The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jutamas.wichaton, 2021-10-15 02:34:45

แผนการจัดการเรียนรู้การส่งและจ่ายไฟฟ้า

การส่งและจ่ายไฟฟ้า

แผนการจดั การเรียนรู้

แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี บรู ณาการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
คา่ นยิ ม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3D ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

คา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ อาเซยี น และพฒั นา
การเรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC)

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า รหสั วชิ า 30104-2005
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สูง พทุ ธศกั ราช 2563

สาขาวิชาชา่ งไฟฟ้า สาขางานไฟฟา้ กำลัง
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

โดย
นางสาวจุฑามาศ วิชาทน
พนักงานราชการ (คร)ู
แผนกวิชาชา่ งไฟฟา้ กำลัง

งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วิทยาลัยเทคนคิ สระแกว้
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

แผนการจัดการเรียนรู้
แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชพี บูรณาการ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 3D ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ อาเซียน และการพฒั นา
การเรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC)

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

วิชาการส่งและจ่ายไฟฟ้า รหัสวชิ า 30104 -2005

จดั ทำโดย
นางสาวจฑุ ามาศ วิชาทน

วฒุ กิ ารศกึ ษา วศิ วกรรมศาสตร์บณั ฑติ สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้

รหัสวชิ า...........30104-2005................. โครงการสอนรายวชิ า
ระดบั ชัน้ ......ปวส......... รายวิชา.....การส่งและจ่ายไฟฟา้ ....................
จำนวนชั่วโมง/สัปดาห์......3........ชวั่ โมง สาขาวิชา.....ไฟฟา้ .........สาขางาน.......ไฟฟ้ากำลัง...........
จำนวน..........3.........หนว่ ยกิต

1. จดุ ประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เข้าใจระบบการสง่ และจ่ายไฟฟ้า อุปกรณแ์ ละวงจรระบบสง่ และจ่ายไฟฟ้า
2. คำนวณหาพารามิเตอรต์ า่ งๆ ของระบบสายสง่
3. มีกิจนสิ ยั ในการทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ดว้ ยความประณีต รอบคอบ และศึกษาค้นควา้ เพมิ่ เตมิ
2. มาตรฐานรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบการสง่ และจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์และวงจรระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า

2. แสดงความรู้เก่ยี วกบั แรงดึงและระยะหย่อนของสายไฟฟ้า

3. พยากรณ์โหลดหาพารามเิ ตอรต์ ่างๆ ของระบบสายส่ง

3. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาระบบการส่งและจ่ายไฟฟ้า การพัฒนาระบบไฟฟ้ากำลัง โครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง การผลิต
ไฟฟ้า ระบบส่งกำลังไฟฟ้า การหาแรงดึงและระยะหย่อนของสายไฟฟ้า ค่าพารามิเตอร์ของสายส่ง
ความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในระบบสานส่ง และระบบจำหน่ายของสถานีไฟฟ้าย่อย การ
จัดสัมพันธ์ของฉนวนระบบจำหน่าย คุณลักษณะของโหลด การพยากรณ์โหลด การส่งกำลังไฟฟ้าด้วยแรงดัน
สูง การคำนวณระบบต่อหนว่ ย

4. การวเิ คราะหเ์ น้อื หา

มาตรฐานรายวชิ า เนื้อหา/สาระ

แสดงความรู้เก่ียวกับระบบการส่งและจ่ายไฟฟ้า หนว่ ยที่ 1 ระบบการส่งและจ่ายพลังงานไฟฟ้า

อุปกรณ์และวงจรระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า 1.1 โครงสรา้ งของระบบไฟฟ้ากำลงั

1.2 วงจรของระบบสายสง่ และจา่ ยไฟฟ้า

1.3 แรงดนั ในระบบส่งและจา่ ยพลังงานไฟฟ้า

1.4 ศกึ ษาค้นควา้ และเรยี นรู้ด้วยตวั เอง ปฏิบตั ิกิจกรรมร่วม

กลมุ่ มีความกระตือรอื รน้ ในการใฝ่หาความรู้ มีความ

รบั ผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย และแสดงออกในทาง

สร้างสรรค์

แสดงความรู้เก่ียวกับระบบการส่งและจ่ายไฟฟ้า หน่วยที่ 2 อุปกรณใ์ นระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

อุปกรณ์และวงจรระบบสง่ และจ่ายไฟฟา้ 2.1 ชนิดของเสาไฟฟ้า (Electricity Tower)

2.2 การปกั เสาพาดสายไฟฟ้า

2.3 ฉนวนไฟฟา้ ของระบบสายส่งไฟฟ้า

2.4 ลกั ษณะและชนดิ ของสายส่งไฟฟา้

2.5 อุปกรณ์ปอ้ งกนั วงจรของระบบสายส่งไฟฟ้า

2.6 ศึกษาคน้ คว้าและเรียนร้ดู ว้ ยตัวเอง ปฏิบัติกจิ กรร

ร่วมกลุ่ม มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ มี

ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และแสดงออก

ในทางสรา้ งสรรค์

พยากรณ์โหลดหาพารามิเตอร์ต่างๆ ของระบบ หนว่ ยท่ี 3 การหาค่าพารามเิ ตอรต์ ่างๆ ของสายส่งไฟฟ้า
สายส่ง 3.1 ค่าความต้านทานและค่าความตา้ นทานประสทิ ธิผล
3.2 ค่าความเหน่ียวนำของสายสง่ ไฟฟา้ (Inductance ; L)
3.3 คา่ ความจุไฟฟา้ ของสายส่งไฟฟา้ (Capacitance ; C)
3.4 ศกึ ษาค้นคว้าและเรยี นรู้ด้วยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรม ร่วม
กลุ่ม มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ มีความ
รับผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย และแสดงออกในทาง
สร้างสรรค์

พยากรณ์โหลดหาพารามิเตอร์ต่างๆ ของระบบ หนว่ ยท่ี 4 การคำนวณกระแสและแรงดนั ไฟฟา้ ในสายส่ง

สายส่ง ไฟฟ้า
4.1 โครงสร้างของระบบผลิต และวงจรสมมูลของสายส่ง

ไฟฟ้า

4.2 สายส่งระยะสน้ั (Short Transmission Line)

4.3 สายส่งระยะปานกลาง (Medium Transmission Line)

4.4 สายสง่ ระยะยาว (Long Transmission Line)

4.5 ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรมร่วม

กลุ่ม มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ มีความ

รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และแสดงออกในทาง

สรา้ งสรรค์

แสดงความรู้เกี่ยวกับแรงดึงและระยะหย่อนของ หน่วยท่ี 5 การคำนวณหาแรงดึงและระยะหย่อนของสายส่ง

สายไฟฟา้ ไฟฟา้

5.1 การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหย่อนในสายตวั นำ

5.2 การคำนวณกรณที ่ีเสาไฟฟ้าอยูต่ า่ งระดับกนั

5.3 ผลกระทบตอ่ เสาท่เี กิดจากแรงลม

5.4 คา่ แฟกเตอร์ความปลอดภัย

5.5 ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรมร่วม

กลุ่ม มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ มีความ

รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และแสดงออกในทาง

สรา้ งสรรค์

พยากรณ์โหลดหาพารามเิ ตอร์ตา่ งๆ ของระบบ หนว่ ยที่ 6 การคำนวณหาคา่ เปอร์ยนู ิต
สายส่ง 6.1 รแี อกแตนซ์ไดอะแกรม (Reactance Diagram)
6.2 การคำนวณหาค่าเปอร์ยูนติ
6.3 การกำหนดคา่ ฐานในระบบเปอรย์ ูนิต
6.4 การคำนวณหาคา่ เปอรย์ ูนิตของระบบไฟฟ้า 1 เฟส
6.5 การคำนวณหาคา่ เปอร์ยนู ติ ของระบบไฟฟา้ 3 เฟส
6.6 การคำนวณหาค่าอิมพีแดนซ์เปอรย์ ูนติ เม่ือค่าฐานต่างกัน
6.7 ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรมร่วม
กลุ่ม มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ มีความ
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และแสดงออกในทาง
สร้างสรรค์

5. การแบ่งหนว่ ยการสอน

หนว่ ยการสอน/การเรียนร้ทู ฤษฎแี ละปฏบิ ัติ

รหัสวิชา..........30104-2005............... รายวิชา...... .....การสง่ และจ่ายไฟฟา้ ...........

ทฤษฎี........3.....ชวั่ โมง/สัปดาห์ ปฏิบัต.ิ ...........-........ช่วั โมง/สัปดาห์

หนว่ ยที่ หัวข้อการสอน เวลา(ช่ัวโมง)
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1 ระบบการสง่ และจ่ายพลังงานไฟฟ้า 6-

2 อุปกรณ์ในระบบส่งและจา่ ยพลังงานไฟฟา้ 9-

3 การหาคา่ พารามิเตอร์ตา่ ง ๆ ของสายส่งไฟฟ้า 12 -

4 การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าในสายส่งไฟฟา้ 12 -

5 การคำนวณหาแรงดึงและระยะหย่อนของสายส่งไฟฟ้า 12 -

6 การคำนวณหาคา่ เปอรย์ ูนติ 9-

54 -

54

6. แผนการประเมนิ ผลการเรยี น

รหสั วิชา.......30104-2005................รายวชิ า.........การสง่ และจ่ายไฟฟ้า...................

