หนว่ ยการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
วิชา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว16101)
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวฉันทพชิ ญา รัตนบตุ ร
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ
โรงเรยี นวัดควนชะลกิ อาเภอหวั ไทร
สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 3
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
1
การจดั การเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า เวลาเรียน 14 ชวั่ โมง
แผนผังความคดิ ประจำหนว่ ย
ว 2.2 ป.6/1 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้า ว 2.3 ป.6/6 ตระหนักถงึ ประโยชน์
ซึ่งเกดิ จากวตั ถุทผ่ี ่านการขัดถูโดยใชห้ ลักฐาน ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟ้า
เชงิ ประจกั ษ์
แบบอนกุ รมและแบบขนาน
ว 2.3 ป.6/1 ระบุส่วนประกอบและบรรยาย โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด และ
หน้าท่ีของแตล่ ะส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ การประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน
อย่างง่าย จากหลักฐานเชิงประจักษ์
แรงไฟฟ้าและ ว 2.3 ป.6/5 ออกแบบการทดลอง
วงจรไฟฟา้ และทดลองดว้ ยวธิ ที ่ีเหมาะสมในการ
ว 2.3 ป.6/2 เขยี นแผนภาพ อธิบายการต่อหลอดไฟฟา้
และต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย แบบอนุกรมและแบบขนาน
ว 2.3 ป.6/4 ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรู้
ของการต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรมโดยบอก
ประโยชน์และการประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน
ว 2.3 ป.6/3 ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ย
วธิ ที ่เี หมาะสมในการอธบิ ายวิธีการและผลของการต่อ
เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม
2
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3
แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ รหัสวชิ า ว 16101
เวลา 14 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั
ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะการเคล่ือนที่แบบ
ต่าง ๆ ของวตั ถุรวมท้งั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
ว 2.2 ป.6/1 อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซง่ึ เกิดจากวัตถุที่ผ่านการขัดถูโดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สสาร และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับ
เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ว 2.3 ป.6/1 ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ป.6/2 เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย
ว 2.3 ป.6/3 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผล
ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม
ว 2.3 ป.6/4 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอก
ประโยชน์และการประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
ว 2.3 ป.6/5 ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายการต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน
ว 2.3 ป.6/6 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและ
แบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกดั และการประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
วัตถุสามารถถ่ายโอนประจุลบกับวตั ถุอื่นได้ วัตถุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้า เม่ือนำวัตถุต่างชนิดกันมาขัดถู
กนั จะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าทสี่ ะสมบนวัตถุ
แรงไฟฟา้ เกดิ จากประจุไฟฟา้ 2 ชนดิ คอื ประจบุ วกและประจุลบ ถา้ นำวตั ถุ 2 ชนดิ ที่ผา่ นการถูมาเขา้
ใกลก้ ันแล้วเกิดแรงดึงดูด แสดงว่าวัตถุท้ัง 2 ชนดิ เกิดประจุไฟฟ้าตา่ งชนิดกนั แต่ถ้านำวัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการถู
มาเข้าใกล้กนั แลว้ เกดิ แรงผลกั กนั แสดงว่าวตั ถทุ ัง้ 2 ชนดิ เกดิ ประจไุ ฟฟา้ ชนดิ เดียวกนั
วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอรี่ ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนำไฟฟ้า
ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปล่ียน
3
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอ่ืน โดยวงจรไฟฟ้าท่ีกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด และวงจรไฟฟ้า
ท่กี ระแสไฟฟา้ ไหลไมค่ รบวงจร เรียกว่า วงจรเปดิ
วสั ดุท่ีใหป้ ระจุไฟฟา้ ไหลผ่านได้ เรียกว่า ตัวนำ วัสดุที่ไมใ่ ห้ประจไุ ฟฟ้าไหลผา่ น เรียกวา่ ฉนวน ตวั นำ
มีความต้านทานการไหลของประจุไฟฟ้าน้อยวัสดุท่ีมีความต้านทานการไหลของประจุไฟฟ้าแต่ยอมให้ประจุ
ไฟฟ้าไหลผ่านได้ เรยี กว่า ตัวต้านทาน ไฟฟ้าลัดวงจรเกิดจากการท่ีลวดสายไฟฟ้าสัมผัสกันก่อนที่ประจุไฟฟ้า
จะไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า ทำให้เกิดความรอ้ นสูงมาก อาจเปน็ สาเหตุของไฟไหม้ได้ ฉนวนช่วยป้องกนั การเกิด
ไฟฟ้าลัดวงจร
ถ่านไฟฉายประกอบด้วย วัสดุสองชนิดทำหน้าท่ีเป็นขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบ และสารที่เป็น
ของผสมเปยี กช้ืนที่นำไฟฟา้ ได้ ถา้ ต่อขัว้ ไฟฟา้ บวกและลบดว้ ยสายไฟฟ้าจนครบวงจร จะมีกระแสไฟฟ้าในวงจร
ถา่ นไฟฉาย แบตเตอร่ี เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้าหรอื ไดนาโม และไฟฟา้ จากสง่ิ มชี วี ิต เปน็ แหล่งพลังงาน
เม่ือนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อกัน โดยให้ข้ัวบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่งต่อกับข้ัวลบของอีก
เซลล์หน่ึงเป็นการต่อแบบอนกุ รม ทำใหม้ พี ลังงานไฟฟา้ เหมาะสมกบั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า
การส่ือสารและการอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าให้เข้าใจตรงกันสามารถใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทน
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า และเขียนอธิบายด้วยแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูปส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟา้
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม หลอดไฟฟ้าจะต่อเรียงกันและกระแสไฟฟ้าจะผ่านหลอดไฟฟ้า
เปน็ ปริมาณเดยี วกัน
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเป็นการนำปลายข้างเดียวกัน (ขั้วเดียวกัน) ของแต่ละหลอดไฟฟ้า
มารวมกันกอ่ นแล้วจึงต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟฟา้ แต่ละหลอด โดยกระแสไฟฟ้า
รวมในวงจรไฟฟ้าเท่ากับกระแสไฟฟา้ ทแ่ี ยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดรวมกนั
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม เม่ือถอดหลอดไฟฟา้ หลอดใดหลอดหน่ึงออกทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือ
ดับท้ังหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหนึ่งออก หลอดไฟฟ้าที่
เหลือก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้า
หลายหลอดในบ้านตอ้ งตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน เพ่ือเลอื กใช้หลอดไฟฟา้ หลอดใดหลอดหนงึ่ ไดต้ ามต้องการ
การต่อวงจรไฟฟ้าท่ีถูกต้องทำให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรและอุปกรณ์ไฟฟ้าทำงานได้ รวมถึงทำให้
เกิดความปลอดภัยของผู้ใช้งานระหว่างใช้อุปกรณไ์ ฟฟ้าเหล่าน้ันด้วย
3. สาระการเรียนรู้
1) วัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการขัดถูแล้ว เม่ือนำเข้าใกล้กัน อาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดข้ึนนี้เป็น
