The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prakaichat kwankaew, 2019-08-14 21:24:23

3300100568680_13091921211902

3300100568680_13091921211902

แผนการจดั การเรียนรู้

รหัส 2001-0008 วิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม
หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2545 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2546)

ประเภทวชิ า สามญั สมั พนั ธ์

จดั ทําโดย

นางสาวทัดดาว สว่างเกษม
ตาํ แหน่ง ครู

วทิ ยาลยั บรหิ ารธรุ กิจและการทอ่ งเทยี่ วนครราชสีมา
สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการสอนรายวชิ า

วิชา พลงั งานและสิ่งแวดล้อม รหสั 2001-0008

ระดบั ช้นั ปวช. จาํ นวน 2 หน่วยกิต จาํ นวนชวั่ โมง / สปั ดาห์ 3 ชวั่ โมง

จุดประสงค์รายวชิ า เพอ่ื ให้
1. มีความเขา้ ใจหลกั การการอนุรักษพ์ ลงั งาน และการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
2. สามารถดาํ เนินกิจกรรมอนุรักษพ์ ลงั งาน และจดั การส่ิงแวดลอ้ มตามหลกั การและ
กระบวนการ
3. มีกิจพิสยั ในการปฏิบตั ิงานอาชีพ และดาํ รงชีวติ อยา่ งมีคุณภาพ

มาตรฐานรายวชิ า
1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการที่เก่ียวกบั การจดั การพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม
2. ดาํ เนินกิจกรรมอนุรักษพ์ ลงั งานตามหลกั การและกระบวนการ
3. ดาํ เนินกิจกรรมจดั การสิ่งแวดลอ้ มตามหลกั การและกระบวนการ

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม แหล่งกาํ เนิดของพลงั งานและ
ส่ิงแวดลอ้ มความสมั พนั ธ์ ของพลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มกบั การดาํ รงชีวิตอยา่ งมีคุณภาพ หลกั
การและวิธีการอนุรักษพ์ ลงั งานและจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบและการป้ องกนั แกไ้ ขปัญหา
ดา้ นพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มกฎหมายและนโยบายท่ีเก่ียวขอ้ ง

หน่วยการสอน
วชิ า พลงั งานและส่ิงแวดล้อม (2001-0008)
ทฤษฎรี วม 54 ชั่วโมง (3 ชั่วโมง / สัปดาห์) ท-ป-น 3-0-2

สปั ดาห์ที่ หน่วยที่ ช่ือหน่วยการสอน จาํ นวนชวั่ โมง
(บทที่ ) ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน 6
1-2 พลงั งานสิ้นเปลือง 6
3-4 1 พลงั งานทดแทน 6
5-6 2 พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มกบั การดาํ รงชีวิต 6
7-8 3 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพลงั งานกบั ระบบนิเวศ 6
9-10 4 ปัญหาและผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มต่อการใชพ้ ลงั งาน 6
11-12 5 การอนุรักษพ์ ลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม 6
13-14 6 ระบบมาตรฐานการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม 6
15-16 7 กฎหมายเก่ียวกบั พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม 6
17-18 8 54
9 รวม

กฎหมายเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานสิ้นเปลือง
พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน

ระบบมาตรฐานการ พลงั งานและ พลงั งานทดแทน
จดั การส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม
พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม
การอนุรักษ์ กบั การดาํ รงชีวติ
พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม

ปัญหาและผลกระทบ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
สิ่งแวดลอ้ มตอ่ การใช้ พลงั งานกบั ระบบนิเวศ

ผงั มโนทศั น์ วชิ า พลงั งานและสิ่งแวดล้อม

หัวข้อเรื่องและงาน
1.1 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.2 ส่ิงแวดลอ้ ม
1.3 พลงั งาน
1.4 ความสมั พนั ธ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งาน
1.5 การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งาน
1.6 สาเหตุความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
1.7 ผลกระทบท่ีเกิดจากปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
1.8 แนวทางอนุรักษแ์ ละพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ผงั มโนทศั น์ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพลงั งาน

แนวทางอนุรักษแ์ ละพฒั นา ความหมาย ความสัมพนั ธ์
ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์
และสิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ
ส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน
ผลกระทบจาก
ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม สาเหตุการเส่ือมโทรม
ของทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอ้ ม

สาระสําคญั
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งหรือทรัพยท์ ี่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ กระบวนการต่าง ๆ

ทางฟิ สิกส์ เคมี และส่ิงเหลา่ น้นั ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม นกั อนุรักษ์
วิทยาแบ่งทรัพยากรธรรมชาติไว้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ทรัพยากรฯ ท่ีใชแ้ ลว้ ไมห่ มด ทรัพยากรฯ ที่
ใชแ้ ลว้ เกิดทดแทนได้ และทรัพยากรฯ ที่ใชแ้ ลว้ หมด

สิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างที่อยรู่ อบ ๆ ตวั เรา ท้งั ท่ีเกิดเองตามธรรมชาติและท่ี
เกิดจากการสร้างข้ึนของมนุษย์ ท้งั ที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดลอ้ มมีสมบตั ิเฉพาะตวั
ส่ิงแวดลอ้ มจะไม่อย่โู ดดเด่ียวในธรรมชาติ จะมีความตอ้ งการต่อสิ่งอื่น ๆ เสมอ หรือกล่าวไดว้ ่า
สิ่งแวดลอ้ มตอ้ งอยเู่ ป็นระบบถา้ สิ่งแวดลอ้ มหน่ึงถูกกระทบยอ่ มมีผลต่อสิ่งแวดลอ้ มอื่น ๆ ดว้ ยเสมอ

พลงั งาน หมายถึง ความสามารถในการทาํ งานที่มีอยใู่ นตวั ของสิ่งที่อาจให้งานได้ ไดแ้ ก่
พลงั งานหมุนเวียน หรืออาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อใหเ้ กิดพลงั งาน เม่ือใชแ้ ลว้ สามารถ
เกิดทดแทนได้ และพลงั งานสิ้นเปลืองอาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติท่ีก่อใหเ้ กิดพลงั งานแต่เมื่อ
ใชแ้ ลว้ ไม่สามารถเกิดทดแทนไดท้ รัพยากรธรรมชาติที่นาํ มาใชใ้ นดา้ นพลงั งานถา้ ไม่ตอ้ งผา่ นการ
แปรรูปเลยเรียกวา่ พลงั งานตน้ กาํ เนิด ส่วนท่ีผา่ นการแปรรูปเรียกวา่ พลงั งานแปรรูป

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งาน มีความสัมพนั ธ์ลึกซ้ึงแยกจากกนั ไม่ได้
ถ้าสิ่ งหน่ึ งสิ่ งใดถูกกระทบกระเทือนย่อมมีผลต่อสิ่ งอ่ืน ๆ ด้วยเสมอ ดังน้ัน การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน ตอ้ งเป็นไปตามหลกั อนุรักษว์ ิทยา นนั่ คือ ใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชนส์ ูงสุด คุม้ ค่าที่สุด ใชใ้ หไ้ ดน้ านที่สุด ผลกระทบนอ้ ยท่ีสุดและเหมาะกบั กาลเวลาท่ีจะใช้
รวมท้งั ขณะใชถ้ า้ เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถเกิดทดแทนไดต้ อ้ งพยายามหาสิ่งทดแทน
เสมอ

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะ
เม่ือนกั เรียนเรียนจบบทเรียนน้ี นกั เรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
2 อธิบายความสมั พนั ธ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
3. บอกสาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
4. อธิบายแนวทางอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มไดถ้ ูกตอ้ ง
5. เปรียบเทียบส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
เนือ้ หาสาระ
1.1 ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)

1.1.1 ใชแ้ ลว้ ไม่หมด
1.1.2 ใชแ้ ลว้ เกิดทดแทนได้
1.1.3 ใชแ้ ลว้ หมด
1.2 ส่ิงแวดลอ้ ม (Environment)
1.2.1 ประเภทของสิ่งแวดลอ้ ม

1) สิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติ
2) สิ่งแวดลอ้ มท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน

1.2.2 สมบตั ิของสิ่งแวดลอ้ ม
1) สิ่งแวดลอ้ มเป็นสมบตั ิเฉพาะตวั
2) สิ่งแวดลอ้ มไม่โดดเด่ียวในธรรมชาติ
3) ส่ิงแวดลอ้ มตอ้ งการสิ่งแวดลอ้ มอ่ืนเสมอ
4) สิ่งแวดลอ้ มตอ้ งอยเู่ ป็นกลุ่มหรือระบบ
5) ส่ิงแวดลอ้ มเม่ือถูกกระทบกระเทือนยอ่ มกระทบสิ่งแวดลอ้ มเสมอ
6) สิ่งแวดลอ้ มมีความเปราะบาง ความคงทนแตกต่างกนั
7) ส่ิงแวดลอ้ มมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ

1.2.3 โครงสร้างความรู้ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
1) ทรัพยากรธรรมชาติ
2) เทคโนโลยสี ่ิงแวดลอ้ ม
3) ของเสียและมลพิษส่ิงแวดลอ้ ม
4) สงั คมสิ่งแวดลอ้ ม

1.3 พลงั งาน (Fnergy)
1.3.1 ความหมายของพลงั งาน
1.3.2 แหล่งกาํ เนิดพลงั งาน
1) แหล่งพลงั งานจากเช้ือเพลิงฟอสซิล
2) พลงั งานทดแทน

1.4 ความสมั พนั ธข์ องทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน
1.5 การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน
1.6 สาเหตุความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน

1.6.1 การเพิม่ ประชากรของโลก
1.6.2 ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการและเทคโนโลยี
1.6.3 ความเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจ
1.6.4 การใชท้ รัพยากรธรรมชาติและพลงั งานขาดความระมดั ระวงั
1.6.5 ปัญหาทางดา้ นกฎหมาย
1.7 ผลกระทบท่ีเกิดจากปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม
1.7.1 ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและภยั ธรรมชาติคุกคาม
1.7.2 มลพษิ ส่ิงแวดลอ้ ม
1.7.3 ปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมือง

ข้นั ตอนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมที่สังเกต
หรือกิจกรรมครู (คุณลกั ษณะพึงประสงค)์
ข้นั นาํ ข้นั ตอนการเรียน
1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน หรือกิจกรรมนกั เรียน
โดยทาํ จากแบบฝึกหดั ทา้ ยบทแบบเลือก
ตอบ 14 ขอ้ (เวลา10 นาที) - นกั ศึกษาทาํ แบบทดสอบก่อน ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการสอน
2 อธิบายวตั ถุประสงคม์ าตรฐาน เรียนในเวลาที่กาํ หนด จะวดั ลกั ษณะพึงประสงค์
รายวชิ า และคาํ อธิบายรายวชิ า (คุณธรรมจริยธรรม) ที่สงั เกตได้
พลงั งานส่ิงแวดลอ้ ม โดยแผน่ ใส - จดบนั ทึกและสอบถาม แสดง ไดแ้ ก่
3. ใบการเรียนเน่ืองจากมีการประเมิน ความคิดเห็น - การตรงตอ่ เวลา
กิจกรรมกลุ่มใหน้ กั ศึกษาแบ่ง - สนใจใฝ่ รู้
กลุม่ ๆ ละไม่เกิน 6 คน โดยต้งั ชื่อ - นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มตามความ - ความรับผดิ ชอบ
กลุม่ เอง ตามความสมคั รใจและ สมคั รใจต้งั ชื่อกลุ่ม จากร่วม - ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
นง่ั ตามกลุ่มที่แบ่ง กนั คิดและนงั่ ตามกลุม่
4. ครูนาํ ข่าวและภาพปัญหาสิ่งแวด ฯลฯ
ลอ้ มและข่าววกิ ฤตใชพ้ ลงั งานทด
แทน แลว้ พดู คุยกบั นกั เรียน ถึง - แสดงความคิดเห็นจากภาพและ
สาเหตุและปัญหารวมท้งั แนวทาง ข่าวท่ีครูนาํ มาใหน้ กั ศึกษาดู
แกป้ ัญหา ซกั ถาม พดู คุย ยกตวั อยา่ ง
จากส่ือต่าง ๆ มาพดู คุยแลก
ข้นั สอน เปลี่ยนกบั เพื่อน ๆ
5. ครู – นกั เรียน อภิปรายร่วมกนั นาํ ไปสู่
- แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม
ความหมายทรัพยากรธรรมชาติ ตอบคาํ ถาม ยกตวั อยา่ ง
สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานพร้อม ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ ง ส่ิงแวดลอ้ ม และพลงั งาน
พร้อมจดบนั ทึก
6. อธิบายเน้ือหาในแบบเรียน
การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ - ซกั ถาม จดบนั ทึก
ส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน

ข้นั ตอนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสงั เกต
หรือกิจการรมครู ข้นั ตอนการเรียน (คุณลกั ษณะพึงประสงค)์

7. ครู – นกั เรียน พดู คุยถึงสาเหตุการ หรือกิจกรรมนกั เรียน
เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
- นกั เรียนแสดงความคิดเห็น
สาเหตุของการเสื่อมโทรม

และสิ่งแวดลอ้ มโดยใหน้ กั ศึกษา ของทรัพยากรธรรมชาติและ
แสดงความคิดเห็น สิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื นาํ ไปสู่การสรุป

8. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปสาเหตุ - ซกั ถาม ตอบคาํ ถามแสดงความ
ของความเสื่อมโทรมทรัพยากร คิดเห็น จดบนั ทึก
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มผล
กระทบและแนวทางอนุรักษ์ - ทาํ กิจกรรมท่ี 1.1 จดั บอร์ดวนั สาํ คญั
ติดประชาสัมพนั ธ์
9. ใหน้ กั เรียนทาํ กิจกรรมท่ี 1.1
และสง่ั ใบเวลาท่ีกาํ หนด - ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม แสดง
ข้นั สรุป ความคิดเห็น

10. ครู – นกั เรียน ร่วมกนั สรุปเน้ือหา - ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน และ
ในบทเรียนท้งั หมด แลว้ ทบทวน คาํ ถามทา้ ยบทเรียนตอนท่ี 1
ความเขา้ ใจ และ 2 เพ่ือนาํ คะแนนเกบ็ สะสม

11. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
และแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียนท่ี 1

งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน
- ใหน้ กั เรียนจดั หาแบบเรียนพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008)
- ใหห้ าภาพ ขา่ ว เก่ียวกบั ส่ิงแวดลอ้ มท้งั เร่ืองดี และปัญหา ใหน้ กั ศึกษาพจิ ารณาเพอื่ ตอบ
คาํ ถาม ในขณะเรียน
- ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามทา้ ยบทที่ 1 แบบเลือกตอบ)

ขณะเรียน
- แสดงความคิดเห็น ซกั ถามตามกิจกรรมการเรียน

หลงั เรียน
- ทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน เพอ่ื นาํ คะแนนเกบ็ สะสมและแบบทดสอบหลงั เรียน
ศึกษาบทเรียนท่ี 2 มาล่วงหนา้ ศึกษาราคาน้าํ มนั ปัจจุบนั เพือ่ เป็นแนวทางในการเรียน

บทเรียนท่ี 2 ต่อไป

ส่ือการเรียนการสอน
สื่อสิ่งพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พมิ พศ์ นู ย์
ส่งเสริมวชิ าการ

2 ข่าวสาร จากส่ือต่าง ๆ เกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน
3. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน (คาํ ถามแบบเลือกตอบประจาํ บทที่ 1 )

ส่ือโสตทศั น์
1. เคร่ืองฉายขา้ มศีรษะ (หรือ PowerPoint)
2 แผน่ โปร่งใส่ ประจาํ หน่วยท่ี 1

หุ่นจาํ ลองหรือของจริง (ถา้ มี)

การประเมินผล
ก่อนเรียน
ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามแบบเลือกตอบ บทที่ 1 ) 14 ขอ้ 10 นาที

ขณะเรียน
สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม

ตอบคาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพอื่ ประเมิน

หลงั เรียน
1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน (ขอ้ สอบแบบเลือกตอบเดียวกนั กบั ขอ้ สอบก่อนเรียน)

10นาที
2. ทาํ แบบทดสอบและคาํ ถามทา้ ยบทที่ 1 เพ่อื เป็นคะแนนเกบ็ สะสมและประเมินผล

ประจาํ หน่วยการเรียนที่ 1

แผนการสอน หน่วยท่ี 2
ชื่อวชิ า พลงั งานและสิ่งแวดล้อม สอนคร้ังท่ี 3 – 4
ช่ือหน่วย พลงั งานสิ้นเปลอื ง ชว่ั โมงรวม 6
ช่ือเรื่อง พลงั งานสิ้นเปลอื ง จาํ นวนชว่ั โมง 6

หัวข้อเร่ืองและงาน
1. พลงั งานสิ้นเปลือง
2 ปิ โตรเลียม
3. ก๊าซธรรมชาติ
4. ถ่านหินและหินน้าํ มนั
5. พลงั งานนิวเคลียร์

ผงั มโนทศั น์ พลงั งานสินเปลอื ง

ปิ โตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน
หินน้าํ มนั
ฟอสซิล
(Fossil)

พลงั งานสิ้นเปลือง

ไม่ใช่ฟอสซิล นิวเคลียร์

สาระสําคญั
พลงั งานสิ้นเปลือง หมายถึง พลงั งานที่ไดจ้ ากทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลว้ หมด ไม่

สามารถเกิดทดแทนได้ แบ่งออกเป็ นพลงั งานสิ้นเปลืองท่ีป็ นฟอสซิล (Fossil) หรือซากพืช
ซากสตั ว์ ท่ีทบั ถมกนั เป็นเวลานบั ลา้ น ๆ ปี ภายใตเ้ ปลือกโลกที่มีความร้อนและความดนั สูง ไดแ้ ก่
ปิ โตรเลียม หรือน้าํ มนั ดิบ ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และหินน้าํ มนั อีกอย่างหน่ึง ไดแ้ ก่พลงั งาน
สิ้นเปลืองที่ไม่ใช่ฟอสซิล ได้แก่ พลังงานนิวเคลียร์ ซ่ึงเกิดจากทาํ ลายนิวเคลียสของธาตุ
กมั มนั ตภาพรังสีที่หนกั ใหส้ ลายตวั หรือแตกตวั จะปลดปล่อยพลงั งานออกมาแลว้ เรานาํ พลงั งานที่
ไดอ้ อกมาในรูปของพลงั งานความร้อนไปใชป้ ระโยชน์ เครื่องท่ีผลิตพลงั งานนิวเคลียร์ชนิดแตกตวั
เรียกวา่ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนใหญ่นาํ ไปผลิตกระแสไฟฟ้ า ปฏิกิริยานิวเคลียร์อีกชนิดหน่ึง
ไดแ้ ก่ปฏิกิริยาหลอมรวมตวั ของธาตุเบาเป็นธาตุหนกั เช่น ไฮโดรเจนหลอมรวมตวั เป็นฮีเลียม ซ่ึง
เกิดอยทู่ ุกเวลาในดวงอาทิตย์ จะไดพ้ ลงั งานมหาศาลเช่นกนั และมากกว่าปฏิกิริยาแตกตวั ถึง 4 เท่า
ดงั น้นั การควบคุมจึงยงั อยใู่ นรูปแบบของการคิดคน้ หามาใชป้ ระโยชน์

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์
เม่ือนกั เรียนเรียนจบบทเรียนน้ี นกั เรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายของพลงั งานสิ้นเปลืองไดถ้ ูกตอ้ ง
2 อธิบายความหมายของปิ โตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินและหินน้าํ มนั ไดถ้ ูกตอ้ ง
3. เปรียบเทียบพลงั งานต่าง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง
4. บอกถึงข้นั ตอนการผลิตปิ โตรเลียมและก๊าซธรรมชาติไดถ้ ูกตอ้ ง
5. เลือกใชพ้ ลงั งานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
6. อธิบายการเกิดพลงั งานนิวเคลียร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ
2.1 ชนิดของพลงั งานสิ้นเปลือง

2.1.1 พลงั งานเช้ือเพลิงฟอสซิล
2.1.2 พลงั งานท่ีไม่ใชเ้ ช้ือเพลิงฟอสซิล
2.2 ปิ โตรเลียม (Petroleum)
2.2.1 การกาํ เนิดปิ โตรเลียม
2.2.2 การสะสมตวั ของปิ โตรเลียม

1) แหล่งกกั เก็บปิ โตรเลียมที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางธรณีวิทยาของช้นั หินใต้
พ้ืนผวิ โลก

1.1 โครงสร้างรูปประทุนคว่าํ
1.2 โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของช้นั หิน
1.3 โครงสร้างรูปโดม
2) แหล่งกกั เกบ็ ปิ โตรเลียม แบบเน้ือหินเปล่ียนแปลง หรือระดบั ช้นั
2.2.3 คุณสมบตั ิของปิ โตรเลียม
2.2.4 แหล่งของปิ โตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ

1) แหล่งปิ โตรเลียม สาํ คญั ของโลก
2) โอเปค
3) แหล่งปิ โตรเลียมของประเทศไทย
2.2.5 การสาํ รวจและพฒั นาแหล่งปิ โตรเลียม

1) การสาํ รวจทางธรณีวิทยา
2) การสาํ รวจทางฟิ สิกส์

2.1) การวดั ค่าความสนั่ สะเทือน
2.2) การวดั ความเขม้ สนามแม่เหลก็
2.3) วดั ค่าแรงดึงดูดของโลก
2.2.6 การเจาะสาํ รวจ
1) การเจาะสุ่ม
2) การเจาะหาขอบเขต
2.2.7 การพฒั นาแหล่งปิ โตรเลียม
1) การผลิตปิ โตรเลียม
2) การแยกปิ โตรเลียมก่อนนาํ ไปใชป้ ระโยชน์
2.2.8 กระบวนการกลน่ั น้าํ มนั
1) การแยก
2) การเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมี
3) การปรับปรุงคุณภาพ
4) การผสม
2.2.9 ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากการกลน่ั น้าํ มนั ดิบ
1) ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
2) น้าํ มนั เบนซิน
3) น้าํ มนั เช้ือเพลิงเคร่ืองป่ันใบพดั