6.1 แนวการประเมนิ ผลการเรียน

6.1.1 พุทธพิสยั ..............80..................คะแนน

6.1.2 ทกั ษะพสิ ัย............-................คะแนน

6.1.3 คุณธรรม จริยธรรม 20 คะแนน

6.2 แผนการวัด

ประเมิน หนว่ ยที่ คะแนนระหว่างภาค คะแนน เครอ่ื งมือการวดั ผล หมาย
คร้ังที่ เรอ่ื ง/ขอบเขต/เนือ้ หา เหตุ

1 1 ระบบการส่งและจ่ายพลังงานไฟฟา้ 10 ใบงานท่ี 1-2

2 2 อปุ กรณใ์ นระบบสง่ และจ่ายพลงั งานไฟฟา้ 10 ใบงานท่ี 3-4

3 3 การหาคา่ พารามเิ ตอร์ต่าง ๆ ของสายสง่ 10 ใบงานท่ี 5-6
ใบงานท่ี 7-8
ไฟฟ้า ใบงานท่ี 9
ใบงานที่ 10
4 4 การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าใน 10

สายส่งไฟฟ้า

5 5 การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหยอ่ นของ 10

สายสง่ ไฟฟ้า

6 6 การคำนวณหาคา่ เปอร์ยนู ิต 10

รวมคะแนนระหว่างภาค 60
คะแนนสอบปลายภาค 20
คะแนนคุณธรรม จริยธรรมฯ 20
100
คะแนนรวม

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตร

รหสั วชิ า 3104 – 2005 ชือ่ วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า ( ท3 – ป0 – น3 )

ท่ี เร่อื ง เนอ้ื หา ชว่ั โมง

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม

54 - 54

1 ระบบการสง่ และจ่ายพลังงานไฟฟ้า 1.1 โครงสร้างของระบบไฟฟ้า 6 - 6

กำลงั

1.2 วงจรของระบบสายส่งและ

จา่ ยไฟฟา้

1.3 แรงดนั ในระบบสง่ และจา่ ย

พลังงานไฟฟา้

2 อปุ กรณ์ในระบบสง่ และจา่ ยพลงั งานไฟฟ้า 2.7 ชนิดของเสาไฟฟ้า 9 - 9
(Electricity Tower)

2.8 การปักเสาพาดสายไฟฟา้
2.9 ฉนวนไฟฟา้ ของระบบสายส่ง

ไฟฟ้า
2.10 ลกั ษณะและชนิดของ

สายสง่ ไฟฟ้า
2.11 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั วงจรของ

ระบบสายส่งไฟฟ้า
2.12 ศกึ ษาค้นคว้าและเรยี นรู้

ด้วยตัวเอง ปฏบิ ัตกิ ิจกรร
รว่ มกลมุ่ มคี วาม
กระตือรอื ร้นในการใฝห่ า
ความรู้ มคี วามรับผิดชอบใน
งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย และ
แสดงออกในทางสร้างสรรค์

3 การหาค่าพารามิเตอรต์ า่ งๆ ของสายสง่ 3.1 คา่ ความตา้ นทานและคา่ 12 - 12
ไฟฟา้ ความตา้ นทานประสทิ ธผิ ล
3.4 คา่ ความเหนย่ี วนำของสายส่ง

ไฟฟา้ (Inductance ; L)

3.5 คา่ ความจุไฟฟา้ ของสายสง่
ไฟฟา้ (Capacitance ; C)

3.4 ศึกษาคน้ ควา้ และเรียนรู้ด้วย
ตวั เอง ปฏิบัติกิจกรรม รว่ มกลมุ่
มีความกระตือรือรน้ ในการใฝ่หา
ความรู้ มคี วามรบั ผิดชอบในงาน
ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย และแสดงออก
ในทางสรา้ งสรรค์

4 การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าในสาย 4.2 โครงสร้างของระบบผลติ 12 - 12
- 12
สง่ ไฟฟา้ และวงจรสมมูลของสายส่ง

ไฟฟา้

4.2 สายสง่ ระยะสนั้ (Short

Transmission Line)

4.3 สายส่งระยะปานกลาง

(Medium Transmission Line)

4.4 สายส่งระยะยาว (Long

Transmission Line)

4.5 ศกึ ษาค้นควา้ และเรยี นรู้ด้วย

ตวั เอง ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมร่วมกลมุ่

มคี วามกระตือรือรน้ ในการใฝ่หา

ความรู้ มีความรับผิดชอบในงาน

ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย และแสดงออก

ในทางสร้างสรรค์

5 การคำนวณหาแรงดึงและระยะหย่อนของ 5.5 การคำนวณหาแรงดึงและ 12

สายส่งไฟฟา้ ระยะหย่อนในสายตัวนำ

5.6 การคำนวณกรณที ่เี สาไฟฟ้า

อยตู่ ่างระดับกัน

5.7 ผลกระทบต่อเสาทเ่ี กดิ จาก

แรงลม

5.8 คา่ แฟกเตอรค์ วามปลอดภยั

5.5 ศกึ ษาคน้ คว้าและเรยี นรู้ด้วย

ตวั เอง ปฏิบตั ิกิจกรรมรว่ มกลุ่ม

6 การคำนวณหาค่า เปอร์ยูนติ มคี วามกระตือรือรน้ ในการใฝ่หา 9 - 12
รวม ความรู้ มคี วามรับผิดชอบในงาน 54 - 54
ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย และแสดงออก
ในทางสรา้ งสรรค์
6.3 รีแอกแตนซ์ไดอะแกรม

(Reactance Diagram)
6.4 การคำนวณหาคา่ เปอร์ยนู ิต
6.5 การกำหนดค่าฐานในระบบ

เปอร์ยูนิต
6.6 การคำนวณหาคา่ เปอรย์ ูนิ

ตของระบบไฟฟ้า 1 เฟส
6.5 การคำนวณหาคา่ เปอรย์ ูนิ
ตของระบบไฟฟา้ 3 เฟส
6.6 การคำนวณหาค่าอิมพีแดนซ์
เปอรย์ ูนิตเม่ือค่าฐานต่างกัน
6.7 ศกึ ษาค้นคว้าและเรยี นรดู้ ้วย
ตัวเอง ปฏิบตั กิ จิ กรรมรว่ มกลมุ่
มีความกระตือรอื รน้ ในการใฝ่หา
ความรู้ มีความรบั ผิดชอบในงาน
ทีไ่ ด้รับมอบหมาย และแสดงออก
ในทางสรา้ งสรรค์

















แผนการสอน/การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 1

ชอื่ วิชา การสง่ และจา่ ยไฟฟ้า สอนสปั ดาห์ที่ 1 - 2

ชื่อหน่วย ระบบส่งจา่ ยกำลังไฟฟ้า คาบรวม 72

ช่ือเรือ่ ง ระบบสง่ จา่ ยกำลงั ไฟฟา้ จำนวนคาบ 6

สาระสำคญั

พลงั งานไฟฟ้าที่ใช้กนั ทุกวนั นี้ มแี หลง่ ผลติ จากหลายแหง่ และตดิ ต้งั อยู่ไกลจากผู้ใช้ไฟ จึงต้องอาศยั การสง่

จา่ ยกำลงั ไฟฟ้าที่มีประสทิ ธภิ าพเชื่อถือได้ และสามารถสง่ จ่ายไดท้ ุกพ้ืนท่ี ดงั นน้ั เราจะตอ้ งศกึ ษา ระบบกำลังไฟฟ้า

การจดั ระบบใหม้ คี วามมัน่ คงและมีเสถียรภาพในการจ่ายไฟ และทราบเก่ียวกับหม้อแปลงและระบบจำหน่ายได้

อยา่ งดี ดงั นนั้ เราจึงควรศกึ ษาเรอ่ื งนเี้ พ่ือชว่ ยให้ประเทศไทยมไี ฟฟ้าใช้ได้อย่างทั่วถึง

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิง่ ท่ตี ้องการใหเ้ กิดการประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม เข้าดว้ ยกนั )
1. เพอ่ื ให้นกั เรยี น มีความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองระบบกำลงั ไฟฟ้าและเสถียรภาพในการจ่ายไฟ
2. เพ่ือให้นกั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเร่อื งการควบคมุ ค่าแรงดันในระบบจำหนา่ ย

จุดประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้
• จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจระบบกำลังไฟฟ้า
2. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจการจดั การระบบใหม้ ีความมั่นคงและมเี สถยี รภาพในการจ่ายไฟฟา้
3. เพื่อให้เข้าใจหลกั การทำงานของหม้อแปลงและระบบจำหน่าย
4. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจการคุมค่าแรงดันในระบบจ่าย
5. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจหลกั การของชัน้ ต์คาปาซเิ ตอร์และการใช้งาน
6. เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจชนดิ และการเลือกสายไฟฟ้า
7. เพอ่ื ให้เข้าใจขอ้ กำหนดการเดินสายไฟฟา้
• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
2. อธบิ ายระบบการจำหนา่ ยไฟฟา้ ได้
3. อธิบายโครงสร้างของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคได้
4. บรรยายความหมายของระบบส่งจา่ ยกำลงั ไฟฟา้ ได้
5. บอกถงึ ประโยชน์ของการใชไ้ ฟฟา้ ได้
6. อธิบายการควบคุมคา่ แงดันในระบบจำหนา่ ยได้
7. บอกผลเสียจากการท่เี พาเวอร์แฟกเตอร์เกนิ 100%ได้
8. บอกลกั ษณะการใชง้ านการเดินสายในทอ่ โลหะอ่อนได้
9. บอกชื่อสายไฟฟา้ ท่ีใชเ้ ดนิ ในอากาศได้
10. บอกขอ้ กำหนดการเดินสายไฟฟ้า

เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)

1. ระบบกำลงั ไฟฟ้า
2. การจัดการระบบให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพในการจ่ายไฟฟา้
3. หลักการทำงานของหม้อแปลงและระบบจำหนา่ ย
4. การคมุ ค่าแรงดันในระบบจา่ ย
5. หลักการของช้ันตค์ าปาซเิ ตอร์และการใช้งาน
6. การเลอื กสายไฟฟา้
7. ข้อกำหนดการเดนิ สายไฟฟ้า
• ดา้ นทกั ษะ(ปฏบิ ัติ)
1. บอกระบบการผลติ พลังงานไฟฟา้ ได้
2. อธบิ ายระบบการจำหนา่ ยไฟฟ้าได้
3. อธิบายโครงสรา้ งของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาคได้
4. บรรยายความหมายของระบบส่งจ่ายกำลงั ไฟฟา้ ได้
5. บอกถึงประโยชนข์ องการใชไ้ ฟฟา้ ได้
6. อธิบายการควบคุมค่าแงดนั ในระบบจำหน่ายได้
7. บอกผลเสียจากการทเ่ี พาเวอร์แฟกเตอร์เกิน 100%ได้
8. บอกลักษณะการใช้งานการเดนิ สายในท่อโลหะอ่อนได้
9. บอกชอ่ื สายไฟฟ้าท่ใี ชเ้ ดนิ ในอากาศได้
10.บอกขอ้ กำหนดการเดินสายไฟฟา้
• ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม/ คุณลักษณะที่ประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/อาเซียน