แรงไฟฟ้าซึ่งเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ วัตถุท่ีมีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันผลักกัน ชนิดตรงข้ามกัน
ดงึ ดดู กัน
2) วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์
ไฟฟ้า แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้า
เป็นตัวนำไฟฟ้าทำหน้าที่เช่ือมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ามหี น้าทีเ่ ปล่ยี นพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอืน่
4
3) เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน โดยให้ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกับขั้วลบ
ของอีกเซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบอนุกรม ทำให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
ซึ่งการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เช่น การต่อ
เซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย
4) การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมเม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหน่ึงออกทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือ
ดับทั้งหมด ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งออก
หลอดไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวงในบ้านจึงตอ้ งตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนานเพ่ือเลือกใชห้ ลอดไฟฟ้า
ดวงใดดวงหน่ึงไดต้ ามต้องการ
4. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
2. ใฝเรียนรู
3. มีวินัย
4. ความซื่อสตั ย์สจุ รติ
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มีจติ สาธารณะ
5. การออกแบบการวดั ผลประเมนิ ผล
5.1 ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ช้นิ งาน
1. กรอบคำถามที่ 1
2. ใบกจิ กรรมเรื่อง สงั เกตแรงไฟฟ้าจากการถู
3. กรอบคำถามท่ี 2
4. ใบกจิ กรรมเรือ่ ง สงั เกตผลของแรงไฟฟา้
5. กรอบคำถามที่ 3
6. กรอบคำถามที่ 4
7. ใบกจิ กรรมเรอื่ ง การต่อวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย
8. กจิ กรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยเปน็ อย่างไร
9. ใบงาน 1 : วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
10. แบบทดสอบหลงั ทำกิจกรรม
11. กรอบคำถามที่ 5
12. ใบกจิ กรรมเร่อื ง ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้
13. กรอบคำถามที่ 6
14. ใบกจิ กรรมเรื่อง เซลลไ์ ฟฟ้าจากผลไม้
15. ใบกจิ กรรมทดลองการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้
5
16. ใบกจิ กรรมฝึกการเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
17. กรอบคำถามท่ี 7
18. กรอบคำถามที่ 8
19. กิจกรรมเร่อื ง การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
5.2 การประเมนิ ชนิ้ งาน
- คณุ ภาพของช้ินงานและภาระงาน
5.3 การให้ตะแนนการประเมินตามสภาพจรงิ
- เกณฑ์การประเมินชนิ้ งาน / ภาระงาน
การวดั และประเมินผล
รายการวัด วิธีวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน
กรอบคำถามท่ี 1-8
- ตรวจกรอบคำถามที่ - แบบประเมนิ กรอบคำถาม - คณุ ภาพอยใู่ นระดับ
1-8 ที่ 1-8 พอใช้ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑ์
กจิ กรรมเรื่อง สงั เกตแรง - ตรวจใบกิจกรรมเรอื่ ง - ใบกจิ กรรมเร่อื ง สังเกต - คุณภาพอยใู่ นระดับ
ไฟฟา้ จากการถู สงั เกตแรงไฟฟา้ จาก แรงไฟฟ้าจากการถู พอใช้ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์
การถู
กจิ กรรมเร่ือง สังเกตผลของ - ตรวจใบกจิ กรรมเรอ่ื ง - ใบกจิ กรรมเรอ่ื ง สังเกตผล - คุณภาพอยใู่ นระดับ
แรงไฟฟ้า สังเกตผลของแรง ของแรงไฟฟ้า พอใชข้ น้ึ ไป ผ่านเกณฑ์
ไฟฟา้
กิ จ ก ร ร ม เร่ื อ ง ก า ร ต่ อ - ตรวจใบกจิ กรรมเรอ่ื ง - ใบกิจกรรมเรอ่ื ง การตอ่ - คุณภาพอยใู่ นระดบั
พอใช้ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์
วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย การต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ ง วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
ง่าย
กิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้า - ตรวจกิจกรรมท่ี 1 - ใบกิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้า - คุณภาพอยใู่ นระดบั
อยา่ งงา่ ยเป็นอยา่ งไร วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายเป็น อยา่ งงา่ ยเป็นอย่างไร พอใชข้ นึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
อย่างไร
ใบงาน 1 : วงจรไฟฟ้าอย่าง - ตรวจใบงาน 1 : - ใบงาน 1 : วงจรไฟฟา้ อยา่ ง - คุณภาพอยใู่ นระดบั
งา่ ย วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย งา่ ย พอใช้ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
รายการวัด วธิ วี ัด เครอื่ งมือ 6
แบบทดสอบหลังทำ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั ทำ เกณฑ์การประเมิน
กจิ กรรม หลงั ทำกจิ กรรม กจิ กรรม - คณุ ภาพอยใู่ นระดับ
พอใช้ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรมเร่อื ง ตวั นำไฟฟ้า - ตรวจใบกิจกรรมเรอ่ื ง - ใบกจิ กรรมเร่ือง ตัวนำ - คณุ ภาพอยใู่ นระดบั
ไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า พอใชข้ นึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
และฉนวนไฟฟ้า ตวั นำไฟฟา้ และ
ฉนวนไฟฟ้า
ใบกิจกรรมเรอ่ื ง เซลลไ์ ฟฟา้ - ตรวจใบกิจกรรมเรื่อง - ใบกจิ กรรมเรื่อง - คณุ ภาพอยใู่ นระดับ
เซลล์ไฟฟา้ จากผลไม้ พอใช้ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์
จากผลไม้ เซลล์ไฟฟ้าจากผลไม้
ใบกจิ กรรมทดลองการตอ่ - - ใบกิจกรรมทดลองการต่อ คณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้
เซลล์ไฟฟา้ - ตรวจใบกจิ กรรม
เซลล์ไฟฟา้ ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
ทดลองการตอ่
เซลลไ์ ฟฟ้า
ใบกิจกรรมฝึกการเขียน - ตรวจใบกจิ กรรมฝึก - ใบกจิ กรรมฝกึ การเขยี น คุณภาพอยใู่ นระดบั พอใช้
แผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่าง การเขียนแผนภาพ แผนภาพวงจรไฟฟา้ อย่าง ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑ์
ง่าย วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ง่าย
ใบกจิ กรรมทดลองการตอ่ - - ตรวจใบกจิ กรรม - - ใบกิจกรรมทดลองการ - คณุ ภาพอยใู่ นระดับ
ต่อเซลล์ไฟฟา้ พอใชข้ น้ึ ไป ผ่านเกณฑ์
เซลลไ์ ฟฟา้ ทดลองการตอ่
- กิจกรรมเรือ่ ง การตอ่ หลอด - คณุ ภาพอยใู่ นระดับ
เซลล์ไฟฟา้ ไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบ พอใช้ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑ์
ขนาน
กิจกรรมเร่ือง การต่อหลอด - ตรวจกจิ กรรมเรื่อง
ไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบ การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบ
ขนาน อนุกรมและแบบขนาน
1) ทดสอบ - - แบบทดสอบหลังเรียน - ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
หลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 - ตรวจแบบทดสอบ
หลงั เรยี น หนว่ ยการ
เรียนรู้ที่ 3
7
5.4 ร่องรอยการเรียนรู้อ่นื
- แบบประเมนิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- แบบประเมนิ ทักษะการร่วมการอภิปราย
- แบบประเมินทักษะทำงานกลุม่
- แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- แบบประเมนิ สมรรถนะผเู้ รยี น
6. การวางแผนการเรียนรู้
เร่ือง การถา่ ยโอนประจไุ ฟฟ้า
1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre test) ในบทเรียนสำเรจ็ รูป เร่ืองแรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
2. แบง่ นกั เรยี นกล่มุ ละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกจิ กรรม สังเกตแรงไฟฟ้าจากการถู
3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหน้าห้องเรียน
4. นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเร่ือง แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า อ่านวิธีใช้ แล้วตอบคำถาม
กรอบคำถามที่ 1 โดยใหน้ ักเรยี นลงมือปฏบิ ัตเิ องทุกคน
เรือ่ ง ผลของแรงไฟฟา้
1. แบ่งนกั เรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตผลของแรงไฟฟา้
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น
3. นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า อ่านวิธใี ช้ แล้วตอบคำถามกรอบ
คำถามท่ี 2 โดยใหน้ กั เรียนลงมอื ปฏิบัติเองทุกคน
เรอ่ื ง สญั ลกั ษณแ์ ละสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน แต่ละ
กลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเกี่ยวกบั ช่ือและสัญลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า จากหนังสือ
เรยี น และแหล่งการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย
2. ครูแจกบัตรคำให้ทุกกลุ่ม นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตและอ่านบัตรคำเก่ียวกับช่ือ และบัตรภาพ
สัญลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ และจับคู่บัตรคำช่ือกับ
บัตรภาพใหถ้ กู ตอ้ ง และสมั พนั ธ์กนั
3. นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง สัญลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า อ่านวิธีใช้
แล้วตอบคำถามกรอบคำถามท่ี 3 โดยให้นกั เรียนลงมือปฏิบัติเองทกุ คน
เรื่อง ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยแต่ละกลุ่ม
ร่วมกนั ทำกิจกรรมเร่ือง การตอ่ วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย
2. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนภาพ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ถูกวิธี วงจรปิด
และวงจรเปิด และสง่ิ ประดิษฐ์วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย โดยจัดแยกให้สมาชิกกลุ่มของตนเองกระจาย
ไปทุกกลุ่มไป รับฟังการนำเสนอ และตอบขอ้ ซักถามของกลุ่มอื่น
8
3. นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง สัญลกั ษณ์ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ อ่านวิธีใช้ แล้ว
ตอบคำถามกรอบคำถามท่ี 4 โดยใหน้ ักเรียนลงมือปฏบิ ัตเิ องทุกคน
เรอ่ื ง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน คละเพศและคนเก่ง กลาง อ่อน และใหนักเรียนอา
นชอ่ื กจิ กรรมและจุดประสงคการเรียนรู้ในใบกจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายเป็นอยา่ งไร
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลการทำกิจกรรม
3. นกั เรียนอ่านวิธีทำในใบกิจกรรมท่ี 1 ขอ 3-4 โดยให้นักเรียนออกแบบการตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย
โดยเพ่ิมการใช้ฐานหลอดไฟฟ้าและกระบะถ่านไฟฉาย ท่ีทำให้หลอดไฟสว่าง และไม่สว่าง
พร้อมวาดรูปวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสุ่มให้นักเรียนออกมานำเสนอ
หน้าชั้นเรียน
4. ครใู หนักเรียนทำแบบทดสอบหลังทำกจิ กรรมเป็นรายบุคคล
เรื่อง ตัวนำไฟฟา้
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยแต่ละ
กลมุ่ รว่ มกนั ทำกจิ กรรมเรอ่ื ง ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันวเิ คราะห์ อภปิ ราย และแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ผลการทำกจิ กรรม
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน สังเกต สำรวจวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า และ
ฉนวนไฟฟา้ ที่พบในชวี ติ ประจำวัน แลว้ จดั ทำเปน็ ตาราง จดั ทำเป็นชิ้นงาน
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังสรุปหลักการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตัวนำไฟฟ้า
และฉนวนไฟฟ้า แล้ววางแผน ออกแบบ และเขียนในแบบผังความคิด ในกระดาษฟลิปชารต์
5. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนภาพ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ถูกวิธี วงจรปิด
และวงจรเปิด
6. นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า อ่านวิธีใช้ แล้วตอบคำถามกรอบ
คำถามท่ี 5 โดยใหน้ กั เรียนลงมือปฏบิ ตั เิ องทกุ คน
เรอื่ ง แหล่งพลงั งานไฟฟ้า
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยแต่ละ
กลุ่มร่วมกันศึกษา และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับแหล่งพลังงานไฟฟ้า จากหนังสือเรียน และแหล่ง
การเรียนรู้ที่หลากหลาย พรอ้ มทั้งออกแบบการนำเสนอผลการศึกษาในแบบท่นี ่าสนใจ
2. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ทำกจิ กรรมเรื่อง เซลล์ไฟฟ้าจากผลไม้
3. หลังจากนักเรียนทำกิจกรรมและบันทึกผลการทำกิจกรรมแล้ว ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา
นำเสนอผลการทำกจิ กรรมหน้าชั้นเรียน เพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนรู้กนั
4. . นักเรียนศึกษาบทเรียนสำเร็จรูปเร่ือง ไฟฟ้า อ่านวิธีใช้ แล้วตอบคำถามกรอบคำถามที่ 6 โดย
ให้นกั เรียนลงมอื ปฏิบัตเิ องทุกคน
เรอื่ ง การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้
1. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องการตอ่ เซลล์ไฟฟ้า จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบาย
ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจวา่ เม่ือต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย กระแสไฟฟ้าจะไหลในทศิ ทางเดยี ว คือ ออกจาก
9
ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า และไหลกลับเข้า
เซลลไ์ ฟฟา้ ทางข้ัวลบ จงึ ถือว่ากระแสไฟฟา้ ไหลครบวงจร
2. ครูแบ่งนักเรยี นกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ทดลองการต่อเซลลไ์ ฟฟา้
3. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลการทดลองแลว้ เขยี นรายงานสรปุ ผลการทดลองส่งครู
เรือ่ ง แผนภาพวงจรไฟฟ้า
1. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องแผนภาพวงจรไฟฟ้า จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย
อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอาจมีมากกว่า 1 ชนิด และเพ่ือให้การ
สอ่ื สารและการอธบิ ายการตอ่ วงจรไฟฟา้ เข้าใจตรงกนั นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ ใชส้ ัญลักษณ์ต่างๆ แทน
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
2. ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสัญลักษณ์ท่ีใช้เขียนในแผนภาพ
วงจรไฟฟ้า
3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหน้าห้องเรยี น
4. ครูแบง่ นักเรียนกลมุ่ ละ 5 – 6 คน เล่นเกมเกยี่ วกับสญั ลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้
5. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ียวกับแผนภาพวงจรไฟฟา้ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนทคี่ วามคิดหรือ
ผังมโนทศั น์
เรอื่ ง การต่อหลอดไฟฟา้
1. ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาเรือ่ งการตอ่ หลอดไฟฟ้าในบ้าน โดยครูช่วยอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า การต่อ
หลอดไฟฟ้ามี 2 แบบ คือการต่อแบบอนกุ รมและแบบขนาน
2. ครแู บ่งนกั เรียนกลุม่ ละ 5 – 6 คน สืบค้นขอ้ มูลเก่ียวกับการตอ่ หลอดไฟฟา้
3. นักเรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ ห้องเรียน
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยแต่ละ
กลุ่มร่วมกันศึกษา และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม จากหนังสือเรียน
และแหลง่ การเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันทำกิจกรรมเรอ่ื ง การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม
3. หลังจากนักเรียนทำกิจกรรมและบันทึกผลการทำกิจกรรมแล้ว ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา
นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น เพอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นร้กู นั
4. นกั เรียนศกึ ษาบทเรียนสำเรจ็ รูปเรอื่ ง ไฟฟา้ อ่านวธิ ีใช้ แล้วตอบคำถามกรอบคำถามท่ี 7 โดยให้
นักเรียนลงมือปฏิบัติเองทกุ คน
การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน โดยแต่ละ
กลุ่มร่วมกันศึกษา และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน จากหนังสือเรียน
และแหลง่ การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันทำกจิ กรรมเรื่อง การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน
3. นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั วิเคราะห์ อภปิ ราย และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ผลการทำกิจกรรม
10
4. นกั เรียนศึกษาบทเรียนสำเรจ็ รปู เรื่อง ไฟฟ้า อา่ นวิธีใช้ แล้วตอบคำถามกรอบคำถามท่ี 8 โดยให้
นักเรียนลงมือปฏบิ ัตเิ องทกุ คน
การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภยั
1. ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยตามข้ันตอน
ดังนี้ แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามท่ี
สมาชิกกลุ่มช่วยกันกำหนดหัวข้อย่อย เช่น สาเหตุของไฟฟ้าลัดวงจรและไฟฟ้าดูด และการ
ปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตุจากไฟฟา้ ลัดวงจรและไฟฟ้าดูด
2. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ นำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหน้าห้องเรยี น
3. ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความก้าวหน้า/
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 ของนกั เรียน
7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
2. บทเรียนสำเร็จรปู เรอ่ื ง แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้
3. ใบกิจกรรม สงั เกตแรงไฟฟ้าจากการถู
4. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint เรื่องแรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้
5. ใบกจิ กรรมเรื่อง สงั เกตแรงไฟฟา้ จากการถู
6. ใบกิจกรรมเรื่อง สังเกตผลของแรงไฟฟ้า
7. ใบกิจกรรมเรอ่ื ง การตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย
8. กิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยเป็นอย่างไร
9. ใบงาน 1 : วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
10.แบบทดสอบหลงั ทำกจิ กรรม
11.ใบกิจกรรมเร่ือง ตัวนำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า
12.ใบกิจกรรมเรอ่ื ง เซลล์ไฟฟา้ จากผลไม้
13.ใบกจิ กรรมทดลองการต่อเซลล์ไฟฟ้า
14.ใบกิจกรรมฝึกการเขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
15. กิจกรรมเรือ่ ง การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน
16. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น
17. ชดุ ตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย
18. บตั รคำ ช่ือสญั ลักษณ์ของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
19. บตั รภาพ สัญลกั ษณ์ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า
20. ถานไฟฉาย
21. กระบะใสถาน
22. สายไฟฟา
23. หลอดไฟฟา้ พรอมฐานหลอด
24. สวิตชไฟฟา
โครงสรา้ ง
กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรยี น 80
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ กับน
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 ตัวชวี้ ดั สอน
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียน - และ
เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ต้องก
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 - ประ
วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ประ
- เหมา
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 อยา่ ง
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เปา้ ห
ระบบ
โดยม
นั้นๆ
ในอน
เห็นถ
สังเก
อย่าง
อย่าง
งรายวิชา รหัสวิชา ว16101 11
คะแนนเตม็ 100 คะแนน นำ้ หนกั
นโลยี
0 ช่ัวโมง -
สาระสำคัญ เวลา 4
(ชั่วโมง)
การปฐมนิเทศเป็นการสร้างความเขา้ ใจอันดตี ่อกันระหว่างครู
นักเรียน เป็นการตกลงกันในเบื้องต้นก่อนที่จะเริ่มการเรียนการ 1
น ครูได้รู้จักนักเรียนดียิ่งขึ้น รับทราบความต้องการ ความรู้สึก
เจตคติต่อวิชาที่เรียน ในขณะเดียวกันนักเรียนได้ทราบความ 1
การของครู แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน และการวัดและ
ะเมินผล สิ่งต่างๆ ดังกล่าวจะนำไปสู่การเรียนการสอนที่มี 1
ะสิทธิภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง
าะสม ช่วยให้นักเรียนคลายความวิตกกังวล สามารถเรียนได้
งมคี วามสขุ อันจะส่งผลให้นักเรยี นประสบความสำเรจ็ บรรลตุ าม
หมายท่ีได้กำหนดไว้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นขั้นตอนการทำงานอย่างเป็น
บที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
มีการนำขอ้ มูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อพิสจู น์หาข้อเทจ็ จริงของเรื่อง
ๆ หรืออาจเชื่อมโยงไปสู่ความรู้ใหม่สำหรับใช้ในการศึกษาต่อไป
นาคต
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่แสดงให้
ถึงกระบวนการสืบเสาะค้นหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการ
กต การสำรวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล หรือวิธีการอื่นๆ
งเป็นระบบ เพื่อใหส้ ามารถค้นหาคำตอบและแก้ปัญหาต่างๆ ได้
งถูกตอ้ งและเหมาะสม
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ ที่เกิด
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 ตวั ชวี้ ัด กระบ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 จติ วิทยาศาสตร์ -
อาหารและการย่อยอาหาร และถ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 (ว 1.2 ป.6/1) ที่ 3
อาหารหลกั 5 หมู่ ไดแ้ ก
(ว1.2 ป.6/1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 (ว 1.2 ป. 6/2) โปรต
สารอาหาร (ว 1.2 ป. 6/3)
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 ทางอ
ธงโภชนาการ (ว 1.2 ป. 6/2) อาห
และค
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 (ว 1.2 ป. 6/2) เลอื ก
อาหารในกลุ่มเดยี วกันทร่ี ับประทาน (ว 1.2 ป. 6/3)
ทดแทนกนั ได้ (ว 1.2 ป. 6/2) ทดแ
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 9 (ว 1.2 ป. 6/3)
ความต้องการพลงั งานท่ีควรได้รบั การร
ใน 1 วัน สำหรบั คนไทย สัดส่ว
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 10
พลงั งานที่เหมาะสมซ่งึ ได้รบั จาก และ
อาหาร เพียง
ในสัด
สาระสำคัญ เวลา 12
(ชว่ั โมง) นำ้ หนกั
จิตวิทยาศาสตร์เป็นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคล
ดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ 1 15
บวนการทางวิทยาศาสตร์ 1
อาหารหลัก 5 หมู่ มีดังนี้ หมู่ที่ 1 ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ งา 1
ถ่วั ชนิดตา่ งๆ หมทู่ ่ี 2 ได้แก่ ขา้ ว แปง้ นำ้ ตาล เผือก และมนั หมู่
ได้แก่ ผักชนิดต่างๆ หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผลไม้ชนิดต่างๆ และหมู่ท่ี 5 1
ก่ เนย นำ้ มัน และไขมันจากพืชและสัตว์
1
สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต
ตีน ไขมัน เกลอื แร่ วิตามิน และน้ำ
ธงโภชนาการ คือ แนวทางการรับประทานอาหารที่ให้คุณคา่
อาหารครบถ้วนตรงกับความต้องการของร่างกาย โดยการนำ
หารหลัก 5 หมู่ มาจัดแบ่งออกเป็นชั้นๆ ตามสัดส่วน ปริมาณ
ความหลากหลายท่ีควรรบั ประทานใน 1 วัน เพื่อช่วยใหผ้ ูบ้ รโิ ภค
กรบั ประทานอาหารหลกั 5 หมู่ ไดเ้ หมาะสมกับเพศและวยั
อาหารบางชนิดอยู่ในกลุ่มเดียวกันและสามารถรับประทาน
แทนกนั ได้
การใช้พลังงานในการทำกิจกรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน 1
รับประทานอาหารในแต่ละวัน จึงต้องเลือกรับประทานให้ถูก 1
วนและในปริมาณทเี่ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของรา่ งกาย
การรับประทานอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโตตามเพศ
ะวัย และมีสุขภาพดี จำเป็นต้องรับประทานให้ได้พลังงาน
งพอกับความต้องการของร่างกายและให้ได้สารอาหารครบถ้วน
ดสว่ นที่เหมาะสมกบั เพศและวยั
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้
ตัวชี้วัด
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11
วิตามนิ ในอาหาร (ว 1.2 ป. 6/3)
ร่างก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 12 ทำให
ระบบย่อยอาหาร (1)
(ว 1.2 ป. 6/4)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 หลอ
ระบบย่อยอาหาร (2) และต
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 14 (ว 1.2 ป. 6/4)
การยอ่ ยอาหาร รว่ มก
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15 (ว 1.2 ป. 6/4)
อวัยวะในระบบย่อยอาหาร เปลี่ย
ลำเล
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 16
การเพ่ิมพ้นื ท่ใี นการย่อยอาหาร (ว 1.2 ป. 6/4)
สารอ
สูห่ ล
(ว 1.2 ป. 6/5)
อาหา
สัมผสั
สาระสำคัญ เวลา 13
(ชว่ั โมง) นำ้ หนัก
วิตามินแม้จะเป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกายและ
กายต้องการในปริมาณน้อย แต่ร่างกายจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะ 1
ห้ระบบตา่ งๆ ของร่างกายทำงานไม่เปน็ ปกติ
1
ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ปาก
อดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ 1
ตบั อ่อน 1
ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ซึ่งทำหน้าที่ 1
กันในการย่อยอาหารและดูดซมึ สารอาหาร
1
การย่อยอาหารเป็นกระบวนการที่ทำให้โมเลกุลของอาหาร
ยนสภาพไปเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก พอที่ร่างกายจะดูดซึมและ
ลียงไปยังเซลลต์ า่ งๆ ได้
อวัยวะต่างๆ ในระบบย่อยอาหารทำงานร่วมกันเพื่อทำให้
อาหารทอ่ี ยใู่ นอาหารมีขนาดเล็กลงจนรา่ งกายสามารถดูดซึมเข้า
ลอดเลอื ดและนำไปใชไ้ ด้
การเคี้ยวอาหารให้ละเอียดเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการย่อย
าร เนอ่ื งจากชว่ ยเพม่ิ พ้ืนทใี่ ห้อาหารทีร่ บั ประทานเข้าไปมีโอกาส
สเอนไซมไ์ ด้มาก
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตวั ชี้วดั
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 17
ไฟฟา้ น่ารู้ การถ่ายโอนประจุไฟฟา้ (ว 2.2 ป.6/1)
ประจ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 18 ไฟฟา้
ผลของแรงไฟฟา้
(ว 2.2 ป. 6/1)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 19 ประจ
สญั ลักษณแ์ ละส่วนประกอบของ ดึงดูด
วงจรไฟฟา้ วัตถุ
วัตถุท
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า (ว 2.3 ป.6/1)
(ว 2.3 ป.6/2) สายไ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 21
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย กระแ
กระแ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 22
ตัวนำไฟฟา้ (ว 2.3 ป.6/1)
(ว 2.3 ป.6/2) สายไ
เช่น
เป็นต
เครื่อ
ไฟฟา้
(ว 2.3 ป. 6/1)
สายไ
กระแ
กระแ
(ว 2.3 ป. 6/1)
เหล็ก
อุปก
สาระสำคญั เวลา 14
(ชัว่ โมง)
วัตถุสามารถถ่ายโอนประจุลบกับวัตถุอื่นได้ วัตถุทุกชนิดมี นำ้ หนกั
จุไฟฟ้า เมื่อนำวัตถุต่างชนิดกันมาขัดถูกันจะทำให้เกิดประจุ 1 20
าทส่ี ะสมบนวัตถุ 1
แรงไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้า 2 ชนิด คือ ประจุบวกและ 1
จุลบ ถ้านำวัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการถูมาเข้าใกล้กันแล้วเกิดแรง
ด แสดงว่าวัตถุทั้ง 2 ชนิดเกิดประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน แต่ถ้านำ 1
2 ชนิดที่ผ่านการถูมาเข้าใกล้กันแล้วเกิดแรงผลักกัน แสดงว่า
ทัง้ 2 ชนิดเกิดประจุไฟฟา้ ชนดิ เดยี วกนั 1
วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า 1
ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยวงจรไฟฟ้าที่
แสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด และวงจรไฟฟ้าท่ี
แสไฟฟ้าไหลไมค่ รบวงจร เรยี กวา่ วงจรเปิด
วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ถา่ นไฟฉาย หรือแบตเตอร่ี ทำหน้าท่ใี หพ้ ลังงานไฟฟ้า สายไฟฟา้
ตัวนำไฟฟ้าทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและ
องใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปลี่ยนพลังงาน
าเปน็ พลงั งานอนื่
วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยวงจรไฟฟ้าที่
แสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด และวงจรไฟฟ้าท่ี
แสไฟฟา้ ไหลไม่ครบวงจร เรียกวา่ วงจรเปดิ
ตัวนำไฟฟ้าเป็นวัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ เช่น ทองแดง
ก สังกะสี และอะลูมิเนียม ใช้ทำสายไฟฟ้าและทำชิ้นส่วน
กรณ์ไฟฟ้าหรือเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตวั ชี้วัด
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 23
แหล่งพลงั งานไฟฟา้ (ว 2.3 ป. 6/1)
บวก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 24 ถ้าต
การต่อเซลลไ์ ฟฟ้า กระแ
ไดนา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
แผนภาพวงจรไฟฟ้า (1) (ว 2.3 ป. 6/3)
เซลล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26 อนุก
แผนภาพวงจรไฟฟ้า (2)
(ว 2.3 ป. 6/2)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 27 สามา
การต่อหลอดไฟฟา้ เขียน
ของว
(ว 2.3 ป. 6/2)
สามา
เขียน
ของว
(ว 2.3 ป. 6/5)
และก
(ขั้วเด
เซลล
กระแ
ไฟฟา้
สาระสำคัญ เวลา 15
(ชั่วโมง) นำ้ หนัก
ถ่านไฟฉายประกอบด้วย วัสดุสองชนิดทำหน้าท่ีเป็นข้ัวไฟฟา้
กและขั้วไฟฟ้าลบ และสารที่เป็นของผสมเปียกชื้นที่นำไฟฟ้าได้ 1
ต่อขั้วไฟฟ้าบวกและลบด้วยสายไฟฟ้าจนครบวงจร จะมี
แสไฟฟ้าในวงจรถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือ 1
าโม และไฟฟ้าจากสิง่ มชี ีวิต เปน็ แหล่งพลังงาน 1
เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อกัน โดยให้ขั้วบวกของ 1
ล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่งต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบ
กรม ทำให้มพี ลงั งานไฟฟ้าเหมาะสมกบั เคร่อื งใช้ไฟฟา้ 1
การสื่อสารและการอธิบายการต่อวงจรไฟฟา้ ให้เข้าใจตรงกนั
ารถใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า และ
นอธิบายด้วยแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูปส่วนประกอบ
วงจรไฟฟา้
การสื่อสารและการอธิบายการต่อวงจรไฟฟา้ ให้เข้าใจตรงกัน
ารถใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า และ
นอธิบายด้วยแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูปส่วนประกอบ
วงจรไฟฟ้า
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม หลอดไฟฟ้าจะต่อเรียงกัน
กระแสไฟฟา้ จะผ่านหลอดไฟฟ้าเปน็ ปรมิ าณเดียวกนั
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเป็นการนำปลายข้างเดียวกัน
ดียวกัน) ของแต่ละหลอดไฟฟ้ามารวมกันก่อนแล้วจึงต่อเข้ากับ
ล์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด โดย
แสไฟฟ้ารวมในวงจรไฟฟ้าเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่แยกผ่านหลอด
าแต่ละหลอดรวมกัน
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู
ตวั ชว้ี ัด
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 28
การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม (ว 2.3 ป. 6/5)
(ว 2.3 ป. 6/6) หลอ
หลอ
หลอ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 29 (ว 2.3 ป. 6/5) หลอ
การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและ (ว 2.3 ป. 6/6) หลอ
แบบขนาน หลอ
(ว 2.3 ป. 6/5) สามา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 30 (ว 2.3 ป. 6/6) บ้าน
การใชไ้ ฟฟา้ อย่างปลอดภัย (ว 2.1 ป. 6/1) หลอ
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 31 (ว 2.1 ป. 6/1) แตก
การแยกสาร การจำแนกสาร (1) ทั้งห
ยงั คง
ในชีวติ ประจำวนั
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 32 สามา
การจำแนกสาร (2) เนือ้ ผ
สามา
เน้อื ผ
สาระสำคญั เวลา 16
(ช่วั โมง) นำ้ หนกั
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม เมอื่ ถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใด
อดหนึ่งออกจะทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือดับทั้งหมด ส่วนการต่อ 1
อดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่งึ ออก
อดไฟฟา้ ทเี่ หลอื ยังคงสว่างอยู่
การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รม เมอื่ ถอดหลอดไฟฟา้ หลอดใด 1 10
อดหนึ่งออกทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือดับทั้งหมด ส่วนการต่อ
อดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่งึ ออก 1
อดไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบ 1
ารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เชน่ การตอ่ หลอดไฟฟา้ หลายหลอดใน 1
นต้องต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน เพื่อเลือกใชห้ ลอดไฟฟ้าหลอดใด
อดหน่งึ ได้ตามตอ้ งการ
การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
กต่างกัน เช่น ถ้าต้องการใช้สวิตช์ 1 ตัวควบคุมหลอดไฟฟ้า
หมด ต้องต่อแบบอนุกรม แต่ถ้าต้องการให้หลอดไฟฟ้าหลอดอ่ืน
งใชไ้ ดเ้ ม่ือมีบางหลอดเสยี ตอ้ งตอ่ แบบขนาน
สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน เรา
ารถจำแนกสารผสมเป็น 2 ประเภทได้ คือ สารเน้อื เดียวและสาร
ผสม โดยใชล้ ักษณะของเนอื้ สารเป็นเกณฑ์
สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน เรา
ารถจำแนกสารผสมเปน็ 2 ประเภทได้ คอื สารเนอ้ื เดยี วและสาร
ผสม โดยใชล้ ักษณะของเนอื้ สารเปน็ เกณฑ์
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 33 ตัวชวี้ ดั
การจำแนกสาร (2)
(ว 2.1 ป. 6/1)
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 34 มีลัก
การแยกของแข็งออกจากของแขง็ เนอ้ื ผ
(1) แตกต
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 35 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกของแข็งออกจากของแขง็ สมบ
(2) แตก
การฝ
(ว 2.1 ป. 6/1)
ได้ด้ว
แยกข
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 36 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกของแขง็ ท่ไี มล่ ะลายใน
ของเหลวออกจากของเหลว (1) ผสม
และก
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 37 (ว 2.1 ป. 6/1) จากข
การแยกของแข็งทไ่ี มล่ ะลายใน (ว 2.1 ป. 6/1) กรอง
ของเหลวออกจากของเหลว (2)
ใช้แม
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 38 วิธีกา
การแยกสารแม่เหลก็ ออกจากสาร
ผสม
สาระสำคญั เวลา 17
(ชั่วโมง) นำ้ หนัก
สารเนื้อเดียวจะมองเห็นสารที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เนื้อสาร
กษณะเหมือนกันและมีสมบัติเหมือนกันทั่วทั้งเนื้อสาร ส่วนสาร 1
ผสมจะมองเห็นสารที่ผสมแยกกันอยา่ งชดั เจน เน้อื สารมีลกั ษณะ
ต่างกนั และมีสมบตั ิของเนอื้ สารไมส่ ม่ำเสมอ 1
วิธีการที่เหมาะสมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับลักษณะและ 1
บตั ขิ องสารที่ผสมกัน สารผสมท่ีมอี งค์ประกอบเป็นของแข็งขนาด
กต่างกันชัดเจนมาผสมกัน สามารถแยกสารได้ด้วยการหยิบออก
ฝดั และการร่อน ซงึ่ แต่ละวิธีมหี ลักการแยกสารทีแ่ ตกต่างกนั
การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจากของแข็งสามารถทำ
วยการหยิบออก การฝัด และการร่อน ซึ่งแต่ละวิธีเหมาะกับการ
ของแขง็ ที่มลี ักษณะแตกต่างกนั
สารผสมทมี่ ีองคป์ ระกอบเป็นของแขง็ ทีไ่ มล่ ะลายในของเหลว 1
มกับของเหลว สามารถแยกสารด้วยการตกตะกอน การรินออก
การกรอง ซึ่งแตล่ ะวธิ มี ีหลักการแยกสารท่แี ตกตา่ งกนั
การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลวออก 1
ของเหลวสามารถทำได้ดว้ ยการตกตะกอน การรินออก และการ 1
ง ซง่ึ แต่ละวธิ ีเหมาะกับการแยกสารผสมที่มีลักษณะแตกตา่ งกนั
การแยกสารที่ใช้ประโยชน์จากสมบัตเิ ฉพาะของสาร คือ การ
ม่เหลก็ ดึงดูด โดยถ้ามีสารใดสารหนงึ่ เป็นสารแม่เหลก็ สามารถใช้
ารใช้แม่เหล็กดึงดูดเพ่อื แยกสารได้
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ชวี้ ดั
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 39
การแยกสารในชีวิตประจำวนั (ว 2.1 ป. 6/1)
ผสม
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 40 แยกส
การทดสอบกลางปี สารม
-
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 41 (ว 3.2 ป. 6/4) ชาย
ปรากฏการณแ์ ละ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ (ว 3.2 ป. 6/4) อุณห
การเปล่ียนแปลงของ (ว 3.2 ป. 6/4) ของโ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 42
อากาศ ลมบก ลมทะเล (1) คายค
ให้อุณ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 43 เกดิ ก
ลมบก ลมทะเล (2) มีอุณ
เนอ่ื ง
อุณห
ส่งผล
ส่วน
เนื่อง
อุณห
อากา
สาระสำคญั เวลา 18
(ชว่ั โมง) นำ้ หนกั
การแยกสารวธิ ีต่างๆ ตอ้ งสังเกตลักษณะและสมบตั ิของสารท่ี
มกัน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเลือกวิธีการที่เหมาะสมเพื่อใช้ 1
สาร ซง่ึ การแยกสารบางชนิดในชวี ิตประจำวันอาจต้องใช้วิธีแยก
มากกว่า 1 วธิ ี เพอื่ ใหไ้ ด้สารทต่ี อ้ งการ
เมื่ออุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำบริเวณ - 14
ทะเลแตกต่างกันจะทำให้เกิดลมบก ลมทะเลขึ้น และเมื่อ 1
หภูมิของอากาศเหนือพื้นทวีปและพื้นมหาสมุทรบริเวณเขตร้อน 1
โลกแตกต่างกนั จะทำใหเ้ กดิ มรสมุ ขน้ึ
1
ลมบก ลมทะเลเกิดขึ้นเมอ่ื พื้นดินและพ้ืนน้ำทะเลดดู กลนื และ
ความร้อนที่ได้รับจากดวงอาทติ ย์ในแต่ละช่วงเวลาไม่เทา่ กัน ทำ
ณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำทะเลแตกต่างกัน จึง
การเคล่อื นที่ของอากาศจากบริเวณท่ีมีอณุ หภมู ิต่ำไปยังบริเวณท่ี
ณหภูมิสงู
ลมบกเป็นลมที่พัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเลในเวลากลางคืน
งจากพนื้ น้ำทะเลคายความร้อนไดช้ ้ากวา่ พื้นดิน พ้ืนน้ำทะเลจึงมี
หภูมิสูงกว่าพื้นดิน ทำให้อากาศเหนือพื้นน้ำทะเลลอยตัวข้ึน
ลให้อากาศเหนือพื้นดินซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าเคลื่อนเข้ามาแทนที่
นลมทะเลเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ชายฝั่งในเวลากลางวัน
งจากพื้นดินดูดกลืนความร้อนได้เร็วกว่าพื้นน้ำทะเล พื้นดินจึงมี
หภูมิสูงกว่า ทำให้อากาศเหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้น ส่งผลให้
าศเหนือพนื้ น้ำทะเลซึ่งมีอณุ หภูมิตำ่ กว่าเคลื่อนเข้ามาแทนท่ี
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตัวช้วี ัด
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 44
ประโยชน์ของลมบก ลมทะเล (ว 3.2 ป. 6/4)
ลมบ
ลมท
ลมบ
ใช้แล
กระแ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 45 (ว 3.2 ป. 6/4) เป็นบ
มรสุม (1) (ว 3.2 ป. 6/5) ตะวัน
ฤดูตา่
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 46 (ว 3.2 ป. 6/4)
มรสมุ (2) (ว 3.2 ป. 6/5) เป็นบ
ตะว
กลา
ตะวัน
กุมภ
กุมภ
ประเ
หรืออ
อย่าง
สาระสำคญั เวลา 19
(ชวั่ โมง) นำ้ หนัก
ลมบก ลมทะเลเป็นลมประจำถิ่นที่พบบริเวณชายทะเล โดย
บกเกิดขึ้นเวลากลางคืน ทำให้มีลมพัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเล ส่วน 1
