หลักสูตร
กลมุ่ สาระภาษาไทย
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ทาไมต้องเรยี นภาษาไทย สารบัญ
เรยี นร้อู ะไรในภาษาไทย
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หนา้
คุณภาพผูเ้ รียน 1
ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1
2
สาระที่ 1 การอา่ น 2
สาระที่ 2 การเขยี น 4
สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู 4
สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย 9
สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 12
โครงสร้างเวลาเรียน 15
คาอธิบายรายวิชา 18
20
27
ทำไมตอ้ งเรยี นภำษำไทย
ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบตั ิทางวัฒนธรรมอนั ก่อให้เกิดความเปน็ เอกภาพ และเสริมสร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทําให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดํารงชีวิตร่วมกัน ในสังคมประชาธิปไตยได้
อยา่ งสนั ตสิ ุข และเปน็ เครื่องมอื ในการแสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ าก แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศตา่ ง ๆ เพอื่ พฒั นา
ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้า
ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาํ ไปใช้ ในการพฒั นาอาชพี ให้มีความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนยี้ ังเป็น
ส่อื แสดงภมู ิปัญญาของบรรพบรุ ษุ ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี สุนทรยี ภาพ เป็นสมบตั ิลาํ้ คา่ ควรแกก่ ารเรยี นรู้ อนรุ ักษ์
และสืบสานใหค้ งอยู่ คชู่ าตไิ ทยตลอดไป
เรยี นรู้อะไรในภำษำไทย
ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การเรียนรู้ อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และเพอ่ื นําไปใชใ้ นชีวติ จริง
การอ่าน การอ่านออกเสียงคํา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คําประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพ่ือ
สร้างความเข้าใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรูจ้ ากสง่ิ ที่อา่ น เพ่ือนําไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจําวนั
การเขียน การเขียนสะกดคําตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ การเขียนเรียงความ ย่อความ
เขียนรายงานจากการศึกษาค้นควา้ เขยี นตามจนิ ตนาการ เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และเขียนเชงิ สร้างสรรค์
การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูด
ลําดับเร่อื งราวต่าง ๆ อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ทงั้ เปน็ ทางการ และไม่เป็นทางการ และการพูด
เพ่ือโน้มน้าวใจ
หลักการใช้ภาษาไทย ศึกษาธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทยการใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม กับ
โอกาสและบคุ คล การแตง่ บทประพันธป์ ระเภทตา่ ง ๆ และอทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของ
งานประพันธ์ และเพ่ือความเพลิดเพลิน การเรียนร้แู ละทําความเข้าใจบทเห่ บทรอ้ งเลน่ ของเด็ก เพลงพนื้ บา้ นทีเ่ ปน็
ภูมิปัญญาทม่ี ีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนกึ คิด ค่านิยม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เรื่องราวของสงั คม
ในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความซาบซ้ึงและภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ีได้ส่ังสมสืบทอดมาจนถึง
ปัจจุบนั
โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ : หลกั สตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 1
สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่ือนาํ ไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดําเนินชีวิต
และมีนสิ ยั รักการอา่ น
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า อยา่ งมีประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมิ
ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนํามา
ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ
คุณภำพผูเ้ รยี น
จบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3
อา่ นออกเสียงคาํ คําคลอ้ งจอง ขอ้ ความ เร่อื งส้ัน ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ถกู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว เขา้ ใจ
ความหมายของคําและข้อความที่อ่าน ตั้งคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ์ คาดคะเน เหตุการณ์ สรุปความรู้
ข้อคิดจากเรือ่ งท่อี ่าน ปฏบิ ตั ิตามคําสง่ั คําอธิบายจากเร่ืองท่ีอ่านได้ เข้าใจ ความหมายของขอ้ มลู จากแผนภาพ แผน
ทแ่ี ละแผนภูมิ อ่านหนงั สืออยา่ งสมา่ํ เสมอ และมีมารยาทในการอา่ น
มที ักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย บันทึกประจําวัน เขยี นจดหมายลาครู เขยี น
เรือ่ งเกย่ี วกับประสบการณ์ เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขยี น
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสูตรกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 2
เล่ารายละเอียดและบอกสาระสําคัญ ต้ังคําถาม ตอบคําถาม รวมทั้งพดู แสดงความคิด ความรู้สึกเกย่ี วกับ
เรอ่ื งท่ีฟงั และดู พูดสือ่ สาร เลา่ ประสบการณ์ และพดู แนะนาํ หรอื พูดเชญิ ชวนให้ผู้อ่ืน ปฏิบัตติ าม และมีมารยาทใน
การฟงั ดู และพดู
สะกดคาํ และเข้าใจความหมายของคํา ความแตกตา่ งของคําและพยางค์ หน้าท่ี ของคาํ ในประโยค มีทักษะ
การใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคําคล้องจอง แต่งคําขวัญ และเลือกใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
เข้าใจและสรุปข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน แสดงความ
คดิ เห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รจู้ ักเพลงพื้นบ้าน เพลงกลอ่ มเด็ก ซงึ่ เป็นวฒั นธรรม ของทอ้ งถนิ่ รอ้ งบทร้องเล่นสาํ หรับ
เดก็ ในทอ้ งถ่นิ ทอ่ งจาํ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ คา่ ตาม ความสนใจได้
จบชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองเป็นทํานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมาย โดยตรงและ
ความหมายโดยนัยของคาํ ประโยค ขอ้ ความ สาํ นวนโวหารจากเรื่องท่อี า่ น เขา้ ใจคําแนะนาํ คําอธบิ ายในคูม่ อื ต่าง ๆ
แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง จับใจความสําคัญของเรื่องที่อ่าน และนําความรู้ ความคิดจากเร่ืองที่อ่านไป
ตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในการดาํ เนินชีวิต มมี ารยาทและมีนสิ ยั รักการอ่าน และเหน็ คุณค่าส่ิงทอี่ ่าน
มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แต่งประโยค และเขียน
ข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคําชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรื่อง และ แผนภาพความคิด เพื่อ
พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคิดเห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น
พดู แสดงความรู้ ความคดิ เกย่ี วกับเร่อื งท่ฟี ังและดู เลา่ เร่อื งยอ่ หรอื สรุปจากเรือ่ งที่ฟงั และดู ตั้งคําถาม ตอบ
คําถามจากเร่ืองท่ีฟังและดู รวมท้ังประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลําดับ
ข้ันตอนเร่ืองต่าง ๆ อย่างชัดเจน พดู รายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโนม้ นา้ วได้
อย่างมีเหตุผล รวมทงั้ มมี ารยาทในการฟงั ดแู ละพูด
สะกดคําและเข้าใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต รแู้ ละเขา้ ใจชนิด และหนา้ ท่ีของคํา
ในประโยค ชนิดของประโยค คําภาษาถิ่นและคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คําราชาศัพท์และคําสุภาพได้
อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ และกาพยย์ านี ๑๑
เขา้ ใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน เลา่ นิทานพ้นื บา้ น รอ้ งเพลงพ้นื บ้าน ของทอ้ งถ่ิน นาํ
ข้อคิดเห็นจากเร่ืองทอี่ ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง และท่องจําบทอาขยานตามทก่ี าํ หนดได้
โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสตู รกลมุ่ สาระภาษาไทย >>> 3
ตวั ชีว้ ดั และสำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนําไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดําเนินชวี ติ
และมนี ิสยั รกั การอ่าน
ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป.๑ ๑. อ่านออกเสยี งคาํ คําคล้องจอง และข้อความส้ัน ๆ
การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคํา คาํ คลอ้ ง
๒. บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน จองและข้อความทปี่ ระกอบดว้ ยคําพน้ื ฐาน คือ คําท่ีใช้ใน
ชวี ติ ประจาํ วัน ไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐๐ คาํ รวมทัง้ คาํ ทีใ่ ช้เรยี นรู้
๓. ตอบคาํ ถามเก่ียวกบั เรือ่ งทอ่ี า่ น ในกล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ื่น ประกอบด้วย
๔. เลา่ เรือ่ งย่อจากเรือ่ งท่ีอ่าน - คําทมี่ รี ปู วรรณยกุ ตแ์ ละไม่มีรปู วรรณยกุ ต์
๕. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรอ่ื งท่อี า่ น - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- คาํ ทมี่ ีพยัญชนะควบกล้ํา
๖. อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํา่ เสมอและ - คาํ ที่มอี กั ษรนํา
นาํ เสนอเรือ่ งทีอ่ า่ น
การอ่านจบั ใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น
๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือสัญลกั ษณ์ - นิทาน
สําคัญทม่ี กั พบเหน็ ในชวี ติ ประจําวัน - เร่อื งสั้นๆ
- บทร้องเล่นและบทเพลง
๘. มีมารยาท ในการอ่าน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
และกล่มุ สาระการเรยี นรูอ้ ื่น
การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่
- หนงั สือทน่ี ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
- หนังสือที่ครแู ละนกั เรียนกําหนดรว่ มกัน
การอา่ นเครอื่ งหมายหรอื สัญลักษณ์ ประกอบดว้ ย
- เครอื่ งหมายสญั ลักษณต์ า่ ง ๆ ที่พบเห็นในชวี ิตประจาํ วัน
- เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย
มารยาทในการอ่าน เชน่
- ไมอ่ า่ นเสียงดงั รบกวนผอู้ ่นื
- ไม่เลน่ กนั ขณะที่อา่ น
- ไมท่ ําลายหนงั สือ
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลักสตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 4
ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป.๒ ๑. อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ และบท การอา่ นออกเสยี งและการบอกวามหมายของคา คาคล้อง
รอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกตอ้ ง จอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ท่ีประกอบด้วยคา
๒. อธิบายความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน พน้ื ฐานเพิ่มจาก ป.๑ ไมน่ ้อยกว่า ๘๐๐ คา รวมทั้งคาท่ีใช้
เรียนรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ื่น ประกอบด้วย
- คาทมี่ รี ูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยกุ ต์
- คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- คาทีม่ พี ยญั ชนะควบกลา้
- คาที่มอี ักษรนา
- คาท่มี ตี วั การนั ต์
- คาท่มี ี รร
- คาท่มี ีพยญั ชนะและสระทไ่ี ม่ออกเสียง
๓. ตัง้ คาถามและตอบคาถามเกย่ี วกบั เรื่องที่อ่าน การอา่ นจับใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น
๔. ระบใุ จความสาคัญและรายละเอยี ดจากเร่ืองที่อ่าน - นิทาน
๕. แสดงความคดิ เห็นและคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอื่ ง - เรื่องเลา่ สนั้ ๆ
- บทเพลงและบทรอ้ ยกรองง่ายๆ
ทอ่ี า่ น - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
และกลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ ่นื
- ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวัน
๖. อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอและ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่
นาเสนอเร่ืองทีอ่ า่ น - หนังสอื ท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั
- หนงั สือทค่ี รแู ละนักเรียนกาหนดรว่ มกัน
๗. อา่ นข้อเขียนเชิงอธบิ าย และปฏบิ ัตติ ามคาสั่งหรือ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัตติ ามคาสั่งหรือ
ข้อแนะนา ข้อแนะนา
- การใช้สถานทสี่ าธารณะ
- คาแนะนาการใชเ้ ครือ่ งใชท้ จ่ี าเปน็ ในบ้านและใน
โรงเรียน
๘. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เช่น
- ไมอ่ ่านเสยี งดงั รบกวนผ้อู น่ื
- ไม่เลน่ กนั ขณะท่ีอา่ น
- ไม่ทาลายหนังสอื
- ไม่ควรแยง่ อ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะทผ่ี ู้อนื่ กาลังอ่าน
อยู่
โรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 5
ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.๓ ๑. อ่านออกเสยี งคํา ขอ้ ความ เรอ่ื งส้ัน ๆ และบทร้อยกรอง การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของคํา คํา
ง่าย ๆ ไดถ้ กู ต้อง คลอ่ งแคล่ว คลอ้ งจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ท่ี
๒. อธบิ ายความหมายของคาํ และข้อความที่อ่าน ประกอบดว้ ยคาํ พ้ืนฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกว่า
๑,๒๐๐ คาํ รวมทัง้ คาํ ท่ีเรียนร้ใู นกล่มุ สาระการเรียนรอู้ ื่น
ประกอบด้วย
- คําทีม่ ตี วั การนั ต์
- คาํ ทม่ี ี รร
- คาํ ทม่ี ีพยญั ชนะและสระไม่ออกเสียง
- คําพ้อง
- คําพเิ ศษอ่นื ๆ เช่น คาํ ทใี่ ช้ ฑ ฤ ฤๅ
๓. ตง้ั คาํ ถามและตอบคําถามเชิงเหตผุ ลเก่ียวกบั เร่ืองท่อี ่าน การอา่ นจับใจความจากสื่อตา่ ง ๆ เชน่
- นทิ านหรือเร่ืองเก่ยี วกับท้องถิ่น
๔. ลาํ ดับเหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรอ่ื งทอี่ ่าน - เรอ่ื งเล่าสั้นๆ
โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง
๕. สรปุ ความรูแ้ ละข้อคดิ จากเร่ืองท่ีอา่ นเพอ่ื นําไปใช้ใน - บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่
ชีวิตประจาํ วนั - ขา่ วและเหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจําวันในท้องถ่นิ และ
ชุมชน
๖. อา่ นหนงั สือตามความสนใจอย่างสมํา่ เสมอและนําเสนอ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น
เรื่องท่ีอา่ น - หนงั สอื ท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย
- หนงั สือทีค่ รแู ละนักเรยี นกําหนดร่วมกนั
๗. อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ตั ิตามคําสง่ั หรือ การอา่ นขอ้ เขยี นเชงิ อธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือ
ขอ้ แนะนาํ ขอ้ แนะนาํ
- คําแนะนาํ ต่าง ๆ ในชีวติ ประจําวนั
- ประกาศ ปา้ ยโฆษณา และคาํ ขวัญ
๘. อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และ การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ
แผนภมู ิ
๙. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เชน่
- ไม่อ่านเสยี งดังรบกวนผ้อู นื่
- ไม่เลน่ กันขณะที่อา่ น
- ไม่ทําลายหนงั สือ
- ไมค่ วรแยง่ อ่านหรอื ชะโงกหนา้ ไปอา่ นขณะท่ีผอู้ ่นื
กาํ ลงั อา่ น
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ : หลกั สตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 6
ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป.๔ ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอ้ ย
๒. อธบิ ายความหมายของคํา ประโยค และสาํ นวนจากเรอ่ื งท่ี แก้วและบทรอ้ ยกรองทป่ี ระกอบดว้ ย
อ่าน - คําทม่ี ี ร ล เป็นพยญั ชนะต้น
- คําที่มพี ยญั ชนะควบกลาํ้
- คําทม่ี ีอกั ษรนาํ
- คําประสม
- อักษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน
- ประโยคที่มสี าํ นวนเป็นคําพงั เพย สุภาษติ ปรศิ นาคาํ
ทาย และเครื่องหมายวรรคตอน
การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทาํ นองเสนาะ
๓. อ่านเรอ่ื งสนั้ ๆ ตามเวลาทีก่ ําหนดและตอบคําถามจาก การอา่ นจบั ใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น
เร่ืองทอี่ ่าน - เร่ืองสนั้ ๆ
๔. แยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ จากเรือ่ งท่ีอ่าน - เรื่องเลา่ จากประสบการณ์
๕. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรือ่ งทอ่ี ่านโดยระบุเหตผุ ล - นิทานชาดก
ประกอบ - บทความ
๖. สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจากเรื่องทอี่ ่านเพ่ือนําไปใชใ้ น - บทโฆษณา
ชีวติ ประจาํ วัน - งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ
- ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจาํ วัน
- สารคดแี ละบันเทิงคดี
๗. อ่านหนงั สือทีม่ คี ณุ ค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น
แสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั เรอ่ื งท่อี ่าน - หนังสอื ทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั
- หนงั สอื ทีค่ รแู ละนักเรียนกําหนดรว่ มกนั
๘. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น
ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.๕ ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ตอ้ ง การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อย
๒. อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยคและข้อความท่เี ป็น แก้วและบทรอ้ ยกรองทป่ี ระกอบดว้ ย
การบรรยายและการพรรณนา - คําที่มีพยญั ชนะควบกล้าํ
๓. อธบิ ายความหมายโดยนยั จากเรือ่ งทอ่ี า่ นอยา่ ง
หลากหลาย - คาํ ท่มี ีอกั ษรนํา
- คําท่ีมีตัวการนั ต์
- อกั ษรย่อและเครอ่ื งหมายวรรคตอน
- ข้อความทีเ่ ป็นการบรรยายและพรรณนา
- ขอ้ ความทม่ี คี วามหมายโดยนัย
การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทํานองเสนาะ
โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 7
๔. แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่อี ่าน การอา่ นจับใจความจากสื่อตา่ ง ๆ เช่น
๕. วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เรื่องที่อา่ นเพ่ือ - วรรณคดีในบทเรยี น
- บทความ
นําไปใชใ้ นการดําเนินชีวิต - บทโฆษณา
- งานเขยี นประเภทโน้มนา้ วใจ
๖. อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาํ ส่ัง ข้อแนะนํา และปฏบิ ัติ - ข่าวและเหตุการณ์ประจําวัน
ตาม
การอ่านงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คําส่ัง ข้อแนะนํา และ
๗. อ่านหนงั สือท่มี คี ุณคา่ ตามความสนใจอยา่ งสมา่ํ เสมอและ ปฏบิ ตั ิตาม เช่น
แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เรอ่ื งที่อา่ น - การใชพ้ จนานกุ รม
- การใช้วสั ดอุ ุปกรณ์
๘. มมี ารยาทในการอ่าน - การอา่ นฉลากยา
- คู่มือและเอกสารของโรงเรียนทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั นกั เรียน
- ขา่ วสารทางราชการ
การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เชน่
- หนงั สอื ทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั
- หนังสือทคี่ รแู ละนักเรยี นกําหนดร่วมกัน
มารยาทในการอ่าน
ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป.๖ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง
การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของบทรอ้ ย
๒. อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยคและข้อความที่เปน็ แกว้ และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย
โวหาร - คาํ ท่มี พี ยัญชนะควบกล้ํา
- คาํ ท่ีมอี ักษรนํา
๓. อ่านเร่อื งสน้ั ๆ อยา่ งหลากหลาย โดยจับเวลาแลว้ ถาม - คาํ ท่ีมตี วั การนั ต์
เกยี่ วกับเรอื่ งทอ่ี า่ น - คาํ ท่มี าจากภาษาต่างประเทศ
- อกั ษรยอ่ และเครื่องหมายวรรคตอน
๔. แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื งทีอ่ า่ น - วัน เดอื น ปีแบบไทย
๕. อธบิ ายการนําความรูแ้ ละความคิด จากเรือ่ งท่ีอา่ นไป - ขอ้ ความที่เป็นโวหารต่าง ๆ
- สํานวนเปรยี บเทียบ
ตดั สินใจแกป้ ญั หาในการดาํ เนินชีวติ
การอ่านบทรอ้ ยกรองเปน็ ทาํ นองเสนาะ
การอา่ นจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่
- เร่อื งส้นั ๆ
- นทิ านและเพลงพืน้ บ้าน
- บทความ
- พระบรมราโชวาท
- สารคดี
- เร่ืองสน้ั
- งานเขียนประเภทโน้มนา้ ว
- บทโฆษณา
- ข่าว และเหตกุ ารณ์สําคัญ
การอา่ นเร็ว
โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 8
๖. อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติ การอา่ นงานเขียนเชงิ อธบิ าย คาํ ส่งั ข้อแนะนํา และ
ตาม ปฏิบตั ติ าม
- การใช้พจนานุกรม
๗. อธบิ ายความหมายของข้อมลู จากการอา่ นแผนผงั แผน - การปฏิบตั ิตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม
ที่ แผนภมู ิ และกราฟ - ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในโรงเรยี น และการใช้
สถานท่สี าธารณะในชุมชนและท้องถิ่น
๘. อ่านหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคณุ คา่ ทไ่ี ด้รบั
การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ
๙. มมี ารยาทในการอา่ น
การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น
- หนังสอื ทนี่ ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั
- หนังสอื อ่านท่คี รแู ละนักเรยี นกําหนดร่วมกัน
มารยาทในการอา่ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวในรปู แบบตา่ ง ๆ
เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั การคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบการ
๒. เขยี นส่อื สารดว้ ยคาํ และประโยคง่าย ๆ เขยี นตวั อักษรไทย
๓. มีมารยาทในการเขยี น การเขียนสอ่ื สาร
- คําท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน
ป.๒ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด - คําพืน้ ฐานในบทเรยี น
๒. เขียนเรอ่ื งส้ัน ๆ เกยี่ วกบั ประสบการณ์ - คาํ คล้องจอง
๓. เขยี นเร่อื งสั้น ๆ ตามจินตนาการ - ประโยคงา่ ย ๆ
๔. มีมารยาทในการเขยี น
มารยาทในการเขยี น เช่น
- เขียนให้อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆา่
- ไม่ขดี เขยี นในทีส่ าธารณะ
- ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล
การคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบการ
เขียนตัวอกั ษรไทย
การเขยี นเรือ่ งสั้น ๆ เกยี่ วกับประสบการณ์
การเขียนเร่อื งส้นั ๆ ตามจินตนาการ
มารยาทในการเขียน เชน่
- เขยี นให้อา่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆา่
- ไม่ขีดเขียนในทีส่ าธารณะ
- ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบคุ คล
- ไมเ่ ขยี นล้อเลยี นผ้อู น่ื หรอื ทําใหผ้ ู้อื่นเสียหาย
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ : หลกั สตู รกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 9
ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.๓ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบการ
๒ เขียนบรรยายเกีย่ วกบั สิง่ ใดสง่ิ หนงึ่ ไดอ้ ย่างชดั เจน เขียน ตัวอกั ษรไทย
๓. เขยี นบันทกึ ประจาํ วนั
๔. เขยี นจดหมายลาครู การเขียนบรรยายเก่ียวกับลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ
๕. เขยี นเรื่องตามจินตนาการ สถานที่
๖. มมี ารยาทในการเขียน
การเขยี นบันทึกประจาํ วนั
ป.๔ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครึง่ บรรทัด
๒. เขยี นสื่อสารโดยใช้คาํ ได้ถูกตอ้ งชัดเจน และเหมาะสม การเขียนจดหมายลาครู
๓. เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้ การเขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการจากคํา ภาพ และหวั ขอ้ ท่ี
พัฒนางานเขียน กําหนด
มารยาทในการเขียน เชน่
- เขยี นใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไม่ขดี ฆา่
- ไม่ขีดเขียนในทีส่ าธารณะ
- ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบคุ คล
- ไม่เขยี นล้อเลียนผู้อน่ื หรอื ทาํ ให้ผ้อู ื่นเสียหาย
การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตาม
รูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย
การเขียนส่อื สาร เชน่
- คําขวัญ
- คําแนะนํา
การนําแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดไป
พฒั นางานเขียน
๔. เขียนย่อความจากเรือ่ งสั้นๆ การเขยี นยอ่ ความจากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ นทิ าน ความเรียง
ประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ จดหมาย คาํ สอน
๕. เขียนจดหมายถึงเพือ่ นและบิดามารดา
๖. เขียนบันทกึ และเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ การเขียนจดหมายถึงเพือ่ นและบิดามารดา
๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๘. มีมารยาทในการเขียน การเขียนบันทึกและเขยี นรายงานจากการศึกษาค้นควา้
ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด และครึง่ บรรทดั
การเขยี นเรื่องตามจินตนาการ
๒. เขยี นสือ่ สารโดยใชค้ ําได้ถูกตอ้ งชดั เจน และเหมาะสม
มารยาทในการเขียน
๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทัดตาม
พัฒนางานเขยี น
รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย
๔. เขยี นย่อความจากเร่ืองทอี่ า่ น การเขียนสื่อสาร เชน่
๕. เขยี นจดหมายถงึ ผู้ปกครองและญาติ - คาํ ขวัญ
๖. เขียนแสดงความรู้สึกและความคดิ เหน็ ได้ตรงตามเจตนา - คาํ อวยพร
- คําแนะนําและคาํ อธิบายแสดงข้ันตอน
การนาํ แผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดไป
พฒั นางานเขียน
การเขียนยอ่ ความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่ นิทาน ความเรียง
ประเภทต่างๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์
