The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by บุญเรือน จือพิมาย, 2019-07-13 05:29:04

คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1)

คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1)

คูม่ ือกำรประเมินคุณภำพ

ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน

เพ่ือกำรประกันคณุ ภำพภำยในของสถำนศึกษำ

สำ� นกั ทดสอบทำงกำรศึกษำ
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน

คมู่ ือ

การประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา
ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

เร่ือง คมู่ อื การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา
ผู้จัดพิมพ ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
๓๕,๐๐๐ เลม่
๒๕๕๙
จำ� นวนพิมพ์ โรงพมิ พส์ ำ� นักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
ปีทพี่ ิมพ์
พมิ พท์ ่ ี

ค�ำนำ�

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการท่ีสร้างความมั่นใจแก่ทุกฝ่าย
ว่าการจัดการศึกษาทุกระดับมีคุณภาพและจะคงรักษาไว้ซ่ึงมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
จึงให้มีการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายปรับปรุง
มาตรฐานและตัวชี้วัดให้มีจ�ำนวนน้อยลง กระชับ และสะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง
เน้นการประเมินตามสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก สร้างมาตรฐานระบบการประเมิน เพื่อลดภาระ
การจัดเก็บข้อมูล ลดการจัดท�ำเอกสารท่ีใช้ในการประเมิน รวมท้ังพัฒนาผู้ประเมินภายใน
ให้มีมาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ สามารถให้ค�ำชี้แนะและให้ค�ำปรึกษาแก่สถานศึกษาได้
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีปรับใหม่จึงมีจ�ำนวนไม่มาก แนวทางการประเมินคุณภาพ
ของสถานศึกษาจะเน้นการเก็บข้อมูลในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา ไม่เพ่ิมภาระ
การจัดท�ำเอกสารให้สถานศึกษา ปรับกระบวนทัศน์ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพ่ือพัฒนา
บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจึงเป็นจุดเร่ิมต้น
ของการพัฒนาทุนมนุษย์และเป็นเป้าหมายส�ำคัญที่สุดที่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายทุกคน
ในสถานศึกษาต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบให้บรรลุถึงเป้าหมายคือมาตรฐาน
ทสี่ ถานศกึ ษากำ� หนดและรว่ มรับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษาที่เกิดขน้ึ (accountability)
เอกสารเล่มนี้ จัดท�ำข้ึนตามกรอบนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ส�ำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางด�ำเนินงานเพื่อการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรียมการส�ำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตามกรอบมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งจะท�ำให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้มี
ส่วนเกีย่ วข้องทุกฝ่ายวา่ การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษามคี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน และคงรักษา
ไว้ซึง่ มาตรฐานจากการด�ำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน หวังวา่ สถานศึกษาทุกสังกัดทจี่ ัดการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐาน จะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการศกึ ษาเอกสารเล่มน้ี ใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดกรอบ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่เป้าหมายตามมาตรฐาน
ที่สถานศึกษาก�ำหนด รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา ทั้งนี้ ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ าร ครูอาจารย์ ศึกษานิเทศก์ และผทู้ รงคณุ วฒุ ิทุกท่าน
ทีม่ ีส่วนรว่ มในการจดั ท�ำเอกสารเล่มน้ีใหส้ มบรู ณ์ สามารถน�ำไปปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ลตอ่ ไป

(นายการุณ สกุลประดษิ ฐ)์
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

คู่มือการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ก
เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

สารบัญ ก


คำ� นำ� ๒
๑๘
สารบัญ ๒๑
๒๒
บทน�ำ
๒๕
สว่ นที่ ๑ มาตรฐานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเพ่อื การประกนั คณุ ภาพของสถานศึกษา

สว่ นที่ ๒ แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

ภาคผนวก
● ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
● คณะทำ� งาน

ข คู่มอื การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

บทน�ำ

๑. คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาฉบับน้ี จัดท�ำข้ึนตามกรอบนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและ
การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ส�ำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทาง
ด�ำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรียมการส�ำหรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก ตามกรอบมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ซึ่งจะท�ำให้เกิดความม่ันใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
มีคุณภาพได้มาตรฐาน และคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานจากการด�ำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา

๒. คู่มือฉบับน้ีจัดท�ำเพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดกรอบมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสูเ่ ป้าหมายตามมาตรฐานทส่ี ถานศึกษากำ� หนด
และใช้เปน็ แนวทางในการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๓. โครงสร้างของคู่มือประกอบดว้ ย ๒ ส่วน คอื ๑) มาตรฐานเพ่อื การประกนั คุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และ ๒) แนวทางการประเมนิ คุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา

๔. ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและหน่วยงานต้นสังกัดด�ำเนินการให้ผู้เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามหลักการของการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ดงั นี้

๔.๑ การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนท่ีต้องปฏิบัติงานตามภารกิจ
ทแ่ี ตล่ ะคนได้รบั มอบหมาย

๔.๒ การประกันคุณภาพมงุ่ พัฒนาการด�ำเนนิ งานตามความรบั ผดิ ชอบของตนให้มคี ุณภาพ
ดยี ง่ิ ขนึ้ เพราะผลการพัฒนาของแตล่ ะคนก็คอื ผลรวมของการพัฒนาทั้งสถานศึกษา

๔.๓ การประกันคุณภาพเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ท�ำเพื่อเตรียมรับ
การประเมนิ เป็นคร้ังคราวเทา่ นั้น

๔.๔ การประกันคุณภาพต้องเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง
ไม่สามารถว่าจ้างหรอื ขอให้บคุ คลอนื่ ๆ ดำ� เนินการแทนได้

๔.๕ การประกันคุณภาพต้องเกิดจากการยอมรับและน�ำผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