4. น้าํ มนั เช้ือเพลิงเคร่ืองป่ันไอพน่
5. น้าํ มนั ก๊าด
6. น้าํ มนั ดีเซล
7. น้าํ มนั หล่อลื่น
8. น้าํ มนั เตา
9. ยางมะตอย
2.3 ก๊าซธรรมชาติ
2.3.1 กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ
1) การแยกสารที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
2) การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
2.3.2 ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและประโยชน์
2.3.3 คุณสมบตั ิทวั่ ไปของก๊าซธรรมชาติ
2.3.4 ขอ้ ดีของเช้ือเพลิงก๊าซธรรมชาติ
2.3.5 ก๊าซธรรมชาติสาํ หรับยานยนต์ NGV
1) รูปแบบการใช้ NGV
2) ประโยชน์ของการใช้ NGV
3) สมรรถนะของเช้ือเพลิง NGV
4) NGV ในประเทศไทย
2.3.6 ก๊าซหุงตม้ LPG
1) สมบตั ิของก๊าซหุงตม้
2) การติดต้งั ก๊าซหุงตม้
2.4 ถ่านหินและหินน้าํ มนั
2.4.1 ชนิดของถ่านหิน
1) ลิกไนต์
2) บิทูมินสั
3) ซบั บิทมู ินสั
4) แอนทราไซด์
2.4.2 หินน้าํ มนั
2.5 พลงั งานนิวเคลียร์
2.5.1 กระบวนการแตกตวั
2.5.2 กระบวนการรวมตวั

ข้นั ตอนการสอนหรือ กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมที่สงั เกต
กิจกรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือ
กิจกรรมของนกั เรียน ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการ
ข้นั นํา สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน ประสงค์ (คุณธรรมจริยธรรม)
ท่ีสังเกตได้
(คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 2 ตอนที่ 2 แบบ - ซกั ถาม จดบนั ทึก ไดแ้ ก่
เลือกตอบ) - สนทนา แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั - การตรงต่อเวลา
2. อธิบายวตั ถุประสงคก์ ารเรียนบทที่ 2 - สนใจใฝ่ รู้
3. พดู คุยกบั นกั เรียนเก่ียวกบั การใช้ วกิ ฤตพลงั งาน - ความรับผิดชอบ
พลงั งานและผลจากการศึกษาราคา - ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
น้าํ มนั ในปัจจุบนั - ซกั ถาม จดบนั ทึก
ฯลฯ
ข้นั สอน - ดู VCD การกาํ เนิดและการพฒั นา
4. อธิบายความหมายของพลงั งาน ปิ โตรเลียมจดบนั ทึกสรุปพอเขา้ ใจ

เช้ือเพลิงฟอสซิล - สนทนา ซกั ถาม สรุป การเกิดการ
5. ใหน้ กั เรียน ชม VCD เรื่องปิ โตรเลียม พฒั นาปิ โตรเลียมกระบวนการกลนั่
จนถึงนาํ ไปใชใ้ นรูปแบบต่าง ๆ
ของ ปตท. เวลา15 นาทีแลว้ จด - ซกั ถามสนทนาเพ่ือสรุปเปรียบเทียบ
บนั ทึกสรุป กา๊ ซกบั ปิ โตรเลียม จดบนั ทึก
6. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปการเกิด
การพฒั นาปิ โตรเลียมมาใช้ - ทาํ กิจกรรม 2.1 แลว้ สรุป
ในชีวติ ประจาํ วนั จากการดู VCD - แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม
7. เปรียบเทียบปิ โตรเลียมกบั กา๊ ซ
ธรรมชาติการใชป้ ระโยชน์ ตอบคาํ ถาม จดบนั ทึก
และการนาํ มาพฒั นา
8. ใหน้ กั เรียนทาํ กิจกรรมที่ 2.1 แลว้ สรุป - แสดงความคิดเห็น สนทนา ถาม
9. ครูอธิบายพลงั งานสิ้นเปลือง อ่ืน ๆ ตอบคาํ ถาม
ไดแ้ ก่ ถา่ นหิน และนิวเคลียร์
- ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
ข้นั สอน - ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทส่งในเวลาท่ีกาํ หนด
10. สรุปบทเรียนโดยการซกั ถาม

สนทนาเพอ่ื ความเขา้ ใจ
11. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
12. ใหท้ าํ คาํ ถามทา้ ยบทเกบ็ คะแนน

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน บทท่ี 2 (คาํ ถามทา้ ยบทแบบเลือกตอบ) 26 ขอ้ 15 นาที
ขณะเรียน

ทาํ กิจกรรมที่ 2.1 ศึกษาการใช้ NGV เปรียบเทียบกบั น้าํ มนั เบนซิล
หลงั เรียน

ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทเพ่ือวดั ประเมินผล
ไปศึกษาพลงั งานทดแทนล่วงหนา้
สื่อการเรียนการสอน
1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พมิ พศ์ นู ย์
ส่งเสริมวชิ าการ
2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทที่ 2
3. แผน่ โปสเตอร์ ส่ือการสอน ปิ โตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ ของ ปตท.

ส่ือโสตทศั น์
1. เครื่องฉายขา้ มศีรษะ
2. แผน่ โปร่งใส
3. VCD เรื่องปิ โตรเลียมของ ปตท. เวลา 15 นาที

หุ่นจําลองหรือของจริง (ถา้ มี)
ราคาน้าํ มนั และก๊าซธรรมชาติในปัจจุบนั (จากสถานีบริการน้าํ มนั ใกลเ้ คียง)

การประเมนิ ผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามแบบเลือกตอบ บทท่ี 2 ) เวลา 15 นาที
ขณะเรียน

สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพื่อประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน (ขอ้ สอบเกี่ยวกบั ขอ้ สอบก่อนเรียน)
2. ทาํ แบบฝึกหดั คาํ ถามทา้ ยบทเรียนบทท่ี 2 เพอื่ เป็นคะแนนประเมินผลประจาํ หน่วย

การเรียนที่ 2

แผนการสอน หน่วยที่ 3
ช่ือวชิ า พลงั งานและส่ิงแวดล้อม สอนคร้ังท่ี 5 – 6
ชื่อหน่วย พลงั งานทดแทน ชว่ั โมงรวม 6
ชื่อเรื่อง พลงั งานทดแทน จาํ นวนชว่ั โมง 6

หัวข้อเรื่องและงาน
1. ความหมายของพลงั งานทดแทน
2. แก๊สโซฮอลแ์ ละดีโซฮอล์
3. น้าํ มนั พชื
4. ไบโอดีเซล
5. ดีเซลปาลม์ บริสุทธ์ิ
6. เช้ือเพลิงชีวภาพ
7. พลงั งานน้าํ
8. พลงั งานลม
9. พลงั งานแสงอาทิตย์
10. พลงั งานความร้อนใตพ้ ภิ พ

ผงั มโนทศั น์พลงั งานทดแทน

พลงั งานความ พลงั งานแสงอาทิตย์
ร้อนใตพ้ ิภพ

พลงั งานลม ความหมาย
พลงั งานทดแทน

พลงั งานน้าํ พลงั งานทดแทน แก๊ซโซฮอล์
และดีโซฮอล์

เช้ือเพลิง ไบโอดีเซล
ชีวภาพ

ดีเซลปาลม์ น้าํ มนั พืช
บริสุทธ์ิ

สาระสําคญั

พลงั งานทดแทน หมายถึง พลงั งานทางเลือกเพื่อใช้ทดแทนพลงั งานท่ีสิ้นเปลืองหรือ
พลงั งานเช้ือเพลิงฟอสซิลที่นับวนั จะหมดไป เพ่ือให้มีพลงั งานใช้ตลอดไปโดยไม่เกิดวิกฤต
พลงั งานและไม่มีผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม พลงั งานทดแทนอาจจะเป็ นการเติมสารท่ีไดจ้ าก
ธรรมชาติใชแ้ ลว้ หมด ในเช้ือเพลิงฟอสซิล เพือ่ ใหม้ ีประสิทธิภาพสูงข้ึนและราคาถูกลง เช่น
แก๊สโซฮอล์ และดีโซฮอล์ เป็ นน้าํ มนั ท่ีเติมเอทานอลหรือแอลกอฮอล์ แทนน้าํ มนั เบนซิลและ
ดีเซลหรือพลงั งานที่ได้จากแหล่งท่ีไม่หมด ไดแ้ ก่ น้าํ มนั พืช ไบโอดีเซล ดีเซลปาล์มบริสุทธ์ิ
เช้ือเพลิงชีวภาพ พลงั งานน้าํ พลงั งานลม พลงั งานแสงอาทิตยแ์ ละพลงั งานความร้อนใตพ้ ิภพ ซ่ึง
พลงั งานเหล่าน้ีเป็นพลงั งานทางเลือก ในขณะที่กาํ ลงั ใชพ้ ลงั งานเช้ือเพลิงอยา่ งมากมาย ตอ้ งคิดไป
ดว้ ยวา่ จะพฒั นาพลงั งานทดแทนใดมาแทน

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะ

เม่ือนกั เรียนจบบทเรียนน้ี นกั เรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของพลงั งานทดแทนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
2. อธิบายความหมายของแก๊สโซฮอลแ์ ละดีโซฮอลไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
3. อธิบายการผลิตแก๊สโซฮอลแ์ ละดีโซฮอลไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
4. เปรียบการใชน้ ้าํ มนั ชนิดต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
5. อธิบายความหมายและการผลิตเช้ือเพลิงชีวภาพไดถ้ ูกตอ้ ง
6. เลือกใชท้ รัพยากรพลงั งานทดแทนไดถ้ ูกตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ

3.1 ความหมายของพลงั งานทดแทน
3.2 ก๊าซโซฮอลแ์ ละดีโซฮอล์

3.2.1 ความหมายของก๊าซโซฮอลแ์ ละดีโซฮอล์
3.2.2 เอทานอล

1) การผลิตเอทานอล
2) รูปแบบการใชเ้ อทานอล
3.2.3 ข้นั ตอนการผลิตก๊าซโซฮอลแ์ ละดีโซฮอล์
3.2.4 สมบตั ิของก๊าซโซฮอล์
3.2.5 ขอ้ ดีก๊าซโซฮอลแ์ ละดีโซฮอล์
3.3 น้าํ มนั พชื
3.3.1 การใชน้ ้าํ มนั พชื เนน้ เช้ือเพลิง
1) ปรับปรุงเคร่ืองยนต์
2) ปรับปรุงคุณภาพของน้าํ มนั พชื
3.4 ไบโอดีเซล
3.4.1 สมบตั ิของไบโอดีเซล
3.4.2 ผลดีของไบโอดีเซล
3.4.3 แนวทางพฒั นาไบโอดีเซลในประเทศไทย
3.4.4 การใชไ้ บโอดีเซล
3.5 ดีเซลปาลม์ บริสุทธ์ิ
3.6 เช้ือเพลิงชีวภาพ
3.6.1 ชนิดของเช้ือเพลิงชีวภาพ
1) ของแขง็
2) ของเหลว
3) ก๊าซ
3.6.2 การนาํ เช้ือเพลิงชีวภาพไปใช้
1) กระบวนการใหค้ วามร้อน
2) กระบวนการทางชีวภาพ
3.6.3 การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะ
3.6.4 ประโยชนข์ องระบบหมกั ก๊าซชีวภาพ
1) ดา้ นพลงั งาน
2) ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
3) ดา้ นป๋ ุย

3.7 พลงั งานน้าํ
3.8 พลงั งานลม

3.8.1 เทคโนโลยกี งั หนั ลม
3.8.2 การใชก้ งั หงั ลม
3.9 พลงั งานแสงอาทิตย์
3.9.1 การทาํ น้าํ ร้อน
3.9.2 การอบแหง้
3.9.3 การกลน่ั น้าํ
3.9.4 การหุงตม้
3.9.5 การผลิตกาํ ลงั จากรังสีดวงอาทิตยโ์ ดยผา่ นกระบวนความร้อน
3.9.6 การทาํ ความเยน็
3.9.7 การสูบน้าํ โดยผา่ นกระบวนความร้อน
3.9.8 การเปล่ียนรูปพลงั งานแสงอาทิตยเ์ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า
3.10 พลงั งานความร้อนใตพ้ ิภพ
3.10.1 แหล่งสนั กาํ แพง
3.10.2 แหล่งอาํ เภอฝาง

กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของ พฤติกรรมท่ีสงั เกต

นกั เรียน

ข้ันนํา ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการ

1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน - นกั เรียนทาํ แบบทดสอบภายในเวลาที่ สอนจะวดั ลกั ษณะพึง

30 ขอ้ (คาํ ถามทา้ ยบทแบบเลือกตอบ กาํ หนด ประสงค(์ คุณธรรมจริยธรรม)

บทที่ 3) 15 นาที ท่ีสังเกตได้ ไดแ้ ก่

2. อธิบายวตั ถุประสงคก์ ารเรียน - ซกั ถาม จดบนั ทึก - การตรงตอ่ เวลา

พลงั งานทดแทน - สนใจใฝ่ รู้

3. ครูนาํ บทความเก่ียวกบั พลงั งานทดแทน - สนทนา พดู คุย แสดงความคิดเห็น - ความรับผดิ ชอบ

มาเป็นตวั อยา่ งใหน้ กั เรียนดู แลว้ พดู คุย เก่ียวกบั ขา่ วสารและบทความที่ครู - ซ่ือสตั ยส์ ุจริต

สนทนา (เช่น ไบโอดีเซล จากสบ่ดู าํ นาํ มา นาํ ไปสู่การสรุปความหมาย ฯลฯ

จากมะพร้าว) พลงั งานทดแทน

ข้นั สอน

4. ครูใหค้ วามหมายของพลงั งานทดแทน - แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม จดบนั ทึก

พร้อม ๆ ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งวา่ มี

อะไรอีกที่จะทาํ เป็นพลงั งาน

ทดแทนได้

5. ใหค้ วามรู้ตามแบบเรียน ในเรื่องของ - แสดงความคิดเห็น สนทนา ซกั ถาม

พลงั งานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ และ ตอบคาํ ถามและจดบนั ทึกใจความ

ใหน้ กั เรียนสนทนา แสดงความคิด เห็น สาํ คญั ของพลงั งานทดแทนชนิด

(มีแผน่ โปสเตอร์สื่อการสอนและของจริง ตา่ ง ๆ

เซลสุริยะ)บนั ทึกสรุป

6. ใหน้ กั ศึกษาทาํ กิจกรรมท่ี 3.1 นาํ - ร่วมกนั คน้ ควา้ ตามกิจกรรม 3.1 ที่ได้

เสนอหนา้ ช้นั ในการเรียนคร้ังต่อไป มอบหมาย จนถึงนาํ ไปใชใ้ นรูปแบบ
ข้ันสรุป ตา่ ง ๆ

7. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปเน้ือหาวชิ า - แสดงความคิดเห็น นาํ เสนอหนา้ ช้นั
และผลกิจกรรมที่ 3.1 เพือ่ แลกเปล่ียน เรียนเพือ่ และเปลี่ยนกบั เพือ่ น ๆ
ความคิดเห็น กลุม่ วชิ า

8. ใหท้ าํ แบบทดสอบหลงั เรียน - ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน

9. ใหท้ าํ คาํ ถามทา้ ยบทเรียนที่ 3 เพ่ือเป็น - ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทที่ 3 ส่งในเวลาท่ี

คะแนนเกบ็ กาํ หนด

งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

ใหศ้ ึกษาบทเรียนท่ี 3 มาเก่ียวกบั พลงั งานทดแทน
ขณะเรียน

แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั กิจกรรมการเรียน ตามเน้ือหาวิชาและทาํ กิจกรรมท่ี 3.1 ทาํ
แบบทดสอบก่อนเรียนและทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน
หลงั เรียน

ศึกษาบทที่ 4 มาล่วงหนา้ เกี่ยวกบั พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มกบั การดาํ รงชีวิต

ส่ือการเรียนการสอน
สื่อสิ่งพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พมิ พศ์ นู ย์
ส่งเสริมวชิ าการ

2. ข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกบั พลงั งาน
3. แผน่ โปสเตอร์เกี่ยวกบั พลงั งานทดแทน ของ ปตท. และการพลงั แห่งชาติ
ส่ือโสตทศั น์
1. เคร่ืองฉายขา้ มศีรษะ
2. แผน่ โปร่งใส
หุ่นจําลองหรือของจริง
1. แผน่ เซลสุริยะ

การประเมินผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เป็นคาํ ถามแบบเลือกตอบ ประจาํ บทเรียนท่ี 3 (30 ขอ้ ) 15 นาที
ขณะเรียน

สังเกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพอ่ื ประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทเรียนท่ี 3 เพือ่ เป็นคะแนนประเมินผลการเรียนประจาํ หน่วยท่ี 3

แผนการสอน หน่วยท่ี 4
ชื่อวชิ า พลงั งานและส่ิงแวดล้อม สอนคร้ังที่ 7 – 8
ช่ือหน่วย พลงั งานและส่ิงแวดล้อมกบั การดํารงชีวติ ชวั่ โมงรวม 6
ช่ือเร่ือง พลงั งานและสิ่งแวดล้อมกบั การดํารงชีวติ จาํ นวนชวั่ โมง 6

หัวข้อเร่ืองและงาน
1. ประเภทของพลงั งาน
2. กฎการคงตวั ของพลงั งาน
3. การใชพ้ ลงั งานในชีวิตประจาํ วนั
4. หน่วยของพลงั งาน
5. การเปล่ียนหน่วยของพลงั งาน
6. พลงั งานไฟฟ้ า พลงั งานท่ีขาดไม่ไดใ้ นยคุ โลกาภิวตั น์
7. พลงั งานเช้ือเพลิงที่ใชส้ าํ หรับยานพาหนะ
8. พลงั งานในการประกอบอาหาร
9. มนุษยก์ บั การใชป้ ระโยชน์จากพลงั งาน
10. อิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานต่อมนุษย์

สาระสําคญั
มนุษยก์ บั พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มแยกกนั ไม่ได้ นอกจากเพื่อการอยรู่ อดของชีวติ แลว้

พลงั งานยงั เอ้ืออาํ นวยความสะดวกสบายในดา้ นการคมนาคมขนส่ง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
อาคารพาณิชย์ บา้ นอาศยั ลว้ นตอ้ งพ่งึ พาพลงั งานท้งั สิ้นโดยเฉพาะพลงั งานไฟฟ้ า ซ่ึงเป็นพลงั
งานแปรรูป ไดจ้ ากทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแ้ ลว้ หมดสิ้นหรือพลงั งานสิ้นเปลือง ไดแ้ ก่ น้าํ มนั
ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ในอนาคตทรัพยากรเหล่าน้ีกต็ อ้ งหมด ดงั น้นั การพฒั นาพลงั งานทดแทน
จึงเป็นทางเลือกอยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ การใชพ้ ลงั งานควรมีจิตสาํ นึกถึงการหมดไปของทรัพยากร
ธรรมชาติควรคุม้ คา่ และมีผลยงั่ ยนื

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / สมรรถนะ
เม่ือนกั เรียนเรียนจบบทเรียนน้ี นกั เรียนสามารถ

1. แยกประเภทของพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
2. อธิบายความหมายของพลงั งานต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
3. เปล่ียนหน่วยของพลงั งานต่าง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง

4. คาํ นวณคา่ การใชพ้ ลงั งานต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
5. อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานต่อมนุษยไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
6. เลือกใชพ้ ลงั งานท่ีเหมาะสมและประหยดั ไดถ้ กู ตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ
4.1 ประเภทของพลงั งาน

4.1.1 จาํ แนกตามหลกั ทางฟิ สิกส์
1) พลงั งานจลน์
2) พลงั งานศกั ย์

4.1.2 จาํ แนกตามลกั ษณะการใชง้ าน
1) พลงั งานสิ้นเปลือง
2) พลงั งานหมุนเวยี น

4.1.3 จาํ แนกตามแหล่งกาํ เนิดพลงั งาน
1) พลงั งานตน้ กาํ เนิด
2) พลงั งานแปรรูป
2.1) พลงั งานเคมี
2.2) พลงั งานความร้อน
2.3) พลงั งานกล
2.4) พลงั งานไฟฟ้ า
2.5) พลงั งานจากคล่ืนกลและคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้ า
2.6) พลงั งานนิวเคลียร์

4.2 กฎการคงตวั ของพลงั งาน
4.3 การใชพ้ ลงั งานในชีวติ ประจาํ วนั
4.4 หน่วยของพลงั งาน

4.4.1 วตั ถุประสงคใ์ นการใชง้ านแตกต่างกนั
4.4.2 ระบบการวดั ท่ีแตกต่างกนั

4.5 การเปล่ียนหน่วยของพลงั งาน
4.6 พลงั งานไฟฟ้ าพลงั งานท่ีขาดไม่ไดใ้ นยคุ โลกาภิวตั น์

4.6.1 การคาํ นวณพลงั งานไฟฟ้ า
4.7 พลงั งานเช้ือเพลิง ท่ีใชส้ าํ หรับยานพาหนะ

4.8 พลงั งานในการประกอบอาหาร
4.9 มนุษยก์ บั การใชป้ ระโยชน์จากพลงั งาน
4.10 อิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานกาํ หนดภาวะประชากร

4.10.1 สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานกาํ หนดภาวะประชากร
4.10.2 สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานกาํ หนดความเป็นอยขู่ องมนุษย์

1) อาหาร
2) เคร่ืองนุ่งห่ม
3) ที่อยอู่ าศยั
4) ยารักษาโรค
4.10.3 สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานมีอิทธิพลต่อการประกอบอาชีพของมนุษย์

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสงั เกต
ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนกั เรียน ทุกคร้ังที่มีการเรียนการ
ข้ันนํา สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนส่งในเวลา ประสงค(์ คุณธรรมจริยธรรม)
ที่กาํ หนด ท่ีสังเกตได้ ไดแ้ ก่
(คาํ ถามทา้ ยบทแบบเลือกตอบบทที่ 4) - การตรงตอ่ เวลา
30 ขอ้ 15 นาที - จดบนั ทึก ซกั ถาม - สนใจใฝ่ รู้
2. อธิบายวตั ถุประสงคข์ องการเรียนบทที่ 4 - ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม แสดงความคิดเห็น - ความรับผดิ ชอบ
3. พดู คุยกบั นกั เรียนถึงพลงั งานที่ใชอ้ ยู่ - ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
ปัจจุบนั พลงั งานอะไรที่คิดวา่ สาํ คญั ท่ีสุด ถึงปัญหาที่ครูถาม
ฯลฯ
ข้ันสอน - จดบนั ทึก ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม
4. อธิบายประเภทของพลงั งาน ฝึกใหน้ กั เรียน แสดงความคิดเห็น ทาํ โจทยค์ าํ ถาม
พลงั งานศกั ยแ์ ละพลงั งานจลย์
ทาํ โจทยแ์ บบฝึกหดั พลงั งานจลน์ พลงั งาน
ศกั ย์ และพลงั งานกล - ยกตวั อยา่ งพลงั งานที่ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
5. ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งพลงั งานที่ใชใ้ นชีวติ เช่น พลงั งานเช้ือเพลิง ความร้อน ไฟฟ้ า
ประจาํ วนั ซ่ึงเป็นพลงั งานภายนอก เพ่ือนาํ พลงั งานเคมี เป็นตน้
ไปสู่การอธิบายหน่วยของพลงั งาน
6. ครูอธิบายศึกษาพลงั งานไฟฟ้ าและการคิด - สนทนา แสดงความคิดเห็น คาํ นวณ
ค่าพลงั งานไฟฟ้ าในชีวติ ประจาํ วนั โดยนาํ ค่าพลงั งานไฟฟ้ าจากโจทยท์ ี่นกั เรียน
ใบเสร็จค่าไฟฟ้ ามาอธิบายใหน้ กั เรียน สมมติการใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้ า
คาํ นวณค่าพลงั งานไฟฟ้ าในบา้ นกิจกรรม
4.1 ร่วมกนั สรุปพลงั งานจากแหล่งอ่ืน ๆ - แสดงความคิดเห็น สนทนา พดู จดบนั ทึก
- จดบนั ทึก ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม
ข้นั สรุป
7. ร่วมกนั สรุปพลงั งานจากแหลง่ อ่ืน ๆ แสดงความคิดเห็น
8. อธิบายถึงอิทธิพลของส่ิงแวดลอ้ มตอ่ ความ - ซกั ถาม สนทนา แสดงความคิดเห็น