จดหมาย คาํ สอน โอวาท คําปราศรัย
การเขียนจดหมายถงึ ผปู้ กครองและญาติ
การเขยี นแสดงความร้สู กึ และความคดิ เหน็
โรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 10
ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
๗. กรอกแบบรายการต่าง ๆ การกรอกแบบรายการ
๘. เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงิน
๙. มีมารยาทในการเขียน - ธนาณัติ
ป.๖ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทัด - แบบฝากส่งพัสดไุ ปรษณียภัณฑ์
๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าํ ไดถ้ กู ต้องชดั เจน และเหมาะสม การเขยี นเร่อื งตามจินตนาการ
๓. เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคิดเพื่อใช้ มารยาทในการเขียน
พัฒนางานเขยี น การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครงึ่ บรรทัดตาม
๔. เขยี นเรียงความ รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
๕. เขยี นย่อความจากเร่ืองที่อ่าน การเขียนสอ่ื สาร เช่น
๖. เขียนจดหมายส่วนตัว - คําขวญั
- คาํ อวยพร
๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ - ประกาศ
การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด
๘. เขียนเร่อื งตามจินตนาการและสร้างสรรค์
๙. มีมารยาทในการเขยี น การเขียนเรยี งความ
การเขียนยอ่ ความจากสื่อตา่ ง ๆ เชน่ นทิ าน ความเรยี ง
ประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์
จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรยั สนุ ทรพจน์
รายงาน ระเบยี บ คาํ สัง่
การเขียนจดหมายสว่ นตัว
- จดหมายขอโทษ
- จดหมายแสดงความขอบคณุ
- จดหมายแสดงความเหน็ ใจ
- จดหมายแสดงความยินดี
การกรอกแบบรายการ
- แบบคาํ ร้องต่าง ๆ
- ใบสมัครศึกษาตอ่
- แบบฝากสง่ พสั ดแุ ละไปรษณียภัณฑ์
การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์
มารยาทในการเขยี น
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสูตรกลมุ่ สาระภาษาไทย >>> 11
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึกใน
โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.๑ ๑. ฟงั คําแนะนํา คาํ สงั่ งา่ ยๆ และปฏิบัติตาม การฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนาํ คําส่งั ง่าย ๆ
๒. ตอบคําถามและเล่าเรอื่ งที่ฟงั และดู ท้งั ที่เป็นความรแู้ ละ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรสู้ ึก
ความบันเทงิ จากเรื่องทีฟ่ ังและดู ทั้งทเ่ี ปน็ ความร้แู ละความบันเทิง
๓. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สึกจากเรอ่ื งทฟี่ งั และดู เชน่
- เร่อื งเลา่ และสารคดสี ําหรับเด็ก
- นทิ าน
- การต์ นู
- เรอื่ งขบขนั
๔. พูดส่อื สารไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ การพดู สอื่ สารในชวี ิตประจาํ วนั เช่น
- การแนะนาํ ตนเอง
- การขอความชว่ ยเหลือ
- การกลา่ วคาํ ขอบคุณ
- การกลา่ วคําขอโทษ
๕. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เชน่
- ต้งั ใจฟงั ตามองผพู้ ูด
- ไม่รบกวนผู้อืน่ ขณะท่ีฟัง
- ไม่ควรนําอาหารหรือเครือ่ งดมื่ ไปรบั ประทานขณะท่ี
ฟงั
- ให้เกียรติผพู้ ูดด้วยการปรบมอื
- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะท่ฟี งั
มารยาทในการดู เช่น
- ต้ังใจดู
- ไม่ส่งเสยี งดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิของผู้อนื่
มารยาทในการพูด เช่น
- ใช้ถอ้ ยคําและกิริยาทีส่ ุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใชน้ าํ้ เสียงนมุ่ นวล
- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะท่ผี ูอ้ ืน่ กาํ ลงั พูด
ป.๒ ๑. ฟังคําแนะนาํ คําส่ังทซี่ ับซ้อน และปฏิบตั ิตาม การฟังและปฏบิ ัตติ ามคําแนะนํา คาํ สง่ั ทีซ่ บั ซ้อน
๒. เลา่ เรอ่ื งที่ฟังและดทู ัง้ ท่เี ปน็ ความรู้และความบนั เทิง การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ ความร้สู กึ
๓. บอกสาระสําคัญของเรอื่ งท่ีฟังและดู จากเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู ท้งั ที่เปน็ ความรแู้ ละความบนั เทิง
๔. ตงั้ คําถามและตอบคําถามเก่ยี วกบั เรอ่ื งที่ฟังและดู เชน่
- เรือ่ งเลา่ และสารคดสี าํ หรับเดก็
- นิทาน การต์ นู และเรอื่ งขบขัน
๕. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรูส้ กึ จากเร่ืองท่ีฟังและดู - รายการสําหรับเด็ก
- ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจําวัน
- เพลง
๖. พูดสื่อสารได้ชดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ การพูดสือ่ สารในชวี ิตประจาํ วัน เชน่
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสูตรกลมุ่ สาระภาษาไทย >>> 12
ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
- การแนะนาํ ตนเอง
- การขอความชว่ ยเหลอื
- การกลา่ วคําขอบคณุ
- การกล่าวคาํ ขอโทษ
- การพดู ขอรอ้ งในโอกาสต่าง ๆ
- การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจาํ วนั
๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เช่น
- ตง้ั ใจฟัง ตามองผู้พดู
- ไม่รบกวนผู้อื่นขณะท่ีฟงั
- ไมค่ วรนาํ อาหารหรือเคร่ืองดื่มไปรับประทานขณะท่ี
ฟัง
- ไม่พูดสอดแทรกขณะท่ฟี ัง
มารยาทในการดู เช่น
- ตัง้ ใจดู
- ไมส่ ง่ เสยี งดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิของผอู้ น่ื
มารยาทในการพูด เช่น
- ใช้ถอ้ ยคําและกริ ยิ าทสี่ ภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใชน้ าํ้ เสยี งนมุ่ นวล
- ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะทผี่ อู้ น่ื กําลังพดู
- ไมพ่ ูดลอ้ เลียนให้ผูอ้ ืน่ ได้รบั ความอับอายหรือเสียหาย
ป.๓ ๑. เล่ารายละเอยี ดเก่ียวกับเร่อื งทีฟ่ งั และดทู ั้งที่เป็นความรู้ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็นและความรู้สกึ
และความบนั เทงิ จากเร่ืองท่ีฟงั และดูท้ังท่ีเป็นความรูแ้ ละความบันเทิง
๒. บอกสาระสาํ คัญจากการฟงั และการดู เช่น
๓. ต้งั คําถามและตอบคาํ ถามเกย่ี วกับเรอื่ งที่ฟงั และดู - เรื่องเลา่ และสารคดสี าํ หรับเด็ก
๔. พูดแสดงความคิดเหน็ และความรู้สึกจากเรอื่ งท่ฟี งั และดู - นทิ าน การต์ ูน เรื่องขบขัน
- รายการสาํ หรบั เดก็
- ข่าวและเหตุการณ์ในชวี ิตประจาํ วนั
- เพลง
๕. พูดส่ือสารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ การพดู สอื่ สารในชวี ิตประจําวัน เช่น
- การแนะนําตนเอง
- การแนะนาํ สถานทีใ่ นโรงเรยี นและในชมุ ชน
- การแนะนํา/เชิญชวนเกย่ี วกับการปฏิบตั ติ นในดา้ น
ต่าง ๆ เช่น การรักษาความสะอาดของรา่ งกาย
- การเล่าประสบการณใ์ นชวี ิตประจาํ วัน
- การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เชน่ การพดู ขอรอ้ ง การพูด
ทักทาย การกล่าวขอบคุณและขอโทษ การพดู
ปฏเิ สธ และการพดู ชกั ถาม
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟงั เชน่
- ตั้งใจฟัง ตามองผพู้ ดู
- ไมร่ บกวนผู้อน่ื ขณะที่ฟัง
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 13
ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- ไมค่ วรนําอาหารหรือเครือ่ งดืม่ ไปรบั ประทานขณะท่ี
ฟัง
- ไมแ่ สดงกริ ยิ าทีไ่ มเ่ หมาะสม เช่น โห่ ฮา หาว
- ให้เกยี รติผูพ้ ูดด้วยการปรบมือ
- ไม่พูดสอดแทรกขณะทฟี่ งั
มารยาทในการดู เช่น
- ตง้ั ใจดู
- ไมส่ ่งเสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผู้อน่ื
มารยาทในการพดู เช่น
- ใช้ถ้อยคาํ และกิรยิ าท่ีสภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใชน้ ้าํ เสียงนมุ่ นวล
- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะทีผ่ อู้ ่นื กาํ ลงั พูด
- ไม่พูดลอ้ เลยี นให้ผูอ้ ื่นไดร้ บั ความอบั อายหรือเสยี หาย
ป.๔ ๑. จาํ แนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เห็นจากเร่อื งท่ีฟงั และดู การจําแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรอ่ื งทฟี่ ังและ
๒. พูดสรุปความจากการฟงั และดู ดใู นชีวติ ประจําวนั
๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรสู้ กึ เกี่ยวกบั การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ ความคิดใน
เร่อื งทีฟ่ ังและดู เรื่องทฟี่ งั และดู จากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่
๔. ต้งั คําถามและตอบคําถามเชงิ เหตผุ ลจากเร่อื งทีฟ่ งั และดู - เร่อื งเล่า
- บทความสนั้ ๆ
- ข่าวและเหตุการณ์ประจาํ วัน
- โฆษณา
- สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์
- เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
และกลุม่ สาระการเรยี นรอู้ ่ืน
๕. รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นทศี่ กึ ษาค้นควา้ จากการฟงั การ การรายงาน เช่น