คมู่ ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 1
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ส่วนที่ ๑
มาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๕. การพัฒนามาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีแนวคิดว่าต้องเป็นมาตรฐานที่สถานศึกษาปฏิบัติได้ ประเมินได้จริง กระชับ และ
จ�ำนวนน้อย แต่สามารถสะท้อนคุณภาพการศึกษาได้จริง ข้อมูลที่ได้เกิดประโยชน์
ในการพัฒนาการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ระดับหน่วยงานต้นสังกัด และระดับชาติ ดังน้ัน การก�ำหนดมาตรฐานจึงเน้นที่คุณภาพ
ผู้เรียน คุณภาพครู คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และคุณภาพของสถานศึกษา และ
ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกตามที่ก�ำหนดไว้ใน
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
โดยได้ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน ดังน้ี

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ ส�ำคัญ
มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในทม่ี ปี ระสิทธิผล
๖. คำ� อธิบายของมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานเพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน หมายถึง ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แสดงออกถึง

ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามหลักสูตรสถานศึกษา และมีพัฒนาการ
ในดา้ นการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น สมรรถนะทส่ี ำ� คัญ และคุณลักษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค์
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง
การด�ำเนินการบริหารและจัดการของสถานศึกษาท่ีครอบคลุมด้าน
วิชาการ ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านข้อมูลสารสนเทศ และ
ด้านสภาพแวดล้อม โดยเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ
จดั การศกึ ษา เพ่อื สร้างความมั่นใจด้านคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ หมายถึง
กระบวนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ตามความสนใจ ความต้องการ และ
ความถนัดของผู้เรียน โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้
เต็มตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคน

2 ค่มู ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา

มีส่วนร่วม มีการตรวจสอบ และประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน
อย่างเปน็ ระบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล หมายถึง การวางระบบ
การจัดการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
ท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ร่วมรับผิดและรับชอบ
ต่อผลการจัดการศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐาน สง่ ผลให้ผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้อง
มีความม่ันใจต่อคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
๗. เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพของมาตรฐานมี ๔ ระดบั
๗.๑ ระดบั ๔ ดเี ยีย่ ม
๗.๒ ระดับ ๓ ดี
๗.๓ ระดบั ๒ พอใช้
๗.๔ ระดบั ๑ ปรบั ปรงุ
๘. รายละเอียดของมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั คุณภาพ และตวั อยา่ งการเก็บรวบรวมข้อมูล
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน
✎ ประเด็นพิจารณา
๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น
๑) ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคิดค�ำนวณ ตามเกณฑ์
ของแตล่ ะระดบั ชัน้
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
๔) ความกา้ วหน้าทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
๕) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและพฒั นาการจากผลการสอบวดั ระดับชาติ
๖) ความพร้อมในการศกึ ษาตอ่ การฝึกงานหรือการทำ� งาน
๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสงั คม
๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสงั คม

ค่มู ือการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 3
เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

✎ ระดับคุณภาพ
ระดับ ๔ ดีเยี่ยม

๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน
๑) ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้น ในระดับ

ดีเยยี่ ม
๒) ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เหมาะสม

ตามระดับชน้ั ในระดบั ดีเย่ยี ม
๓) ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในด้านการคิดคำ� นวณเหมาะสมตามระดบั ชน้ั ในระดบั ดีเย่ียม
๔) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น

ความคดิ เหน็ แกป้ ัญหาและน�ำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม
๕) ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อย่าง

เหมาะสมปลอดภยั มีประสทิ ธิภาพ
๖) ผู้เรียนมีความก้าวหน้าจากพื้นฐานเดิมในแต่ละปีในด้านความรู้ความเข้าใจและ

ทักษะต่างๆ ตามหลกั สูตร อย่างเป็นรปู ธรรมและต่อเนอื่ ง
๗) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนมีพัฒนาการสูงข้ึน หรือคุณภาพ

เป็นไปตามเป้าหมาย
๘) ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดี พร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น

หรือมีวฒุ ภิ าวะทางอาชีพเหมาะสมกับชว่ งวยั
๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น
๑) ผเู้ รยี นมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม จติ สงั คม และจิตส�ำนึก

ตามที่สถานศึกษาก�ำหนดปรากฏชัดเจนโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม
อนั ดีของสังคม
๒) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเป็น
รูปธรรม
๓) ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ินในความเป็นไทย และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับ
ภมู ิปัญญาไทยและแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชวี ติ ประจำ� วนั
๔) ผเู้ รียนยอมรับเหตุผลความคดิ เห็นของผู้อืน่ และมีมนษุ ยสมั พันธด์ ี
๕) ผูเ้ รยี นมีวธิ ีการรกั ษาสขุ ภาพของตนเองให้แขง็ แรง
๖) ผ้เู รยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจิตให้ดอี ย่เู สมอ
๗) ผเู้ รยี นรู้และมวี ธิ กี ารปอ้ งกันตนเองจากการลอ่ ลวง ข่มเหง รังแก
๘) ผู้เรียนไม่เพิกเฉยต่อการกระท�ำสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว
ชมุ ชนและสงั คม

4 คมู่ ือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

ระดับ ๓ ดี
๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน
๑) ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอา่ นและเขยี นได้เหมาะสมตามระดับชนั้ ในระดบั ดี
๒) ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสม

ตามระดบั ชัน้ ในระดบั ดี
๓) ผู้เรยี นมีความสามารถในดา้ นการคดิ คำ� นวณเหมาะสมตามระดบั ช้ันในระดบั ดี
๔) ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน

ความคดิ เห็น และแกป้ ญั หาอย่างเหมาะสม
๕) ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อย่าง

เหมาะสมปลอดภัย
๖) ผู้เรียนมีความก้าวหน้าจากพื้นฐานเดิมในแต่ละปี ในด้านความรู้ความเข้าใจ

และทักษะต่างๆ ตามหลกั สูตรมีแนวโน้มสงู ข้ึน
๗) ค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนมีพัฒนาการสูงขึ้นหรือคุณภาพ

เปน็ ไปตามเป้าหมาย
๘) ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น

หรอื มวี ุฒภิ าวะทางอาชพี เหมาะสมกบั ช่วงวัย
๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน
๑) ผเู้ รยี นมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม จิตสังคมและจติ ส�ำนกึ

ตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนดปรากฏชัดเจน โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม
อนั ดีของสังคม
๒) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น
รปู ธรรม
๓) ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ินในความเป็นไทย และเห็นคุณค่าเก่ียวกับ
ภมู ปิ ัญญาไทย แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในชีวิตประจำ� วัน
๔) ผเู้ รยี นยอมรับเหตุผลความคดิ เหน็ ของผูอ้ น่ื และมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ดี
๕) ผเู้ รยี นมีวิธีการรักษาสขุ ภาพของตนเองให้แข็งแรง
๖) ผูเ้ รยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจิตใหด้ ีอยู่เสมอ
๗) ผู้เรยี นรแู้ ละมวี ธิ กี ารปอ้ งกนั ตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหง รังแก
๘) ผู้เรียนไม่เพิกเฉยต่อการกระท�ำสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว
ชุมชนและสงั คม
ระดับ ๒ พอใช้
๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรียน
๑) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น และเขยี นไดเ้ หมาะสมตามระดับช้ันในระดบั ผา่ น
๒) ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เหมาะสมตามระดับช้ัน ในระดบั ผา่ น

คู่มือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 5
เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

๓) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในดา้ นการคิดค�ำนวณเหมาะสมตามระดบั ชน้ั ในระดบั ผา่ น
๔) ผู้เรยี นสามารถคิดวเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็

และ แกป้ ัญหา ในระดบั ผา่ น
๕) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้
๖) ผู้เรียนมีความก้าวหน้าจากพ้ืนฐานเดิมด้านความรู้ความเข้าใจและทักษะต่างๆ

ตามหลักสูตร มแี นวโน้มไม่แนน่ อนในแต่ละปี
๗) ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนไม่มีพัฒนาการแต่มีความพยายาม

ในการยกระดบั ผลการทดสอบระดับชาตใิ หส้ งู ข้นึ
๘) ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นท่ีสูงข้ึน

หรือมีวุฒภิ าวะทางอาชพี เหมาะสมกับช่วงวัย
๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
๑) ผู้เรยี นมคี วามประพฤตดิ ้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม จิตสงั คมและจติ สำ� นึก

ตามทีส่ ถานศกึ ษาก�ำหนดปรากฏไมช่ ดั เจน
๒) ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
๓) ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นในความเป็นไทย และแสดงออกได้อย่าง

เหมาะสม
๔) ผู้เรียนยอมรบั เหตุผลความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ และมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ดี
๕) ผ้เู รียนมวี ิธกี ารรักษาสุขภาพของตนเองใหแ้ ข็งแรง
๖) ผู้เรยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจติ ให้ดอี ยเู่ สมอ
๗) ผูเ้ รียนรแู้ ละมวี ธิ ีการป้องกันตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหง รังแก
๘) ผู้เรียนไม่เพิกเฉยต่อการกระท�ำส่ิงที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว

ชุมชนและสงั คม
ระดบั ๑ ปรับปรงุ
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน
๑) ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น และเขียนไมเ่ หมาะสมกบั ระดับช้ัน ทำ� ให้เป็น

ปญั หาต่อการเรยี นรู้
๒) ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ไมเ่ หมาะสมกบั ระดับชน้ั ทำ� ให้เป็นปญั หาตอ่ การเรยี นรู้
๓) ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการคิดค�ำนวณไม่เหมาะสมกับระดับชั้น ท�ำให้

เปน็ ปัญหาตอ่ การเรยี นรู้
๔) ผเู้ รยี นไมส่ ามารถตอบคำ� ถาม แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และแก้ปัญหาได้
๕) ผเู้ รยี นไม่สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารได้
๖) ผู้เรียนไม่มีความก้าวหน้าจากพ้ืนฐานเดิมด้านความรู้ ความเข้าใจและทักษะ

ต่างๆ ตามหลกั สตู รในแตล่ ะปี

6 คู่มอื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๗) ค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนไม่มีพัฒนาการและไม่มีความ
พยายามในการยกระดับผลการทดสอบระดับชาตใิ ห้สงู ข้นึ

๘) ผู้เรยี นไมพ่ ร้อมท่ีจะศกึ ษาต่อในระดบั ชนั้ ที่สูงข้นึ หรอื ขาดวุฒิภาวะทางอาชีพ
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน
๑) ผู้เรยี นมคี วามประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม จติ สงั คมและจติ ส�ำนึก

ตามทีส่ ถานศกึ ษากำ� หนดปรากฏไม่ชดั เจน
๒) ผู้เรยี นไม่มีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
๓) ผเู้ รียนไมม่ ีความภาคภูมใิ จในท้องถน่ิ ในความเป็นไทย
๔) ผเู้ รยี นไม่ยอมรบั เหตผุ ลความคิดเห็นของผอู้ นื่ และมมี นุษยสมั พันธ์ดี
๕) ผเู้ รียนไม่มีวธิ กี ารรักษาสุขภาพของตนเองใหแ้ ข็งแรง
๖) ผเู้ รียนไมร่ กั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจติ ให้ดไี ด้
๗) ผู้เรียนไม่รแู้ ละไมม่ ีวิธกี ารปอ้ งกนั ตนเองจากการถูกล่อลวง ขม่ เหงและรงั แก
๘) ผู้เรยี นวางเฉยต่อการกระท�ำส่ิงไม่ถกู ต้อง
✎ ตัวอย่างการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
- ตรวจสอบเอกสารท่ีสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนจากข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์
เช่น แบบสรุปผลการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดค�ำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละ
ระดบั ชน้ั เอกสารการวัดและประเมินผลผเู้ รยี นทุกระดบั ช้นั ช้ินงานผลงานนกั เรียน บันทกึ
การอ่าน แบบสรุปรายงานการประเมินความสามารถ ในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน
โครงงาน ช้ินงาน บันทึกการท�ำงาน รายงานสรุปผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
ร่องรอยการจัดกิจกรรม โครงการ เอกสารหลักฐานแสดงสุขภาวะทางร่างกาย อารมณ์
สังคม แบบบันทกึ พฤตกิ รรมทางสังคม
- สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียน เช่น ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์
การใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศ พฤติกรรมท่ีสะท้อนคุณลักษณะและค่านิยม
ของผู้เรียนตามที่สถานศึกษาก�ำหนด เช่น การเข้าแถว การแสดงความเคารพ การพูดจา
กิริยามารยาท การไหว้ ฯลฯ และพฤติกรรมการท�ำงานร่วมกัน การอภิปรายแสดง
ความคิดเหน็ การรว่ มกันแกไ้ ขปญั หา ฯลฯ
- สัมภาษณ์ผู้เรียนเก่ียวกับความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย เช่น นักเรียน
รู้สึกอย่างไรที่เกิดเป็นคนในท้องถิ่นนี้ นักเรียนภูมิใจส่ิงใดบ้างในท้องถิ่น นักเรียนชอบ
หรอื ไม่ชอบกบั การเขา้ รว่ มกิจกรรมวนั ส�ำคัญ ถา้ ชอบ/ไมช่ อบเพราะอะไร ฯลฯ