เป็นอยขู่ องมนุษย์ จดบนั ทึก
9. ครู – นกั เรียน ร่วมกนั สรุปพลงั งานและ - ทาํ แบบทดสอบ ตามท่ีกาํ หนด
- ทาํ แบบทดสอบ ตามที่กาํ หนด
ส่ิงแวดลอ้ มตอ่ การดาํ รงชีวติ ของมนุษย์
10. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
11. ทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน

งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

- ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน
- ใหศ้ ึกษาใบเสร็จค่าพลงั งานไฟฟ้ า
ขณะเรียน
- ทาํ กิจกรรมที่ 4.1
หลงั เรียน
- ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทท่ี 4
- ไปคิดหาระบบนิเวศเพื่อเตรียมตวั เรียนในบทต่อไป

ส่ือการเรียนการสอน
สื่อสิ่งพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พิมพศ์ นู ย์
ส่งเสริมวิชาการ

2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทท่ี 4
3. ตวั อยา่ งใบเสร็จค่าพลงั งานไฟฟ้ า
สื่อโสตทศั น์
1. เครื่องฉายขา้ มศีรษะ
2. แผน่ โปรงใส
หุนจําลองหรือของจริง (ถา้ มี)

การประเมินผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนก่อนเรียน (คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 4 แบบเลือกตอบ)
ขณะเรียน

สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพอ่ื ประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาํ แบบทดสอบและคาํ ถามทา้ ยบทที่ 4 เพ่อื เป็นคะแนนประเมินผลประจาํ หน่วยที่ 4

แผนการสอน หน่วยท่ี 5
ช่ือวชิ า พลงั งานและสิ่งแวดล้อม สอนคร้ังที่ 9 – 10
ชื่อหน่วย ความสัมพนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั ระบบนิเวศ ชวั่ โมงรวม 6
ช่ือเร่ือง ความสัมพนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั ระบบนิเวศ จาํ นวนชว่ั โมง 6

หัวข้อเรื่องและงาน
1. ระบบนิเวศ
2. ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ
3. การถ่ายทอดพลงั งานและการหมุนเวียนของธาตุอาหารในระบบนิเวศ
4. ความสมดุลของระบบนิเวศ

ผงั มโนทศั น์ความสัมพนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั ระบบนิเวศ

ความหมายของ ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ

ความสมดุลของ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ความสัมพนั ธ์ของ
ระบบนิเวศ สิ่งแวดลอ้ มกบั ระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

การถา่ ยทอดพลงั งาน
และหมุนเวยี นของธาตุ
อาหารในระบบนิเวศ

สาระสําคญั
ระบบนิเวศ หมายถึง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกบั สิ่งมีชีวติ และสิ่งมีชีวิตกบั ส่ิง

แวดลอ้ มมีการถ่ายเทพลงั งานและมวลสารระหวา่ งระบบนิเวศต่อระบบนิเวศดว้ ยกนั ซ่ึงเรียกวา่
ระบบนิเวศเปิ ด ระบบนิเวศมีในธรรมชาติและระบบนิเวศท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน ระบบนิเวศอาจจะ
ใหญ่หรือเลก็ ขนาดไหนกไ็ ด้ ระบบนิเวศใหญ่ท่ีสุดไดแ้ ก่ โลก ซ่ึงเรียกวา่ ไบโอสเฟี ยร์
(Biosphere) ภายในระบบนิเวศจะมีการควบคุมกนั เองโดยการปรับตวั การแทนท่ี การทวจี าํ นวน
เพือ่ ใหร้ ะบบนิเวศเหล่าน้นั มีองคป์ ระกอบของระบบนิเวศท่ีสมบูรณ์ และทาํ หนา้ ท่ีตามลกั ษณะ
ขององคป์ ระกอบต่าง ๆ เพือ่ ใหไ้ ดช้ นิด ปริมาณ สดั ส่วน และการกระจายของส่ิงมีชีวติ พอ
เหมาะกบั สภาพแวดลอ้ มท่ีส่ิงมีชีวิตน้นั อาศยั อยู่ ซ่ึงเรียกวา่ สมดุลนิเวศ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / สมรรถนะ
เม่อื นักเรียนเรียนจบบทเรียนนี้ นักเรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายของระบบนิเวศไดถ้ ูกตอ้ ง
2. บอกชนิดของระบบนิเวศไดถ้ กู ตอ้ ง
3. อธิบายความสมั พนั ธ์ของการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศไดถ้ ูกตอ้ ง
4. แยกกลุ่มของระบบนิเวศไดถ้ ูกตอ้ ง
5. อธิบายความสมดุลของระบบนิเวศไดถ้ ูกตอ้ ง
เนือ้ หาสาระ
5.1 ระบบนิเวศ

5.1.1 ความหมายของนิเวศวิทยาและระบบนิเวศ
1) ระบบนิเวศเปิ ด
2) ระบบนิเวศปิ ด
3) ระบบนิเวศโดดเด่ียว

5.1.2 กลุ่มของระบบนิเวศ
1) ระบบนิเวศธรรมชาติและใกลธ้ รรมชาติ
2) ระบบนิเวศเมือง – อุตสาหกรรม
3) ระบบนิเวศเกษตร

5.1.3 องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ
1) ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต
2) ส่วนประกอบท่ีมีชีวติ

5.2 ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ

5.2.1 การล่าเหยอื่
5.2.2 ภาวะอิงอาศยั หรือภาวะเก้ือกลู
5.2.3 ภาวะไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั
5.2.4 ภาวะพ่ึงพากนั
5.2.5 ภาวะปรสิต
5.2.6 ภาวะยอ่ ยสลาย
5.3 การถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี นธาตุอาหารในระบบนิเวศ
5.3.1 การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ
5.3.2 การหมุนเวยี นธาตุอาหารในระบบนิเวศ

1) แร่ธาตุที่ตอ้ งการปริมาณมาก
2) แร่ธาตุท่ีตอ้ งการปริมาณนอ้ ย
5.4 ความสมดุลของระบบนิเวศ
5.4.1 กฎแห่งการปรับตน
5.4.2 กฎแห่งการแทนท่ี
5.4.3 กฎแห่งการทวจี าํ นวน
5.4.4 กฎแห่งการควบคุม

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสังเกต
ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของ
ข้นั นํา ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการสอน
1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อน นกั เรียน จะวดั ลกั ษณะพึงประสงค์
(คุณธรรมจริยธรรม)
เรียน (คาํ ถามทา้ ยบทแบบเลือก - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน ตามเวลา ท่ีสังเกตได้ ไดแ้ ก่
ตอบ) 20 ขอ้ เวลา 15 นาที ที่กาํ หนด
2. อธิบายวตั ถุประสงคข์ องการ - การตรงต่อเวลา
การเรียน บทที่ 5 - จดั บนั ทึกซกั ถามแสดงความคิดเห็น - สนใจใฝ่ รู้
3. พดู คุย สนทนา แลกเปลี่ยน - ความรับผดิ ชอบ
ความคิดเห็นถึงเรื่องระบบ - แสดงความคิดเห็น ตอบคาํ ถาม - ซื่อสัตยส์ ุจริต
นิเวศท่ีนกั เรียนเคยเรียนมา ซกั ถาม
ฯลฯ
ข้ันสอน - แสดงความคิดเห็น ตอบคาํ ถาม
4. ครูอธิบายถึงความหมายของ ซกั ถาม

นิเวศวทิ ยาและระบบนิเวศตาม - นาํ ผลกิจกรรม นาํ เสนอหนา้ ช้นั เรียน
เน้ือหาในบทเรียนท่ี 5
5. ทาํ กิจกรรมที่ 5.1 ส่งั ในการ

เรียนคร้ังตอ่ ไป โดยนาํ เสนอ เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้กบั กลุม่ อ่ืน ๆ
ผลงานหนา้ ช้นั
6. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุป - จดบนั ทึก ซกั ถาม
ระบบนิเวศและพลงั งานต่าง ๆ
ในระบบนิเวศ - ทาํ แบบทดสอบตามเวลาที่กาํ หนด
7. ใหท้ าํ แบบทดสอบหลงั เรียน - ทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 5 เพอ่ื
8. ทาํ แบบฝึ กหดั ทา้ ยบทที่ 5
ประเมินผล
ตามเกณฑก์ ารวดั ผลบทที่ 5

งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

- ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนบทท่ี 5 (แบบเลือกตอบ) 20 ขอ้ เวลา 15 นาที
ขณะเรียน

- ทาํ กิจกรรมท่ี 5.1
หลงั เรียน

- ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทเรียนที่ 5 เพ่อื วดั ประเมินผลแต่ละบท
- ศึกษาบทเรียนท่ี 6

สื่อการเรียนการสอน
สื่อส่ิงพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พิมพศ์ นู ย์
ส่งเสริมวิชาการ

2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทที่ 5
ส่ือโสตทศั น์

1. เคร่ืองฉายขา้ มศีรษะ
2. แผน่ โปร่งใส
หุ่นจาํ ลองหรือของจริง

การประเมินผล

ก่อนเรียน
ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามแบบเลือกตอบ บทท่ี 5) เวลา 15 นาที

ขณะเรียน
สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ

คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพอ่ื ประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาํ แบบทดสอบและคาํ ถามทา้ ยบทที่ 5 เพอ่ื ประเมินผลการเรียนหน่วยที่ 5

แผนการสอน หน่วยที่ 6
ช่ือวิชา พลงั งานและสิ่งแวดล้อม สอนคร้ังที่ 11 - 1 2
ชื่อหน่วย ปัญหาและผลกระทบส่ิงแวดล้อมต่อการใช้พลงั งาน ชว่ั โมงรวม 6
ชื่อเร่ือง ปัญหาและผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อการใช้พลงั งาน จาํ นวนชวั่ โมง 6

หัวเร่ืองและงาน

1. ระดบั ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
2. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อสภาพภูมิประเทศและทรัพยากรดิน
3. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่ออากาศและเสียง
4. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อมลพษิ ทางน้าํ
5. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อภาวะโลกร้อน
6. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อการลดลงของช้นั โอโซน ( O3) ในบรรยากาศ
7. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
8. ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อการเกิดมลทศั น์