1. สอนและฝกึ หดั ให้นกั เรียน นกั ศึกษารจู้ ักการทำงานเป็นกลุม่ การรับฟังความคิดเห็นเหตผุ ลของผู้อ่นื
และปฏบิ ตั ิหนา้ ทีท่ ่ีได้รับมอบหมาย

2. ส่งเสริมกิจกรรมทสี่ ร้างความสามคั คี เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ช่วยเหลอื เก้ือกูล และรักใครป่ รองดองใน
สถานศกึ ษา

3. กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นนักศึกษากล้าท่ีจะแสดงความคิดเห็นในเร่ืองตา่ งๆ เช่น กิจกรรมใน
ช้นั เรยี น กิจกรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาและกจิ กรรมของชุมชนและเตรยี มตัวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน

4. ปลกู จติ สำนกึ ใหน้ กั เรยี น นักศกึ ษา มคี ุณธรรม จริยธรรม รู้รบั ผิดชอบชว่ั ดี มีความภูมิใจในความเปน็
ไทย

5. ให้ความรู้เกี่ยวกบั โทษภัยของยาเสพติด และการหลกี เล่ยี งห่างไกลยาเสพตดิ เพื่อให้มภี ูมิคมุ้ กนั อย่าง
ยง่ั ยนื
• กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน

ข้นั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น ข้นั สนใจปัญหา
1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียน 1. นกั เรยี นจดบันทกึ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ขัน้ สอนทฤษฎี ขั้นศึกษาข้อมลู
2. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ครบู รรยายเน้ือหาประกอบแผ่นใส/ power point 3. นกั เรียนฟงั ครูบรรยายและจดบันทกึ
4. ครใู หน้ กั เรียนศึกษาเน้ือหาการเรียนรู้ในหนงั สอื 4. นักเรียนศึกษาหนว่ ยการเรียนท่ีไดร้ ับมอบหมาย
เรียน 5. นกั เรยี นตอบคำถาม
5. ซักถามนกั เรยี นเกี่ยวกบั เนือ้ หาทเี่ รียน
ขน้ั สอนปฏิบตั ิ ข้ันศึกษาข้อมลู
6. ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาใบงานการทดลอง 6. นกั เรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำหน่วยการ
7. ครใู หน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่มจัดเตรยี มเครือ่ งมือและ เรียนรู้
อุปกรณ์ตามใบงานการทดลอง 7. นักเรียนจดั เตรยี มเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์
8. ครสู ังเกตการปฏิบตั ิงานและคอยให้คำแนะนำ
อยา่ งใกลช้ ดิ

ขน้ั สรุป ข้ันพยายามและขนั้ สำเร็จผล

9. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปผลการเรียนรู้ 8. นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ เน้อื หาท่เี รยี นและจดบันทกึ

10. ครใู ห้นกั เรยี นปฏิบตั ิตามใบงานการทดลอง 9. นกั เรยี นปฏิบตั ติ ามใบงานการทดลองประจำหนว่ ยการ

ประจำหน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ เม่อื พบปัญหาให้สอบถามครผู ูส้ อน

11. ครูคอยสงั เกตลำดับข้ันตอนการทำงานและให้ 10. นกั เรยี นสง่ ผลการปฏิบตั งิ านใหค้ รตู รวจ

คำแนะนำเม่ือพบนักเรยี นปฏบิ ตั ิไม่ถูกต้อง 11.นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

12. ครูใหน้ กั เรยี นทีป่ ฏิบัตงิ านเสรจ็ แล้วส่งตรวจที่ 12. นักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ เนื้อหาและจดบันทึก

โต๊ะตรวจงานเพ่ือขอคำแนะนำและและประเมนิ ผล ประกอบด้วยสาระเก่ียวกบั เร่ืองท่เี รยี น

13. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 13. นักเรียนจดบันทึกนโยบายสถานศึกษา 3 D พรอ้ ม

14. ครูแจง้ นโยบายสถานศึกษา 3D ของกระทรวง กับอภิปรายแนวทางนำไปปฏิบตั ิ

ศกึ ษา ซ่ึงเปน็ กิจกรรมท่ีมงุ่ ส่งเสริมพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ี ใชใ้ นชีวิตประจำวันและในรายวชิ าทีเ่ รียน

คณุ ลักษณะท่ดี ีงาม 3 ด้าน คือ 1. ด้าน 14. นักเรียนรบั ฟังและจดบนั ทกึ หลักปรชั ญาของ

ประชาธิปไตย (Democracy) 2. ดา้ นคณุ ธรรม เศรษฐกจิ พอเพียงโดยมีความรบั ผดิ ชอบและพยายาม

จริยธรรม และความเป็นไทย (Decency) 3. ดา้ น สืบค้นขอ้ มูลและปฏิบัติงานให้สำเรจ็ อย่างมีเหตุผล

ภูมคิ ุ้มกนั จากยาเสพตดิ (Drug – Free) 15. นกั เรียนช่วยกนั ทำความสะอาดเครื่องมือ อปุ กรณ์ จัด

15. ครอู ธบิ ายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือ หอ้ งเรยี นใหเ้ รยี บร้อย

บรู ณาการเข้ากับกิจกรรมการเรยี นการสอน

ประกอบด้วย 1. ความพอประมาณ 2. ความมี

เหตผุ ล 3. การมีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวที่ดี

16. ครูซักถามนักเรียนว่ามีข้อสงสยั อะไรอีกหรอื ไม่

17. ครูใหน้ ักเรียนทำความสะอาดหอ้ งเรยี น

ขัน้ นำไปใช้ ขั้นนำไปใช้

18. ครูให้นักเรยี นเขียนรายงานสรปุ ผลการเรยี นรู้ 16. นักเรียนทำแบบสรุปผลการเรียนรู้ประจำหน่วยการ

19. ครบู นั ทกึ หลังการสอน เรยี น

งานที่มอบหมายหรอื กิจกรรมการวดั ผลและประเมินผล
ก่อนเรยี น
1. เปิดวีซดี ปี ระกอบการสอนเรื่องระบบสง่ จ่ายกำลังไฟฟ้า
2. ผสู้ อนนำเขา้ สู่บทเรียนบทท่ี1โดยใช้ส่ือประกอบการสอนเป็นแผน่ ใส

ขณะเรียน
1. อธบิ ายเร่ืองพนื้ ฐานระบบกำลังไฟฟา้ , การจดั การระบบใหม้ ีความม่นั คงและมีเสถยี รภาพในการ
จ่ายไฟโดยใช้แผ่นใสประกอบการบรรยาย
2. ถามเกยี่ วกับความหมายและความสำคัญของระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟา้
3. ผ้สู อนและนักเรียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาวิชาอีกครง้ั หน่ึง

หลังเรียน
1. ใหผ้ ้เู รียนแบง่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ เทา่ ๆ กัน แจกกระดาษ A4 ใหก้ ลุ่มละ 3 แผ่น
2. ให้แต่ละกลุ่มชว่ ยกันระดมความคิดเห็นวา่ จากสิ่งที่ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นร้ไู ป นำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน ใน
แตล่ ะหวั ขอ้
3. ผู้สอนสรปุ เนือ้ หาวชิ าอีกครงั้ และซักถามผ้เู รียนถึงเนอื้ หาอีกครั้งหนึ่ง
4. มอบหมายให้ผูเ้ รียนทำใบงาน1 พื้นฐานการสอื่ สารข้อมลู และ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
5. ผเู้ รยี นส่งงานกิจกรรม

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเร็จของผ้เู รียน
1. ผังมโนทศั นส์ รุปเน้ือหาในหน่วยเรียน
2. แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 ตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2

สอ่ื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้
ส่ือส่ิงพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การส่งและจา่ ยไฟฟา้ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม)
2. ผงั มโนทศั น์สรปุ เนอ้ื หาในหน่วยเรยี น ใชข้ ั้นสรุปและประเมินผล
3. แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 1 ใช้ข้ันสรปุ และประเมนิ ผล
สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เคร่อื งไมโครคอมพิวเตอร์
2. งานนำเสนอ เร่ือง การตดิ ต้ังไฟฟ้าในอาคาร
สอ่ื ของจรงิ
คาปาซิเตอร์แบงค์ หมอ้ แปลงไฟฟา้

แหล่งการเรยี นรู้
ในสถานศึกษา
1. ห้องสมดุ
2. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์

นอกสถานศึกษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิน่

การบูรณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวิชาอ่ืน
1. บรู ณาการกบั วิชาภาษาไทย ในหวั ข้อการอภปิ รายเกี่ยวกบั ระบบส่งจา่ ยกำลงั ไฟฟ้า

การประเมินผลการเรยี นรู้
ก่อนเรยี น
1. ผเู้ รยี นมีหนงั สอื วชิ า การตดิ ต้ังไฟฟ้า 2
2. ผเู้ รยี นให้ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรมบรู ณาการแบบสอดแทรก

ขณะเรียน
1. ผเู้ รยี นสามารถทดสอบหลักการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า
2. ผู้เรียนสามารถคำนวณหาคา่ คาปาซิเตอร์แบงค์ได้

หลงั เรียน
1. ตรวจผังมโนทศั นส์ รุปเนอื้ หาในหน่วยเรยี น
2. ตรวจแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1

ผลงาน/ชิน้ งาน/ผลสำเรจ็ ของผู้เรยี น
1. ผังมโนทัศน์สรุปเนอื้ หาในหน่วยเรยี นกะทัดรัดได้ใจความ
2. แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 ตอนท่ี 1 และตอนที่ 2 ถูกตอ้ งเกินร้อยละ 80 ของคำถามท้งั หมด

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
เครอื่ งมอื วดั ผลตามพทุ ธพิ ิสัย (8 คะแนน)