ทะเลเกิดขึ้นเวลากลางวัน ทำให้มีลมพัดจากทะเลเข้าสู่ชายฝั่ง
บก ลมทะเลสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมาย เช่น ใชเ้ ลน่ วา่ ว
ล่นเรือใบ และเล่นกระดานโต้คลื่น และยังสามารถใช้ผลิต
แสไฟฟ้าจากกังหันลมไดอ้ กี ดว้ ย
มรสุมเป็นลมประจำฤดู เกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่ง 1
บริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุม 1
นตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีผลต่อการเกิด
างๆ ของประเทศไทย
มรสุมเป็นลมประจำฤดู เกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่ง
บริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุม
วันตกเฉียงใต้ในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง
งเดือนตุลาคมทำให้เกิดฤดูฝน และได้รับอิทธิพลจากมรสุม
นออกเฉียงเหนือในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมจนถึงเดือน
ภาพันธ์ ทำให้เกิดฤดูหนาว ส่วนช่วงประมาณกลางเดือน
ภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงเปลี่ยนมรสุมและ
เทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร แสงจากดวงอาทิตย์เกือบตั้งตรง
อาจต้งั ตรงกับประเทศไทยในเวลาเทีย่ งวนั ทำใหไ้ ด้รบั ความรอ้ น
งเต็มที่ อากาศจึงร้อนอบอา้ ว และทำให้เกดิ ฤดูร้อน
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตวั ช้ีวดั
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 47
ปรากฏการณ์เรอื นกระจก (1) (ว 3.2 ป. 6/8)
(ว 3.2 ป. 6/9) บรรย
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 48
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (2) สู่ผิว
ของส
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 49 ส่งผล
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก (3) ร่วมก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 50 (ว 3.2 ป. 6/8)
ปรากฏการณ์เรอื นกระจก (4) (ว 3.2 ป. 6/9) กระจ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 51 เรือน
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก (5)
(ว 3.2 ป. 6/8) กลาย
(ว 3.2 ป. 6/9) และท
บนโล
(ว 3.2 ป. 6/8)
(ว 3.2 ป. 6/9) โลกร
มนษุ
(ว 3.2 ป. 6/8)
(ว 3.2 ป. 6/9) เรือน
บางส
ต่อก
ปราก
สาระสำคญั เวลา 20
(ชั่วโมง) นำ้ หนัก
ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือนกระจกในช้ัน
ยากาศของโลกกกั เก็บความรอ้ นแล้วคายความรอ้ นบางส่วนกลับ 1
โลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต
ส่ิงมีชีวติ บนโลก หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกรุนแรงมากขึ้นจะ 1
ลต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมของโลกได้ ดังนั้นมนุษย์จึงควร
กนั ลดกิจกรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กิดแกส๊ เรือนกระจก
การทำกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มีการปล่อยแก๊สเรือน
จกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปรากฏการณ์
นกระจกรนุ แรงมากขน้ึ และกลายเป็นภาวะโลกรอ้ น
การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกที่รุนแรงมากขึ้นและ 1
ยเปน็ ภาวะโลกร้อน สง่ ผลให้ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง 1
ทำให้อณุ หภมู ิของโลกไม่เหมาะสมตอ่ การดำรงชวี ิตของส่ิงมีชีวิต 1
ลก
ปรากฏการณ์เรือนกระจกที่รนุ แรงมากขึ้นจนกลายเป็นภาวะ
ร้อนจะส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมของโลกได้ ดังนั้น
ษยจ์ ึงควรร่วมกันลดกิจกรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ แก๊สเรอื นกระจก
เมื่อดวงอาทิตย์แผ่ความร้อนมากระทบกับพื้นผิวโลก แก๊ส
นกระจกจะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้และคายความร้อน
ส่วนออกไปนอกโลก เพื่อรักษาสมดุลของอุณหภูมิให้เหมาะสม
การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า
กฏการณเ์ รอื นกระจก
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ช้ีวัด
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 52
ปรากฏการณแ์ ละ ประเภทของหิน (1) (ว 3.2 ป.6/1)
การเปล่ียนแปลงของโลก ไดแ้ ก
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 53
ประเภทของหนิ (2) (ว 3.2 ป. 6/1)
(ว 3.2 ป. 6/2) นำไป
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 54
วัฏจักรหนิ (ว 3.2 ป. 6/1)
ประเ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 55 รปู กา
สมบตั ทิ างกายภาพของแร่
(ว 3.2 ป. 6/2)
แตก
เช่น
แตก
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 56 (ว 3.2 ป. 6/2) ส่วน
ประเภทของแร่ ทางเ
(ว 3.2 ป. 6/3) ประเ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 57 (ว 3.2 ป. 6/3)
ประเภทของซากดึกดำบรรพ์ (ว 3.2 ป. 6/3) สัตว์
ดกึ ด
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 58
กระบวนการเกดิ ซากดึกดำบรรพ์ สิ่งม
สิง่ มีช
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 59
ซากดกึ ดำบรรพ์ดรรชนีและ ค่อน
สาระสำคัญ เวลา 21
(ชวั่ โมง)
หินสามารถจำแนกตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท นำ้ หนกั
ก่ หนิ อคั นี หินตะกอน และ หนิ แปร 1 20
หินแต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันจึงสามารถ 1
ปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ตกต่างกนั
1
หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรมีการเปลี่ยนแปลงจาก
เภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง หรือประเภทเดิมได้ โดยมีแบบ 1
ารเปลย่ี นแปลงคงทแี่ ละตอ่ เนือ่ งเปน็ วัฏจักร
แร่แต่ละชนิดมีการเรียงตัวและธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
กต่างกัน จึงทำให้แร่แต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน
สี สีผงละเอียด ผลึก ความแข็ง ความวาว ความโปร่งใส รอย
และความหนาแน่น
แร่แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แร่ประกอบหิน คือ แร่ที่เป็น 1
นประกอบสำคัญภายในหิน และแร่เศรษฐกิจ คือ แร่ที่มีคุณค่า
เศรษฐกิจ สามารถนำมาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ แบ่งเป็น 2 1
เภท คอื แร่โลหะและแร่อโลหะ 1
1
ซากดึกดำบรรพ์แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ซากดึกดำบรรพ์
ไม่มีกระดูกสันหลัง ซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง ซาก
ดำบรรพพ์ ืช และร่องรอยของสัตวด์ ึกดำบรรพ์
ซากดึกดำบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับรอยของ
มีชีวิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของ
ชวี ติ ทีป่ รากฏอยู่ในหนิ
ซากดึกดำบรรพ์ดรรชนีเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกอายุได้
นข้างแน่นอน มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นร่างของสิ่งมีชีวิตที่มีชีวิต
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตวั ช้วี ัด
การค้นพบซากดกึ ดำบรรพ์ใน
ประเทศไทย อยู่เฉ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 60 วิวัฒ
ภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบัติภัย (ว 3.2 ป.6/6)
(ว 3.2 ป. 6/7) การเ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 61 ภัยแ
การปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากภยั
ธรรมชาติและธรณพี ิบัติภัย (ว 3.2 ป.6/6)
(ว 3.2 ป. 6/7) ข่าวส
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 62
น้ำท่วม ปฏิบ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 63 ภัยธร
การกดั เซาะชายฝั่ง
(ว 3.2 ป.6/6) ได้รับ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 64 (ว 3.2 ป. 6/7)
ดินถล่ม (ว 3.2 ป.6/6) จากก
(ว 3.2 ป. 6/7) ทับถ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 65
