The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Yadawadee wageesing, 2019-12-22 12:54:07

E-book สังคม ----

E-book สังคม ----

พทุ ธศาสนสุภาษติ
เสนอ

คณุ ครู อรสา ศรีภา

ปญฺญาว ธเนน เสยโฺ ย

ปนั -ยา-วะ-ทะ-เนน-เสยโย

ปญั ญายอ่ มประเสริฐกว่าทรพั ย์

คอื ปัญญาน้ันเป็นสง่ิ ท่ีจะอยู่ตดิ ตัวกับเราตลอดเวลา สามารถนาพาใหผ้ ู้ทีม่ ีมนั รอด
จากปัญหา นาไปสู่หนทางท่ดี ีกวา่ ได้ และผู้มปี ญั ญาย่อมหาทางสร้างเสรมิ ทรัพย์ให้

เพม่ิ พูนได้

อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ
อตั ตาหิ อัตตะโน นาโถ

ตนเป็นทพ่ี ึง่ ของตน

คอื จะทาการใดๆควรคดิ ควรศกึ ษา พยายามดว้ ยตนเองอย่างสดุ
ความสามารถ ก่อนที่จะไปพึ่งพาคนอ่นื

ยถาวาที ตถาการี
ยะ-ถา-วา-ท-ี ตะ-ถา-กา-รี

พดู อย่างไร ทาได้อยา่ งนั้น

คอื คนใดทีร่ บั ผดิ ชอบคาพดู ท่อี อกจากปากเขา ยอ่ มนาไปสู่
ความสาเร็จ

สจจฺ ํ เว อมตา วาจา

สะ-จะ-จงั -เว-อะ-มะ-ตา-วา-จา

คาจริงเปน็ ส่ิงไม่ตาย

คือ วาจาทีไ่ ม่ตาย เป็นจรงิ ตลอดกาล บคุ คลใดยึดความจรงิ เปน็ หลกั ใน
การดาเนนิ ชีวติ ต้องไมพ่ ูดเท็จ ไม่พดู ส่อเสียด ไม่พดู คาหยาบ และไม่พดู
เพ้อเจอ้ บุคคลนน้ั จะพบแต่ความสาเร็จ เปน็ ทีเ่ ชอ่ื ถอื คนซื่อสัตย์ มีสัจจ

วาจาเปน็ เย่ียม

สจจฺ ํ เว อมตา วาจา

สัด-จงั -เว-อะ-มะ-ตา-วา-จา

คาจรงิ เป็นส่งิ ไม่ตาย

คือ วาจาท่ีไมต่ าย เปน็ จริงตลอดกาล บุคคลใดยึดความจรงิ เป็นหลักในการ
ดาเนนิ ชีวิต ตอ้ งไมพ่ ูดเทจ็ ไมพ่ ดู สอ่ เสียด ไม่พดู คาหยาบ และไม่พูดเพ้อเจ้อ
บุคคลนัน้ จะพบแตค่ วามสาเร็จ เปน็ ท่เี ช่อื ถือ คนซือ่ สัตย์ มีสจั จวาจาเปน็ เยยี่ ม

อณิ าทานํ ทุกขํ โลเก

อิ-นา-ทา-นงั -ทกุ -ขงั -โล-เก

การกู้หนี้ เป็นทุกข์ในโลก

คอื การหยิบยมื สินทรัพย์ต่างๆโดยมีผลตอบแทนอาจเปน็ ดอกเบ้ยี ,
ชดใช้แรงงาน,การแลกเปลี่ยนสินทรพั ย์ต่างๆหรอื อีกนยั หนึ่งวา่ การ

ใชท้ รัพยส์ ินอนาคตเอามาใชน้ นั่ เอง

อตตฺ านํ ทมยนฺติ ปณฺฑติ า

อัด-ตา-นงั -ทะ-มะ-ยนั -ติ-ปัน-ทิ-ตา

บัญฑิตย่อมฝึกตน

คอื อบรมตนให้เปน็ คนดี ในทางหน่ึงคนเรามีสองพวก คือ พวกผฝู้ ึกตนและ
พวกผ้ไู มฝ่ ึกตน พวกผู้ฝกึ ตน คือ ผทู้ ีพ่ ยายามศึกษาให้รู้ว่า ความดีเป็นอยา่ งไร
ทาอยา่ งไรจึงจะเป็นผมู้ คี วามดี จงึ จะเป็นคนดี บัณฑิตไม่ประมาทวา่ คนมคี วามดี

