ก คำนำ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและ การปักผ้า หลักสูตร 36 ชั่วโมง ของ กศน.ตำบลบ้านต๋อม เป็นการยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ศักยภาพ และขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม จึงควรมีการประเมินผลการจัดกิจกรรมการ จัดการศึกษาต่อเนื่อง การสรุปผลการดำเนินงานการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า หลักสูตร 36 ชั่วโมง ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลบ้านต๋อม สกร.อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยดำเนินการตั้งแต่วันที่ 13-20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 รายงานสรุปผลการดำเนินงาน การจัดการศึกษาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียน วิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า หลักสูตร 36 ชั่วโมง ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา สามารถนำมาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ของ สำนักงาน สกร.ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ กศน.ตำบลบ้านต๋อม จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร เล่มนี้จะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาอาชีพ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน และจะเป็น ประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมของ สำนักงาน สกร.จังหวัดพะเยา ทั้งในการบริหารงาน การพัฒนางาน การ ทำงานที่ตรงตามความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย นางวิลาวัลย์ เมืองสุวรรณ ครู กศน.ตำบลบ้านต๋อม สิงหาคม 2566
ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 วิธีดำเนินการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 ผลการประเมิน 11 บทที่ 4 สรุปผลการประเมิน 13 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 18 ภาคผนวก 19 รูปภาพ เอกสารที่เกี่ยวข้อง คณะผู้จัดทำ
บทที่ 1 บทนำ การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์2566 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” และได้กำหนดภารกิจว่าจะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีด ความสามารถให้ประชาชน ได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคั่งและมั่นคง เพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัยเปี่ยมไปด้วย คุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเองผู้อื่นและสังคมโดยคำนึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆ ตัว ผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ทัดเทียมอารยประเทศด้วยการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และยกระดับศักยภาพในการทำงานให้ บุคลากรไทยแข่งขันได้ในระดับสากลภายใต้ศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ศักยภาพของ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่นอกจากนั้นยังได้ กำหนดหลักสูตรออกเป็น 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ 1. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านเกษตรกรรม 2. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านอุตสาหกรรม 3. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านพาณิชยกรรม 4. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ 5. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านอำนวยการและอาชีพเฉพาะทาง สำนักงาน สกร. จึงได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพให้ กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากลโดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะทำการจัดการศึกษาของ ประเทศ และของสำนักงาน สกร. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชน และประเทศชาติและจะทำให้การจัดการศึกษาของประเทศเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอเมืองพะเยา ได้จัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและ การปักผ้าขึ้น ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เป็นสถานที่ฝึกกลุ่ม อาชีพ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕66 ถึงวันที่ 20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 หลักสูตร 36 ชั่วโมง โดยได้กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อให้ประชาชนในแต่ละตำบลของอำเภอเมืองพะเยาที่สนใจ สมัครเข้าเรียนการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการ ประกอบอาชีพ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง ชุมชนและสังคม วัตถุประสงค์ของการประเมิน เพื่อประเมินประสิทธิผลของโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า ตำบลบ้านต๋อม สกร.อำเภอเมืองพะเยา