แผน่ ดินไหว (ว 3.2 ป.6/6) เคลื่อ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 66 (ว 3.2 ป. 6/7) แรงโ
สนึ ามิ
(ว 3.2 ป.6/6) เคลอ่ื
(ว 3.2 ป. 6/7)
(ว 3.2 ป.6/6) การเ
(ว 3.2 ป. 6/7) ส่วนใ
ข้นึ ไป
สาระสำคญั เวลา 22
(ชวั่ โมง) นำ้ หนกั
ฉพาะในช่วงระยะเวลาอันสั้น แพร่หลายเป็นบริเวณกว้าง และมี
ฒนาการอย่างรวดเร็ว 1
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจาก 1
เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ โดย ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติ
แตล่ ะชนิดมีผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ มแตกตา่ งกนั
มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เช่น ติดตาม
สารอย่างสม่ำเสมอ เตรียมถุงยังชีพให้พร้อมใช้ตลอดเวลา และ
บัติตามคำสั่งของผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัดเมื่อเกิด
รรมชาติและธรณีพบิ ัตภิ ยั
นำ้ ทว่ มเปน็ ภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ภิ ัยทีเ่ กิดจากพ้ืนที่หนึ่ง 1
บปรมิ าณน้ำเกินกวา่ ที่จะกกั เก็บได้ ทำให้แผน่ ดินจมอยู่ใตน้ ำ้ 1
การกัดเซาะชายฝั่งเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิด 1
การกดั เซาะของคลนื่ หรอื ลม ทำใหต้ ะกอนจากบรเิ วณหน่ึงไปตก
ถมในอกี บริเวณหนึ่ง แนวของชายฝั่งเดมิ จึงเปลีย่ นแปลงไป 1
1
ดินถล่มเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากการ
อนที่ของมวลดินหรือหินจำนวนมากลงมาตามลาดเขาเนื่องจาก
โน้มถว่ งของโลก
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากการ
อนที่อย่างกะทนั หนั ของแผ่นเปลือกโลก
สึนามิเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นหลังจาก
เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ หรือดินถล่มในมหาสมุทร ซึ่งโดย
ใหญ่สึนามิเกิดจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทรที่มีขนาดตั้งแต่ 7.0
ป
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้
ตัวช้ีวดั
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 67
ปรากฏการณด์ าราศาสตร์ ปรากฏการณส์ ุริยุปราคาและ (ว 2.3 ป. 6/7)
และเทคโนโลยีอวกาศ จนั ทรปุ ราคา (ว 2.3 ป. 6/8) อาท
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 68 การบ
การเกิดเงามดื เงามวั (1)
(ว 2.3 ป. 6/7)
(ว 2.3 ป. 6/8) แสง
ประเ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 69 (ว 2.3 ป. 6/7)
การเกดิ เงามดื เงามัว (2) (ว 2.3 ป. 6/8) และบ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 70 (ว 3.1 ป. 6/1)
ปรากฏการณส์ ุรยิ ปุ ราคา (1)
และโ
อาท
แบบ
วงแห
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 71 เดียว
ปรากฏการณส์ ุริยุปราคา (2) เป็นผ
โลกท
มืดท
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 72 โดยท
ปรากฏการณ์สรุ ิยปุ ราคา (3)
สาระสำคญั เวลา 23
(ชั่วโมง)
ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคาเกิดจากดวง นำ้ หนกั
ิตย์ โลก และดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เกิด 1 17
บงั กนั ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์
1
เงาเกิดจากการนำวตั ถุทึบแสงมาก้ันเสน้ ทางการเคลื่อนที่ของ
ทำให้เกิดเงาบนฉากรับแสงที่อยู่ด้านหลัง เงาที่เกิดขึ้นมี 2
เภท คอื เงามดื และเงามวั
การมองแหล่งกำเนิดแสงจากบริเวณเงามืด บริเวณเงามัว 1
บรเิ วณทไ่ี มเ่ กดิ เงา ทำใหม้ องเห็นแหลง่ กำเนิดแสงแตกตา่ งกนั
สุริยุปราคาเปน็ ปรากฏการณท์ ่เี กดิ จากดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ 1
โลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทำให้ดวงจันทร์บังดวง 1
ิตย์ เป็นผลให้เงาของดวงจันทร์ทอดมายังโลก สุริยุปราคามี 3 1
บ ไดแ้ ก่ สรุ ยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง สรุ ิยุปราคาบางสว่ น และสุริยุปราคา
หวน
สุริยุปราคาเกดิ จากการท่ดี วงจันทร์โคจรมาอยูใ่ นแนวเส้นตรง
วกันกับดวงอาทิตย์และโลก ทำให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ไว้
ผลให้เงามืด เงามัวของดวงจันทร์ทอดมายังโลก ซึ่งผู้สังเกตบน
ที่อยู่บริเวณเงามืด เงามัวของดวงจันทร์จะมองเห็นดวงอาทิตย์
ท้งั ดวงหรอื บางสว่ น
การดูสุริยุปราคาอย่างปลอดภัยมี 2 วิธี คือ การดสู ุริยุปราคา
ทางตรงและการดสู รุ ยิ ปุ ราคาโดยทางออ้ ม
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ชี้วดั
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 79
ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ (ว 3.1 ป. 6/2)
สื่อส
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 80 ทรัพ
ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ
(ว 3.1 ป. 6/2)
การทดสอบปลายปี สื่อส
ทรพั
-
รวมระหวา่ งปี
ปลายปี
รวม
สาระสำคญั เวลา 25
(ช่ัวโมง) นำ้ หนัก
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ได้แก่ การใช้ดาวเทียม
สาร การใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และการใช้ดาวเทียมสำรวจ 1 70
พยากรธรรมชาติ 30
1 100
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ได้แก่ การใช้ดาวเทียม
สาร การใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และการใช้ดาวเทียมสำรวจ 80
พยากรธรรมชาติ -
80
-
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร้/ู
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 73 ตัวช้ีวดั
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา (1)
และด
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 74 อาท
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา (2) จันท
มวั
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 75
เทคโนโลยีอวกาศ (ว 3.1 ป. 6/2) เส้นต
เงาม
หรือบ
และศ
ไดจ้ า
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 76 (ว 3.1 ป. 6/2) ขอบ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ (ว 3.1 ป. 6/2) และย
(ว 3.1 ป. 6/2) การด
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 77
เทคโนโลยอี วกาศที่ใช้ในการสำรวจ ขึ้นไป
อวกาศ (1) ร้อน
ขา้ งห
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 78
เทคโนโลยอี วกาศทใ่ี ช้ในการสำรวจ อวกา
อวกาศ (2)
สาระสำคญั เวลา 24
(ช่ัวโมง) นำ้ หนัก
จันทรุปราคาเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากดวงอาทิตย์ โลก
ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทำให้โลกบังดวง 1
ทิตย์เกิดเป็นเงามืด เงามัวขึ้น จันทรุปราคามี 3 แบบ ได้แก่
ทรุปราคาเต็มดวง จันทรุปราคาบางส่วน และจันทรุปราคาในเงา
จันทรุปราคาเกิดจากดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนว 1
ตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์เคลือ่ นท่ีผ่านเข้าไปใน 1
มืดของโลก ทำให้ผู้สังเกตบนโลกมองเห็นดวงจันทร์มืดลงทั้งดวง
บางสว่ น
เทคโนโลยีอวกาศเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจ
ศึกษาวัตถุท้องฟ้า ทั้งในและนอกระบบสุริยะ เพื่อนำความรู้ที่
ากการสำรวจและศึกษามาใชป้ ระโยชน์ในด้านตา่ งๆ
เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อขยาย 1
บเขตในการเรียนรู้ของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ 1
ยังมีการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกใน 1
ดำรงชีวติ ของมนษุ ยอ์ กี ด้วย
จรวดเป็นยานพาหนะทีท่ ำหนา้ ทสี่ ง่ ยานอวกาศหรอื ดาวเทียม
ปเหนือชั้นบรรยากาศ โดยใช้การเผาไหม้เชื้อเพลิงให้เกิดแก๊ส
นที่พุ่งออกมาทางด้านท้ายและผลักดันให้จรวดเคลื่อนที่ไป
หนา้ ดว้ ยแรงมหาศาล
ดาวเทียม ยานอวกาศ และยานขนส่งอวกาศ เป็นเทคโนโลยี
าศท่ีใชใ้ นการสำรวจอวกาศ มหี น้าทส่ี ำรวจอวกาศแตกตา่ งกัน