เพียงพอแลว้ บณั ฑิตไม่หลงคดิ วา่ ความไมด่ ีเป็นความดี

ททมาโน ปโิ ย โหติ
ทะ-ทะ-มา-โน-ปิ-โย-โห-ติ

ผใู้ หย้ ่อมเปน็ ท่รี ัก

คือ ผู้ที่เสยี สละเงนิ รขึ องใช้สว่ นตัวของตนใหแ้ กผ่ ู้อืน่ ย่อมไดช้ ่อื
วา่ เปน็ ผู้ให้ ทาใหผ้ คู้ นท้ังหลายเคารพรัก ศรัทธา

ปฏริ ูปการี ธรุ วา อฏุ ฐาตา วินฺทเต
ปะ-ติ-รูป-กา-รี-ท-ุ ระ-วา-อุ-ทะ-ถา-ตา-วิน-ทะ-เต

คนขยนั เอาการเอางาน กระทาการเหมาะสม ยอ่ มหาทรัพย์ได้

คอื คนทีข่ ยนั ในการทางานไม่เกยี จคร้าน ย่อมสามารถซอ้ื หาทรัพยไ์ ด้
ไม่เกิดความยากจน

วายเมเถว ปุริโส ยาวอตฺถสฺส นิปปฺ ทา
วา-ยะ-เม-เถ-วะ-ปุ-ริ-โส-ยา-วะ-อะ-ตะ-ถัส-สะ-นปิ -ปะ-

ทา

เกิดเป็นคนควรพยายาม จนกว่าจะประสบความสาเรจ็

คนที่มคี วามพยายาม คอื คนที่ขยนั พากเพียรในการทาส่ิงหน่ึงสิง่ ใดให้
ประสบผลสาเร็จโดยไมม่ คี วามยอ่ ทอ้ ใดๆ

สนตฺ ฏฐฐี ปรมํ ธนํ

สนั -ตดั -ถี-ปะ-ระ-มัง-ทะ-นัง

ความสนั โดษเปน็ ทรัพยอ์ ยา่ งยิ่ง

คอื ความสันโดษเป็นความพึงพอใจในส่งิ ทต่ี นเองมอี ยไู่ มท่ าสงิ่ ใดท่ี
เกิดความสามารถของตน ไม่อยากได้ของคนอื่น จดั เป็นทรพั ยอ์ ย่าง

หนงึ่

อิณาทานํ ทุกขโํ ลเก

อ-ิ นา-ทา-นัง-ทุ-กะ-ขงั -โล-เก

การเปน็ หน้ีเป็นทกุ ข์ในโลก

คือ การเป็นหน้ีซ่ึงเกดิ จากความไม่พอเพียงในการใช้จา่ ยใน
ชีวิตประจาวนั จงึ จาเป็นจะต้องไปขอหยิบยืมจากผู้อน่ื ซึ่ง

จะต้องหาเงินมาชดใช้ ทาให้เกิดความทุกข์อยา่ งย่ิง

มาตา มติ ตฺ ํ สเก ฆเร

มา-ตา-มิ-ตะ-ตัง-สะ-เก-คะ-เร

มารดาเปน็ มิตรในเรือนตน

มติ ร คือบุคคลท่รี ่วมใจกันมี 2 จาพวก คือมิตรดเี รียกวา่ กลั ยาณมิตร มิตรช่วั
เรยี กวา่ บาปมติ ร มิตรเปน็ ปจั จัยภายนอกทแี่ รงกลา้ ทจี่ ะพาผู้คบหาให้ถงึ ความเจรญิ หรือความ
เสื่อมแตใ่ นที่นี้ หมายถงึ มติ รดี คือมารดาซึง่ เป็นมติ รคนแรกของบตุ รเพราะมีน้าใจเตม็ ไปด้วย

พรหมวหิ ารทงั้ 4 คือทา่ นมเี มตตา กรุณา มทุ ิตาและอเุ บกขาให้บตุ รทุกเม่อื

ราชา มขุ ํ มนุสสฺ านํ

รา-ชา-มุ-ขัง-มะ-นุ-สะ-สา-นัง

พระราชาเป็นประมุขของประชาชน

คอื พระมหากษตั ริยห์ รือพระราชาเปน็ ผู้ที่มคี วามสาคญั ต่อการ
ปกครองเป็นอยา่ งยิ่ง โดยพระองคท์ าหน้าท่ีเปน็ ประมุขของ
ประชาชนเป็นผ้นู าในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ให้กับประชาชน