ขอบเขตของการประเมิน 1. ด้านหลักสูตรเนื้อหา เป็นการประเมินผลเกี่ยวกับความเหมาะสมของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ของโครงการ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร กิจกรรมที่จัดมีความเหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตรและเนื้อหา มีสื่อประกอบการเรียนรู้ วิทยากรผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน มีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลาย โดนเน้นที่การปฏิบัติจริง รวมทั้งความพึงพอใจของผู้เรียน เพื่อบรรลุเป้าหมายสำคัญของการ จัดการศึกษา คือ 1.1 ความรู้ความเข้าใจ 1.2 ปฏิบัติได้ นำไปใช้ได้ 1.3 ความพึงพอใจ 2. ด้านระยะเวลา เวลาที่ทำการประเมิน ระหว่างวันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕66 ถึงวันที่ 20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 เวลา 09.00 น. - 15.00 น. การประเมินครั้งนี้ ศึกษาจากกลุ่มประชากรผู้เข้าร่วมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้น และการปักผ้า ทั้งหมด จำนวน 12 คน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลจากการประเมินครั้งนี้ จะเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอเมืองพะเยา ให้สามารถดำเนินโครงการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในมาตรฐานที่ 3
บทที่ 2 วิธีดำเนินการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการ 1. สำรวจความต้องการ และ จัดทำแผน 2. รับสมัครกลุ่มเป้าหมาย - อบรมให้ความรู้วิทยากร แต่งตั้งวิทยากร - ร่วมกันจัดทำหลักสูตร และจัดตั้งกลุ่มอาชีพ 3. ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการ 4. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้าน สถานที่ วิทยากร วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม 5. ดำเนินการจัดกิจกรรม นิเทศติดตามผล สรุปผล และ รายงานผลการจัดกิจกรรม ด้านการใช้จ่ายงบประมาณ 1. แหล่งสนับสนุนแผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพ งานการศึกษาต่อเนื่อง โครงการจัด การศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า จำนวน 36 ชั่วโมง วิธีการดำเนินงาน ที่ กิจกรรม/โครงการ สถานที่ดำเนินการ เป้า หมาย ผู้เข้าร่วม โครงการ ระยะเวลา ดำเนินการ วิทยากร งบ ประมาณ 1 โครงการจัดการศึกษา ต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียน วิชาชีพ วิชาการด้นและ การปักผ้า ณ อาคารอเนก ประสงค์ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 11 12 ระหว่างวันที่ 13-20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 นางเครือวัลย์ อินผ่อง 5,40๐ บาท รวมทั้งสิ้น 11 12 5,40๐
หลักสูตรอาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า จำนวน 36 ชั่วโมง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอเมืองพะเยา ความเป็นมา สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยา กรมส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นอีกหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ จัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายผู้ที่ไม่มีอาชีพหรือผู้ที่มีอาชีพแต่ต้องการพัฒนาอาชีพของตนเองให้มั่นคง การจัดการศึกษา อาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะ ในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ให้ สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก การพัฒนาหลักสูตรและวิธีการจัดสาระกระบวนการเรียนการสอนจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎีหลักสูตรตาม แนวทางการจัดการศึกษาผู้ใหญ่ตลอดจนธรรมชาติการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้หลักการและศาสตร์การเรียนรู้ ของผู้ใหญ่ รวมทั้งผู้สอนก็จะต้องมีความรู้ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน การศึกษาเพื่อพัฒนา อาชีพ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่มบุคคล ซึ่งมี จุดประสงค์ในชีวิตที่แตกต่างกัน และเร่งรัดส่งเสริม พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพที่พัฒนาศักยภาพของ บุคคลและชุมชน เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน สกร. ได้นำ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษา เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอาชีพมาสู่การปฏิบัติ และเพื่อให้สอดคล้องกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 จึงได้จัดทำกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียน วิชาชีพ หลักสูตรวิชาการด้นและการปักผ้า เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตนเอง ชุมชน และสังคม และเป็นการลดรายจ่ายและการเพิ่มรายได้ของครอบครัว หลักการของหลักสูตร หลักสูตรวิชาการด้นและการปักผ้า เพื่อการมีงานทำ มีหลักการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่นในเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม 3. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปประกอบอาชีพให้เกิดรายได้ที่ มั่นคง และยั่งยืนในอาชีพ 4. ส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ 5. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หลักสูตรการวิชาการด้นและการปักผ้า มุ่งพัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญในการประกอบอาชีพ หลักสูตรวิชาการด้นและ การปักผ้า 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ หลักสูตรวิชาการด้นและการปักผ้า และสามารถสร้างรายได้ที่ มั่นคงได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อการประกอบอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย มี 2 กลุ่มเป้าหมาย คือ 1. กลุ่มผู้ที่ไม่มีอาชีพ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพ 2. กลุ่มผู้ที่มีอาชีพ และต้องการพัฒนาอาชีพ ระยะเวลา จำนวน 36 ชั่วโมง การจัดกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้หลักสูตรวิชาการด้นและการปักผ้า เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยการเรียนรู้จากเอกสาร/ฝึกปฏิบัติ มี คำแนะนำสำหรับผู้เรียน ดังนี้ 1. การสร้างความเข้าใจในหลักสูตรการด้นและการปักผ้า (ข้อมูลจากเอกสาร/สื่อ/การบรรยาย) 2. การฝึกปฏิบัติร่วมกับวิทยากร ให้ผู้เรียนฝึกฝนด้วยตนเองจนเกิดทักษะ 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. การสาธิต 5. การศึกษาดูงาน (การเรียนรู้ด้วยตนเอง/เรียนรู้จากการสาธิต) สื่อการเรียนรู้ 1. สื่อเอกสารใบความรู้ในการบรรยายและสาธิตอาชีพ 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ VCD อินเตอร์เน็ต 3. ผู้รู้ / ภูมิปัญญา 4. วัตถุดิบของจริงที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ 5. แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลงานระหว่างเรียนจากการปฏิบัติ ได้ผลงานที่มีคุณภาพสามารถสร้างรายได้ และจบหลักสูตร
การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผ่านตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. มีผลงานการด้นและการปักผ้า ที่ได้มาตรฐานเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า อย่างน้อย 8 คน และผ่านการ ทำแผนธุรกิจจึงจะได้รับวุฒิบัตร เอกสารหลักฐานการศึกษา 1. หลักฐานการประเมินผล 2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร 3. วุฒิบัตร ออกโดยสถานศึกษา การเทียบโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น
รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตรวิชาการด้นและการปักผ้า จำนวน 36 ชั่วโมง รายละเอียดดังนี้ ที่ เรื่อง จุดประสงค์ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑ ความรู้ความเข้าใจ ด้านการด้นและ การปักผ้า (วันที่ 13 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) ๑. เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้ความเข้าใจด้าน การด้นผ้าได้ 2. ผู้เรียนสามารถแยก ชนิดของวัสดุและ อุปกรณ์ที่ใช้ในการด้น และปักผ้าได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมี ทักษะในการด้นผ้า ๑.วิทยากรให้ความรู้ เรื่อง ความเป็นไปได้/ ทิศทางในการประกอบ อาชีพการด้นและการ ปักผ้า 2. วิทยากรแนะนำ อุปกรณ์/วัสดุที่ใช้การ ด้นผ้า 3. วิธีการด้นผ้า การ เดินเส้นด้าย ๑.๑ การวิเคราะห์ศักยภาพของข้อมูล ตนเอง ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและ ขอบข่ายในงานอาชีพการด้นและปักผ้า ๑.