ค่มู อื การประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 7
เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา
✎ ประเด็นพิจารณา
๑. การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ท่ีสถานศกึ ษาก�ำหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๑) การวางแผนและด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน
ทุกกลุม่ เปา้ หมาย และดำ� เนนิ การอย่างเป็นรปู ธรรม
๒) การวางแผนและด�ำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญ
ทางวชิ าชีพ
๓) การวางแผนการบริหารและการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
๔) การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการ
เรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ
๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการ
ศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพและได้มาตรฐาน
๔. การกำ� กบั ตดิ ตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

✎ ระดบั คุณภาพ
ระดับ ๔ ดเี ยย่ี ม
๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจท่ีก�ำหนดไว้ตรงกับวัตถุประสงค์ของ

แผนการศกึ ษาชาติ และสอดคลอ้ งกับความต้องการของชมุ ชน ท้องถิ่นอยา่ งชดั เจน
๒. สถานศึกษามีแผนและด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา

ท่มี คี วามเหมาะสม ครอบคลุมประเดน็ หลกั ต่อไปน้ี
๒.๑ พัฒนาวิชาการท่ีเน้นผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกคน และด�ำเนินการอย่างเป็น

รูปธรรม
๒.๒ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ความสามารถ

และทกั ษะตามมาตรฐานต�ำแหนง่
๒.๓ บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย น�ำไป

ประยกุ ต์ใชไ้ ด้ และด�ำเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ
๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ดีและกระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้

ทวั่ ถึงทกุ กลมุ่ เป้าหมาย
๓. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมือในการร่วมรับผิดรับชอบ

ต่อผลการจดั การศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน
๔. สถานศึกษาก�ำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาอย่าง

เหมาะสม ชดั เจน และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วม

8 ค่มู อื การประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ระดับ ๓ ดี
๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ก�ำหนดไว้ตรงกับวัตถุประสงค์ของ

แผนการศึกษาชาติ และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถ่ินอยา่ งชดั เจน
๒. สถานศึกษามีแผนและด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมี

ความเหมาะสม ครอบคลุมประเด็นหลักต่อไปน้ี
๒.๑ พฒั นาวิชาการที่เนน้ ผู้เรียนทุกกลุม่ เปา้ หมาย และดำ� เนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒ พฒั นาครูและบุคลากรทใ่ี ห้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
๒.๓ บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศท่ีมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย และน�ำไป

ประยุกต์ใชไ้ ด้
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีด่ ี
๓. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมือในการร่วมรับผิดรับชอบ

ตอ่ ผลการจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน
๔. สถานศึกษาก�ำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาอย่าง

เหมาะสม ชัดเจน
ระดบั ๒ พอใช้
๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจท่ีก�ำหนดไว้ตรงกับวัตถุประสงค์

ของแผนการศึกษาชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน แต่ขาด
ความชัดเจน
๒. สถานศึกษามีแผนและด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมี
ความเหมาะสม ครอบคลุมประเดน็ หลกั ตอ่ ไปนี้
๒.๑ พัฒนาวิชาการทีเ่ น้นผเู้ รียน และมกี ารด�ำเนนิ การ
๒.๒ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทใ่ี ห้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานตำ� แหน่ง
๒.๓ บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง หรือครบถ้วน หรือทันสมัย

หรอื น�ำไปประยุกต์ใช้ได้
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่ดี
๓. ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและมีเครือข่ายความร่วมมือในการร่วมรับผิดรับชอบต่อผล

การจดั การศึกษาอยูใ่ นระดับนอ้ ย
๔. สถานศึกษาก�ำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาแต่ไม่เป็น

ไปตามข้ันตอนท่กี ำ� หนด

คู่มอื การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 9
เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

ระดับ ๑ ปรบั ปรงุ
๑. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจท่ีก�ำหนดไว้ตรงกับวัตถุประสงค์

ของแผนการศึกษาชาติ แต่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน
ขาดความชดั เจน
๒. สถานศึกษามีแผนและด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา
ไม่เหมาะสมและขาดความครอบคลุมประเดน็ หลักตอ่ ไปน้ี
๒.๑ พัฒนาวิชาการทไ่ี ม่ครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย หรอื ไม่ครบทกุ คน และดำ� เนนิ

การอย่างไม่เป็นรูปธรรม
๒.๒ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ความสามารถตามหนา้ ทีท่ ไี่ มค่ รบทุกคน
๒.๓ จัดการข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน แต่ไม่ทันสมัยและไม่มี

การนำ� ไปประยุกตใ์ ช้
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ไี มด่ แี ละไมก่ ระตุน้ ให้ผูเ้ รยี นใฝเ่ รียนรู้
๓. ผู้เกย่ี วข้องมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาอยู่ในระดับน้อยมาก
๔. ไมม่ กี ารกำ� กับตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