1. บอกระบบการผลติ พลงั งานไฟฟ้าได้ (2 คะแนน)
2. อธบิ ายระบบการจำหนา่ ยไฟฟ้าได้ (2 คะแนน)
3. อธบิ ายการควบคุมคา่ แงดนั ในระบบจำหนา่ ยได้ (2 คะแนน)
4. บอกผลเสียจากการทเ่ี พาเวอร์แฟกเตอร์เกิน 100% ได้ (2 คะแนน)

เครื่องมอื วดั ผลตามทกั ษะพิสัย (6 คะแนน)
1. อธิบายโครงสร้างของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าสว่ นภูมิภาคได้ (3 คะแนน)
2. บอกลักษณะการใช้งานการเดินสายในท่อโลหะอ่อนได้ (3 คะแนน)

เครอ่ื งมือวัดผลตามจิตพสิ ัย (6 คะแนน)
1. บรรยายความหมายของระบบส่งจา่ ยกำลังไฟฟ้าได้ (2 คะแนน)
2. บอกถึงประโยชนข์ องการใช้ไฟฟ้าได้ (2 คะแนน)
3. บอกชอื่ สายไฟฟ้าท่ีใช้เดนิ ในอากาศได้ (2 คะแนน)

เกณฑ์การวัดผลตามพุทธพิ ิสัย
การตอบคำถามขอ้ 1
ระบบการผลติ พลังงานไฟฟา้ ได้แก่ โรงต้นกำลัง หรือแหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ ต่าง ๆ เชน่ โรงไฟฟ้าพลัง

ความรอ้ น พลังความร้อนรว่ ม พลังนำ้ เป็นตน้ เรม่ิ ตน้ จากการผลติ แรงดันไม่สงู มากนัก เน่ืองจากขอ้ จำกดั ในเรื่อง
ฉนวน หลงั จากนนั้ จึงแปลงแรงดนั ใหส้ งู ขนึ้ โดยใช้หม้อแปลงไฟฟา้

การตอบคำถามข้อท่ี 2
ระบบจำหน่ายไฟฟา้ การจำหน่ายไฟฟ้าให้กบั ผู้ใช้ไฟฟ้าทว่ั ไปรบั ผดิ ชอบโดยการไฟฟ้านครหลวง

และการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค
การตอบคำถามข้อที่ 3
ระบบแรงดนั ในระบบจำหน่ายแรงต่ำและแรงสงู ที่การไฟฟ้าจา่ ยออกมาใหก้ ับผ้ใู ช้ไฟนน้ั จะมีค่าไม่

คงท่ี หรอื มีการเปลีย่ นช่วงของระดบั แรงดันเลก็ นอ้ ย สำหรับวธิ กี ารควบคมุ แรงดันระบบจำหนา่ ยใหอ้ ยู่ในชว่ งท่ี
กำหนดนน้ั การไฟฟา้ จะใช้วธิ กี ารดงั นี้

1. ใชต้ ัวเปลี่ยนจุดแยกขณะมโี หลดของหม้อแปลง
2. ตดิ ตั้งช้ันต์คาปาซิเตอร์
3. เครอื่ งควบคุมค่าแรงดนั
การตอบคำถามข้อที่ 4
ผลเสยี จากการทเ่ี พาเวอรแ์ ฟกเตอร์เกิน 100%
1. ทำให้แรงดันไฟฟา้ สงู เกนิ ซึง่ อาจทำให้อุปกรณ์ชำรดุ เสยี หายเนือ่ งจากแรงดนั เกินพิกดั
2. จะทำให้เกดิ ความคลาดเคล่ือนเพิ่มมากข้ึนกบั เครอ่ื งวัด
3. ทำให้เกดิ ความสูญเสียทางไฟฟ้าเพ่ิมขนึ้

เกณฑ์การวดั ผลตามทักษะพิสยั
ตอบคำถามข้อที่1

การไฟฟ้านครหลวง รบั ผิดชอบการจ่ายพลงั งานไฟฟ้าใหก้ บั ผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตกรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี
และสมุทรปราการ

การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค รบั ผิดชอบการจา่ ยพลงั งานไฟฟ้าให้กบั ผใู้ ชไ้ ฟฟา้ ท่วั ประเทศ ยกเวน้ พ้นื ที่
รบั ผดิ ชอบของการไฟฟ้านครหลวง

ตอบคำถามข้อท่ี2
การเกนิ สายในทอ่ โลหะอ่อน (Fiexible Metal Conduit) มีลักษณะการใช้งานดังนี้
1. ตดิ ต้ังในสถานทีแ่ ห้ง
2. ใชส้ ำหรับเดนิ เขา้ บริภณั ฑ์ไฟฟา้ เช่น มอเตอร์ กล่องตอ่ สาย โคมไฟฟา้ ความยาวไมเ่ กนิ 2 เมตร
3. หา้ มใชท้ ่อโลหะอ่อนดงั น้ี
- ในปล่องลฟิ ตห์ รอื ปล่องขนของ
- ในห้องแบตเตอร์ร่ี
- ในบรเิ วณอันตราย นอกจากระบุไวเ้ ป็นอย่างอนื่
- ฝงั ดินหรือในคอนกรตี

เกณฑ์การวัดผลตามจิตพิสยั
การตอบคำถามข้อที่ 1
อยู่ในดจุ พินิจของผู้สอน
การตอบคำถามข้อท่ี 2
อยใู่ นดจุ พนิ ิจของผู้สอน
การตอบคำถามขอ้ ที่ 3
สายไฟฟา้
สายไฟฟา้ ที่ใชก้ ับระบบจำหนา่ ยแรงสูงของการไฟฟา้ แยกได้ 2 ลกั ษณะ คือ สายไฟท่ีใชเ้ ดนิ กับอากาศและ

สายไฟฟ้าในระบบใตด้ ิน
สายไฟฟา้ ทใี่ ช้เดนิ ในอากาศ มหี ลายชนดิ ดงั นี้
1. สายเปลือย
2. สายหุ้มฉนวน
2.1 สายห้มุ ฉนวนบางสว่ น
2.2 สาย SAC
2.3 สายพรแี อสเสมบลี แอเรียล เคเบลิ
สายไฟฟ้าในระบบใต้ดนิ สายตวั นำมักจะทำจากทองแดงหุ้มฉนวน XLPE พร้อมดว้ ยซลี ด์

กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน
หน่วยการเรยี นท่ี 1 เรื่อง การส่งจา่ ยพลังงานไฟฟ้า

คำช้แี จง 1. จงทำเคร่ืองหมายกากบาท () ทบั ข้อท่ีถูกทส่ี ดุ เพยี งข้อเดียวลงในกระดาษคำตอบ
2. เวลาสอบ 10 นาที
-----------------------------------------------------

1. ขอ้ ใดไม่ใชส่ ว่ นประกอบระบบสง่ จา่ ยพลงั งานไฟฟา้

ก. หมอ้ แปลงไฟฟา้ ข. สายส่ง

ค. ผู้ใชไ้ ฟฟ้า ง. สถานีจา่ ยไฟย่อย

2. จังหวัดใดทไ่ี ม่อยใู่ นเขตรับผดิ ชอบชอบของการไฟฟา้ นครหลวง

ก. สมุทรปราการ ข. นครปฐม

ค. นนทบรุ ี ง. ปทมุ ธานี

3. โครงข่ายระบบจำหน่ายตามข้อใด หากสายป้อนขดั ข้องจะไมส่ ามารถแก้ปัญหาเร่ืองไฟดบั ได้

ก. แบบวงแหวน ข. แบบการจา่ ยกำลังรปู ดาว

ค. แบบหว่ ง ง. แบบโครงข่ายแรงสูง

4. กราฟท่แี สดงความสมั พนั ธ์ระหว่างกำลังไฟฟ้าที่ใชแ้ ละเวลาเรยี กว่าอะไร

ก. Time constant ข. Characteristic curve

ค. Load duration curve ง. Load curve

5. ข้อใดคืออัตราสว่ นของโหลดเฉลี่ยต่อโหลดสงู สดุ ในชว่ งเวลาทก่ี ำหนด

ก. Load factor ข. Connected load

ค. Peak load ง. Maximum demand

6. ความตอ้ งการกำลงั ไฟฟา้ สูงสดุ เป็นการวดั คา่ เฉลี่ยภายในระยะเวลาเทา่ ใด

ก. 10 นาที ข. 15 – 30 นาที

ค. 30 – 45 นาที ง. 30 – 60 นาที

7. โหลดสว่ นใหญเ่ กดิ จากการใช้ไฟฟา้ ประเภทใด

ก. ไฟถนน ข. อาคารพานชิ

ค. ไฟแสงสว่าง ง. โรงงานอตุ สาหกรรม

8. การเพิ่มของโหลด คืออะไร

ก. โหลดท่ีเพิ่มข้ึนในรอบ 1 ปี ข. โหลดสงู สดุ ใน 1 เดือน

ค. การคาดคะเนล่วงหน้าว่าความต้องการของโหลดสงู สุดมีคา่ เทา่ ใด ง. โหลดเฉลี่ยสงู สดุ

9. ท่เี รยี กวา่ พกี โหลด (peak load) คืออะไร

ก. กำลังไฟฟา้ สูงสุดที่ใชง้ าน ข. กำลงั สูญเสียในระบบสูงสดุ

ค. โหลดน้อยทสี่ ดุ ในระบบ ง. ภาวะลดั วงจรสงู สดุ

10. เหตุผลของการวางแผนผลิตพลงั งานไฟฟ้าในอนาคต คืออะไร

ก. สำรวจความตอ้ งการ ข. รองรบั การใช้พลงั งานท่จี ะเพ่ิมข้นึ

ค. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลตัดสินใจ ง. คาดคะเนผลทเ่ี กดิ ข้นึ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น
หนว่ ยการเรียนท่ี 1 เรอื่ ง การส่งจา่ ยพลงั งานไฟฟา้

------------------------------------------------

ข้อท่ี คำตอบ
1. ค. ผู้ใชไ้ ฟฟา้
2. ข. นครปฐม
3. ข. แบบการจ่ายกำลังรปู ดาว
4. ง. Load curve
5. ก. Load factor
6. ข. 15 – 30 นาที
7. ง. โรงงานอุตสาหกรรม
8. ค. การคาดคะเนลว่ งหนา้ ว่าความต้องการของโหลดสูงสุดมีค่า