ดแู ละการสนทนา - การพูดลาํ ดับขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน
- การพดู ลาํ ดบั เหตุการณ์
๖. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และความรสู้ กึ จากเรอื่ งที่ การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ ความคดิ ใน
ฟังและดู เร่อื งท่ีฟังและดู จากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่
๒. ต้ังคําถามและตอบคําถามเชงิ เหตผุ ลจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู - เร่อื งเลา่
๓. วิเคราะห์ความนา่ เช่อื ถอื จากเรอ่ื งทีฟ่ ังและดอู ย่างมี - บทความ
เหตผุ ล - ขา่ วและเหตุการณป์ ระจาํ วนั
- โฆษณา
- ส่ือส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์
การวเิ คราะหค์ วามน่าเชอ่ื ถือจากเร่ืองทฟ่ี งั และดใู น
ชีวิตประจาํ วนั
๔. พูดรายงานเรือ่ งหรือประเด็นท่ศี กึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การรายงาน เชน่
การดูและการสนทนา - การพูดลาํ ดบั ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน
- การพดู ลําดบั เหตกุ ารณ์
๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
โรงเรยี นบ้านไอร์โซ : หลกั สตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 14
ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๖ ๑. พูดแสดงความรคู้ วามเขา้ ใจจุดประสงคข์ องเรื่องท่ีฟงั และ การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจในจุดประสงค์ของเรอ่ื ง
ดู ท่ีฟังและดูจากส่ือต่าง ๆ ได้แก่
๒. ตง้ั คําถามและตอบคําถามเชงิ เหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู - ส่ือส่งิ พิมพ์
- สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์
๓. วิเคราะหค์ วามนา่ เชอ่ื ถือจากการฟงั และดสู ือ่ โฆษณา การวเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจากการฟงั และดสู ือ่
อยา่ งมเี หตผุ ล โฆษณา
๔. พูดรายงานเรื่องหรอื ประเด็นทีศ่ กึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การรายงาน เชน่
การดแู ละการสนทนา - การพูดลําดบั ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
- การพูดลาํ ดับเหตกุ ารณ์
๕. พูดโนม้ น้าวอยา่ งมีเหตุผลและน่าเชอื่ ถือ การพดู โน้มนา้ วในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
- การเลอื กตั้งกรรมการนักเรยี น
- การรณรงคด์ า้ นตา่ ง ๆ
- การโตว้ าที
๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟงั การดู และการพดู
สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิ
ปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย
พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
๒. เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมาย ของคาํ เลขไทย
๓. เรียบเรียงคาํ เปน็ ประโยคงา่ ย ๆ การสะกดคาํ การแจกลูก และการอา่ นเป็นคาํ
๔. ต่อคําคลอ้ งจองง่าย ๆ มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย การผันคํา
๒. เขียนสะกดคําและบอกความหมาย ของคํา ความหมายของคาํ
การแตง่ ประโยค
คําคล้องจอง
พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์
เลขไทย
การสะกดคาํ การแจกลกู และการอ่านเปน็ คาํ
มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
การผนั อกั ษรกลาง อักษรสงู และอกั ษรตาํ่
คําทม่ี ีตัวการนั ต์
คาํ ท่ีมีพยญั ชนะควบกลํา้
คาํ ที่มีอกั ษรนํา
คําทม่ี คี วามหมายตรงขา้ มกัน
คาํ ท่มี ี รร
ความหมายของคํา
โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 15
ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. เรยี บเรียงคาํ เป็นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการ การแตง่ ประโยค
ส่อื สาร การเรยี บเรียงประโยคเปน็ ข้อความสนั้ ๆ
๔. บอกลักษณะคําคล้องจอง คาํ คล้องจอง
๕. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั ภาษาไทยมาตรฐาน
กาลเทศะ ภาษาถิ่น
ป.๓ ๑. เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมาะของคํา การสะกดคํา การแจกลกู และการอ่านเปน็ คํา
๓. ระบชุ นิดและหนา้ ท่ีของคาํ ในประโยค มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา
การผันอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษรต่าํ
คําที่มพี ยญั ชนะควบกลํา้
คาํ ทมี่ อี ักษรนาํ
คาํ ทป่ี ระวสิ รรชนีย์และคาํ ทไ่ี ม่ประวิสรรชนยี ์
คําที่มี ฤ ฤๅ
คาํ ที่ใช้ บัน บรร
คาํ ที่ใช้ รร
คําท่ีมตี วั การันต์
ความหมายของคํา
ชนดิ ของคํา ได้แก่
- คํานาม
- คาํ สรรพนาม
- คาํ กริยา
๔. ใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมายของคํา การใชพ้ จนานกุ รม
๕. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ
การแตง่ ประโยคเพื่อการสือ่ สาร ไดแ้ ก่
- ประโยคบอกเลา่
- ประโยคปฏิเสธ
- ประโยคคําถาม
- ประโยคขอรอ้ ง
- ประโยคคําส่งั
๖. แตง่ คําคล้องจองและคําขวัญ คําคลอ้ งจอง
คําขวัญ
๗. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกับ
กาลเทศะ ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถ่ิน
ป.๔ ๑. สะกดคาํ และบอกความหมายของคาํ ในบริบทตา่ ง ๆ คําในแม่ ก กา
๒. ระบุชนดิ และหน้าที่ของคําในประโยค มาตราตวั สะกด
การผันอกั ษร
คําเปน็ คําตาย
คําพอ้ ง
ชนดิ ของคํา ได้แก่
- คาํ นาม
- คาํ สรรพนาม
- คาํ กริยา
- คาํ วิเศษณ์
โรงเรียนบา้ นไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 16
ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
๓ ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของคํา การใชพ้ จนานกุ รม
๔. แต่งประโยคได้ถกู ต้องตามหลกั ภาษา ประโยคสามัญ
- สว่ นประกอบของประโยค
- ประโยค ๒ ส่วน
- ประโยค ๓ สว่ น
๕. แตง่ บทรอ้ ยกรองและคาํ ขวัญ กลอนสี่
คําขวัญ
๖. บอกความหมายของสาํ นวน สาํ นวนทเ่ี ป็นคําพังเพยและสภุ าษติ
๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้ ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถนิ่
ป.๕ ๑. ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคําในประโยค ชนิดของคาํ ไดแ้ ก่
- คําบุพบท
- คาํ สนั ธาน
- คําอุทาน
๒. จาํ แนกส่วนประกอบของประโยค ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค
๓. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถ่นิ
๔. ใช้คําราชาศพั ท์ คําราชาศัพท์
๕. บอกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย คําทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศ
๖. แต่งบทรอ้ ยกรอง กาพยย์ านี ๑๑
๗. ใช้สํานวนไดถ้ กู ตอ้ ง สํานวนทเี่ ป็นคําพังเพยและสภุ าษติ
ป.๖ ๑. วิเคราะห์ชนดิ และหน้าท่ีของคาํ ในประโยค ชนิดของคาํ
- คํานาม
- คาํ สรรพนาม
- คํากรยิ า
- คําวเิ ศษณ์
- คาํ บุพบท
- คาํ เชอ่ื ม
- คําอุทาน
๒. ใช้คาํ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล คําราชาศัพท์
ระดับภาษา
ภาษาถิ่น
๓. รวบรวมและบอกความหมายของ คาํ ภาษาต่างประเทศท่ี คําทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ
ใชใ้ นภาษาไทย
๔. ระบลุ ักษณะของประโยค กลุ่มคาํ หรือวลี
ประโยคสามัญ
ประโยครวม
ประโยคซอ้ น
๕. แต่งบทรอ้ ยกรอง กลอนสุภาพ
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 17
ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
สาํ นวนทเี่ ปน็ คาํ พงั เพย และสุภาษิต
๖. วิเคราะหแ์ ละเปรียบเทียบสาํ นวนที่เป็นคาํ พังเพย และ
สภุ าษิต
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่าและนํามา
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.๑ ๑. บอกข้อคิดท่ไี ดจ้ ากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมรอ้ ย วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสาํ หรบั เดก็ เช่น
แก้วและรอ้ ยกรองสาํ หรับเด็ก - นิทาน
- เรอ่ื งสน้ั ง่าย ๆ
- ปริศนาคําทาย
- บทรอ้ งเล่น
- บทอาขยาน
- บทรอ้ ยกรอง
- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น
๒. ทอ่ งจําบทอาขยานตามที่กาํ หนด และบทรอ้ ยกรองตาม บทอาขยานและบทร้อยกรอง
ความสนใจ - บทอาขยานตามท่กี าํ หนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป.๒ ๑. ระบขุ ้อคิดที่ได้จากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรม วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรบั เดก็ เช่น
สําหรบั เดก็ เพื่อนําไปใช้ในชวี ิตประจาํ วัน - นิทาน
- เรื่องสน้ั งา่ ย ๆ
- ปริศนาคาํ ทาย
- บทอาขยาน
- บทรอ้ ยกรอง
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น
๒. รอ้ งบทร้องเล่นสาํ หรบั เด็กในทอ้ งถนิ่ บทรอ้ งเล่นทม่ี คี ุณคา่