ผงั มโนทศั น์ปัญหาและผลกระทบส่ิงแวดล้อมต่อการใช้พลงั งาน

เกิดมลทศั น์ ระดบั ปัญหา สภาพภมู ิประเทศ
สิ่งแวดลอ้ ม และทรัพยากรดิน
การสูญเสียความ
หลากหลายทางชีวภาพ ปัญหาและผลกระทบ อากาศและเสียง
สิ่งแวดลอ้ มต่อการใช้

พลงั งาน

การลดลงของ o3 มลพษิ น้าํ
ในช้นั บรรยากาศ

สาระสําคญั
การใชพ้ ลงั งานมีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มเนื่องจากการใชท้ รัพยากรพลงั งานอยา่ งฟ่ มุ เฟื อย

เกินความจาํ เป็น ท้งั กระบวนการคน้ หาพลงั งานมาใช้ และผลจากการใช้ ปัญหาอาจจะเกิดในระดบั
ภูมิภาคหรือระดบั โลก ผลกระทบท่ีเกิด ไดแ้ ก่ สภาพภมู ิประเทศและทรัพยากรดิน โดยสภาพภูมิ
ประเทศถกู ทาํ ลาย เกิดปัญหามลพษิ ดิน ผลกระทบต่อมลพิษอากาศและมลพิษเสียง จากการสาํ รวจ
ขดุ เจาะและผลจากการใช้ เช่น ถ่านหินมีก๊าซ SO2 มีผลทาํ ใหเ้ กิดฝนกรด เขม่า ฝ่ นุ ควนั ลว้ นมี
ผลกระทบต่อส่ิงมีชีวติ ท้งั สิ้น ผลกระทบต่อมลพษิ น้าํ ในระดบั โลกทาํ ใหเ้ กิดภาวะเรือนกระจก ทาํ
ใหเ้ กิดโลกร้อน การทาํ ลายช้นั โอโซน ( O3) มีผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ การทาํ
ใหร้ ังสีอลั ตราไวโอเลตเขา้ สู่โลกมากเกินไป ดงั น้นั การใชท้ รัพยากรพลงั งานจึงตอ้ งคาํ นึงถึงผล
กระทบต่อโลกดว้ ย

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะ

เมื่อนักเรียนเรียนจบบทเรียนนี้ นักเรียนสามารถ

1. บอกชนิดของปัญหาสิ่งแวดลอ้ มไดถ้ ูกตอ้ ง
2. แยกประเภทระดบั ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มไดถ้ กู ตอ้ ง
3. อธิบายผลกระทบต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง
4. อธิบายแนวทางแกไ้ ขปัญหาการใชท้ รัพยากรพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
5. อธิบายภาวะผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มในระดบั โลกไดถ้ กู ตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ

6.1 ระดบั ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
6.1.1 ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มระดบั ทอ้ งถ่ิน
6.1.2 ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มระดบั ภูมิภาค
6.1.3 ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มระดบั โลก

6.2 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อสภาพภมู ิประเทศและทรัพยากรดิน
6.2.1 สภาพภูมิประเทศถูกทาํ ลาย
6.2.2 เกิดปัญหามลพิษทางดิน

6.3 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่ออากาศและเสียง
6.3.1 พลงั งานกบั การก่อมลพิษอากาศ
6.3.2 พลงั งานกบั การก่อมลพิษทางเสียง

6.4 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อมลพษิ น้าํ
6.4.1 แหล่งกาํ เนิดมลพษิ ทางน้าํ
6.4.2 ผลกระทบจากมลพิษทางน้าํ
6.4.3 แนวทางการจดั การปัญหาน้าํ เสีย

6.5 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งาน ต่อภาวะโลกร้อน

6.5.1 ชนิดของก๊าซเรือนกระจก

6.5.2 ผลกระทบของการเกิดภาวะเรือนกระจก

6.6 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานกบั การลดลงของช้นั โอโซน ( O3) ในช้นั บรรยากาศ
6.6.1 ช้นั บรรยากาศ
6.6.2 การลดลงของช้นั โอโซน ( O3) ในบรรยากาศ
6.6.3 ผลกระทบจากการลดลงของโอโซน ( O3)

6.7 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานกบั การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

6.8 ผลกระทบการใชพ้ ลงั งานต่อการเกิดมลทศั น์

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสังเกต
ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนกั เรียน
ข้ันนํา ทุกคร้ังที่มีการเรียนการ
1. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน - นกั เรียนทาํ แบบทดสอบภายในเวลาท่ี สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
กาํ หนด ประสงค์ (คุณธรรม จริยธรรม)
(คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 6 แบบเลือกตอบ) ท่ีสงั เกตได้ ไดแ้ ก่
25 ขอ้ 15 นาที - จดบนั ทึก ซกั ถาม - การตรงต่อเวลา
2. อธิบายวตั ถุประสงคก์ ารเรียน - สนใจใฝ่ รู้
การสอนบทท่ี 6 - แสดงความคิดเห็น สนทนา ซกั ถาม - ความรับผิดชอบ
3. ครูสนทนาและเปล่ียนความคิดเห็น ตอบคาํ ถาม ยกตวั อยา่ ง - ซื่อสตั ยส์ ุจริต
กบั นกั เรียน ถึงปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีเกิดจาก
การใชพ้ ลงั งานโดยใหต้ วั อยา่ งข่าวสาร - จดบนั ทึก สนทนา แสดงความคิดเห็น ฯลฯ
มลพิษใหน้ กั เรียนดู ซกั ถาม

ข้ันสอน - จดบนั ทึก แสดงความคิดเห็น โต้ - ตอบ
4. อธิบายถึงปัญหาส่ิงแวดลอ้ มพร้อม
- นกั เรียนนาํ เสนอกิจกรรม 6.1
ใหน้ กั เรียน หาตวั อยา่ งปัญหา หนา้ ช้นั เรียน
สิ่งแวดลอ้ มตามกิจกรรม 6.1
5. อธิบายถึงปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม - เสนอผลกิจกรรม 6.1 ซกั ถาม
พร้อมใหน้ กั เรียนบอกวา่ กระทบ จดบนั ทึก
อะไรบา้ ง พร้อมอธิบายตาม
เน้ือหาวชิ า - ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม แสดงความคิดเห็น
6. ใหน้ กั เรียนนาํ กิจกรรมท่ี 6.1
นาํ เสนอหนา้ ช้นั เรียน - นกั เรียนทาํ แบบทดสอบและแบบฝึกหดั
7. ครู – นกั เรียนช่วยกนั สรุปปัญหา ทา้ ยบทที่ 6 เพ่ือเป็นเกณฑ์
ส่ิงแวดลอ้ มท่ีนกั เรียนนาํ เสนอ การประเมินผล ส่งตามเวลาท่ีกาํ หนด

ข้นั สรุป
8. สรุปเน้ือหาบทที่ 6.1

เพอ่ื ความเขา้ ใจเพ่ิมข้ึน
9. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม

ทา้ ยบทเรียนที่ 6 ส่งตามเวลาท่ีกาํ หนด

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

- ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนท่ี 6 (แบบเลือกตอบ) 25 ขอ้ 15 นาที
ขณะเรียน

- ทาํ กิจกรรมที่ 6.1

หลงั เรียน
- ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทเรียนที่ 6
- ศึกษาบทที่ 7

ส่ือการเรียนการสอน
ส่ือสิ่งพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พิมพศ์ นู ย์
ส่งเสริมวชิ าการ

2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทท่ี 6

ส่ือโสตทศั น์
1. เคร่ืองฉายขา้ มศีรษะ
2 แผน่ โปร่งใส่

หุ่นจาํ ลองหรือของจริง (ถ้ามี)

การประเมินผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 6 แบบเลือกตอบ) 25 ขอ้ 15 นาที
ขณะเรียน

สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพอ่ื ประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 6 เพื่อประเมินผลการเรียน หน่วยท่ี 6

แผนการสอน หน่วยที่ 7
ชื่อวิชา พลงั งานและส่ิงแวดล้อม สอนคร้ังที่ 13 - 14
ช่ือหน่วย การอนุรักษ์พลงั งานและสิ่งแวดล้อม ชว่ั โมงรวม 6
ช่ือเร่ือง การอนุรักษ์พลงั งานและส่ิงแวดล้อม จาํ นวนชวั่ โมง 6

หัวข้อเรื่องและงาน
1. ความหมายของการอนุรักษพ์ ลงั งานและอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
2. สถานการณ์พลงั งานของโลก
3. สถานการณ์ดา้ นพลงั งานของประเทศไทย
4. จิตสาํ นึกในการอนุรักษพ์ ลงั งาน
5. วิธีการเบ้ืองตน้ ในการดาํ เนินการอนุรักษพ์ ลงั งาน
6. การปรับปรุงอาคารเพ่ือการอนุรักษพ์ ลงั งาน
7. การอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นต่าง ๆ
8. ขอ้ แนะนาํ การใชแ้ หล่งพลงั งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ
9. หลกั การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม
10. แนวทางการจดั การสิ่งแวดลอ้ มแบบยงั่ ยนื
11. ความร่วมมือในการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม
12. การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ

ผงั มโนทศั น์ การอนุรักษ์พลงั งานและสิ่งแวดล้อม

ความร่วมมือ การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม สถานการณ์
และ พลงั งานโลก

ทรัพยากรธรรมชาติ สถานการณ์พลงั งาน
ประเทศไทย
ความหมาย
จิตสาํ นึกการ
หลกั การจดั การ การอนุรักษพ์ ลงั งาน อนุรักษพ์ ลงั งาน
สิ่งแวดลอ้ ม และสิ่งแวดลอ้ ม
วธิ ีเบ้ืองตน้ ใน
แบบยงั่ ยนื การอนุรักษพ์ ลงั งาน

การใชพ้ ลงั งานอยา่ ง การปรับปรุงอาคาร
มีประสิทธิภาพ เพ่ืออนุรักษพ์ ลงั งาน

การอนุรักษพ์ ลงั งาน
ดา้ นตา่ ง ๆ

สาระสําคญั
การอนุรักษพ์ ลงั งาน หมายถึง การผลิตและการใชพ้ ลงั งานอยา่ งมีประสิทธิภาพและ

ประหยดั ลดการสูญเสียพลงั งานอยา่ งไม่คุม้ ค่า มุ่งเนน้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากพลงั งานใหห้ มดไป
อยา่ งชา้ ท่ีสุดในกรณีพลงั งานเช้ือเพลิงสิ้นเปลืองและขณะท่ีใชพ้ ลงั งานเหล่าน้นั ตอ้ งพยายามหา
พลงั งานทดแทนซ่ึงเป็นพลงั งานทางเลือกหรือเป็นพลงั งานหมุนเวยี นใชแ้ ลว้ ไม่หมด

ส่วนการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม หมายถึง การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยความฉลาด ใชใ้ หถ้ กู กาลถูกเวลา ก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อมวลมนุษยม์ ากที่สุดมี
ระยะเวลาในการใชย้ าวนานที่สุดหรือผลยง่ั ยนื

ซ่ึงความหมายของการอนุรักษพ์ ลงั งานและการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มมีความสมั พนั ธ์และ
คลา้ ยคลึงกนั การอนุรักษท์ ้งั พลงั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มตอ้ งคาํ นึงถึงการใช้ การ
เกบ็ กกั การรักษาซ่อมแซม การฟ้ื นฟู การพฒั นา การป้ องกนั และการสงวน โดยมีการวางแผน
กาํ หนดปฏิบตั ิการอยา่ งจริงจงั

