่ึ ภายใน ๑๕ วนั นับแต่วนั ท่ีมีการประชมุ
๕. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการแสวงหา
ความรูด้ ้วยตนเองสามารถสร้างความคิดรวบยอด สร้างองคค์ วามร้ดู ้วยตนเองและมีทักษะในการคิดเพิม่ ขน้ึ เพื่อใช้
เป็นฐานไปใช้ในการทดสอบระดบั ชาตแิ ละการพฒั นาสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
๖.สถานศกึ ษาควรนานวัตกรรม ISO MODEL มาดาเนนิ การอย่างต่อเนือ่ งและตอ่ ยอด ใหส้ ามารถนาไป
เปน็ ต้นแบบในการนาไปดาเนินงานให้กับสถานศึกษาอ่ืน ๆ ได้

๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั
สถานศึกษานาผลการนิเทศภายในทุกด้านมาใช้เป็นสารสนเทศเพื่อการพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ

และต่อเนื่องมากยิ่งข้ึนและส่งเสริมให้ครูผลิตส่ือรวมถึงการนาส่ือมาใช้ประกอบการสอนให้มากข้ึนตาม
ความเหมาะของบทเรยี น

๔. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาควรนาผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการปรับปรุง

การปฏิบัติงาน โดยการติดตามตรวจสอบให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ีเพ่ิมข้ึน เช่น การนาผลดาเนินงาน
เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เพ่ือจะได้รู้จุดเด่น จุดด้อยและนาไปเป็น
แนวทางมาปรบั ปรงุ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทต่ี รงจดุ

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๒๒รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

สว่ นที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ระดบั คุณภาพ : ดี

๑. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบ้านไอร์โซมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนรู้ให้

ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน และเป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร มีความสอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรียน มีการออกแบบการจัดการเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
พร้อมท้ังน้อมนาศาสตร์พระราชา การระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้
กระบวนการคิด มีการสอดแทรกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนการสอน และมีการเน้นเร่ืองการอ่าน
ออกของผู้เรียนเป็นเรื่องสาคัญท่ีสุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออก เขียนได้ ตั้งแต่ระดับช้ัน ป.๑ มีการวัด
และประเมนิ ผลอย่างตอ่ เน่ือง เพอ่ื นาผลมาพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ นอกจากนโี้ รงเรียนยังสง่ เสริมการพฒั นาครูทุกคนใหม้ ี
ความสามารถในการนาเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มี
แหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูลภายในโรงเรียน อาทิ ห้องสมุด ห้องทาอาหาร ห้องตัดผม โดยจัดให้มีกิจกรรม
ส่งเสริมรักการอ่าน ส่งเสริมการทางานเป็นกระบวนการกลุ่มให้สอดคล้องกับการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน กิจกรรม
จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการ กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ครูทุกคนมีการประชุมร่วมกัน
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลให้มีมาตรฐานตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และทุก
กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ะมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะความคดิ และเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

นอกจากนี้ โรงเรียนบ้านไอร์โซได้มีการดาเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่าง
มีความสุข ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องคุณธรรมพื้นฐานที่เหมาะสมกับวัยเรียน รู้เท่าทันสื่อและส่ิง
ไม่พึงประสงค์ และการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างต่อเน่ืองจนติดเป็นนิสัย โรงเรียน
บ้านไอร์โซได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ส่งเสริมให้ผู้เรียนออกกาลังกายทุกเช้าเป็น
กจิ วตั ร รู้จกั ป้องกนั ตนเองจากสิ่งเสพติด และผู้เรียนมีระเบยี บวินัย เป็นลูกที่ดขี องพ่อแม่ ผปู้ กครอง เปน็ นกั เรยี นที่
ดีของโรงเรียน รู้จักช่วยเหลือผู้อ่ืน และมีความใฝ่รู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองจากการอ่านและการใช้เทคโนโลยี และผล
การพัฒนาส่งผลตรงตามวิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และโรงเรียนในโครงการพระราชดาริ สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี

๒. ผลการดาเนนิ งาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละ

ระดับชั้น สามารถเขียนส่ือสารได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้า
แสดงออก และแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากส่ือ
เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้วา่ ส่ิงไหนดี สาคญั จาเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อ
และสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของส่ิงเสพติดต่าง ๆ เลือก
รับประทานอาหารที่สะอาด และมปี ระโยชน์ รักการออกกาลังกาย นกั เรยี นทุกคนสามารถเลน่ กีฬาได้อยา่ งนอ้ ยคน
ละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความ
เข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย ทั้งน้ี มีผลการดาเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมินใน
ดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

ประเด็น ๒๓รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

ความสามารถด้าน ผลการประเมนิ
การอา่ นออก
ชน้ั ป.1 ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (Reading Test: RT)
(ระดับปรบั ปรงุ ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 จาแนกตามระดับคณุ ภาพ

88.57

71.42 71.42

้รอยละ ร้อยละ 17.14 11.42 25.71
0.00
5.71 5.71 2.850.00
0.00 รวม 2 ด้าน

การอ่านออกเสียง การอา่ นรู้เรอื่ ง

ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก

ความสามารถใน รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ความสามารถ
การอา่ น ในการอา่ นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1-4 จาแนกตามระดับคุณภาพ
ป.๑ – ป.๔
(ระดบั ดี) 55.81 55.74