เทา่ ใด
9. ก. กำลังไฟฟา้ สงู สดุ ที่ใชง้ าน
10. ข. รองรับการใช้พลงั งานทีจ่ ะเพ่ิมขน้ึ

แผนการสอน/การเรียนรู้ หน่วยท่ี 2

ชอ่ื วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า สอนสปั ดาห์ที่ 3 - 5

ชื่อหน่วย อปุ กรณใ์ นระบบสง่ และจา่ ยพลงั งานไฟฟ้า คาบรวม 72

ชือ่ เรอ่ื ง อปุ กรณใ์ นระบบสง่ และจา่ ยพลังงานไฟฟา้ จำนวนคาบ 9

สาระสำคัญ

การส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าจะสามารถทำได้ 2 ระบบ คอื การส่งจ่ายบนอากาศเหนือศีรษะ และ การเดินสาย

เคเบิลใต้ดิน โดยตัวอยา่ งของการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าใต้ดิน จะได้แก่ การส่งจ่ายพลังงาน ไฟฟ้าให้กับสถานีไฟฟ้า

ย่อยต่างๆ รวมไปถึงระบบจำหน่ายที่ใช้กับอาคารสูง ตัวอย่างเช่น โรงงานอุตสาหกรรม คอนโดมิเนียมทั่วไป

เพราะว่า การส่งจ่ายวิธีนี้มีความปลอดภัย ช่วยลดอันตรายจากสาย ไฟฟ้าแรงสูง และยังสามารถค่าใช้จ่ายในการ

ดูแลรักษาอีกด้วย แต่ข้อเสียก็คือ การติดต้ังลงทุนค่อนข้างสูง ซึ่งสูงกว่าการเดินบนอากาศเหนือศีรษะถึง 10 เท่า

เลยทีเดียว และใช้เวลาในการติดตั้งนานเพราะวา่ ตอ้ งทา การขุดดนิ ตลอดแนวที่วางสายเคเบิล แต่สำหรับเน้ือหา

ในท่นี จ้ี ะนำเสนอเฉพาะการเดินสายบน อากาศเหนือศรี ษะเท่าน้ัน

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สง่ิ ทตี่ ้องการใหเ้ กิดการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ทักษะ คุณธรรม เขา้ ด้วยกนั )
เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ทักษะและประสบการณน์ ำไปปฏิบัตงิ านในอาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถเลอื กวิถี

การดำรงชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสมกับตน เพ่ือสรา้ งสรรค์ความเจรญิ ตอ่ ชมุ ชน ท้องถิ่น และประเทศชาติ

จดุ ประสงค์การสอน/การเรียนรู้
• จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1.1 ระบชุ นิดของเสาไฟฟ้า
1.2 ศึกษาการปกั เสาพาดสายไฟฟา้
1.3 อธบิ ายฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟา้
1.4 บอกลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้า
1.5 ระบอุ ุปกรณ์ป้องกนั วงจรของระบบสายสง่ ไฟฟา้
1.6 จดั บอร์ดเชิงปฏิบัตกิ าร “อุปกรณใ์ นระบบสง่ และจ่ายพลังงานไฟฟา้ ”
1.7 สนทนาเชงิ ปฏิบัตกิ าร “ฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟ้า”
1.8

เนอื้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
- ชนดิ ของเสาไฟฟา้ -การปักเสาพาดสายไฟฟา้
- ฉนวนไฟฟา้ ของระบบสายสง่ ไฟฟ้า
-ลักษณะและชนิดของสายส่งไฟฟา้
-อปุ กรณป์ อ้ งกันวงจรของระบบสายส่งไฟฟา้

• ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม/ คณุ ลกั ษณะท่ีประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง/อาเซียน
1. สอนและฝกึ หัดให้นกั เรียน นักศึกษารจู้ ักการทำงานเป็นกล่มุ การรับฟงั ความคิดเห็นเหตผุ ลของผ้อู ่นื

และปฏบิ ตั หิ น้าทีท่ ่ีได้รับมอบหมาย
2. สง่ เสริมกจิ กรรมท่สี ร้างความสามัคคี เอื้อเฟ้ือเผอื่ แผ่ ช่วยเหลอื เก้ือกูล และรักใคร่ปรองดองใน

สถานศกึ ษา
3. กระตุ้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนนกั ศึกษากลา้ ท่จี ะแสดงความคิดเห็นในเร่อื งตา่ งๆ เช่น กจิ กรรมใน

ช้ันเรยี น กิจกรรมต่างๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชุมชนและเตรยี มตัวเข้าส่ปู ระชาคมอาเซยี น
4. ปลูกจติ สำนกึ ใหน้ กั เรยี น นักศกึ ษา มคี ุณธรรม จริยธรรม รู้รบั ผิดชอบชัว่ ดี มีความภมู ใิ จในความเปน็

ไทย
5. ให้ความรเู้ ก่ยี วกับโทษภยั ของยาเสพติด และการหลีกเล่ยี งห่างไกลยาเสพติดเพอื่ ให้มภี มู ิคุ้มกนั อยา่ ง

ยัง่ ยืน

• กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้ กิจกรรมนกั เรียน

กิจกรรมครู ข้ันสนใจปญั หา
1. นักเรยี นจดบนั ทกึ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น ขั้นศกึ ษาขอ้ มูล
1. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ หนว่ ยการเรียน 2. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นสอนทฤษฎี 3. นกั เรียนฟงั ครูบรรยายและจดบนั ทึก
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 4. นักเรยี นศกึ ษาหนว่ ยการเรียนทีไ่ ด้รับมอบหมาย
3. ครูบรรยายเน้อื หาประกอบแผน่ ใส/ power point 5. นกั เรยี นตอบคำถาม
4. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาเน้ือหาการเรยี นรู้ในหนังสอื
เรียน
5. ซักถามนักเรยี นเกยี่ วกบั เน้อื หาทีเ่ รยี น

ขั้นสอนปฏิบัติ ขั้นศึกษาข้อมูล
6. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาใบงานการทดลอง 6. นักเรียนศกึ ษาใบงานการทดลองประจำหน่วยการ
7. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ จดั เตรยี มเครือ่ งมือและ เรยี นรู้
อปุ กรณ์ตามใบงานการทดลอง 7. นักเรยี นจัดเตรียมเคร่อื งมือและอปุ กรณ์
8. ครูสังเกตการปฏบิ ัติงานและคอยให้คำแนะนำ
อยา่ งใกล้ชิด

ขน้ั สรปุ ขัน้ พยายามและข้ันสำเรจ็ ผล

9. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ ผลการเรยี นรู้ 8. นักเรียนช่วยกนั สรุปเน้อื หาท่ีเรียนและจดบันทึก

10. ครูให้นกั เรียนปฏบิ ัตติ ามใบงานการทดลอง 9. นักเรยี นปฏิบตั ติ ามใบงานการทดลองประจำหน่วยการ

ประจำหน่วยการเรยี นรู้ เรยี นรู้ เมื่อพบปัญหาใหส้ อบถามครูผสู้ อน

11. ครคู อยสังเกตลำดับขนั้ ตอนการทำงานและให้ 10. นักเรยี นส่งผลการปฏบิ ตั ิงานให้ครูตรวจ

คำแนะนำเม่ือพบนักเรยี นปฏบิ ัติไม่ถูกต้อง 11.นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

12. ครูใหน้ ักเรียนทปี่ ฏิบตั งิ านเสรจ็ แลว้ ส่งตรวจท่ี 12. นักเรยี นชว่ ยกันสรุปเนอื้ หาและจดบนั ทึก

โต๊ะตรวจงานเพ่ือขอคำแนะนำและและประเมนิ ผล ประกอบด้วยสาระเก่ียวกับเร่ืองทเ่ี รยี น

13. ทำแบบทดสอบหลังเรยี น 13. นักเรียนจดบันทึกนโยบายสถานศึกษา 3 D พรอ้ ม

14. ครแู จ้งนโยบายสถานศึกษา 3D ของกระทรวง กบั อภิปรายแนวทางนำไปปฏิบตั ิ

ศกึ ษา ซ่ึงเปน็ กิจกรรมท่ีม่งุ สง่ เสรมิ พัฒนาผเู้ รียนให้มี ใช้ในชีวติ ประจำวันและในรายวชิ าท่เี รียน

คณุ ลักษณะท่ีดงี าม 3 ด้าน คือ 1. ด้าน 14. นักเรยี นรับฟงั และจดบนั ทกึ หลักปรัชญาของ

ประชาธปิ ไตย (Democracy) 2. ด้านคุณธรรม เศรษฐกจิ พอเพียงโดยมีความรับผดิ ชอบและพยายาม

จริยธรรม และความเป็นไทย (Decency) 3. ดา้ น สบื คน้ ขอ้ มลู และปฏิบัติงานให้สำเร็จอยา่ งมเี หตผุ ล

ภมู ิคมุ้ กันจากยาเสพตดิ (Drug – Free) 15. นักเรยี นช่วยกนั ทำความสะอาดเครือ่ งมอื อุปกรณ์ จัด

15. ครูอธบิ ายหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือ ห้องเรยี นให้เรียบร้อย

บูรณาการเขา้ กับกิจกรรมการเรียนการสอน

ประกอบดว้ ย 1. ความพอประมาณ 2. ความมี

เหตผุ ล 3. การมภี ูมิค้มุ กันในตัวทด่ี ี

16. ครซู กั ถามนกั เรยี นวา่ มีข้อสงสัยอะไรอีกหรือไม่

17. ครูใหน้ ักเรยี นทำความสะอาดห้องเรียน

ขั้นนำไปใช้ ข้ันนำไปใช้
18. ครูให้นกั เรียนเขียนรายงานสรปุ ผลการเรยี นรู้ 16. นักเรียนทำแบบสรุปผลการเรียนรู้ประจำหน่วยการ
19. ครบู นั ทึกหลังการสอน เรยี น