- บทรอ้ งเล่นในทอ้ งถ่ิน
- บทร้องเล่นในการละเล่นของเดก็ ไทย
๓. ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทร้อยกรองที่มี บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มีคณุ คา่
คุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาํ หนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ
ป.๓ ๑. ระบุขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากการอ่านวรรณกรรมเพอ่ื นาํ ไปใช้ใน วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพืน้ บา้ น
ชีวติ ประจาํ วนั - นทิ านหรือเรื่องในทอ้ งถนิ่
๒. รู้จกั เพลงพนื้ บา้ นและเพลงกลอ่ มเดก็ เพือ่ ปลกู ฝังความ - เรื่องส้ันงา่ ย ๆ ปริศนาคาํ ทาย
ชน่ื ชมวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น - บทรอ้ ยกรอง
๓. แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับวรรณคดีทีอ่ ่าน - เพลงพื้นบ้าน
- เพลงกล่อมเด็ก
- วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรียนและตามความ
สนใจ
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 18
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. ท่องจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ี บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า
คณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทก่ี าํ หนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป.๔ ๑. ระบุข้อคิดจากนทิ านพนื้ บ้านหรือนิทานคติธรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรม เช่น
๒. อธบิ ายขอ้ คดิ จากการอ่านเพ่ือนาํ ไปใช้ในชีวิตจรงิ - นิทานพื้นบ้าน
- นิทานคติธรรม
- เพลงพืน้ บา้ น
- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและตามความ
สนใจ
๓. ร้องเพลงพืน้ บา้ น เพลงพนื้ บ้าน
๔. ทอ่ งจําบทอาขยานตามท่กี าํ หนด และบทร้อยกรองทม่ี ี บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณค่า
คุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกําหนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป.๕ ๑. สรปุ เรื่องจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมท่ีอา่ น วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่
๒. ระบคุ วามรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ - นิทานพ้ืนบ้าน
วรรณกรรมทส่ี ามารถนําไปใชใ้ นชวี ิตจริง - นิทานคติธรรม
๓. อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม - เพลงพืน้ บ้าน
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความ
สนใจ
๔. ทอ่ งจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนดและบทร้อยกรองทม่ี ี บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณคา่
คุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกําหนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ
ป.๖ ๑. แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดี หรอื วรรณกรรมที่อา่ น วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่
๒. เลา่ นิทานพ้ืนบา้ นทอ้ งถ่ินตนเอง และนทิ านพ้นื บา้ นของ - นิทานพ้ืนบา้ นทอ้ งถนิ่ ตนเองและทอ้ งถ่นิ อื่น
ท้องถน่ิ อน่ื - นิทานคติธรรม
๓. อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรมทอี่ ่านและ - เพลงพื้นบา้ น
นาํ ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความ
สนใจ
๔. ท่องจาํ บทอาขยานตามทก่ี าํ หนด และบทร้อยกรองท่มี ี บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคณุ คา่
คุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กําหนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลกั สตู รกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 19
โครงสรา้ งเวลาเรียน : ประถมศึกษา
กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ป.1 ป.2 เวลาเรียน ป.6
840 840 ระดบั ประถมศกึ ษา 840
รายวชิ าพื้นฐาน 200 200 160
ภาษาไทย 200 200 ป.3 ป.4 ป.5 160
คณติ ศาสตร์ 80 80 880 840 840 120
วทิ ยาศาสตร์ 40 40 200 160 160 80
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 40 200 160 160 40
ประวัตศิ าสตร์ 40 40 80 120 120 40
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 40
ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 160 160 40 80 80 120
ภาษาอังกฤษ 40 40 40 80 80 40
40 40 40 40 40
รายวชิ าเพิม่ เติม 200 80 80 -
ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร -- 40 40 40 -
คอมพวิ เตอร์ บูรณาการ 40
หน้าท่ีพลเมือง 120 120 --- 120
40 40 - 40 40 40
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 40 บูรณาการ
กิจกรรมแนะแนว 120 120 120
กจิ กรรมนักเรยี น 40 40 40
o ลูกเสือ/เนตรนารี
o ชมุ นุม 30 30 30 30 30 30
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมฯ 40 40 40 40 40 40
10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด 1,000 1,000 1,040 1,000 1,000 1,000
หมายเหตุ :
1. วิชาภาษาองั กฤษ ช้นั ป.1-ป.2 จัดเปน็ รายวิชาพื้นฐาน 160 ชวั่ โมง/ปี และรายวิชาเพิ่มเตมิ 40 ช่วั โมง/ปี รวมเปน็ 200 ชั่วโมง/ปี
2. วชิ าหน้าทพี่ ลเมือง ชัน้ ป.1, ป.2, ป.4 และ ป.5 จดั บูรณาการกบั การเรยี นรูใ้ นรายวชิ าสงั คมฯ และมีการวดั ผลรวมอยใู่ นรายวิชาสังคมฯ
ส่วน ป.3 และ ป.6 จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม แต่จัดการเรียนการสอนใหบ้ ูรณาการลงสู่กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยไมเ่ พ่มิ ชวั่ โมงเรียน
3. กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” บูรณาการลงสู่กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(อ้างอิงจาก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ งการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ลงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลักสตู รกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 20
โครงสรา้ งเวลาเรยี น : ประถมศึกษาปีท่ี 1
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
รายวชิ า/กิจกรรม 840
รายวชิ าพนื้ ฐาน 200
ท11101 ภาษาไทย 200
ค11101 คณิตศาสตร์ 80
ว11101 วทิ ยาศาสตร์ 40
ส11101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40
ส11102 ประวตั ิศาสตร์ 40
พ11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40
ศ11101 ศลิ ปะ 40
ง11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 160
อ11101 ภาษาอังกฤษ 40
รายวิชาเพิ่มเตมิ 40
อ11201 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 120
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 40
ก11901 กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรยี น 30
ก11902 ลูกเสอื /เนตรนารี 40
ก11903 ชุมนุม 10
ก11904 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 1,000
หมายเหตุ :
1. วิชาหน้าทพี่ ลเมอื ง จดั บูรณาการกับการเรยี นร้ใู นรายวชิ าสังคมฯ และมีการวดั ผลรวมอยใู่ นรายวชิ าสังคมฯ
2. กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้” บรู ณาการลงสูก่ จิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
(อา้ งองิ จาก ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งการบริหารจัดการเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ลงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ : หลกั สตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 21
โครงสรา้ งเวลาเรยี น : ประถมศึกษาปีท่ี 2
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
รายวิชา/กจิ กรรม 840
รายวชิ าพืน้ ฐาน 200
ท12101 ภาษาไทย 200
ค12101 คณิตศาสตร์ 80
ว12101 วิทยาศาสตร์ 40
ส12101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40
ส12102 ประวัตศิ าสตร์ 40
พ12101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 40
ศ12101 ศลิ ปะ 40
ง12101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 160
อ12101 ภาษาองั กฤษ 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
อ12201 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 120
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40
ก12901 กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน 30
ก12902 ลกู เสอื /เนตรนารี 40
ก12903 ชุมนมุ 10
ก12904 กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรียนทงั้ สิ้น 1,000
หมายเหตุ :