✎ ตวั อยา่ งการเก็บรวบรวมข้อมูล
- ตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนปฏิบัติการประจ�ำปี แผนพฒั นาวิชาการ แผนบรหิ ารจดั การสารสนเทศ แผนพฒั นาครู/
บุคลากร แผนการก�ำกับนิเทศ ติดตามการประเมินผลของสถานศึกษา แผนการจัด
สภาพแวดลอ้ ม ฯลฯ
- สัมภาษณ์คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากร ผูเ้ รียน และผู้ปกครอง
นักเรียนเกี่ยวกับการก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษา เช่น
กระบวนการได้มาของเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ท�ำอย่างไรบ้าง มีข้ันตอนอย่างไร
การก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ด�ำเนินการอย่างไร ใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง
สถานศกึ ษามีการดำ� เนินการสรา้ งความเขา้ ใจตรงกัน ระหว่างผบู้ รหิ าร ครู และผเู้ กีย่ วข้อง
อย่างไร สถานศึกษาน�ำแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างไร สถานศึกษาแบ่งบทบาทหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผนอย่างไร ผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมต่อผล
การด�ำเนินการสถานศึกษาหรือไม่ อย่างไร สถานศึกษามีเครือข่ายในการท�ำงานกับใคร/
หน่วยงานใดบ้างและมีส่วนร่วมอย่างไร สถานศึกษามีการก�ำกับติดตามและมีวิธีการ
ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งไร ฯลฯ

10 คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำ� คญั
✎ ประเดน็ พจิ ารณา
๑. การมกี ระบวนการเรยี นการสอนท่สี ร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนทกุ คนมีส่วนรว่ ม
๒. การจัดการเรียนการสอนทยี่ ดึ โยงกบั บรบิ ทของชมุ ชนและท้องถิ่น
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
มปี ระสิทธภิ าพ

✎ ระดับคุณภาพ
ระดบั ๔ ดเี ยย่ี ม
๑. การมกี ระบวนการเรียนการสอนทสี่ ร้างโอกาสให้ผเู้ รยี นทุกคนมีส่วนร่วม
๑.๑ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง ก�ำหนดเน้ือหาสาระ กิจกรรมท่ี

สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดเป็นรายบุคคลอย่างเป็นรูปธรรมท้ัง
ระบบ
๑.๒ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและ
แหลง่ เรียนรู้ทีห่ ลากหลาย สรปุ องคค์ วามรู้ และสามารถนำ� ไปใช้ในสถานการณ์
ต่างๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี
๑.๓ จดั กจิ กรรมให้ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะ แสดงออก น�ำเสนอผลงาน แสดงความคดิ เหน็
คิดเป็น ท�ำเป็น รักการอ่าน และแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง
อย่างเปน็ รูปธรรมและต่อเน่ือง
๑.๔ ผเู้ รยี นได้เรียนร้โู ดยเช่ือมโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรู้และทักษะด้านต่างๆ
๑.๕ ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สอื่ การเรียน และอ�ำนวย
ความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๑.๖ ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการวิจยั อยา่ งเป็นรูปธรรมและต่อเนอื่ ง
๒. การจัดการเรียนการสอนทีย่ ดึ โยงกบั บรบิ ทของชมุ ชนและท้องถิ่น
๒.๑ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัด
การเรยี นการสอน
๒.๒ ชุมชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่าง
เปน็ รปู ธรรมและต่อเนื่อง
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมี
ประสิทธิภาพ
๓.๑ ประเมนิ ผู้เรยี นจากสภาพจรงิ
๓.๒ มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินอยา่ งเปน็ ระบบ

คมู่ อื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 11
เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา

๓.๓ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมาย และ
การจดั การเรยี นการสอน

๓.๔ นักเรียนและผมู้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ งมีสว่ นร่วมในการวดั และประเมนิ ผล
๓.๕ ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี นและผูเ้ รยี นน�ำไปใชพ้ ัฒนาตนเอง
ระดับ ๓ ดี
๑. การมกี ระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนทกุ คนมสี ว่ นรว่ ม
๑.๑ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง ก�ำหนดเนื้อหาสาระ กิจกรรมท่ี

สอดคล้องกับความสนใจและความถนดั เปน็ รายบคุ คล
๑.๒ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้

ทห่ี ลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถน�ำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ งๆได้
๑.๓ จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกทกั ษะ แสดงออก น�ำเสนอผลงาน แสดงความคดิ เห็น

คิดเปน็ ทำ� เป็น รักการอ่าน และแสวงหาความรู้จากสอื่ เทคโนโลยดี ้วยตนเอง
๑.๔ ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นร้โู ดยเชือ่ มโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรแู้ ละทกั ษะด้านต่างๆ
๑.๕ ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สอื่ การเรียน และอ�ำนวย

ความสะดวกท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้
๑.๖ ผู้เรยี นได้เรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั
๒. การจดั การเรยี นการสอนทย่ี ดึ โยงกับบรบิ ทของชุมชนและท้องถน่ิ
๒.๑ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ

จดั การเรียนการสอน
๒.๒ ชุมชนมสี ่วนรว่ มแสดงความคิดเห็นหรอื รว่ มจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมี

ประสทิ ธภิ าพ
๓.๑ ประเมินผเู้ รียนจากสภาพจริง
๓.๒ มขี ั้นตอนตรวจสอบและประเมินอยา่ งเปน็ ระบบ
๓.๓ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมาย และ

การจดั การเรยี นการสอน
๓.๔ นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการวัดและประเมนิ ผล
๓.๕ ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี น
ระดบั ๒ พอใช้
๑. การมีกระบวนการเรยี นการสอนทีส่ ร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนทุกคนมสี ว่ นร่วม
๑.๑ ผเู้ รยี นมสี ่วนร่วมในการวเิ คราะหต์ นเอง กำ� หนดเนอื้ หาสาระ และกจิ กรรม
๑.๒ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนเรยี นร้โู ดยการคดิ ไดป้ ฏิบัตจิ รงิ