47.62 45.95
41.86

32.79 32.43
21.62
28.57
23.81

11.48
2.33

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4
ดีเยี่ยม ดี ต้องปรบั ปรุง

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

ประเด็น ๒๔รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |
ความสามารถใน
การอา่ น คดิ ผลการประเมนิ
วเิ คราะห์ และ
เขยี น รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น
(ระดับผ่าน) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จาแนกตามระดับคุณภาพ
93.75
ความสามารถใน
การใชเ้ ทคโนโลยี 67.57 70.27
(ระดับพอใช)้
้รอยละ ้รอยละ 55.81 52.46

40.48

30.23 31.15 30.95 24.32 21.62

11.63 8.20 8.20 16.67 11.90
2.33 2.70
5.41 6.25 8.11
0.000.00 0.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ดี่เยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

67.44 69.05
52.46
62.16
39.34
51.35 52.08
41.67

19.05 21.6221.62 27.03

18.60 8.20 11.90 5.41 6.25 10.81
11.63 0.00 0.00 0.00

2.33 0.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

ประเด็น ๒๕รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

ผลการทดสอบ ผลการประเมิน
ระดบั ชาติ
รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ การทดสอบความ
สามารถพ้นื ฐานของผ้เู รียนระดบั ชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ประจาปีการศึกษา 2560 จาแนกตามระดับคณุ ภาพ

95.12

70.7365.85

29.2734.15

ปรบั ปรงุ 4.88 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
พอใช้ ดี ดีมาก
ด้านภาษา ด้านคานวณ ดา้ นเหตุผล

รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

46.5485.29

36.34 37.1325.55 39.1328.13 39.7397.93

30.3218.38 32.73

27.0284.84 24.01 28.97 27.59
26.08 24.59

19.06

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลยี่
ระดับประเทศ ระดับสังกัด สพฐ. ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับโรงเรียน

>> โรงเรียนบา้ นไอร์โซ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

ประเดน็ ๒๖รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ผลการประเมิน
ประสงค์ของผ้เู รียน
รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จาแนกตามระดับคณุ ภาพ

ป . 6 35.14 0.00 56.76 8.11

ป . 5 12.50 37.50 43.75 6.25

ป.4 51.35 8.11 35.14 5.41

ป . 3 7.14 52.38 28.57 11.90

ป . 2 88.52 30.2.0808.20

ป . 1 23.26 20.93 44.19 11.63
ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง

รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ การมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จาแนกตามระดับคณุ ภาพ

ป . 6 22..77008.11 86.49
87.50
ป.5 0.00 6.25 81.08
6.25 66.67
85.25
ป . 4 2.750.4110.81 69.77

ป.3 4.76 11.90
16.67

ป . 2 1.644.982.20

ป.1 2.33 11.63
16.28

ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีเยี่ยม

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

ประเด็น ๒๗รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

คณุ ลกั ษณะที่พงึ ผลการประเมนิ
ประสงค์ของผูเ้ รยี น
ร้อยละของจานวนนกั เรียนทมี่ ผี ลการประเมินด้านความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1-6 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ป . 6 00..0000 8.11 91.89
93.75
ป . 5 00..0000 6.25 94.59

ป . 4 00..00005.41 88.10
91.80
ป . 3 00..0000 11.90
88.37
ป . 2 00..0000 8.20

ป . 1 00..0000 11.63

ตอ้ งปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีเยี่ยม

รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

94.59
93.75

91.80 91.89

88.37 88.10

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

๒๘รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2560 |

3. จุดเด่น
ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางร่างกายและน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มีระเบียบวินัย

เคารพกฎกติกา มารยาทของสังคม รู้จักการวางแผนสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้า
แสดงออก และแสดงความคิดเห็น สถานศึกษามีการดาเนินการเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ ของผู้เรียน เพอ่ื ให้อยูใ่ นสงั คม
ได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน จัดกิจกรรมการพัฒนาให้
เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตร เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ
มีการฝึกอาชีพให้กับผูเ้ รยี น ทาให้ผู้เรียนสามารถนาไปตอ่ ยอด มีระบบการแนะแนวและการดแู ลสุขภาวะจิต นาภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้าง การเข้าไปศึกษากับภูมิ
ปัญญาในชมุ ชนรอบ ๆ สถานศึกษา
4. จดุ ควรพฒั นา

ผู้เรียนในระดบั ช้นั ป.๑ ยังตอ้ งเร่งพัฒนาด้านการอา่ นออกเขยี นได้อยา่ งเร่งดว่ น ส่วนผเู้ รยี นในระดบั ชั้น ป.2-
ป.6 ยังคงต้องส่งเสริมและบ่มเพาะนิสัยรักการอ่าน ให้ชอบที่จะค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท้ัง
ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพอื่ ให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนอยู่ในระดับดีกวา่ และจะส่งผลให้คะแนน
เฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) สงู กวา่ เดิม

>> โรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๒๙รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ : ดีเยย่ี ม

๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผล

การนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จาก
บุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรร
งบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ มีการ
ดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการจัดการศึกษา เช่น มีการนิเทศภายใน
อยา่ งต่อเนื่อง ส่งครเู ขา้ รับการอบรมเพือ่ พฒั นาตนเอง การประชุมเพือ่ วางแผนงานโรงเรยี น และสรุปผลการดาเนนิ งาน

๒. ผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของ

สถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตาม
แผนการศึกษาชาติ มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกับการพัฒนา
ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตาแหน่ง
ข้อมูลสารสนเทศมคี วามถกู ต้อง ครบถ้วน ทนั สมยั นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนนิ การอย่างเปน็ ระบบ และมีโครงการ กจิ กรรม
จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีกระตุ้นผู้เรียนให้ใฝเ่ รยี นรู้ โดยมแี นวทางดงั น้ี

1. มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ
ตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา โดยผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาและรว่ มรับผดิ ชอบ

2. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาและรบั ทราบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา

3. สถานศึกษามีการนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบ
และต่อเน่อื ง เปดิ โอกาสให้ผูเ้ กี่ยวขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา

4. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และ
แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมุ่งพัฒนาผเู้ รยี นตามแนวทางปฏิรูปการศกึ ษา

5. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายจากแหล่งต่าง ๆ ส่งผลให้
สถานศกึ ษามสี ือ่ และแหลง่ เรียนรทู้ มี่ ีคุณภาพ

๓. จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธี เพื่อให้ทุกฝ่ายมี

ส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ
การประจาปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ท่ี
มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้
อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการจัดการศึกษา
และโรงเรยี นไดใ้ ชก้ ระบวนวจิ ยั ในการรวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา

>> โรงเรียนบ้านไอร์โซ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๓๐รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

๔. จดุ ควรพัฒนา
1. เปดิ โอกาสให้ผ้ปู กครองไดม้ สี ว่ นรว่ มในการเสนอความคิดเหน็ ในการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มี

ส่วนรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา และการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
3. ควรมีการนเิ ทศ กากบั ติดตาม การจดั การเรียนการสอนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

>> โรงเรียนบา้ นไอร์โซ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3

๓๑รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2560 |

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ
ระดบั คณุ ภาพ : ดี

๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน

กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่
ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน โดยทุกระดับช้ันจัดทาหน่วยบูรณาการ
อาเซียน เศรษฐกิจพอเพยี ง ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละ
หน่วย กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ี
สร้างโอกาสให้นกั เรียนทุกคนมีส่วนรว่ ม ได้ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ จนสรปุ ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง จัดการเรยี นการสอนท่เี น้น
ทกั ษะการคิด เช่น จดั การเรียนรดู้ ้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าทีใ่ ห้นักเรยี นจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตาม
สถานที่ต่าง ๆท้ังภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพของสอื่ การสอนท่ใี ช้ ครูทุกคนทางานวจิ ัยในชั้นเรียน ปีการศกึ ษาละ
๑ เรอ่ื ง และนาผลงานวจิ ยั มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขการจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
๒. ผลการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคญั สง่ ผลให้ผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ ๓ อยใู่ นระดบั ดี
๓. จุดเด่น

ครูมีความต้ังใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด
ได้ปฏิบตั ิจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง
อย่างต่อเนื่องนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยในชั้น
เรยี นของครทู กุ คนได้รบั การตรวจประเมนิ พรอ้ มท้ังใหค้ าแนะนาจากคณะกรรมการวิจัยของเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
๔. จดุ ควรพฒั นา

ควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้และการให้ข้อมูล
ยอ้ นกลบั แก่นกั เรียนทนั ทีเพอ่ื นักเรยี นนาไปใชพ้ ัฒนาตนเอง

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๓๒รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล
ระดับคณุ ภาพ : ดี

๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดาเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ ประการ ได้แก่ ๑) กาหนดมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษามุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐาน ๓) จัดการและ
บริหารข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสารสนเทศท่ี
เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๕)
ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๖) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ๗)
จัดทารายงานประจาปที ่เี สนอผลการประเมินคุณภาพภายใน ๘) โรงเรียนดาเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่อื ง
โดยจัดประชุมคณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษานาเสนอผลการดาเนินงานรายงานประจาปีของ
สถานศึกษาในปีการศึกษาทผ่ี ่านมา วเิ คราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพภายในจากรายงานประจาปีของปีการศึกษาที่
ผ่านมา วิเคราะห์จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนาและจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีตามจุดที่ควรพัฒนา ประกอบด้วย
โครงการ กิจกรรมที่จะพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นที่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จัดทา
โครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามีกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานประกัน
คุณภาพภายในให้ครูทุกคนในโรงเรียนเพื่อให้คณะครู บุคลากรทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องมีความเข้าใจการดาเนินงานตาม
มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน ให้ปฏิบัติหน้าท่ีติดตาม
ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษาภาคเรียนละ ๑ คร้ัง จัดทาเคร่ืองมือให้
นักเรียนประเมินตนเองในการเรียนรู้ ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองท่ีวางไว้ คณะกรรมการ
ประกันคุณภาพของโรงเรียนประเมินการดาเนินงานตามมาตรฐานและสรุปผลการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาปรับปรุง
ตลอดปีการศึกษา ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรมสรปุ ผลการดาเนินงานปรับปรุงการทางานอย่างมีส่วน
ร่วมของทุกฝ่าย โรงเรียนจัดทาแบบสารวจความพึงพอใจและประเมินผลการดาเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน
ผูป้ กครอง คณะกรรมการของสถานศึกษาในการจดั การศึกษาของโรงเรยี น

๒. ผลการดาเนนิ งาน
โรงเรียนมีการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ

มผี ลการประเมินคุณภาพภายในท่ีระดบั คณุ ภาพดีและคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนมคี วามพงึ พอใจ
ในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น

๓. จุดเด่น
โรงเรียนให้ความสาคญั กับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการสร้างความเข้าใจ

และให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องท่ีชัดเจน เป็นประโยชน์ใน
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม ดาเนนิ การใน
รปู ของคณะกรรมการ สรา้ งวฒั นธรรมการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาใหก้ ับบคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ระดบั