1. วิชาหนา้ ทพี่ ลเมือง จดั บูรณาการกับการเรียนรูใ้ นรายวชิ าสงั คมฯ และมกี ารวัดผลรวมอย่ใู นรายวชิ าสังคมฯ
2. กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บรู ณาการลงสู่กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
(อ้างอิงจาก ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ งการบรหิ ารจัดการเวลาเรยี นของสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ลงวนั ที่ 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลักสูตรกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 22
โครงสรา้ งเวลาเรยี น : ประถมศึกษาปีท่ี 3
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
รายวิชา/กิจกรรม 880
รายวชิ าพ้นื ฐาน 200
ท13101 ภาษาไทย 200
ค13101 คณิตศาสตร์ 80
ว13101 วิทยาศาสตร์ 40
ส13101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40
ส13102 ประวตั ิศาสตร์ 40
พ13101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40
ศ13101 ศิลปะ 40
ง13101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 200
อ13101 ภาษาองั กฤษ 40
รายวิชาเพม่ิ เติม 40
ส13233 หน้าท่พี ลเมือง 120
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 40
ก13901 กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน 30
ก13902 ลูกเสอื /เนตรนารี 40
ก13903 ชุมนุม 10
ก13904 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรียนทงั้ สนิ้ 1,040
หมายเหตุ :
1. วชิ าหน้าที่พลเมอื ง จัดการเรียนการสอนบรู ณาการลงสู่กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน โดยไมเ่ พมิ่ ชวั่ โมงเรยี น
2. กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้” บรู ณาการลงสูก่ ิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
(อ้างอิงจาก ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ : หลักสตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 23
โครงสรา้ งเวลาเรยี น : ประถมศึกษาปีท่ี 4
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
รายวชิ า/กจิ กรรม 840
รายวชิ าพ้ืนฐาน 160
ท14101 ภาษาไทย 160
ค14101 คณิตศาสตร์ 120
ว14101 วิทยาศาสตร์ 80
ส14101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40
ส14102 ประวตั ศิ าสตร์ 80
พ14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ14101 ศิลปะ 40
ง14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80
อ14101 ภาษาอังกฤษ 40
รายวิชาเพิม่ เติม 40
ส14201 คอมพวิ เตอร์ 120
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 40
ก14901 กจิ กรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี น 30
ก14902 ลูกเสอื /เนตรนารี 40
ก14903 ชุมนมุ 10
ก14904 กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรียนท้ังส้นิ 1,000
หมายเหตุ :
1. วิชาหน้าท่ีพลเมือง จัดบูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวชิ าสังคมฯ และมกี ารวัดผลรวมอยู่ในรายวชิ าสงั คมฯ
2. กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” บรู ณาการลงสู่กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น
(อ้างองิ จาก ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื งการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบา้ นไอร์โซ : หลักสูตรกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 24
โครงสรา้ งเวลาเรียน : ประถมศึกษาปีท่ี 5
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
รายวชิ าพน้ื ฐาน 840
ท15101 ภาษาไทย 160
ค15101 คณิตศาสตร์ 160
ว15101 วทิ ยาศาสตร์ 120
ส15101 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80
ส15102 ประวตั ิศาสตร์ 40
พ15101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ15101 ศิลปะ 80
ง15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40
อ15101 ภาษาอังกฤษ 80
รายวิชาเพิ่มเตมิ 40
ส15201 คอมพวิ เตอร์ 40
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120
ก15901 กจิ กรรมแนะแนว 40
กจิ กรรมนกั เรยี น
ก15902 ลูกเสอื /เนตรนารี 30
ก15903 ชุมนมุ 40
ก15904 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรยี นทัง้ สิน้ 1,000
หมายเหตุ :
1. วิชาหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง จดั บรู ณาการกบั การเรยี นรู้ในรายวชิ าสงั คมฯ และมีการวดั ผลรวมอยู่ในรายวชิ าสงั คมฯ
2. กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บูรณาการลงสูก่ จิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
(อา้ งอิงจาก ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ งการบริหารจัดการเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรียนบ้านไอร์โซ : หลกั สูตรกลมุ่ สาระภาษาไทย >>> 25
โครงสรา้ งเวลาเรยี น : ประถมศึกษาปีท่ี 6
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
รายวชิ าพืน้ ฐาน 840
ท16101 ภาษาไทย 160
ค16101 คณติ ศาสตร์ 160
ว16101 วิทยาศาสตร์ 120
ส16101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80
ส16102 ประวัติศาสตร์ 40
พ16101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40
ศ16101 ศิลปะ 40
ง16101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80
อ16101 ภาษาองั กฤษ 120
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 40
ส16236 หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 40
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120
ก16901 กจิ กรรมแนะแนว 40
กจิ กรรมนักเรียน
ก16902 ลูกเสือ/เนตรนารี 30
ก16903 ชุมนมุ 40
ก16904 กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ 1,000
หมายเหตุ :
1. วชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื ง จดั การเรยี นการสอนบูรณาการลงสกู่ จิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน โดยไมเ่ พมิ่ ชัว่ โมงเรียน
2. กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้” บรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น
(อา้ งองิ จาก ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ งการบริหารจัดการเวลาเรยี นของสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2560)
โรงเรยี นบ้านไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 26
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน 200 ชวั่ โมง
จานวน 200 ชั่วโมง
ท11101 ภาษาไทย จานวน 200 ชวั่ โมง
ท12101 ภาษาไทย จานวน 160 ชั่วโมง
ท13101 ภาษาไทย จานวน 160 ชว่ั โมง
ท14101 ภาษาไทย จานวน 160 ช่ัวโมง
ท15101 ภาษาไทย
ท16101 ภาษาไทย
โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ : หลักสตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 27
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย
รายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
ฝกึ อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจองและข้อความส้นั ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม เล่า
เรือ่ งย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอ นาเสนอเร่อื งท่อี ่าน บอกความหมาย
ของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญท่ีมักพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัว
บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนส่ือสารด้วยคาและประโยคง่าย ๆ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝกึ ทักษะในการฟงั ฟงั คาแนะนา คาส่งั งา่ ย ๆ และปฏบิ ัตติ าม ตอบคาถาม เล่าเรือ่ ง พดู แสดงความคดิ เห็น
และความรสู้ ึกจากเร่ืองท่ฟี งั และดู พดู สอื่ สารได้ตามวตั ถุประสงค์ เนน้ มารยาทในการฟัง การดูและการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรยี บเรยี งคาเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ ต่อคาคลอ้ งจองงา่ ยๆ
บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกท่องจาบท
อาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้
ทักษะการฟงั การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรกั ษ์ภาษาไทยและตวั เลขไทย สามารถนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชีวิตประจาวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้วี ัด
โรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ : หลกั สูตรกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 28
ท12101 ภาษาไทย
รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