สตโิ ลกสฺม ธาคโร
สะ-ต-ิ โล-กัส-มะ-ทา-คะ-โร

สติเปน็ เคร่ืองเตือนอย่ใู นโลก

สติ คือการรู้สึกตวั อย่ตู ลอดเวลา ว่าขณะน้ีกาลงั ทาส่งิ ใดอยู่
ซงึ่ จะทาให้เกดิ ความไมป่ ระมาท

อเวเรน จ สมฺมนฺติ

อะ-เว-เร-นะ-จะ-สัม-มนั -ติ

เวรย่อมระงบั ด้วยการไม่จองเวร

เวร คือการจองล้างจองผลาญซึ่งกนั และกันดงั นั้นบุคคลผูจ้ องเวรจะมใี จผูกแคน้
ตอ่ คู่เวรของตนเองปรารถนาจะให้เขาพนิ าศ เมอื่ จองเวรต่อเขา เขากจ็ ะจองเวร
ตอบ มุง่ หวงั ที่จะเขา้ ห้าหัน่ กันไมม่ ีทสี่ ้นิ สดุ แต่ถา้ ทง้ั สองฝา่ ยพจิ ารณาเห็นโทษ

แลว้ หยุดเสียทัง้ สองฝา่ ยโดยมขี นั ติและเมตตา เขา้ ชว่ ยเวรกร็ ะงบั ได้

ปัญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต

ปนั -ยา-โล-กดั -มิ-ปะ-ชะ-โช-โต

ปัญญาเป็นแสงสวา่ งในโลก

คือ โลกของเรามีความเจริญก้าวหน้าในด้านตา่ งๆ เนอ่ื งจากคนเราไดใ้ ชค้ วามรู้
ความสามารถในการประดษิ ฐ์คดิ คน้ ส่ิงตา่ งๆจนเกดิ เปน็ อารยธรรมสั่งสมสืบทอดต่อๆกัน
มา การท่ีโลกของเราเจรญิ ได้ เนอ่ื งมาจากปญั ญา หรือความฉลาดรอบรู้ของคนเรา ท่ี

ชว่ ยกันสรา้ งสรรคส์ ่งิ ตา่ งๆ ใช้ปัญญาคดิ สรา้ งสรรค์ความเจรญิ ทางดา้ นวตั ถุหรือ
เทคโนโลยีต่างๆข้ึนมา

นตฺถิ สนตฺ ปิ รํ สุขํ
นัด-ถ-ิ สนั -ติ-ปะ-รัง-สุ-ขัง

สุขอื่นใดจะสขุ กว่าความสงบไมม่ ี

ความสงบ คอื การไม่ถูกรบกวนทั้งทางดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ
ซึ่งจะนาความสุขมาให้แกบ่ คุ คล เปน็ ความสุขทแี่ ทจ้ ริง

นพิ ฺพานํ ปรมํ สุขํ

นิ-พะ-พา-นงั -ปะ-ระ-มงั -สุ-ขงั

นพิ พานเป็นสุขอย่างยิง่

นิพพาน แปลวา่ การหลดุ พน้ จากกิเลสทั้งปวง การไม่ยดึ
มนั่ ถือมัน่ ในสิ่งใด ซ่ึงจะทาใหจ้ ติ ใจสงบ จดั เป็นความสุข

อย่างยงิ่ ของมนุษย์

สุวชิ าโน ภวํ โหติ

ส-ุ วิ-ชา-โน-ภะ-วงั -โห-ติ

ผ้รู ดู้ เี ป็นผ้เู จริญ

ผู้รู้ดี ได้แก่ ผู้รู้วิชาในทางใดทางหนง่ึ คือถา้ เปน็ ผูร้ ดู้ ีในทางโลกกส็ ามารถทจ่ี ะนา
ความรูม้ าประกอบการงานใหเ้ จริญ รุ่งเรืองได้ ถา้ เป็นผู้รู้ดีในทางธรรมซึง่ มงุ่ ที่
จะ ละบาปบาเพญ็ บญุ กศุ ล คอื รจู้ กั การกระทาความดีรู้จักหลกี เลี่ยงความช่ัว