๔. จุดควรพฒั นา
โรงเรียนจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูลย้อนกลับ

แก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอื่ ยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเอง
ในการเรยี นรู้ แต่กย็ งั ขาดการติดตาม ช่วยเหลอื ด้านการเรยี นรขู้ องนักเรียนเปน็ รายคน

>> โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๓๓รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2560 |

ผลการประเมินภาพรวม
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยใู่ นระดบั ๓ ดี

จากผลการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสาเร็จตามที่ต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ ระดับดี ท้ังนี้เพราะ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน อยู่ในระดับดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร
สถานศึกษา อยู่ในระดับดีเย่ียม มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อยู่ใน
ระดับดี และมาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาท่ีมปี ระสทิ ธิผล อยใู่ นระดบั ดี

ทั้งน้ี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความ
ต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น แต่ก็ยังไม่
เป็นไปตามเป้าท่ีวางไว้ โดยรวมอยู่ในระดับดี ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียนการสื่อสารท้ังภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดี และมีความ
ประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่
ปรากฏผลประเมนิ ในมาตรฐานที่ 1 ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามีผลประเมนิ ในราย
มาตรฐานอยู่ในระดับดีเยี่ยม สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดาเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการมี
ส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดาเนินงานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการ
พัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง ครูจัดกระบวนการเรียนการ
สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีผลประเมินอยู่ในระดับดี วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นไปตามความ
ต้องการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและ
ชว่ ยเหลือนกั เรียนเพอ่ื พัฒนาและแก้ปญั หารายบคุ คล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน สถานศกึ ษา
ดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นข้ันตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
จนมีผลประเมินอยู่ในระดับดี โดยสถานศึกษาให้ความสาคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อเกิดความร่วมมือในการวาง
ระบบและดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบ
การบรหิ ารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดับสูง

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3

๓๔รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

ส่วนท่ี ๓ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการชว่ ยเหลอื

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไปวิเคราะห์
สังเคราะห์เพ่ือสรุปนาไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา (๓-๕ ป)ี และนาไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน ดงั นี้
๑. ด้านคุณภาพผ้เู รยี น

จุดเด่น
1) ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัยจนเป็น
เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ทย่ี อมรบั ของชุมชนโดยรอบในเร่อื งความมีวินยั เคารพกฎกตกิ า ระเบยี บของสงั คม
2) โรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ เป็นโรงเรยี นในโครงการพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี ผู้เรยี นได้รับโอกาสจากหน่วยงานภายนอกในเร่ืองการดูแลสขุ ภาพร่างกายมากขึ้น ทั้งยังมีการส่งเสริมการฝึก
อาชพี ใหผ้ เู้ รยี นนาไปตอ่ ยอดได้
จุดควรพฒั นา
๑) ผู้เรียนโรงเรียนบ้านไอร์โซเป็นเด็กที่ใช้ภาษามลายูถิ่นในการส่ือสารในชีวิตประจาวันเป็นส่วนใหญ่
ส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะความเข้าใจในภาษาไทย มีปัญหาในการส่ือสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ดังนั้นผู้เรียน
ต้องไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะการใชภ้ าษาไทยเพมิ่ ข้ึน
2) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านให้มากขึ้น โดยจัดบรรยากาศภายในสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ได้ทุกที่ รวมท้ังให้ฝึกกิจกรรมต่าง ๆ ที่เน้นทักษะการคิดท่ีหลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนสามารถคิด วิเคราะห์ ส่ือ
ความ นาไปสกู่ ารยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทส่ี งู ขน้ึ

๒. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา

จุดเด่น
๑) ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งม่ัน มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการบริหารงาน สามารถ
เป็นแบบอย่างท่ีดีในการทางาน และคณะกรรมการสถานศึกษามีความต้ังใจ และมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ี
ตามบทบาท
๒) โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุม
ทห่ี ลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีสว่ นร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อใหท้ ุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ
การประจาปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศึกษา ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานหลักสูตรของสถานศกึ ษา ครูผู้สอนสามารถจัดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และจัดทารายงานผล
การจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา
จุดควรพัฒนา
๑) ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
2) เปดิ โอกาสให้ผ้ปู กครองได้มีสว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นการสอน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนมากข้นึ

>> โรงเรียนบา้ นไอร์โซ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๓๕รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2560 |

๓. ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

จุดเด่น
๑) ครพู ฒั นาตนเองอยเู่ สมอ มคี วามตง้ั ใจ มุ่งมน่ั ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ เวลาและเต็มความสามารถ
๒) ครูจัดกจิ กรรมให้นักเรียนแสวงหาความรจู้ ากสอื่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง
๓) ครใู หน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
๔) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย
จดุ ควรพฒั นา
๑) ครูควรจัดกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่าง
หลากหลาย และใช้แหล่งเรียนร้ใู นการพัฒนาตนเอง
๒) ครูควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยีให้มาก
ขน้ึ และพฒั นาสอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ จดั เตรยี มหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหอ้ ยู่ในสภาพดแี ละพรอ้ มใชง้ านเสมอ
๓) ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีท่ีหลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรยี นรู้ และธรรมชาตวิ ิชา
๔) ครคู วรนาภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้
๕) ครคู วรใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับแกน่ กั เรียนทันทีเพือ่ นักเรยี นนาไปใช้พัฒนาตนเอง