12 คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๑.๓ จัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รยี นได้ฝึกทักษะ แสดงออก นำ� เสนอผลงาน แสดงความคดิ เห็น
คดิ เป็น ท�ำเป็น รกั การอา่ น และแสวงหาความรู้จากส่อื เทคโนโลยดี ว้ ยตนเอง

๑.๔ ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้โดยเชือ่ มโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรูแ้ ละทักษะด้านตา่ งๆ
๑.๕ ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม และสอ่ื การเรียน
๑.๖ ผเู้ รยี นได้เรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการวจิ ัย
๒. การจดั การเรียนการสอนทย่ี ึดโยงกบั บรบิ ทของชุมชนและท้องถน่ิ
๒.๑ จัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน
๒.๒ ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมแสดงความคิดเห็น หรือร่วมจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี น
๓.๑ ประเมนิ ผ้เู รียนจากสภาพจรงิ
๓.๒ มขี น้ั ตอนตรวจสอบและประเมิน
๓.๓ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมาย และ

การจัดการเรียนการสอน
๓.๔ ให้ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียน
ระดับ ๑ ปรบั ปรงุ
๑. การมีกระบวนการเรยี นการสอนทไ่ี ม่สรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ ม
๑.๑ ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตนเอง ก�ำหนดเน้ือหาสาระ กิจกรรม

ท่ีสอดคล้องกบั ความสนใจและความถนดั เป็นรายบคุ คล
๑.๑ ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่ง

เรียนรู้ สรปุ องคค์ วามรู้
๑.๒ ไม่จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ แสดงออก น�ำเสนอผลงาน แสดง

ความคดิ เหน็ คดิ เปน็ ท�ำเป็น และรักการอา่ น
๑.๓ ผเู้ รียนไดเ้ รยี นร้โู ดยไมเ่ ชื่อมโยงบูรณาการสาระการเรยี นร้แู ละทกั ษะดา้ นตา่ งๆ
๑.๔ ผ้เู รียนไม่มีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม และส่ือการเรยี น
๑.๖ ผเู้ รียนไม่มกี ารเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการวิจยั
๒. การจดั การเรียนการสอนที่ไม่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและทอ้ งถ่นิ
๒.๑ ไมจ่ ดั กิจกรรมให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากแหลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปญั ญาท้องถิ่น
๒.๒ ชุมชนไม่มีบทบาทในการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนไม่เป็นระบบ และไม่มี

ประสทิ ธภิ าพ
๓.๑ ไมป่ ระเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
๓.๒ ตรวจสอบและประเมินอย่างไม่เป็นระบบ
๓.๔ นักเรียนและผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้องไม่มสี ่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผล
๓.๕ ไม่ให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับแก่ผู้เรยี น

คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 13
เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

✎ ตวั อยา่ งการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
- ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เชน่ หลกั สูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรยี นรู้
บันทึกผลหลังสอน เอกสารหลักฐานการวัดและประเมินผล เคร่ืองมือวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ สมุดการบ้านท่ีแสดงให้เห็นการให้ข้อมูลย้อนกลับ ชิ้นงานหรือผลงานของ
ผเู้ รียน/แฟม้ สะสมงาน สื่อการเรียนการสอน และแหลง่ เรียนรู้ ฯลฯ
- สังเกตกระบวนการเรียนการสอน พฤติกรรมการสอนของครู เช่น การใช้ค�ำถาม
ที่หลากหลายระดบั เพ่ือสง่ เสริมการคิดข้นั สงู พฤตกิ รรมการดูแลเอาใจใส่ การมอบหมายงาน
ของครู ปฎิสัมพันธ์ของครูกับผู้เรียน เช่น ความเป็นกันเองของครูกับผู้เรียน การสนทนา
โตต้ อบของครกู บั ผ้เู รยี น พฤตกิ รรมการเรียนของผเู้ รยี น เช่น ความกระตอื รือรน้ ในการเรียน
การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ความสนใจในการร่วมกิจกรรม สภาพบรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนปฎิบัติจริง กิจกรรมการ
แลกเปลี่ยนเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน กิจกรรมตอบสนองความสนใจของผเู้ รยี นในแตล่ ะกลุม่ ฯลฯ
- สัมภาษณ์นักเรียน และครู เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน เช่น นักเรียน
มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร นักเรียนได้ร่วมก�ำหนด
เกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานต่างๆ หรือร่วมประเมินผลการเรียนหรือไม่ อย่างไร
นักเรียนมีโอกาสไดไ้ ปเรียนรู้จากชมุ ชนในเรอื่ งใด และจากแหลง่ เรียนรใู้ ดบา้ ง นกั เรียนชอบ
เรียนวิชาอะไร เพราะเหตุใด ครูใช้วิธีการวัดและประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน
ด้วยวธิ ีการใดบา้ ง ฯลฯ

มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ีประสทิ ธิผล
✎ ประเด็นพจิ ารณา
การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดี
ยงิ่ ข้ึน

✎ ระดบั คุณภาพ
ระดบั ๔ ดเี ย่ียม
๑. สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพ

ผูเ้ รียนอย่างเปน็ รูปธรรม มขี น้ั ตอนอยา่ งชดั เจน และมีความเปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบตั ิ
๒. ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและด�ำเนินงานประกันคุณภาพ

ภายในของสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี
๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

มีความมน่ั ใจตอ่ ระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดบั สงู

14 คูม่ ือการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

ระดบั ๓ ดี
๑. สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพ

ผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ รูปธรรม มขี ้ันตอนอยา่ งชดั เจน และมีความเปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบัติ
๒. ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและด�ำเนินงานประกันคุณภาพ

ภายในของสถานศึกษา
๓. พอ่ แม่ ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชน/ทอ้ งถนิ่ และผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้องมี

ความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศึกษา
ระดับ ๒ พอใช้
๑. สถานศกึ ษาจัดวางระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
๒. ผู้เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการวางระบบและด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศึกษา
๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง

คอ่ นขา้ งมนั่ ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศึกษา
ระดบั ๑ ปรบั ปรงุ
๑. สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ท่ีไม่ส่งผลต่อ

คณุ ภาพผูเ้ รยี น ไมเ่ ป็นรปู ธรรม ขาดความชดั เจน และไมม่ ีความเปน็ ไปได้ในการปฏิบตั ิ
๒. ผู้เก่ียวข้องไม่ให้ความร่วมมือในการวางระบบและด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศึกษา
๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ไม่มีความมัน่ ใจตอ่ ระบบการบรหิ ารและการจัดการของสถานศึกษา

✎ ตัวอยา่ งการเก็บรวบรวมข้อมูล
- ตรวจสอบเอกสารเก่ียวกับการวางระบบและการด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปี
รปู แบบหรอื กระบวนการทใี่ ชด้ ำ� เนินงานประกันคณุ ภาพของสถานศึกษา ฯลฯ
- สัมภาษณ์นักเรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ชุมชน/ท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องเก่ียวกับการมีส่วนร่วมในการวางระบบ
และด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เช่น ท่านมีส่วนร่วมในการบริหาร
และการจัดการของสถานศึกษาอย่างไรบ้าง ท่านมีส่วนร่วม ท่านมีความพึงพอใจต่อการ
บริหารและการจัดการของสถานศึกษาหรือไม่ อยา่ งไร ฯลฯ

คมู่ อื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 15
เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

๙. การตัดสินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม ให้ตัดสินจากผลการประเมิน
๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหาร
จัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และมาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล
โดยน�ำผลการประเมินรายมาตรฐานเหล่าน้ัน มาพิจารณาเป็นภาพรวมเพ่ือตัดสินระดับ
คุณภาพของสถานศกึ ษาตามระดับคุณภาพ ดังน้ี

ระดบั ๔ ดีเยยี่ ม
๑. ผลประเมินมาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม โดยมีพัฒนาการของ

ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น มีความสามารถในการอ่านและเขียน
สามารถสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถในการคิดค�ำนวณ มีความสามารถ
ในการคิด ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และมีความประพฤติด้าน
คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนดปรากฏ
อยา่ งชดั เจน
๒. ผลประเมนิ มาตรฐานกระบวนการบรหิ ารจดั การของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาอยใู่ นระดบั ดเี ย่ียม
โดยมีการวางแผน การด�ำเนินงานตามแผน การตรวจสอบผลการด�ำเนินงาน และ
การปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานใหด้ ีขึ้นอย่างต่อเน่อื ง
๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
มีผลประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม โดยมีการวิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ให้
เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้
และการประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ ในทุกขั้นตอน
๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลอยู่ในระดับดีเย่ียม
โดยผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการวางระบบและด�ำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความม่ันใจต่อระบบ
การบรหิ ารและการจัดการของสถานศึกษาในระดบั สูง
ระดบั ๓ ดี
๑. ผลประเมินมาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีหรือดีเย่ียม โดยมีพัฒนาการ
ของค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น มีความสามารถในการอ่านและเขียน
สามารถส่ือสารทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถในการคิดค�ำนวณ มคี วามสามารถ
ในการคิด ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และมีความประพฤติ
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนดปรากฏ
อย่างชดั เจน
๒. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับดี
หรอื ดเี ยย่ี ม โดยมกี ารวางแผน การดำ� เนนิ งานตามแผน การตรวจสอบผลการดำ� เนนิ งาน
และการปรับปรงุ แกไ้ ขงานให้ดขี ึน้ อย่างต่อเน่ือง

16 คู่มือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
อยู่ในระดับดีหรือดีเยี่ยม โดยมีการวิเคราะห์ท�ำความเข้าใจเป้าหมายของหลักสูตร
บริบทสถานศกึ ษา พฒั นากิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลในทุกขั้นตอน

๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผลอยู่ในระดับดี
หรือดีเยี่ยม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการ
ของสถานศกึ ษาในระดับสงู

ระดบั ๒ พอใช้
๑. ผลประเมินมาตรฐานคุณภาพของผูเ้ รยี นอยูใ่ นระดับพอใช้
๒. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับ

พอใช้ ไม่มีการวางแผน การด�ำเนินงานตามแผน การตรวจสอบผลการด�ำเนินงาน
และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานให้ดีขน้ึ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง
๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
อยู่ในระดับพอใช้ มีการวิเคราะห์ท�ำความเข้าใจเป้าหมายความต้องการของหลักสูตร
บริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ การน�ำไปใช้ และการประเมินผล
แต่ขาดความถูกต้องสมบูรณ์อย่างใดอยา่ งหน่ึง
๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผลอยู่ในระดับพอใช้
และผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งมีความมน่ั ใจต่อระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศกึ ษา
ระดบั ๑ ปรับปรุง
๑. ผลประเมินมาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนอย่ใู นระดบั พอใชห้ รือปรบั ปรงุ
๒. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ใน
ระดับพอใช้หรือปรับปรุง ไม่มีการวางแผน การด�ำเนินงานตามแผน การตรวจสอบ
ผลการด�ำเนนิ งาน และการปรับปรงุ แกไ้ ขงานให้ดขี น้ึ อย่างใดอย่างหน่งึ
๓. ผลประเมินมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
อยู่ในระดับพอใช้หรือปรับปรุง ไม่มีการวิเคราะห์ท�ำความเข้าใจเป้าหมายของหลักสูตร
บริบทสถานศึกษา และบริบทในการศึกษาของชาติ ขาดความสมบูรณ์ในการพัฒนา
กิจกรรมการเรยี นรู้ การน�ำไปใช้ และการประเมินผลในทุกขัน้ ตอน
๔. ผลประเมินมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผลอยู่ในระดับ
พอใช้หรือปรับปรุง ผู้มีส่วนเก่ียวข้องไม่มีความม่ันใจต่อระบบการบริหารและการ