งานท่มี อบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมนิ ผล
ก่อนเรยี น
1. เปิดวีซีดีประกอบการสอนเร่ืองระบบสง่ จา่ ยกำลงั ไฟฟ้า
2. ผูส้ อนนำเขา้ ส่บู ทเรียนบทท่ี 2 โดยใช้ส่อื ประกอบการสอน
ขณะเรียน
1. อธิบายเรื่องชนิดของเสาไฟฟ้า (Electricity Tower) การปักเสาพาดสายไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้าของ
ระบบสายสง่ ไฟฟา้
2. ถามเก่ียวกบั ความหมายและความสำคัญของระบบส่งจา่ ยกำลังไฟฟ้า
3. ผู้สอนและนักเรยี นรว่ มกันสรุปเนอ้ื หาวชิ าอีกครงั้ หนึง่

หลังเรียน
4. ให้ผู้เรยี นแบ่งออกเป็น 5 กลุม่ เทา่ ๆ กัน แจกกระดาษ A4 ให้กลุ่มละ 3 แผ่น
5. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มช่วยกนั ระดมความคดิ เห็นวา่ จากสง่ิ ทผี่ ้เู รียนไดเ้ รยี นร้ไู ป นำเสนอหนา้ ชั้นเรียน ใน
แต่ละหัวขอ้
6. ผู้สอนสรุปเน้ือหาวชิ าอีกครัง้ และซกั ถามผเู้ รยี นถึงเนอื้ หาอีกครงั้ หนึ่ง
4. มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นทำใบงาน1 พ้ืนฐานการสื่อสารข้อมูล และ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
5. ผูเ้ รียนส่งงานกิจกรรม

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเร็จของผเู้ รียน
3. ผงั มโนทัศน์สรุปเน้อื หาในหน่วยเรียน
4. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1 ตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2

สอื่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้
ส่ือสง่ิ พิมพ์
4. เอกสารประกอบการสอนวชิ า การสง่ และจา่ ยไฟฟา้ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม)
5. ผังมโนทศั นส์ รปุ เน้ือหาในหน่วยเรยี น ใชข้ ้นั สรุปและประเมินผล
6. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 ใชข้ น้ั สรปุ และประเมินผล
สอ่ื โสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

2. งานนำเสนอ
ส่อื ของจรงิ
-
แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศกึ ษา

3. หอ้ งสมดุ
4. ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์
นอกสถานศึกษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถนิ่
การบรู ณาการ/ความสัมพันธก์ บั วิชาอน่ื
2. บูรณาการกับวิชาภาษาไทย ในหวั ขอ้ การอภปิ รายเกย่ี วกับชนิดของเสาไฟฟ้า (Electricity Tower)
การประเมนิ ผลการเรียนรู้
ก่อนเรยี น
3. ผู้เรยี นมีเอกสารประกอบการเรียนรู้
4. ผู้เรียนใหค้ วามร่วมมือในการทำกจิ กรรมบูรณาการแบบสอดแทรก
ขณะเรยี น
3. ถาม-ตอบ เกยี่ วกับ เนื้อหาและทำ แบบฝึกหัด
หลงั เรียน
3. ตรวจผังมโนทศั น์สรุปเนอื้ หาในหน่วยเรียน
4. ตรวจแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 2

ผลงาน/ช้ินงาน/ผลสำเร็จของผู้เรียน
3. ผงั มโนทศั นส์ รุปเน้ือหาในหน่วยเรยี นกะทัดรดั ไดใ้ จความ
4. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 ตอนที่ 1 และตอนท่ี 2 ถูกตอ้ งเกนิ ร้อยละ 80 ของคำถามทง้ั หมด

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนรว่ มในกิจกรรม
5.2 การซักถามและการตอบคำถาม
5.3 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ
5.4 การทำงานเปน็ ทีม (ใหค้ วามสำคัญในการทำงานเปน็ ทมี งาน)

กจิ กรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………

แผนการสอน/การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 3

ชอื่ วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า สอนสปั ดาห์ท่ี 6 - 9

ช่อื หน่วย การหาคา่ พารามิเตอรต์ า่ ง ๆ ของสายสง่ ไฟฟา้ คาบรวม 72

ช่อื เรือ่ ง การหาค่าพารามเิ ตอร์ตา่ ง ๆ ของสายส่งไฟฟ้า จำนวนคาบ 12

สาระสำคญั

ในสายส่งไฟฟ้าน้นั มีค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญอยู่ 3 อย่างด้วยกัน ประกอบด้วยค่าความต้านทาน(R) ค่าความ

เหนี่ยวนำ (L) และค่าความจุไฟฟ้า(C) ซ่ึงค่าพารามิเตอร์นล้ี ้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดความสูญเสียใน สายส่งด้วยกัน

ท้ังส้ิน ดังน้ันการท่ีเราจะหาวิธีลดค่าความสูญเสียในสายส่งน้ีจำเป็นจะต้องศึกษาเกี่ยวกับค่าพารามิเตอร์ให้เข้าใจ

เพ่ือที่จะไดน้ ำความร้ทู ไ่ี ด้ไปพฒั นาระบบส่งจ่ายใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประโยชนส์ งู สุดตอ่ ไป

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (ส่งิ ทีต่ ้องการให้เกิดการประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม เขา้ ด้วยกัน)
เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ทักษะและประสบการณ์นำไปปฏบิ ตั ิงานในอาชีพได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สามารถเลอื กวถิ ี

การดำรงชีวติ ได้อย่างเหมาะสมกับตน เพ่ือสร้างสรรค์ความเจรญิ ตอ่ ชุมชน ท้องถ่นิ และประเทศชาติ

จดุ ประสงค์การสอน/การเรียนรู้

• จดุ ประสงคท์ ั่วไป

o ศกึ ษา/คานวณค่าความต้านทานและค่าความต้านทานประสทิ ธผิ ล
o คานวณค่าความเหน่ียวนาของสายส่งไฟฟ้ า (Inductance ; L)
o คานวณค่าความเหน่ียวนาของสายตัวนาท่มี าจากฟลักซ์ภายใน
o คานวณค่าความเหน่ียวนาของสายตวั นาท่มี าจากฟลักซภ์ ายนอก
o คานวณค่าความเหน่ียวนาในระบบ 1 เฟส 2 สาย
o คานวณการหา Flux Linkage ของสายตวั นา 1 เส้น ในกล่มุ สายตวั นา
o คานวณหาค่าความเหน่ียวนาของกล่มุ ตวั นา
o คานวณการหาค่าความเหน่ียวนาของสายส่ง 3 เฟส ท่มี รี ะยะห่างเท่ากนั
o คานวณการหาค่าความเหน่ียวนาของสายสง่ 3 เฟส ท่มี รี ะยะห่างไม่สมมาตร
o คานวณการหาค่าความเหน่ียวนาของการจัดวางสายแบบ Bundle
o คานวณการหาค่าความเหน่ียวนาของสายส่งไฟฟ้ า 3 เฟส วงจรคู่ (Double Circuit)
o ศึกษา/คานวณค่าความจุไฟฟ้ าของสายส่งไฟฟ้ า (Capacitance ; C)
o คานวณการหาค่าความจุไฟฟ้ าในระบบ 1 เฟส
o คานวณการหาค่าความจุของสายส่ง 3 เฟส ท่มี รี ะยะห่างเท่ากนั
o คานวณการหาค่าความจุของสายสง่ 3 เฟส ท่มี ีระยะห่างไม่สมมาตร
o คานวณหาค่าความจุไฟฟ้ าในการจัดวางสายตัวนาแบบ Bundle
o คานวณหาค่าต่าง ๆ ของสายสง่ ไฟฟ้ า 3 เฟส วงจรคู่
o จดั บอร์ดเชิงปฏบิ ตั ิการ “การหาค่าพารามเิ ตอร์ต่าง ๆ ของสายส่งไฟฟ้ า”
o สนทนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “การหาค่าความเหน่ียวนาของการจดั วางสายแบบ Bundle”

เนอื้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
การหาคา่ พารามิเตอร์ตา่ งๆของสายสง่ ไฟฟา้ -คา่ ความต้านทานของสายส่งไฟฟ้า -ค่าความเหนีย่ วน าของสายส่ง

ไฟฟ้า -ค่าความจุไฟฟา้ ของสายสง่ ไฟฟ้า

• ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม/ คุณลกั ษณะที่ประสงค์ 3D /ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/อาเซียน
1. สอนและฝึกหัดให้นักเรียน นักศึกษาร้จู ักการทำงานเปน็ กล่มุ การรับฟงั ความคิดเห็นเหตุผลของผูอ้ ่ืน

และปฏิบตั หิ นา้ ทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย
2. ส่งเสรมิ กจิ กรรมที่สรา้ งความสามคั คี เอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูล และรักใครป่ รองดองใน

สถานศึกษา
3. กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นนักศึกษากล้าทจ่ี ะแสดงความคิดเห็นในเรื่องตา่ งๆ เช่น กิจกรรมใน

ชน้ั เรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาและกิจกรรมของชุมชนและเตรยี มตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น
4. ปลูกจติ สำนกึ ใหน้ กั เรียน นักศกึ ษา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รู้รบั ผิดชอบชั่วดี มีความภมู ิใจในความเปน็

ไทย
5. ให้ความรเู้ กยี่ วกบั โทษภยั ของยาเสพตดิ และการหลกี เล่ียงหา่ งไกลยาเสพตดิ เพอ่ื ให้มีภูมิคมุ้ กนั อยา่ ง

ยั่งยนื

• กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้
3.1 สรปุ บทเรยี นส่วนทีเ่ ป็นสาระสำคญั
3.2 สรปุ คำศัพท์ ตอบคำถามเพื่อการทบทวน
3.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ
3.4 แบ่งกลมุ่ จดั กิจกรรมดังต่อไปนี้ (ใหค้ วามสำคัญการทำงานเป็นทีม)
วิธีการ : แบ่งแถวท่ีน่ังในช้ันเรียนเป็น 3 แถว เลือกหัวหน้าภาคกลุ่มงาน ประชุมคณะทำงาน แบ่ง
หน้าท่ีและความรับผิดชอบ จับฉลากเลือกกิจกรรม จัดเตรียมสอ่ื ภาพ ตัวอยา่ ง อุปกรณ์ เพื่อ
สนับสนุนในการนำเสนอให้เกิดความชัดเจนและครบสาระการเรียนรู้ บริหารเวลากลุ่มละ 20
นาที บรหิ ารเอกสาร 2 หนา้ นำเสนอด้วยโปรแกรม
1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัตกิ าร “การหาค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของสายส่งไฟฟา้ ”
2. สนทนาเชิงปฏิบตั ิการ “การหาค่าความเหน่ียวนำของการจดั วางสายแบบ Bundle”
3. จัดกิจกรรมถาม-ตอบ เชงิ ปฏิบัตกิ าร “ตอนท่ี 1,2”
เลือกตัวแทนกลุ่ม : จำนวน 3 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการและ
ความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและประเมินผล เขียนคำถาม
ถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็นผู้บริหารเวลา ใช้เวลา 10
นาที