๔. ด้านการประกนั คุณภาพภายในทีม่ ีประสิทธิผล

จุดเด่น
โรงเรียนให้ความสาคญั กับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการสรา้ งความเข้าใจ
และให้ความรู้ด้านการประกนั คุณภาพการศกึ ษากับคณะครู บุคลากรทกุ ฝา่ ยทเี่ กีย่ วข้องอยา่ งชัดเจน เปน็ ประโยชน์
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม โดย
ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคลที่
เกี่ยวขอ้ งทกุ ระดับ
จุดควรพัฒนา
๑) สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ครใู นการพฒั นาตนเองในการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื ยกระดับคณุ ภาพของนักเรยี น
๒) นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ยังขาดการติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
เปน็ รายคนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและหลากหลาย

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

๓๖รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2560 |

แนวทางการพฒั นาในอนาคต

๑. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ การพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลใหช้ ดั เจนขน้ึ
๒. การส่งเสรมิ ให้ครูเห็นความสาคญั ของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดทาการวิจัยใน
ชั้นเรียนเพื่อพฒั นาผู้เรียนใหส้ ามารถเรยี นรู้ได้เต็มศักยภาพ
๓. กาพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการ
นาไปใช้และผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง
๔. การพฒั นาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ของชมุ ชน

ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื

๑. การพฒั นาครผู สู้ อนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. การจดั สรรครผู สู้ อนใหต้ รงตามวชิ าเอกทโ่ี รงเรยี นมคี วามตอ้ งการและจาเปน็
๓. การสร้างข้อสอบท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางการประเมินการอ่าน เขียน การ
ทดสอบระดับชาติ (NT และ O-NET)
4. จานวนห้องเรียนที่พอเพียงและมีอุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนครบถ้วน พร้อมท้ังสนับสนุน
หอ้ งปฏบิ ตั ิการต่าง ๆ
5. การพฒั นาครูเครือข่ายครู ให้เกิดสงั คมแหง่ การเรียนรู้และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ระหว่างโรงเรียน และศูนย์
เครอื ขา่ ย

>> โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3

สว่ นท่ี ๔ ภาคผนวก

 ประกาศโรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ การใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ลงวนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2559

 ประกาศโรงเรียนบ้านไอร์โซ การกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ลงวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2560

 ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
 รายงานผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นออกของผู้เรียน (Reading Test: RT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1

ปีการศกึ ษา 2560 ฉบบั ที่ 1 แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของโรงเรยี น (R-School01)
 รายงานผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test: NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3

ปกี ารศกึ ษา 2560 ฉบับท่ี 1 แบบสรปุ รายงานผลการทดสอบของนักเรียน (Student01)
 รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา

2560 ฉบบั ท่ี 5 คา่ สถติ แิ ยกตามสาระสาหรบั โรงเรยี น

ประกาศโรงเรยี นบ้านไอร์โซ

เรอ่ื ง การใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
.....................................................................

โดยท่ีมีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 11 ตุลาคม 2559 ประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ลงวันท่ี 13 มิถุนายน 2554 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองท่ีกาหนด
เป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์
เอกลักษณ์ มาตรการส่งเสริม และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านไอร์โซ จึงดาเนินการปรับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน และการมสี ่วนรว่ มของผู้เกี่ยวข้องท้ังบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ให้
เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพ
ภายใน และเพื่อรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ จึงประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ตาม
เอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน และการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

(นายมูฮามดั มอลอ)
ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านไอร์โซ

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบา้ นไอร์โซ
เร่อื ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
ฉบบั ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕59
.....................................

มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ มี
จานวน 4 มาตรฐาน ประกอบด้วย

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรยี น
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผู้เรียน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่มี ปี ระสทิ ธิผล
โดยแต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังน้ี

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน
๑) ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและการคิดคานวณ ตามเกณฑ์ของแต่ละดับช้ัน
๒) ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
๔) ความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
๕) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและพัฒนาการจากผลการสอบวดั ระดับชาติ
๖) ความพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การฝึกงานหรอื การทางาน
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น
๑) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มที่ดีตามท่สี ถานศกึ ษากาหนดโดยไม่ขดั กบั กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสังคม
๒) ความภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย
๓) การยอมรับทจี่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศึกษา
๑. การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
๒. การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
2.1 การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผเู้ รียนรอบด้าน ทุกกลมุ่ เป้าหมาย และ

ดาเนินการอยา่ งเป็นรูปธรรม
2.2 การวางแผนและดาเนนิ งานพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
2.3 การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมลู สารสนเทศอย่างเป็นระบบ
2.4 การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ

๓. การมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ
และไดม้ าตรฐาน

๔. การกากบั ตดิ ตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
1. การมกี ระบวนการเรยี นการสอนทีส่ ร้างโอกาสใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนมีส่วนร่วม
2. การจัดการเรียนการสอนที่ยดึ โยงกบั บริบทของชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
3. การตรวจสอบและประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และมีประสิทธภิ าพ

มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในทมี่ ปี ระสิทธิผล
การใชร้ ะบบการประกนั คุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดยี ง่ิ ข้นึ

ประกาศโรงเรียนบ้านไอร์โซ

เร่ือง กาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
.....................................................................

โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองท่ีกาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตรใ์ นการพัฒนาคุณภาพคนไทย
และการศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศ
คณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานเรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันท่ี ๑๑ ตุลาคม
๒๕๕๙ โรงเรียนบ้านไอร์โซจึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการมี
ส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ท้ังบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนให้เหมาะสมและ
สอดคลอ้ งกัน เพอื่ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพ
ภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในการประชมุ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๙ เมือ่ วันท่ี ๒ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๕๙

เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านไอร์โซมีคุณภาพและมาตรฐาน จึง
กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕60

(นายมูฮามดั มอลอ)
ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นไอร์โซ

คา่ เปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบ้านไอร์โซ
เรื่อง การกาหนดคา่ เปา้ หมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษ

.....................................

มาตรฐานการศึกษา คา่ เป้าหมาย
ระดับคณุ ภาพ
ดา้ นผลการจดั การศึกษา
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ดี
๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรียน
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน ดเี ยย่ี ม
ดเี ยี่ยม
ด้านบรหิ ารจัดการศึกษา ดเี ยย่ี ม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา

ด้านการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ

ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในทมี่ ีประสิทธภิ าพ

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ตามท่ีโรงเรียนบ้านไอร์โซ ได้เสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียน
บ้านไอร์โซ เร่ืองการจัดทารายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕60 เพ่ือใช้
ในการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาน้ัน

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนบ้านไอร์โซ ได้ร่วมกันพิจารณาแล้วลงมติเห็นชอบให้
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕60

(ลงชอ่ื ) ......................................... ประธานกรรมการ
(นายอาสิ ยาล)ี

(ลงชอ่ื ) ......................................... กรรมการ (ลงชื่อ) ......................................... กรรมการ
(นายขาเดร์ แวบอื ซา) (นายบอื ราเฮง เจ๊ะมุ)

(ลงชอ่ื ) ......................................... กรรมการ (ลงช่ือ) ......................................... กรรมการ
(นายเจ๊ะเงะ รีกาซอ) (นายสุไลมาน อาแวนุ๊)

(ลงชอ่ื ) ......................................... กรรมการ (ลงชอื่ ) ......................................... กรรมการ
(นายอาแซ สะมะแอ) (นายอบิ รอเฮง เระ๊ เจ๊ะเซง็ )

(ลงชื่อ) ......................................... กรรมการ (ลงชื่อ) ......................................... กรรมการ
(นายอาหามะ สะอะ) (นายอิสมาแอ ดาโอ๊ะ)

(ลงชือ่ ) ......................................... กรรมการ (ลงช่อื ) ......................................... กรรมการ
(นายมฮู ัมหมดั มสั รี ฮามิ) (นายมะรอยาอิง ดแี มง)

(ลงช่อื ) ......................................... กรรมการ (ลงชื่อ) ......................................... กรรมการ
(นายมะนาเซ มามะ) (นายสุกรี ดีเร๊ะ)

(ลงชอ่ื ) ......................................... กรรมการ (ลงชอ่ื ) ...........................................กรรมการและเลขานุการ
(นายซอบรี สาเหาะ) (นายมฮู ามัด มอลอ)

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
รายงานผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรยี น (Reading Test: RT)

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2560
ฉบับท่ี 1 แบบสรปุ รายงานผลการทดสอบของโรงเรยี น (R-School01)

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรยี น (Reading Test: RT)

1. ข้อมูลโรงเรียน

รหสั โรงเรยี น : 1096240323 ชอื่ โรงเรยี น : บา้ นไอร์โซ

ขนาดโรงรยี น : ขนาดใหญ่ ท่ตี งั้ โรงเรียน : นอกเมือง อำเภอ : จะแนะ จงั หวดั : นราธวิ าส

สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา : สพป.นราธิวาส เขต 3 ศึกษาธิการจังหวดั : นราธวิ าส ภาค :ใต้

สังกดั : สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา (สพป.) จำนวนนกั เรยี นท่ีเข้าสอบ 35 คน (ปกติ : 35 คน, พิเศษ : - คน)

2. คะแนนประเมินการอ่าน

สมรรถนะ เขตพน้ื ท่ี คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละจำแนกตามระดบั ประเทศ
จังหวัด ศกึ ษาธกิ ารภาค สังกดั

การอ่านออกเสียง คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 9.10 37.74 49.50 58.89 73.34 73.57
การอา่ นรูเ้ ร่อื ง S.D. 7.96 15.16 15.75 16.60 13.63 14.08
36.05 49.25 57.18 61.76 69.52 69.58
คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 5.96 11.17 11.09 11.20 9.73 9.96
S.D.

รวม 2 สมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 22.57 43.49 53.37 60.36 71.46 71.60
S.D. 9.74 13.56 13.75 14.17 11.87 12.23

3. กราฟเปรียบเทยี บผลคะแนนประเมินการอ่านของโรงเรยี น กบั เขตพ้นื ท่ี จังหวัด ศกึ ษาธิการภาค สงั กดั และประเทศ

100.00 การอ่านรูเ้ ร่อื ง รวม 2 สมรรถนะ
90.00
80.00
70.00
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00

0.00 การอา่ นออกเสยี ง

โรงเรยี น เขตพ้ืนท่ี จงั หวัด ศกึ ษาธกิ ารภาค สังกดั ประเทศ

4. ตารางแสดงจำนวนและรอ้ ยละนกั เรยี น จำแนกตามระดับคุณภาพ

จำนวนและรอ้ ยละนกั เรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ

สมรรถนะ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

การอ่านออกเสยี ง - - 2 5.71 2 5.71 31 88.57
การอา่ นรเู้ รื่อง
รวม 2 สมรรถนะ - - 4 11.42 25 71.42 6 17.14