๒ ความเป็นไปได้/ทิศทางในการ ประกอบอาชีพการด้นและการปักผ้า ๑.3 วิทยากรอธิบายความรู้เบื้องต้นใน การประกอบอาชีพการด้นและการ ปักผ้า - วัสดุ อุปกรณ์ - กระบวนการผลิต - แหล่งวัตถุดิบ - การผลิตชิ้นงาน รูปแบบต่างๆ 1.4 วิทยากรอธิบาย และสาธิตวิธีการ ด้นผ้า การเดินเส้นด้าย พร้อมให้ผู้เรียน ฝึกปฏิบัติ 2 3 ๒ การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บ - ด้นถอยหลัง - การเนา - การเย็บเดิน เส้นด้าย 1. วิธีการเย็บด้น ถอยหลัง 2. การเนาผ้า 3. การเดินเส้นด้าย 1. วิทยากรอธิบาย สาธิต และให้ผู้เรียน ฝึกปฏิบัติ - การเย็บด้นถอยหลัง - การเนาผ้า - การเดินเส้นด้าย 1 4 ๓ การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 15 สิงหาคม 2566 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บ - ตะเข็บเย็บหุ้ม 1. วิธีการเย็บ - ตะเข็บเย็บหุ้ม - การปักทึบ - การสอยซ่อนด้าย 1. วิทยากรอธิบาย สาธิต และให้ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ - ตะเข็บเย็บหุ้ม - ปักทึบ 1 4
ที่ เรื่อง จุดประสงค์ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) - ปักทึบ - การสอยซ่อนด้าย - การสอยซ่อนด้าย ๔ การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บ - การปักปมฝรั่งเศส - ลายปักริมผ้าห่ม 2. การออกแบบ ลวดลายบนผ้า 1. วิธีการเย็บ - การปักปมฝรั่งเศส - ลายปักริมผ้า 2. วิธีการออกแบบ ลวดลายบนผ้า 1. วิทยากรอธิบาย สาธิต และให้ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ - การปักปมฝรั่งเศส - ลายปักริมผ้าห่ม 2. วิทยากรอธิบาย สาธิตวิธีการ ออกแบบลวดลายบนผ้า และให้ผู้เรียน ฝึกปฏิบัติ 1 4 5 การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บเดินเส้นด้าย - รูปวงกลม - เส้นตรง - เส้นโค้ง - ซิกแซก 1. วิธีการเย็บเดินเส้น ด้าย - รูปวงกลม - เส้นตรง - เส้นโค้ง - ซิกแซก 1. วิทยากรอธิบาย สาธิต และให้ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการเย็บเดินเส้นด้าย - รูปวงกลม - เส้นตรง - เส้นโค้ง - ซิกแซก 1 4 6 การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บด้นและปักผ้า - ปักผ้ารูปนกยูง 1. วิธีการเย็บด้นและ ปักผ้า - ปักผ้ารูปนกยูง 1. วิทยากรอธิบาย และให้ผู้เรียนฝึก ปฏิบัติการเย็บด้นและปักผ้า - ปักผ้ารูปนกยูง 1 4 7 การด้นและการ ปักผ้า (วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑5.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนมีทักษะใน การเย็บด้นและปักผ้า - ปักผ้ารูปผู้หญิง 1. วิธีการเย็บด้นและ ปักผ้า - ปักผ้ารูปผู้หญิง 1. วิทยากรอธิบาย และให้ผู้เรียนฝึก ปฏิบัติการเย็บด้นและปักผ้า - ปักผ้ารูปผู้หญิง 1 4
ที่ เรื่อง จุดประสงค์ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 8 การบริหารจัดการ ด้านการตลาด (วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑0.๐๐ น.) 1. ผู้เรียนนำความรู้ ด้านการตลาด การค้า ออนไลน์ ไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน และมี อาชีพเสริม ที่ทำให้เกิด รายได้ 1. การบริหารจัดการ ตลาด - การค้าออนไลน์ ๑. หลักการจัดการตลาด - วิธีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย - การส่งเสริมการขายและช่องทาง การจัดจำหน่าย - วิธีการขายสินค้าออนไลน์ - การนิเทศติดตาม 1 - 3. ผลที่ได้รับจากกิจกรรมนี้ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเห็นความสำคัญและประวัติความเป็นมาของโครงการจัด การศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ และความรู้ที่มีอยู่ และที่ได้รับในช่วงการจัดกิจกรรมไปปฏิบัติได้ อย่างต่อเนื่อง จนเกิดอาชีพที่มั่นคง มีรายได้ที่แน่นอน และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้ สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แบบประเมินความพึงพอใจ หลักสูตร/โครงการ การด้นและการปักผ้า ระหว่างวันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕66 ถึงวันที่ 20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 สถานที่จัด ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ เพศ 0 ชาย 0 หญิง อายุ...........ปี วุฒิการศึกษา......................อาชีพ.............................. คำชี้แจง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในช่องว่างระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ มาก หมายเหตุ ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด ตอนที่ ๑ ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ตอนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .
บทที่ 3 ผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจากผู้เข้ารับการอบรม จำนวนทั้งสิ้น 12 คน ตารางที่ 1 ผู้เข้ารับการอบรม จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย - - หญิง 12 100 รวม 12 100 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จากจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ตารางที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรม จำแนกตามอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ต่ำกว่า 15 ปี - - 15-39 ปี - - 40-49 ปี 3 25.00 50-59 ปี 6 50.00 60 ปีขึ้นไป 3 25.00 รวม 12 100 จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ มีอายุ 50-59 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ตารางที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรม จำแนกตามอาชีพ อาชีพ จำนวน ร้อยละ รับจ้าง 5 41.67 ค้าขาย 1 8.33 แม่บ้าน - - เกษตรกร 6 50.00 รวม 12 100.00 จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีอาชีพเกษตรกรมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของ จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ตอนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนผู้รับบริการผู้ประเมินได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ตารางที่ 4 ด้านความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม กศน. ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการ (ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม) ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมายเหตุ มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด ตอนที่ ๑ ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 12/100 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 11/91.67 1/8.33 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 10/83.33 2/16.67 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต 12/100 ร้อยละเฉลี่ย 93.75 6.25 ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 10/83.33 2/16.67 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 10/83.33 2/16.67 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 11/91.67 1/8.33 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 9/75.00 3/25.00 9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ 10/83.33 2/16.67 ร้อยละเฉลี่ย 83.33 16.67 ตอนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 12/100 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 11/91.6 7 1/8.33 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 10/83.3 3 2/16.6 7 ร้อยละเฉลี่ย 91.67 8.33 ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 10/83.33 2/16.67 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ 12/100 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 10/83.33 2/16.67 ร้อยละเฉลี่ย 88.89 11.11
บทที่ 4 สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินจากการสุ่มตัวอย่างกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 12 คน สรุปได้ดังนี้ ด้านหลักสูตร 1. เนื้อหาตรงตามความต้องการ ระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ระดับมาก จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 แสดงว่าเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของผู้เข้า รับการอบรม 2. เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป เนื้อหาวิชาที่จัดเพียงพอต่อความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 แสดงว่าเนื้อหาวิชาที่ จัดการเรียนรู้เพียงพอต่อความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม 3. เนื้อหาเป็นปัจจุบันทันสมัย ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป เนื้อหาวิชาที่จัดเป็นปัจจุบันทันสมัย อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้เป็นปัจจุบัน ทันสมัย 4. เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ระดับมาก จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - สรุป เนื้อหาวิชาที่จัดมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่าเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5. การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่ามีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าการออกแบบกิจกรรมเหมาะสม กับวัตถุประสงค์ 7. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 แสดงว่าการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ระดับมากที่สุด จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 ระดับมาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ
สรุป การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อย ละ 75.00 ระดับมาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 แสดงว่าการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 9. วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิด เป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าการจัดกิจกรรมมีวิธีการ วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด ระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ระดับมาก จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิด เป็นร้อยละ 100.00 แสดงว่าวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 11. วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.67 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 แสดงว่าวิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ สื่อเหมาะสม 12. วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ
ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม และซักถาม ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13. สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิด เป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่ง อำนวยความสะดวกมีความเหมาะสม 14. การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ระดับมาก จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 แสดงว่าการจัดกิจกรรมมีการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 15. การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ สรุป การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.33 ระดับมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 แสดงว่าการจัดกิจกรรมมีการบริการ การ ช่วยเหลือและการแก้ปัญหา
ตอนที่ 3 ด้านการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ท่านได้นำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเองหรือไม่อย่างไร - ได้นำไปใช้ประโยชน์ในเรื่องขยันอดทน ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ - ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การสร้างรายได้การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ในการทำอาชีพ เสริม - ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้ที่ต้องการศึกษา - ใช้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ต่อเนื่อง เช่น พัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ของตนเองและสมาชิกกลุ่ม ความคิดเห็นเพิ่มเติม 1. สิ่งดีๆ / ความประทับใจดีๆ ที่ได้รับจากการได้เข้าร่วมกิจกรรม สกร. - ขอบคุณ สกร.อำเภอเมืองพะเยา และ กศน.ตำบลบ้านต๋อม ที่จัดให้มีการอบรมฝึกอาชีพ ให้ ประชาชนมีอาชีพเสริม และมีรายได้หลายช่องทาง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้จริง 2. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรม สกร. - อยากให้ กศน. มีการจัดฝึกอบรมวิชาชีพโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียน วิชาชีพ ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ เพื่อสร้างโอกาสในการฝึกทักษะการเรียนด้านอาชีพและเป็นการ พัฒนาการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การประเมินโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการด้นและการปักผ้า หลักสูตร 36 ชั่วโมง ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ระหว่างวันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕66 ถึงวันที่ 20 เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖6 จัดโดย กศน.ตำบล บ้านต๋อม ซึ่งการประเมินผลสรุปเมื่อสิ้นสุดโครงการ (Summative Evaluation) สรุปผลการประเมินดังนี้ ผู้เข้ารับการอบรม เป็นเพศหญิง จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ จำนวน 6 คน จาก 12 คน อยู่ในช่วงอายุ 50-59 ปีมากที่สุดคิด เป็น ร้อยละ 50.00 แสดงว่าส่วนใหญ่ผู้ที่อยู่ในช่วงอายุ 50-59 ปี มีความสนใจในกิจกรรมการด้นและการปักผ้า ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 6 คน จาก 12 คน มีอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 50.00 ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนผู้รับบริการผู้ประเมินได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ดังนี้ ความพึงพอใจด้านเนื้อหา การจัดกิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 92.86 ระดับดีคิดเป็นร้อยละ 7.14 แสดงว่าเนื้อหาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการมีสวนร่วมในการ แสดงความคิดเห็นต่อการจัดทำหลักสูตรตลอดจนสามารถส่งเสริมให้ผู้รับบริการคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 91.43 ระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 8.57 แสดงว่ามีการชี้แจงวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การจัดกิจกรรมมีความสอดคล้องกับ ผู้เรียน จัดกิจกรรมเป็นไปตามลำดับขั้นตอน โดยเรียงจากง่ายไปหายาก ความพึงพอใจต่อวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90.48 ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 9.52 แสดงว่า วิทยากรมีความรู้ความสามารถและเทคนิควิธีการในการถ่ายทอดความรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมได้ซักถามและได้แสดงออกร่วมกันมีการติดตามและให้คำแนะนำเพิ่มเติมหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมของผู้ จัด ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90.48 ระดับดี คิดเป็น ร้อยละ 9.52 แสดงว่า สถานที่ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีสื่อและวัสดุอุปกรณ์สอดคล้องกับขั้นตอน การจัดกิจกรรม สามารถตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รวมทั้งแหล่งเรียนรู้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ แนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป ด้านครูผู้สอน/วิทยากรผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ควรจัดกิจกรรมกระบวนการที่หลากหลายและน่าสนใจ เพื่อสร้างบรรยายในการจัดกิจกรรม ขั้นตอนกระบวนการจัดกิจกรรม - การชี้แจงข้อตกลงและเงื่อนไขต่างๆ ระหว่างการอบรมให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ด้านจัดสิ่งอำนวย ความสะดวกแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม - มี สื่อ อุปกรณ์ ที่เอื้อประโยชน์และสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น - การอำนวยความสะดวกในด้านอาคารและสถานที่
ภาคผนวก
คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษา 1. นางจารุณี แก้วประภา ผู้อำนวยการ สกร.อำเภอเมืองพะเยา 2. นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสังข์ ครู 3. นางสาวเมธาพร ฝอยทอง บรรณารักษ์ชำนาญการ คณะทำงาน 1. กศน.อำเภอเมืองพะเยา 2. นายอำนวย ขยันขาย ครูอาสาสมัครฯ 3. นางวิลาวัลย์ เมืองสุวรรณ ครูกศน.ตำบลบ้านต๋อม ผู้พิมพ์/ออกแบบรูปเล่ม นางวิลาวัลย์ เมืองสุวรรณ ครู กศน.ตำบลบ้านต๋อม สรุปการด้นและการปักผ้า