ฝึกอา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความและบทร้อยกรองงา่ ย ๆ อธิบายความหมายของคาและขอ้ ความ
ท่ีอ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์
เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตาม
คาสง่ั หรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองส้ัน ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้น ๆ ตาม
จินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสาคัญของเรื่อง ต้ัง
คาถาม ตอบคาถาม พดู แสดงความคดิ เห็น ความรสู้ ึก พดู ส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟัง
การดแู ละการพูด
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ฝึกจับใจความสาคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือนาไปใช้
ในชีวติ ประจาวัน รอ้ งบทรอ้ งเลน่ สาหรบั เด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณค่า
ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝกึ ปฏบิ ัติ อธิบาย บนั ทกึ การต้ังคาถาม
ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพดู พดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนรุ กั ษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชีว้ ัด
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 29
ท13101 ภาษาไทย
รายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
ฝกึ อา่ นออกเสียงคา ข้อความ เรอ่ื งส้นั ๆ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคาและข้อความท่ี
อา่ น ตัง้ คาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ สรปุ ความรู้ ข้อคิดจากเร่อื งที่อา่ น เพอื่
นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน เลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองทอี่ ่าน อ่านขอ้ เขยี นเชิง
อธิบาย และปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มี
มารยาทในการอา่ น
ฝกึ คดั ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขยี นบรรยาย เขยี นบนั ทึกประจาวนั เขียนเรอื่ งตามจินตนาการ มี
มารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดง
ความคิดเหน็ ความรู้สึก พูดส่อื สารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู
ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าท่ีของคา ใช้
พจนานกุ รมคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคงา่ ย ๆ แตง่ คาคล้องจองและคาขวญั เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ
ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรม เพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก
เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่
กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝกึ
ปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนรุ กั ษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชี้วัด
โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ : หลกั สูตรกลุม่ สาระภาษาไทย >>> 30
ท14101 ภาษาไทย
รายวิชาพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่
อ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี
อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่าน เพื่อ
นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับ
เรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้
ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขยี น เขยี นยอ่ ความ
จากเรื่องสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเร่ือง
ตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องท่ีฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง
และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล
จากเร่ืองทฟ่ี งั และดู พดู รายงานเรื่องหรอื ประเด็นทีศ่ กึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การดแู ละการสนทนา มีมารยาทในการ
ฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบุ
ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
แตง่ บทร้อยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้
ระบขุ ้อคิดจากนิทานพ้นื บ้านหรอื นิทานคติธรรมอธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ิตจริงรอ้ งเพลง
พื้นบ้านท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ กระบวนการส่อื ความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝกึ ปฏบิ ัตอิ ธบิ าย บนั ทกึ การ
ตัง้ คาถาม ตอบคาถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดแู ละการพูดพดู แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพยี งและ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ช้วี ัด
โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ : หลกั สตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 31
ท15101 ภาษาไทย
รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
ฝึกอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความท่ีเป็นการ
บรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนยั แยกข้อเท็จจริง ข้อคดิ เหน็ วิเคราะห์ แสดงความคิดเหน็ อา่ น
งานเขียนเชงิ อธิบาย คาสั่ง ขอ้ แนะนา และปฏิบัตติ าม เลอื กอ่านหนังสอื ที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ มมี ารยาทในการ
อา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเร่ือง แผนภาพ
ความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบ
รายการตา่ ง ๆ เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคาถาม ตอบคาถาม
วเิ คราะหค์ วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด
ระบชุ นดิ และหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถ่นิ ใชค้ าราชาศัพท์ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใชส้ านวนไดถ้ ูกตอ้ ง
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี
สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบท
ร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อ
ความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธบิ าย บนั ทึก การต้งั คาถาม ตอบคาถาม ใชท้ กั ษะการฟงั การดแู ละ
การพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความร้ไู ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนาไปประยุกต์ใชก้ ับชีวติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชว้ี ดั
โรงเรยี นบา้ นไอร์โซ : หลักสตู รกล่มุ สาระภาษาไทย >>> 32
ท16101 ภาษาไทย
รายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น
โวหาร อ่านเร่ืองส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติ
ตาม อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภมู ิและกราฟ เลอื กอ่านหนังสอื ตามความสนใจ
และอธบิ ายคณุ คา่ ที่ไดร้ ับ มีมารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคิดเพอื่ ใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเร่ืองอ่าน เขยี น
จดสว่ นตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขียน
ฝกึ ทกั ษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจจุดประสงค์ของเร่ืองท่ีฟงั และดู ตั้งคาถาม
และตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมี
เหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล
และน่าเชื่อถอื มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด
ฝึกวเิ คราะหช์ นิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ใชค้ าได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอก
ความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์
เปรียบเทียบสานวนท่เี ป็นคาพงั เพยและสภุ าษิต
ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทาน
พ้ืนบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ ท่องจา
บทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรอง โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา
ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการสอื่ ความ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการสงั เกต กระบวนการแยกข้อเท็จจรงิ กระบวนการคน้ คว้า
กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ัง
คาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวช้วี ัด
โรงเรยี นบา้ นไอรโ์ ซ : หลักสตู รกลุ่มสาระภาษาไทย >>> 33
ความรู้ คู่คณุ ธรรม นาสคู่ ณุ ภาพ