- - 1 2.85 9 25.71 25 71.42

School01 1/2

สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

การประเมินความสามารถด้านการอา่ นออกของผเู้ รียน (Reading Test: RT)

5. คะแนนประเมนิ การอ่าน รายสมรรถนะและรายองค์ประกอบ

สมรรถนะและองคป์ ระกอบ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ

รอ้ ยละ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก

การอ่านออกเสียง 9.10 ˜

1. การอา่ นคำ 13.42 ˜

2. การอา่ นประโยค 8.07 ˜

3. การอ่านข้อความ 7.96 ˜

การอ่านร้เู ร่อื ง 36.05 ˜

1. การอา่ นคำ 28.71 ˜

2. การอ่านประโยค 37.71 ˜

3. การอา่ นขอ้ ความ 47.42 ˜

รวม 2 สมรรถนะ 22.57 ˜

6.เกณฑ์การตัดสินระดับคณุ ภาพในแต่ละความสามารถ

ช่วงคะแนนและคะแนนร้อยละในแต่ละระดบั คณุ ภาพ

ระดบั คณุ ภาพ การอา่ นออกเสียง การอา่ นรู้เรอ่ื ง รวม 2 สมรรถนะ

คะแนน รอ้ ยละ คะแนน รอ้ ยละ คะแนน ร้อยละ

ดมี าก 37.50 – 50 75.00 - 100 37.50 – 50 75.00 - 100 75.00 - 100 75.00 - 100

ดี 25.00 – 37.49 50.00 – 74.99 25.00 – 37.49 50.00 – 74.99 50.00 – 74.99 50.00 – 74.99

พอใช้ 12.50 – 24.99 25.00 – 49.99 12.50 – 24.99 25.00 – 49.99 25.00 – 49.99 25.00 – 49.99

ปรบั ปรงุ 0 – 12.49 0 - 24.99 0 – 12.49 0 - 24.99 0 - 24.99 0 - 24.99

School01 2/2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รยี นระดับชาติ (National Test : NT)

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
ฉบับที่ 1 แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของโรงเรียน (School01)

1. ข้อมูลสถานศึกษา

รหัสโรงเรยี น : 1096240323 ชอื่ โรงเรยี น : บา้ นไอร์โซ

ขนาดโรงรียน : ขนาดใหญ่ ทต่ี ง้ั โรงเรยี น : นอกเมือง อำเภอ : จะแนะ จังหวัด : นราธิวาส

สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา : สพป.นราธวิ าส เขต 3 ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั : นราธวิ าส ภาค : ใต้

สงั กดั : สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน จำนวนนกั เรียนที่เขา้ สอบ 37 คน (ปกติ : 32 คน, พิเศษ : 5 คน)

2. คะแนนสอบ NT

คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละจำแนกตามระดบั

ดา้ น โรงเรียน เขตพ้นื ที่ จังหวดั ศึกษาธิการภาค สงั กดั ประเทศ
(N=75) (N=389) (N=1,810) (N=27,050) (N=30,735)

คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 20.71 30.46 34.55 42.99 51.94 52.67

ด้านภาษา (Literacy) SD. 2.71 4.68 5.38 6.62 6.20 6.37

ลำดบั ที่ 68 339 1,247 4,732 6,511

คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 19.91 24.39 26.32 31.14 38.38 37.75

ด้านคำนวณ (Numeracy) SD. 2.41 4.02 4.39 5.66 6.25 6.26

ลำดบั ท่ี 57 277 1,089 4,689 6,391

คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 22.85 26.54 29.82 37.12 44.98 45.31

ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) SD. 2.87 4.17 4.99 6.23 6.08 6.22

ลำดับที่ 46 261 1,129 4,546 6,299

คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 21.16 27.13 30.23 37.09 45.10 45.25

รวมความสามารถทัง้ 3 ด้าน SD. 5.28 10.55 12.60 16.48 16.21 16.57

ลำดบั ท่ี 65 328 1,451 7,451 9,514

3. กราฟเปรยี บเทยี บผลคะแนน NT ของโรงเรียน เขตพืน้ ที่ จังหวดั ศกึ ษาธกิ ารภาค สังกัด และประเทศ

100.00 ด้านคำนวณ (Numeracy) ดา้ นเหตุผล (Reasoning Abilities) รวมความสามารถทงั้ 3 ดา้ น
90.00 ประเทศ
80.00
70.00
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00

0.00 ด้านภาษา (Literacy)

โรงเรียน เขตพ้ืนท่ี จงั หวัด ศึกษาธิการภาค สงั กดั

4. ตารางแสดงจำนวนและร้อยละนักเรียน จำแนกตามระดบั คุณภาพ

จำนวนและรอ้ ยละนักเรยี น จำแนกตามระดบั คุณภาพ

สมรรถนะ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

ด้านภาษา (Literacy) - - - - 3 9.37 29 90.62
ด้านคำนวณ (Numeracy) - - - - 5 15.62 27 84.37
ด้านเหตผุ ล (Reasoning Abilities) - - - - 5 15.62 27 84.37
รวมความสามารถท้ัง 3 ดา้ น - - - - 3 9.37 29 90.62

School01 1/2

สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)

5. คะแนนสอบ NT รายตวั ชีว้ ดั ดา้ น คะแนน ระดับคณุ ภาพ

ดา้ นภาษา (Literacy)(คะแนนรวม) ร้อยละ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก

20.71 ˜

1. บอกความหมายของคาำ และประโยคจากเรอ่ื งท่ีฟงั ดู และอา่ น 22.65 ˜

2. บอกความหมายของเครือ่ งหมายสัญลกั ษณ์ 26.04 ˜

3. ตอบคำาถามจากเรือ่ งทฟี่ ัง ดู และอ่าน 21.42 ˜

4. บอก เล่าเร่ืองราวท่ไี ดจ้ ากการฟงั ดู และอา่ นอย่างงา่ ยๆ 29.37 ˜

5. คาดคะเนเหตุการณ์ท่จี ะเกดิ ขึ้นจากเรื่องทีฟ่ งั ดู และอา่ น 11.45 ˜

6. ส่อื สารความรู้ ความเข้าใจ ขอ้ คดิ เห็นจากเร่ืองท่ฟี งั ดู และอ่านอยา่ งเหมาะสม 22.32 ˜
˜
ด้านคาำ นวณ (Numeracy)(คะแนนรวม) 19.91 ˜
˜
1. ใช้ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรอื ทกั ษะการคดิ คำานวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏบิ ัติ หรอื หาคาำ ตอบจากสถานการณต์ ่างๆ 23.69
ในชีวติ ประจำาวนั เกย่ี วกบั ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เร่อื งจาำ นวนและการดาำ เนินการตามขอบข่ายสง่ิ เร้า 13.61 ˜
2. ใชท้ ักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ หรอื ทักษะการคดิ คาำ นวณเพือ่ ตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื หาคำาตอบจากสถานการณ์ตา่ งๆ 31.25 ˜
ในชวี ิตประจาำ วันเกี่ยวกับความคดิ รวบยอดทางคณติ ศาสตร์ เรื่อง การวดั ตามขอบข่ายสิ่งเรา้ 28.12 ˜
3. ใช้ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ หรอื ทกั ษะการคดิ คำานวณเพ่ือตดั สินใจเลอื กแนวทางปฏิบัติ หรือหาคำาตอบจากสถานการณต์ า่ งๆ 14.58 ˜
ในชีวิตประจำาวนั เกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เรขาคณติ ตามขอบขา่ ยส่ิงเร้า ˜
4. ใช้ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ หรอื ทักษะการคิดคาำ นวณเพื่อตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางปฏบิ ัติ หรอื หาคำาตอบจากสถานการณ์ต่างๆ 22.85 ˜
ในชีวติ ประจาำ วนั เกยี่ วกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เร่ือง พีชคณิต ตามขอบขา่ ยสิ่งเรา้ ˜
5. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทกั ษะการคดิ คาำ นวณเพอื่ ตดั สินใจเลือกแนวทางปฏิบตั ิ หรอื หาคาำ ตอบจากสถานการณ์ตา่ งๆ 24.37 ˜
ในชีวติ ประจำาวนั เก่ยี วกบั ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง การวเิ คราะหข์ ้อมลู และความน่าจะเป็น ตามขอบขา่ ยสิ่งเรา้ 23.43 ˜
23.43
ดา้ นเหตผุ ล (Reasoning Abilities)(คะแนนรวม) 21.65

1. มีความเขา้ ใจในข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ 21.16
ทางด้านวิทยาศาสตร์ สงิ่ แวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดำาเนนิ ชวี ติ อยา่ งมีเหตุผล
2. วิเคราะห์ข้อมลู สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใชอ้ งคค์ วามรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ส่ิงแวดลอ้ ม ดา้ นสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
และดา้ นการดาำ เนินชีวติ อย่างมเี หตผุ ล
3. สามารถสรา้ งขอ้ มลู สรปุ ใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรอื สารสนเทศที่ผ่านการวเิ คราะห์
โดยใชอ้ งค์ความร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์ ส่ิงแวดลอ้ ม ด้านสงั คมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดำาเนินชวี ิตอย่างมเี หตผุ ล
4. สามารถตัดสินใจและแกป้ ญั หาอยา่ งมีหลักการและเหตุผล หรือให้ข้อสนบั สนนุ ข้อโต้แย้งทส่ี มเหตสุ มผล โดยคาำ นึงถงึ คณุ ธรรมและจริยธรรม
ค่านิยม ความเชือ่ ในกรณที ม่ี ีสถานะการณท์ ่ตี อ้ งการตดั สินใจหรอื มีปญั หา

รวมความสามารถทัง้ 3 ด้าน

6. เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคณุ ภาพในแต่ละความสามารถ

ช่วงคะแนนและคะแนนร้อยละในแตล่ ะระดับคณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ด้านภาษา ดา้ นคำนวณ ดา้ นเหตผุ ล รวมทกุ ดา้ น
คะแนน ร้อยละ
คะแนน รอ้ ยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ
75.01 - 105 71.44 - 100
ดีมาก 27.01 - 35 77.15 - 100 23.01 - 35 65.72 - 100 25.01 - 35 71.44 - 100 54.01 - 75.00 51.44 - 71.43
ดี 19.01 - 27.00 54.30 - 77.14 17.01 - 23.00 48.58 - 65.71 18.01 - 25.00 51.44 - 71.43 30.01 - 54.00 28.58 - 51.43
11.01 - 19.00 31.44 - 54.29 9.01 - 17.00 25.72 - 48.57 10.01 - 18.00 28.58 - 51.43 0.00 - 30.00 0.00 - 28.57
พอใช้ 0.00 - 11.00 0.00 - 31.43 0.00 - 9.00 0.00 - 25.71 0.00- 10.00 0.00 - 28.57
ปรับปรุง

School01 2/2


Click to View FlipBook Version