นักศึกษาทกุ คนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าท่ีความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค
การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือก ตัวแทนกลุ่มงาน 3 คน นำเสนอคน
ละ 3 นาที

ส่ือการเรียนการสอน/การเรยี นรู้
• ชุดการสอน PowerPoint8 สไลด์
• ภาพแสดงพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของสายส่งไฟฟ้า ภาพสูตรหาค่าความต้านทานต่อ ไฟฟ้ากระแสตรง
(Rdc) ภาพความแตกต่างท่ีเกิดขึ้นจากผลของสกินเอฟเฟ็กต์ ภาพการหาค่าความเหน่ียวนำของสายตัวนำ
ที่มาจากฟลักซ์ภายนอก (External Flux Linkage) ภาพแสดงสายส่ง 3 เฟส ที่ถูกนำมาวางไว้ในลักษณะท่ี
เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า ภาพแสดงการทรานสโพสสลับตำแหน่งสายส่ง ภาพแสดงการจัดวางสายส่ง
ไฟฟ้าวงจรคู่ (Double Circuit แบบ Vertical Frame) ภาพแสดงความจุไฟฟ้าระหว่างสายตัวนำ
ภาพการหาค่าความจไุ ฟฟ้าในการจดั วางสายตวั นำแบบ Bundle

แหลง่ การเรยี นรู้
ในสถานศกึ ษา

• หอ้ งสมุด
• ห้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์

นอกสถานศึกษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิน่

การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กับวชิ าอนื่
• บูรณาการกบั วิชาภาษาไทย ในหวั ข้อการอภิปรายเกย่ี วกบั การหาคา่ ความเหน่ียวนำของการจัดวางสาย
แบบ Bundle
• วชิ าคณติ ศาสตร์ วชิ าการติดต้งั ไฟฟ้า วิชาวเิ คราะหว์ งจรไฟฟ้า

การประเมินผลการเรียนรู้
ก่อนเรียน
• ผูเ้ รยี นมีเอกสารประกอบการเรียนรู้
• ผเู้ รียนใหค้ วามร่วมมือในการทำกจิ กรรมบรู ณาการแบบสอดแทรก

ขณะเรียน
• ถาม-ตอบ เก่ยี วกับ เน้ือหาและทำ แบบฝึกหดั

หลงั เรียน
• ตรวจผงั มโนทศั นส์ รุปเนื้อหาในหนว่ ยเรยี น

• ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 3

ผลงาน/ช้นิ งาน/ผลสำเร็จของผเู้ รยี น
• ผงั มโนทัศน์สรุปเน้ือหาในหน่วยเรียนกะทดั รัดไดใ้ จความ
• แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 3 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ถูกต้องเกินร้อยละ 80 ของคำถามท้ังหมด

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
5.1 ความสนใจในการเรียนรู้ การคน้ ควา้ การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม
5.2 การซักถามและการตอบคำถาม
5.3 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ
5.4 การทำงานเปน็ ทีม (ใหค้ วามสำคัญในการทำงานเปน็ ทมี งาน)

กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………

แผนการสอน/การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4

ชอ่ื วิชา การสง่ และจา่ ยไฟฟ้า สอนสัปดาห์ท่ี 10-13

ชอื่ หน่วย การคำนวณกระแสและแรงดนั ไฟฟ้าในสายสง่ ไฟฟา้ คาบรวม 72

ช่ือเรอื่ ง การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าในสายสง่ ไฟฟา้ จำนวนคาบ 12

สาระสำคญั

การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าน้ัน จะเป็นการคำนวณหา ค่าพารามิเตอรด์ ้านต้น

ทาง พารามิเตอร์ด้านปลายทาง การสูญเสียในสายส่งจ่าย เปอร์เซ็นต์การควบคุม แรงดัน และส่วนสุดท้ายจะเป็น

การหาค่าประสิทธิ์ ภาพโดยรวมของระบบ

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สง่ิ ท่ีต้องการให้เกิดการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม เข้าด้วยกนั )
เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ ทักษะและประสบการณน์ ำไปปฏิบัตงิ านในอาชีพได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถเลอื กวิถี

การดำรงชวี ิตได้อย่างเหมาะสมกับตน เพ่ือสรา้ งสรรค์ความเจรญิ ตอ่ ชุมชน ท้องถ่ิน และประเทศชาติ

จุดประสงค์การสอน/การเรยี นรู้
• จดุ ประสงค์ท่ัวไป
o ศกึ ษาโครงสร้างของระบบผลิตและวงจรสมมูลของสายส่งไฟฟา้
o คำนวณสายสง่ ระยะส้ัน
o คำนวณสายส่งระยะปานกลาง
o คำนวณสายส่งระยะยาว
o จัดบอร์ดเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “การคำนวณกระแสและแรงดนั ไฟฟ้าในสายส่งไฟฟ้า”
o สนทนาเชงิ ปฏบิ ัติการ “ปัญหาและอุปสรรคการคำนวณสายสง่ ระยะยาว”

เน้ือหาสาระการสอน/การเรยี นรู้
• โครงสรา้ งของระบบผลติ และวงจรสมมูลของสายส่งไฟฟ้า
• สายสง่ ระยะสน้ั (Short Transmission Line)
• สายส่งระยะปานกลาง (Medium Transmission Line)
• สายสง่ ระยะยาว (Long Transmission Line)

• ด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม/ คุณลกั ษณะที่ประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/อาเซียน
1. สอนและฝึกหดั ให้นักเรียน นักศึกษารจู้ ักการทำงานเปน็ กลุม่ การรบั ฟงั ความคิดเหน็ เหตุผลของผู้อ่นื

และปฏบิ ัติหนา้ ท่ที ี่ไดร้ ับมอบหมาย
2. สง่ เสริมกจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคี เอื้อเฟ้ือเผอื่ แผ่ ชว่ ยเหลือเก้ือกูล และรักใครป่ รองดองใน

สถานศกึ ษา

3. กระตุ้นและเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นนักศึกษากล้าทีจ่ ะแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น กิจกรรมใน
ชัน้ เรยี น กจิ กรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชุมชนและเตรยี มตัวเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน

4. ปลกู จติ สำนึกใหน้ กั เรียน นักศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม รรู้ บั ผดิ ชอบชวั่ ดี มคี วามภูมใิ จในความเป็น
ไทย

5. ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั โทษภัยของยาเสพติด และการหลีกเลย่ี งห่างไกลยาเสพติดเพ่ือให้มภี มู คิ ุม้ กันอย่าง
ยัง่ ยืน

• กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้
3.1 สรุปบทเรยี นส่วนทีเ่ ปน็ สาระสำคญั
3.2 สรุปคำศพั ท์ ตอบคำถามเพ่ือการทบทวน
3.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ
3.4 แบ่งกลุ่มจดั กจิ กรรมดังตอ่ ไปน้ี (ใหค้ วามสำคัญการทำงานเป็นทมี )
วิธีการ : แบ่งแถวท่ีน่ังในช้ันเรียนเป็น 3 แถว เลือกหัวหน้าภาคกลุ่มงาน ประชุมคณะทำงาน แบ่ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ จับฉลากเลือกกิจกรรม จัดเตรียมสื่อ ภาพ ตัวอย่าง อุปกรณ์ เพื่อ
สนับสนุนในการนำเสนอให้เกิดความชัดเจนและครบสาระการเรียนรู้ บริหารเวลากลุ่มละ 20
นาที บริหารเอกสาร 2 หนา้ นำเสนอด้วยโปรแกรม
• จดั บอร์ดเชิงปฏบิ ตั กิ าร “การคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟา้ ในสายส่งไฟฟ้า”
• สนทนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “ปัญหาและอุปสรรคการคำนวณสายสง่ ระยะยาว”
• จดั กิจกรรมถาม-ตอบ เชิงปฏบิ ัติการ “ตอนที่ 1,2”
เลือกตัวแทนกลุ่ม : จำนวน 3 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการและ
ความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเคร่ืองมือประเมินผลและประเมินผล เขียนคำถาม
ถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็นผู้บริหารเวลา ใช้เวลา 10
นาที
นกั ศึกษาทกุ คนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าท่ีความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค
การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือก ตัวแทนกลุ่มงาน 3 คน นำเสนอคน
ละ 3 นาที

สือ่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้
• ชุดการสอน PowerPoint 8 สไลด์
• ภาพแสดงโครงสรา้ งของเคร่อื งกำเนิดต่อแบบ Y-Connection ส่งผา่ นสายส่งไปยังโหลด ภาพสตู รการหา
ค่าประสิทธิภาพของสายส่งระยะส้ัน ภาพการหาค่าโวลเตจรีกูเลชั่น (Voltage Regulation) ของสายส่ง
ระยะปานกลาง ภาพแสดง Schematic Diagram ของสายส่งระยะยาว ภาพการใช้สมการฟังก์ชันไฮ
เพอร์โบลิกในสายส่งระยะยาว ภาพแสดง วงจรไฟฟ้าสองทาง ภาพแสดงวงจรการรวมค่าคงท่ีของสายส่ง