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะ

เม่อื นักเรียนเรียนจบบทเรียนนี้ นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของการอนุรักษพ์ ลงั งาน อนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม และการจดั การสิ่งแวดลอ้ มได้

ถกู ตอ้ ง
2. อธิบายสถานการณ์พลงั งานของโลกและของประเทศไทยไดถ้ กู ตอ้ ง
3. บอกวิธีการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและพลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
4. อธิบายการปรับปรุงอาคารเพอ่ื อนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มไดถ้ ูกตอ้ ง
5. แยกประเภทของการจดั การอนุรักษพ์ ลงั งานไดถ้ กู ตอ้ ง
6. อธิบายการอนุรักษพ์ ลงั งานไดถ้ ูกตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ
7.1 ความหมายของการอนุรักษพ์ ลงั งานและการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
7.2 สถานการณ์พลงั งานของโลก
7.3 สถานการณ์พลงั งานของประเทศไทย

7.3.1 สถานการณ์พลงั งานไฟฟ้ าของประเทศไทย
7.3.2 แนวทางการอนุรักษพ์ ลงั งาน
7.4 จิตสาํ นึกในการอนุรักษพ์ ลงั งาน
7.5 วธิ ีการเบ้ืองตน้ ในการดาํ เนินการอนุรักษพ์ ลงั งาน
7.5.1 การกาํ หนดนโยบายและเป้ าหมาย
7.5.2 การจดั ต้งั องคก์ รดา้ นการอนุรักษพ์ ลงั งานและกาํ หนดหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบ
7.5.3 การวิเคราะห์การใชพ้ ลงั งานเพอ่ื หาศกั ยภาพในการอนุรักษพ์ ลงั งาน
7.5.4 การหามาตรการ การอนุรักษพ์ ลงั งาน
7.5.5 การติดตามผลตามแผนดาํ เนินงาน
7.6 การปรับปรุงอาคารเพอื่ อนุรักษพ์ ลงั งาน
7.6.1 เพมิ่ คุณสมบตั ิในการกนั ความร้อนและความช้ืนใหแ้ ก่ผนงั อาคาร
7.6.2 การป้ องกนั ความร้อนจากหลงั คา
7.6.3 การตรวจสอบและป้ องกนั การร่ัวซึมของอากาศ
7.6.4 การนาํ แสงธรรมชาติมาใชใ้ นอากาศ
7.6.5 การเลือกใชห้ ลอดไฟและอุปกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง

7.6.6 แยกเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ไม่จาํ เป็นออกจากหอ้ งปรับอากาศ
7.6.7 เลือกเฟอร์นิเจอร์และวสั ดุตกแต่งภายในท่ีไม่สะสมความร้อนและความช้ืน
7.6.8 ใชเ้ ครื่องปรับอากาศสิทธิภาพสูง
7.6.9 ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ ม
7.7 การอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นต่าง ๆ
7.7.1 การอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นการขนส่ง
7.7.2 การอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นอุตสาหกรรม
7.7.3 การอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นการผลิตไฟฟ้ า
7.8 ขอ้ แนะนาํ การใชแ้ หล่งพลงั งานต่าง ๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
7.8.1 การใชใ้ นไฟฟ้ าของเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าอยา่ งมีประสิทธิภาพ
7.8.2 การใชเ้ ครื่องปรับอากาศอยา่ งมีประสิทธิภาพ
7.8.3 การใชน้ ้าํ มนั เช้ือเพลิงในรถยนตอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
7.8.4 การใชน้ ้าํ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
7.9 หลกั การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม
7.9.1 การวางแผนการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
7.9.2 การบริหารงานส่ิงแวดลอ้ ม
7.10 แนวทางการจดั การส่ิงแวดลอ้ มแบบยงั่ ยนื
7.10.1 ควบคุมอตั ราเพิ่มประชากรอยา่ งเหมาะสม
7.10.2 ตอ้ งคาํ นึงถึงการใชท้ รัพยากรอยา่ งถกู หลกั อนุรักษว์ ิทยา
7.10.3 ร่วมมือแกไ้ ขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
7.10.4 กาํ หนดแผนการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งชดั เจน
7.10.5 มาตรการควบคุมของเสียอยา่ งจริงจงั
7.11 ความร่วมมือในการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
7.12 การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ
7.12.1 วตั ถุประสงคข์ องการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ
7.12.2 วธิ ีการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสงั เกต
ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของ
ข้ันนํา ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการ
1. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน บทท่ี 7 นกั เรียน สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
ประสงค์ (คุณธรรม จริยธรรม)
(คาํ ถามทา้ ยบท แบบเลือกตอบ) - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน ส่งในเวลา ที่สังเกตได้ ไดแ้ ก่
15 ขอ้ 10 นาที ที่กาํ หนด - การตรงตอ่ เวลา
2. บอกวตั ถุประสงคก์ ารเรียนบทท่ี 7 - สนใจใฝ่ รู้
- จดบนั ทึก ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม - ความรับผดิ ชอบ
3. พดู คุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แสดงความคิดเห็น - ซ่ือสัตยส์ ุจริต
เกี่ยวกบั วกิ ฤตพลงั งานประเทศไทย
ปัจจุบนั และของโลก - พดู คุย สนทนา แสดงความคิดเห็น ฯลฯ
ข้ันสอน จดบนั ทึก

4. อธิบายถึงสถานการณ์พลงั งาน - จดบนั ทึก ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม
ของโลกและของประเทศไทย
ตามเน้ือหาในแบบเรียน - แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม

5. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ แสดงความคิดเห็น - จดบนั ทึก แสดงความคิดเห็น
ถึงการประหยดั พลงั งาน ทาํ กิจกรรม 7.1
ในดา้ นตา่ ง ๆ แผนการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม

6. ครู – นกั เรียน ร่วมมือกนั สรุปถึง - จดบนั ทึก แสดงความคิดเห็น
วธิ ีการอนุรักษพ์ ลงั งานดา้ นตา่ ง ๆ ทาํ กิจกรรม 7.1
แผนการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
7. ครูอธิบายถึงแนวทางการจดั การ
สิ่งแวดลอ้ ม แบบยงั่ ยนื พร้อมท้งั ให้ - แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม
นกั เรียนทาํ กิจกรรม 7.1 ตอบคาํ ถาม จดบนั ทึกเพมิ่ เติม
แผนการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม
ข้ันสรุป - ทาํ แบบทดสอบและแบบฝึกหดั
ทา้ ยบทตาม เวลาที่กาํ หนด
8. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปเน้ือหา
การอนุรักษพ์ ลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม
เพอ่ื ความเขา้ ใจ ก่อน
ทาํ คาํ ถามทา้ ยบท

9. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม
ทา้ ยบทเรียนที่ 6 ส่งตามเวลาที่กาํ หนด

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน

ทาํ กิจกรรม 7.1
หลงั เรียน

ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทท่ี 7
ไปศึกษาระบบมาตรฐานการจดั การส่ิงแวดลอ้ มในบทที่ 8 ต่อไป

สื่อการเรียนการสอน
สื่อส่ิงพมิ พ์

1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พิมพศ์ นู ย์
ส่งเสริมวชิ าการ

2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทท่ี 7
ส่ือโสตทศั น์

1. เครื่องฉายขา้ มศีรษะ
2 แผน่ โปร่งใส่
หุ่นจําลองหรือของจริง (ถ้ามี)

การประเมินผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน (คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 7 แบบเลือกตอบ )
ขณะเรียน

สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพ่อื ประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน( คาํ ถามทา้ ยบทที่ 7 แบบเลือกตอบ )
2. ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทที่ 7 เป็นคะแนนตามเกณฑว์ ดั ผล หน่วยการเรียนที่ 7

แผนการสอน หน่วยท่ี 8
ช่ือวชิ า พลงั งานและส่ิงแวดล้อม สอนคร้ังที่ 15-16
ช่ือหน่วย ระบบมาตรฐานและการจดั การสิ่งแวดล้อม ชวั่ โมงรวม 6
ชื่อเรื่อง ระบบมาตรฐานและการจัดการส่ิงแวดล้อม จาํ นวนชวั่ โมง 6

หัวข้อเรื่องและงาน
1. การวเิ คราะห์ระบบส่ิงแวดลอ้ ม
2. การประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม
3. มาตรฐานการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ISO 14000

ผงั มโนทศั น์ ระบบมาตรฐานการจัดการส่ิงแวดล้อม

การวเิ คราะห์ระบบ การประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดลอ้ ม ส่ิงแวดลอ้ ม EIA

ระบบมาตรฐาน
การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม

มาตรฐานการจดั การ
สิ่งแวดลอ้ ม ISO 14000

สาระสําคญั
การวางแผนการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม หมายถึง กระบวนการจดั การสิ่งแวดลอ้ มตามหลกั การ

อนุรักษใ์ หเ้ ขา้ สู่มาตรฐาน ในเบ้ืองตน้ ของการจดั การสิ่งแวดลอ้ มจาํ เป็นอยา่ งยงิ่ ตอ้ งทราบวา่ ส่ิงแวด
ลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติเดิมอยใู่ นสถานะอยา่ งใด โครงการวเิ คราะห์ระบบสิ่งแวดลอ้ ม เมื่อ
วเิ คราะห์ถึงจุดท่ีตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขจึงจดั การวางแผน รัฐบาลไดอ้ อกกฎหมายวา่ โครงการใด ๆ ท่ี
เกิดถา้ มีผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มมาก ตอ้ งทาํ การวเิ คราะห์ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มก่อน
(EIA) เพือ่ เป็นแนวทางประเมินผลและแนวทางแกไ้ ขท่ีจะเกิดในอนาคต นอกจากน้ียงั มีมาตรฐาน
การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม ISO 14000 ซ่ึงเป็นแนวทางป้ องกนั ถึงผลกระทบที่จะตามมาในข้นั ตอน
การของผลิต

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / สมรรถนะ

เมอื่ นักเรียนเรียนจบบทเรียนนี้ นักเรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายการวิเคราะห์ระบบส่ิงแวดลอ้ มไดถ้ กู ตอ้ ง
2. บอกวธิ ีการจดั ทาํ การประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มไดถ้ ูกตอ้ ง
3. บอกโครงการที่ตอ้ งจดั ทาํ การประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มไดถ้ กู ตอ้ ง
4. อธิบายมาตรฐานการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ISO 14000 ไดถ้ ูกตอ้ ง
5. บอกประโยชนข์ องการทาํ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มไดถ้ ูกตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ
8.1 การวิเคราะห์ระบบสิ่งแวดลอ้ ม

8.1.1 สภาพส่ิงแวดลอ้ ม
8.1.2 วธิ ีการวิเคราะห์สิ่งแวดลอ้ ม
8.2 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม
8.2.1 แนวความคิดของการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม
8.2.2 หลกั การวดั ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม
8.2.3 วงจรการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม
8.2.4 ขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม
8.2.5 ผลดีและผลเสียของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม
8.3 มาตรฐานการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ISO 14000
8.3.1 ความหมายของมาตรฐาน ISO 14000
8.3.2 อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
8.3.3 วงจรการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม ISO 14000
8.3.4 ขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม ISO 14000
8.3.5 ฉลากเพอ่ื สิ่งแวดลอ้ ม