เพ่อื มุ่งปฏิบตั ธิ รรมก็จะ สามารถบรรลคุ ุณธรรมขน้ั สงู ได้

น อุจฺจาวจํ ปณฺฑติ า ทสสฺ ยนตฺ ิ

นะ-อุจ-จา-วะ-จงั -ปนั -ทิ-ตา-ทะ-สะ-สะ-ยัน-ติ

บัณฑติ ยอ่ มไม่แสดงอาการขึน้ ๆ ลง

บณั ฑิต หมายถึง ผมู้ ปี ญั ญา ผูด้ าเนนิ ชวี ติ โดยยดึ หลกั ความดีงาม ใช้ปัญญา
ในกาารดาเนินชีวิต และมจี ิตใจห่างไกลจากสง่ิ ชว่ั รา้ ยหรอื อบายมขุ ตา่ งๆ บัณฑติ
ต้องมจี ิตใจมน่ั คง ยดึ มนั่ ในคณุ งามความดี ทาความดเี สมอตน้ เสมอปลาย ทง้ั ตอ่

หนา้ และลับหลงั ไม่แสดงอาการขึน้ ๆ ลงๆ

นตถฺ ิ โลเก อนินฺทโิ ต

นัด-ถิ-โล-เก-อะ-นิน-ทิ-โต

คนท่ไี ม่ถกู นินทา ไม่มีในโลก

การนนิ ทา หมายถงึ การติเตียนลับหลัง หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนา
เรอ่ื ง โลกธรรม 8 สอนว่า การนินทาเป็นเรือ่ งธรรมดาของโลก

สรรเสรญิ กบั นินทาเป็นของคู่กนั บคุ คลที่ได้รับการสรรเสริญ กย็ ่อมถกู
นนิ ทาไดเ้ ช่นกัน

โกธํ ฆตวฺ า สขุ ํ เสติ

โก-ทงั -คัด-วา-สุ-ขงั -เส-ติ

ฆ่าความโกรธไดย้ ่อมอย่เู ปน็ สขุ

ความโกรธ เป็นความรู้สกึ ไมพ่ อใจอย่างรนุ แรงตอ่ บุคคล หรอื ต่อสถานการณ์อย่างใดอยา่ งหนง่ึ
ความโกรธเปน็ อารมณ์ของคนท่ีมีความทุกข์ เม่ือเกดิ ความโกรธอาจตดั สินใจใช้อารมณ์รุนแรง
กระทาตอ่ บุคคลหรือส่งิ ของส่งผลเสียหายร้ายแรงตามมา ดงั น้นั การกาจดั ความโกรธออกไปได้

ชีวิตยอ่ มสงบสุข

ปมาโท มจฺจุโน ปทํ

ปะ-มา-โท-มจั -จุ-โน-ปะ-ทงั

ความประมาทเปน็ หนทางแห่งความตาย

ความประมาท คอื ความเลนิ เล่อ ไม่มีสตสิ มั ปชัญญะ หลงมัวเมา
ในทรพั ย์สมบัติ ลาภ ยศ สรรเสริญ สขุ อนั เปน็ เหตนุ าทกุ ขม์ าให้
เพราะฉะนั้นจงอย่าประมาทจะทาสงิ่ ใดจงประกอบดว้ ยสตสิ ัมปชญั ญะ

เสมอ

วิรเิ ยน ทกุ ฺขมจฺ เจติ

ว-ิ ร-ิ เย-นะ-ทกุ -ขะ-มจั -เจ-ติ

บคุ คลล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร

ทกุ ข์ คอื สภาพทบี่ บี คั้นเบียดเบยี นใหเ้ กิดความไม่สบายกายไม่สบายใจ การ
ทจ่ี ะกาจดั ทุกข์เหล่าน้นั ไดโ้ ดยราบคาบกด็ ว้ ยความเพียร คือขยันทากิจการ

งานทตี่ นรับผิดชอบใหด้ ที ี่สดุ

รายชอื่ สมาชิก ม.3/12
1.เดก็ หญิง กมลลักษณ์ สมจนั ทร์ เลขที่11
2.เดก็ หญงิ ชลธิชา เปล้ากระโทก เลขท่ี14
3.เด็กหญงิ ญาดาวดี วจีสงิ ห์ เลขที่ 15
4.เด็กหญิง นันทนา สลับศรี เลขที่ 24
5.เด็กหญงิ พนิดา เชื้อโพธห์ิ ัก เลขที่ 34
6.เด็กหญิง รดามณี เฉลมิ วงค์ เลขที่ 39
7.เดก็ หญิง สุภาภรณ์ คุ่ยจันทร์ เลขท่ี 46
8.เด็กหญิง ลภัสรดา พนาลี เลขที่ 47


Click to View FlipBook Version