2 ชว่ งท่ีตอ่ ขนานกนั

แหลง่ การเรียนรู้
ในสถานศึกษา

• ห้องสมดุ
• หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์

นอกสถานศกึ ษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ิน

การบูรณาการ/ความสมั พันธก์ ับวชิ าอืน่
• บรู ณาการกับวิชาภาษาไทย ในหัวข้อการอภปิ รายเก่ยี วกับการคำนวณกระแสและแรงดันไฟฟา้ ในสายสง่
ไฟฟา้
• วชิ าคณิตศาสตร์ วชิ าการตดิ ตงั้ ไฟฟา้ วิชาวิเคราะห์วงจรไฟฟา้

การประเมินผลการเรยี นรู้
ก่อนเรยี น
• ผเู้ รียนมีเอกสารประกอบการเรยี นรู้
• ผู้เรยี นใหค้ วามร่วมมือในการทำกจิ กรรมบรู ณาการแบบสอดแทรก

ขณะเรยี น
• ถาม-ตอบ เก่ยี วกับ เนื้อหาและทำ แบบฝึกหดั

หลงั เรียน
• ตรวจผังมโนทศั น์สรุปเน้ือหาในหนว่ ยเรยี น
• ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 4

ผลงาน/ช้นิ งาน/ผลสำเรจ็ ของผู้เรียน
• ผงั มโนทศั นส์ รปุ เนื้อหาในหนว่ ยเรยี นกะทัดรดั ไดใ้ จความ
• แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 4 ตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2 ถูกตอ้ งเกนิ ร้อยละ 80 ของคำถามทงั้ หมด

รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5.1 ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม
5.2 การซักถามและการตอบคำถาม
5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ
5.4 การทำงานเป็นทมี (ใหค้ วามสำคัญในการทำงานเปน็ ทมี งาน)

แผนการสอน/การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 5

ชอื่ วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า สอนสัปดาห์ท่ี 14-17

ชื่อหน่วย การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหย่อนของสายสง่ ไฟฟ้า คาบรวม 72

ช่ือเรื่อง การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหย่อนของสายสง่ ไฟฟา้ จำนวนคาบ 12

สาระสำคญั

การออกแบบสายส่งไฟฟ้าบนอากาศเหนือศีรษะน้นั จำเป็นต้องมีการคำนวณหาแรงดึง(Tension) และระยะ

หย่อน (Sag) ของสายส่งไฟฟ้า ซึ่งจะเป็นตัวบ่งบอกถึงคุณภาพและความต่อเนื่องในการ ให้บริการท่ีไว้ใจได้ และ

การตดิ ต้ังเป็นไปตามหลักวิชาการโดยทั่ว ไปแล้วผู้ทอ่ี อกแบบจะคำนวณผลรวม ของแรงดึงและระยะหย่อนบนสาย

ตวั นำ ตามอุณหภูมิกำหนด นั่นก็คือ ต้องรู้แรงดึงและระยะหย่อนเม่ือเข้าสู่ฤดูหนาวหรอื ฤดูร้อน ซึ่งปจั จัยท่มี ีผลต่อ

แรงดึงและระยะหย่อนของสายตัวนำระหว่างเสาไฟฟ้ามี หลายอย่างด้วยกันผู้เรียนต้องศึกษาทำความเข้าใจให้ดี

เพื่อเวลาปฏิบัติงานจริงจะทำได้ถกู ตอ้ ง

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิง่ ท่ตี ้องการให้เกิดการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ทักษะ คุณธรรม เข้าดว้ ยกนั )
เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ ทักษะและประสบการณน์ ำไปปฏิบัตงิ านในอาชีพได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวถิ ี

การดำรงชวี ิตได้อย่างเหมาะสมกับตน เพื่อสร้างสรรค์ความเจรญิ ต่อชมุ ชน ท้องถ่ิน และประเทศชาติ

จดุ ประสงค์การสอน/การเรยี นรู้
• จุดประสงคท์ ั่วไป
o ศึกษาวธิ ีการคำนวณหาแรงดงึ และระยะหยอ่ นในสายตวั นำ
o ยกตวั อยา่ งการคำนวณกรณีที่เสาไฟฟา้ อยตู่ า่ งระดับกนั
o แสดงผลกระทบต่อเสาท่ีเกดิ จากแรงลม
o คำนวณค่าแฟกเตอรค์ วามปลอดภยั
o จัดบอร์ดเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหยอ่ นของสายส่งไฟฟา้ ”
o สนทนาเชงิ ปฏิบตั กิ าร “ผลกระทบตอ่ เสาที่เกิดแรงลม”

เน้ือหาสาระการสอน/การเรยี นรู้
o การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหยอ่ นในสายตวั นำ การคำนวณกรณที เ่ี สาไฟฟา้ อยู่ตา่ งระดับกนั
o ผลกระทบตอ่ เสาทีเ่ กิดจากแรงลม ค่าแฟกเตอร์ความปลอดภัย

• ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม/ คณุ ลักษณะท่ีประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง/อาเซียน
1. สอนและฝึกหัดให้นักเรยี น นกั ศึกษาร้จู ักการทำงานเป็นกลุ่ม การรบั ฟังความคิดเหน็ เหตผุ ลของผ้อู ื่น

และปฏิบตั หิ นา้ ที่ท่ีได้รับมอบหมาย
2. ส่งเสรมิ กจิ กรรมทีส่ รา้ งความสามัคคี เอ้ือเฟื้อเผ่อื แผ่ ช่วยเหลือเก้ือกลู และรักใคร่ปรองดองใน

สถานศึกษา
3. กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นนักศึกษากลา้ ทจี่ ะแสดงความคิดเหน็ ในเรอื่ งต่างๆ เช่น กจิ กรรมใน

ชนั้ เรยี น กิจกรรมต่างๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชุมชนและเตรยี มตวั เข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน
4. ปลกู จติ สำนกึ ให้นักเรียน นักศึกษา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ร้รู บั ผดิ ชอบชั่วดี มีความภมู ิใจในความเป็น

ไทย
5. ใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับโทษภยั ของยาเสพติด และการหลกี เล่ยี งห่างไกลยาเสพตดิ เพอื่ ให้มีภูมคิ มุ้ กันอยา่ ง

ย่ังยืน

• กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้
3.1 สรปุ บทเรียนสว่ นทีเ่ ปน็ สาระสำคญั
3.2 สรปุ คำศัพท์ ตอบคำถามเพ่ือการทบทวน
3.3 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ
3.4 แบง่ กล่มุ จดั กจิ กรรมดังต่อไปน้ี (ให้ความสำคญั การทำงานเปน็ ทมี )
วิธีการ : แบ่งแถวที่นั่งในช้ันเรียนเป็น 3 แถว เลือกหัวหน้าภาคกลุ่มงาน ประชุมคณะทำงาน แบ่ง
หน้าที่และความรับผิดชอบ จับฉลากเลือกกิจกรรม จัดเตรียมสือ่ ภาพ ตัวอย่าง อุปกรณ์ เพื่อ
สนับสนุนในการนำเสนอให้เกิดความชัดเจนและครบสาระการเรียนรู้ บริหารเวลากลุ่มละ 20
นาที บริหารเอกสาร 2 หน้า นำเสนอดว้ ยโปรแกรม
• จดั บอรด์ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “การคำนวณหาแรงดงึ และระยะหยอ่ นของสายสง่ ไฟฟ้า”
• จดั กิจกรรมถาม-ตอบ เชิงปฏิบัติการ “ตอนท่ี 1,2”
• สนทนาเชงิ ปฏบิ ัติการ “ผลกระทบต่อเสาท่ีเกดิ แรงลม”
เลือกตัวแทนกลุ่ม : จำนวน 3 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการและ
ความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเคร่ืองมือประเมินผลและประเมินผล เขียนคำถาม
ถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็นผู้บริหารเวลา ใช้เวลา 10
นาที
นกั ศึกษาทกุ คนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าท่ีความรบั ผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค
การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือก ตัวแทนกลุ่มงาน 3 คน นำเสนอคน
ละ 3 นาที

สอื่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้
• ชุดการสอน PowerPoint 8 สไลด์
• ภาพปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อแรงดึงและระยะหย่อนของสายตัวนำระหว่างเสาไฟฟ้า ภาพวิธีการคำนวณ
กรณีที่เสาไฟฟ้าอยู่ในระดับเดียวกัน วิธีคาทีนารี (Catenary Method) และวิธีพาราโบลา (Parabola
Method) ภาพสูตรการคำนวณกรณีท่ีเสา ไฟฟ้าอยู่ต่างระดับกัน ภาพแสดงผลรวมทางเวกเตอร์ของ

นำ้ หนักทีก่ ระทำตอ่ สายสง่ ไฟฟ้า ภาพความหมายของค่าแฟกเตอร์ความปลอดภยั

แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา

• หอ้ งสมดุ
• หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์

นอกสถานศึกษา
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิน่

การบรู ณาการ/ความสมั พันธก์ ับวิชาอ่นื
• บูรณาการกบั วิชาภาษาไทย ในหัวข้อการอภปิ รายเกี่ยวกับ“ผลกระทบต่อเสาที่เกดิ แรงลม”
• วิชาคณิตศาสตร์ วชิ าการตดิ ต้ังไฟฟ้า วิชาวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

การประเมินผลการเรยี นรู้
ก่อนเรียน
• ผู้เรียนมีเอกสารประกอบการเรียนรู้
• ผู้เรียนให้ความรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมบูรณาการแบบสอดแทรก

ขณะเรยี น
• ถาม-ตอบ เกย่ี วกับ เนื้อหาและทำ แบบฝึกหัด

หลังเรียน
• ตรวจผงั มโนทศั นส์ รุปเน้อื หาในหนว่ ยเรียน
• ตรวจแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสำเรจ็ ของผู้เรยี น
• ผังมโนทัศนส์ รปุ เนอ้ื หาในหน่วยเรียนกะทัดรัดไดใ้ จความ
• แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 ตอนท่ี 1 และตอนที่ 2 ถูกตอ้ งเกินร้อยละ 80 ของคำถามทง้ั หมด

รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้
5.1 ความสนใจในการเรียนรู้ การคน้ ควา้ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม
5.2 การซักถามและการตอบคำถาม
5.3 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ
5.4 การทำงานเปน็ ทีม (ใหค้ วามสำคญั ในการทำงานเป็นทีมงาน)


Click to View FlipBook Version