8.3.6 หลกั เกณฑใ์ นการอนุญาตใหใ้ ชฉ้ ลากเขียว
8.3.7 ประโยชนจ์ ากการทาํ ISO 14000

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมท่ีสงั เกต
ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของ
ข้นั นํา ทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการ
1. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน นกั เรียน สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
ประสงค์ (คุณธรรมจริยธรรม)
(คาํ ถามทา้ ยบทตอน ที่ 2 แบบเลือกตอบ) - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน ที่สงั เกตได้ ไดแ้ ก่
20 ขอ้ 15 นาที ส่งในเวลาที่กาํ หนด - การตรงตอ่ เวลา
2. อธิบายวตั ถุประสงคก์ ารเรียน - สนใจใฝ่ รู้
การสอนบทท่ี 8 - ฟัง จดบนั ทึก ตอบคาํ ถาม - ความรับผิดชอบ
3. สนทนาถึงคาํ วา่ “มาตรฐาน” แสดงความคิดเห็น - ซื่อสตั ยส์ ุจริต
ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งมาตรฐานท่ี
นกั เรียนรู้จกั ในชีวติ ประจาํ วนั - แสดงความคิดเห็น ตอบคาํ ถาม ฯลฯ
ยกตวั อยา่ ง มาตรฐานที่นกั เรียนรู้จกั

ข้ันสอน

4. อธิบายถึงความหมายของคาํ วา่ - จดบนั ทึก ซกั ถาม

“มาตรฐาน” เพอื่ นาํ ไปสู่เน้ือหามาตรฐาน

การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม

5. อธิบายถึงวตั ถุประสงคก์ ารประเมินผล - แสดงความคิดเห็น สอบถาม

กระทบสิ่งแวดลอ้ มและการจดั ทาํ ตาม

เน้ือหาในแบบเรียน

6. ใหน้ กั เรียนนาํ กิจกรรมท่ี 8.1 เป็นกลุม่ - ทาํ กิจกรรม 8.1 ตามเวลาท่ีกาํ หนด

โดยการ แนะนาํ ของครูใหเ้ วลา 1 ชว่ั โมง ซกั ถาม แสดงความคิดเห็น

7. ครู – นกั เรียนช่วยกนั สรุปปัญหา - นกั เรียนนาํ เสนอผลการทาํ กิจกรรม

สิ่งแวดลอ้ มท่ีนกั เรียนนาํ เสนอ ที่ 8.1 เพื่อแลกเปล่ียนกบั กลุ่มอ่ืน ๆ

ข้ันสรุป

8. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปเน้ือหา - แสดงความคิดเห็น จดบนั ทึก ซกั ถาม

ระบบมาตรฐานการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม

เพอื่ ความเขา้ ใจก่อนทาํ คาํ ถามทา้ ยบท

9. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม - ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม

ทา้ ยบทเรียนท่ี 8 ทา้ ยบทส่ง ตามเวลาท่ีกาํ หนด

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน

ทาํ กิจกรรมท่ี 8.1
หลงั เรียน

ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถามทา้ ยบทท่ี 8
ไปศึกษากฎหมายเก่ียวกบั พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มมาเพอื่ เรียนในบทท่ี 9 (ใหแ้ ต่ละกลุ่ม
นาํ เสนอ กิจกรรม 9.1 ) ในการเรียนคร้ังตอ่ ไป
ส่ือการเรียนการสอน
สื่อส่ิงพมิ พ์
1. หนงั สือประกอบการเรียน พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม (2001 – 0008) สาํ นกั พิมพศ์ นู ย์
ส่งเสริมวิชาการ
2. แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน บทท่ี 8
ส่ือโสตทศั น์
1. เคร่ืองฉายขา้ มศีรษะ
2. แผน่ โปร่งใส
หุนจาํ ลองหรือของจริง (ถา้ มี)

การประเมินผล
ก่อนเรียน

ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน ( คาํ ถามทา้ ยบทที่ 8 แบบเลือกตอบ )
ขณะเรียน

สงั เกตพฤติกรรมขณะมีการเรียนการสอน จากการแสดงความคิดเห็น ถามคาํ ถาม ตอบ
คาํ ถาม การทาํ แบบฝึกหดั ความร่วมมือในการทาํ งานกิจกรรมกลุ่ม เพื่อประเมิน
หลงั เรียน

1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน ( คาํ ถามทา้ ยบทที่ 8 แบบเลือกตอบ )
2. ทาํ คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 8 เป็นคะแนน เพื่อประเมินผลประจาํ หน่วยที่ 8

แผนการสอน หน่วยท่ี 9
ช่ือวชิ า พลงั งานและส่ิงแวดล้อม สอนคร้ังท่ี 17-18
ช่ือหน่วย กฎหมายเกยี่ วกบั พลงั งานและส่ิงแวดล้อม ชวั่ โมงรวม 6
ชื่อเร่ือง กฎหมายเกย่ี วกบั พลงั งานและส่ิงแวดล้อม จาํ นวนชวั่ โมง 6

หัวข้อเร่ืองและงาน
1. เทคนิคการแกป้ ัญหาส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน
2. การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและพลงั งานโดยการใชก้ ฎหมาย

ผงั มโนทศั น์ กฎหมายเกยี่ วกบั พลงั งานและส่ิงแวดล้อม

การศึกษาและวฒั นธรรม เทคโนโลยสี ะอาด กระบวนการแกป้ ัญหาทว่ั ไป
กิจกรรม 5 ส
เทคนิคการแกป้ ัญหา
ส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน

กฎหมายเก่ียวกบั พลงั งาน
และสิ่งแวดลอ้ ม

กฎหมายสิ่งแวดลอ้ ม การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม
และพลงั งาน

โดยการใชก้ ฎหมาย

กฎหมายพลงั งาน

สาระสําคญั
ในการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติและพลงั งานโดยการสร้างจิตสาํ นึก รณรงค์

ใหค้ นไดต้ ระหนกั ถึงการใชท้ รัพยากรอยา่ งถกู หลกั อนุรักษว์ ทิ ยา แต่คงไม่มีเพยี งพอ หน่วยงาน
ของรัฐจึงไดอ้ อกกฎหมายควบคุมอีก จึงมีกฎหมายเก่ียวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและ
พลงั งานเพ่อื คุม้ ครองผใู้ ดหรือองคก์ รใดทาํ ผดิ ยอ่ มมีบทลงโทษที่ชดั เจน และกฎหมายแต่ละอยา่ ง
ตอ้ งสอดคลอ้ งกนั ไม่ซ้าํ ซอ้ น เนื่องจากกฎหมายส่ิงแวดลอ้ มหลายฉบบั ทาํ ใหส้ บั สนในความผดิ ใน
แต่ละกรณีจึงควรรวบรวมกฎหมายใหอ้ ยใู่ นทิศทางเดียวกนั หรือสอดคลอ้ งกนั

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / สมรรถนะ
เมอ่ื นักเรียนเรียนจบบทเรียนนี้ นักเรียนสามารถ

1. อธิบายเทคนิคการแกป้ ัญหาส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งานได้
2. อธิบายเทคโนโลยสี ะอาดไดถ้ ูกตอ้ ง
3. บอกแนวทางอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและพลงั งานไดถ้ ูกตอ้ ง
4. บอกถึงวธิ ีการ 5 ส ไดถ้ กู ตอ้ ง

เนือ้ หาสาระ
9.1 เทคนิคการแกป้ ัญหาส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน

9.1.1 กระบวนการแกป้ ัญหาทวั่ ไป
9.1.2 วิธีการเทคโนโลยสี ะอาด
9.1.3 การแกป้ ัญหาโดยใชก้ ารศึกษาและจริยธรรม
9.1.4 กิจกรรม 5 ส เพอ่ื แกป้ ัญหาส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน
9.2 การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและพลงั งานโดยใชก้ ฎหมาย
9.2.1 กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มและพลงั งาน

1) กฎหมายเกี่ยวกบั การส่งเสริมและอนุรักษค์ ุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม
2) กฎหมายเก่ียวกบั พลงั งาน
9.2.2 กฎหมายเก่ียวกบั ส่ิงแวดลอ้ มอื่น ๆ
9.2.3 ผลบงั คบั ทางกฎหมาย
9.2.4 ปัญหาเก่ียวกบั การใชก้ ฎหมายสิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนการสอน พฤติกรรมที่สังเกต
ข้นั นํา ข้นั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนกั เรียน ทุกคร้ังที่มีการเรียนการ
สอนจะวดั ลกั ษณะพึง
1. ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน - ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนส่งใน ประสงค์ (คุณธรรม จริยธรรม)
(คาํ ถามทา้ ยบท แบบเลือกตอบ) เวลาที่กาํ หนด ท่ีสังเกตได้ ไดแ้ ก่
10 ขอ้ 10 นาที - การตรงตอ่ เวลา
- จดบนั ทึก ซกั ถาม - สนใจใฝ่ รู้
2. อธิบายวตั ถุประสงคก์ ารเรียนบทที่ 9 - ตอบคาํ ถาม แสดงความคิดเห็น - ความรับผิดชอบ
3. ถามถึงกฎหมายเก่ียวกบั ส่ิงแวดลอ้ ม การคา้ สตั วป์ ่ าปัญหาการ บุกรุกท่ีป่ าสงวน - ซ่ือสัตยส์ ุจริต
เป็ นตน้
และพลงั งาน ท่ีนกั เรียนรู้จกั ในแต่ละกลุ่ม ฯลฯ
- แสดงความคิดเห็น ตอบคาํ ถาม
ข้ันสอน ซกั ถาม จดบนั ทึก
4. ครู อธิบายถึงเทคนิคการแกป้ ัญหา
- นาํ เสนอผลงาน พ.ร.บ. หรือกฎหมาย
ส่ิงแวดลอ้ ม และพลงั งาน โดยให้ เกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน
นกั เรียนแสดงความคิดเห็นสอบถาม
หรือตอบคาํ ถาม - แสดงความคิดเห็น ซกั ถาม ตอบคาํ ถาม
5. ใหน้ กั เรียนท่ีทาํ กิจกรรมที่ 9.1 จดบนั ทึก
นาํ เสนอผลกิจกรรมหนา้ ช้นั เรียน - ฟัง จดบนั ทึก ซกั ถาม
โดยตวั แทนกลุม่ แสดงความคิดเห็น
6. ครู – นกั เรียนช่วยกนั สรุปกฎหมายตา่ ง ๆ
ที่นกั เรียนนาํ เสนอ - แสดงความคิดเห็น จดบนั ทึก ซกั ถาม
7. ครู อธิบาย พ.ร.บ. หลกั เก่ียวกบั
ส่ิงแวดลอ้ ม และพลงั งานในแบบเรียน - ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม
ทา้ ยบท
ข้ันสรุป
8. ครู – นกั เรียน ช่วยกนั สรุปเน้ือหา - จดบนั ทึก ซกั ถาม

กฎหมายเกี่ยวกบั พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม
เพอ่ื ความเขา้ ใจและตอบคาํ ถามทา้ ยบท
9. ใหท้ าํ แบบทดสอบหลงั เรียนและคาํ ถาม
ทา้ ยบทเรียนที่ 9
10. ใหน้ กั เรียน ทราบการประเมินผล
ปลายภาค


Click to View FlipBook Version