จัดการของสถานศกึ ษา 

คูม่ อื การประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 17
เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

สว่ นที่ ๒
แนวทางการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๑๐. การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐาน
เป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgement) และ
การตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมนิ ในระดับเดยี วกัน (peer review)
โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการประเมินต้องมีความรู้
อย่างรอบด้านและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในการตัดสินเพ่ือให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์
ทีก่ ำ� หนด ซึ่งจะไม่ใช่การใหค้ ะแนนตามความคิดเหน็ ของคนใดคนหน่ึง

๑๑. การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาท่ีต้องตรวจสอบและประเมิน
ตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาที่แท้จริง โดยให้ความส�ำคัญกับการประเมิน
เชิงคุณภาพ ผนวกกับการประเมินเชิงปริมาณควบคู่กันไป การตัดสินคุณภาพของ
สถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการท่ีไม่แยกส่วนหรือ
แยกองค์ประกอบในการก�ำหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวม
ของผลการด�ำเนินงานหรอื กระบวนการดำ� เนนิ งาน (holistic rubrics)

๑๒. การก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินงานภายในของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาก�ำหนด
เป้าหมายและเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษาเอง เพ่ือตรวจสอบ
และประเมินผลการด�ำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา โดยให้ยึดหลักการดำ� เนินงาน
เพ่ือพัฒนา และสะท้อนคุณภาพการด�ำเนินงานตามเป้าหมายที่ก�ำหนดตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษา

๑๓. การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ นน้ การประเมินตามหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ท่ีเกิดจากการปฏบิ ตั ิงานตามสภาพจรงิ ของสถานศึกษา (evidence based) โดยเลือกใช้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเหมาะสมและสะท้อนคุณภาพการด�ำเนินงานตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน และมีเป้าหมายการประเมินเพื่อการพัฒนา ลดภาระการ
จัดเก็บข้อมูลและเอกสารท่ีไม่จ�ำเป็นในการประเมิน แต่ข้อมูลต้องมีความน่าเชื่อถือและ
สามารถตรวจสอบผลการประเมนิ ไดต้ ามสภาพบรบิ ทของสถานศกึ ษานน้ั ๆ

๑๔. คณะท่ีท�ำหน้าท่ีประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรศึกษามาตรฐานการศึกษา
และประเด็นพิจารณาที่ก�ำหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนด�ำเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษา
ของตน หลังประเมินแล้วให้แจ้งผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา
คุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงานการประเมนิ ตนเอง (self-assessment report)

18 ค่มู ือการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๑๕. ในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สถานศึกษา
ด�ำเนินการ โดย ๑) ใหม้ ีการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาอย่างน้อยปลี ะ ๑ ครัง้
๒) ใหม้ คี ณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในอยา่ งนอ้ ย ๓ คน โดยท่ีต้องมผี ูท้ รงคณุ วุฒิ
ภายนอกท่ีหน่วยงานต้นสังกัดขึ้นทะเบียนไว้อย่างน้อย ๑ คน และ ๓) ในการประเมิน
คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ใช้วิธีการและเคร่ืองมือ
ที่หลากหลายและเหมาะสม

๑๖. ให้สถานศึกษาสรุปและจัดท�ำรายงานการประเมินตนเองท่ีสะท้อนคุณภาพผู้เรียนและ
ผลส�ำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา น�ำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานและหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนและหน่วยงาน
ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง และเตรียมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกต่อไป

๑๗. โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้ยึดตามแนวทางท่ีหน่วยงาน
ต้นสังกัดก�ำหนด ซึ่งโดยทั่วไปประกอบด้วยเน้ือหา ๔ ส่วน คือ ๑) ข้อมูลพ้ืนฐาน
๒) ผลประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ๓) สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการ
การช่วยเหลือ และ ๔) ภาคผนวก สิ่งส�ำคัญท่ีสุดของรายงานการประเมินตนเอง
คือกระบวนการพัฒนาคุณภาพซึ่งหมายรวมถึง กิจกรรม/โครงการ/งานที่สถานศึกษา
ด�ำเนินการที่จะสะท้อนให้เห็นถึงหลักการ แนวคิดของผู้บริหารสถานศึกษา การมีเป้าหมาย
หรือรูปแบบที่ชัดเจนในการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งทุกกิจกรรม/โครงการ/งาน
สง่ ผลถงึ การพฒั นาผเู้ รียนให้บรรลเุ ป้าหมายของสถานศกึ ษา

๑๘. ข้อควรตระหนกั ในการประเมนิ คณุ ภาพภายใน
๑๘.๑ ผู้ประเมินควรมีความรู้ลึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ท้ังในแง่มุมของภาระงาน โครงสร้าง เทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการบริหาร และ
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้และมีประสบการณ์เพียงพอ เพ่ือการช่วยช้ีแนะ
การปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน และตรงประเด็น เกิดประโยชน์
ตอ่ สถานศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง
๑๘.๒ ผู้ประเมินควรวิเคราะห์อภิปรายด้วยใจเป็นกลาง โดยพิจารณาจากข้อมูล
หลักฐานที่เก็บรวบรวมจากหลาย ๆ ด้าน ท้ังข้อมูลปัจจุบัน และผลการประเมิน
การด�ำเนินงานที่ผ่านมา (อาจพิจารณาย้อนหลัง ๓ ปี) ท้ังน้ีเพื่อให้ทราบถึง
ความก้าวหน้าในการพฒั นาว่าอยใู่ นระดับใด
๑๘.๓ สิ่งทมี่ ีคณุ คา่ มากท่ีสดุ ทไ่ี ดร้ ับจากการประเมินภายในของสถานศกึ ษา คอื การไดร้ ับ
ข้อชี้แนะ ค�ำแนะน�ำ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติ
ได้จรงิ ดงั นั้น ผู้ประเมนิ จึงควรรู้ความเคลือ่ นไหวของการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในเรอ่ื งการพัฒนาการเรยี นการสอน

คมู่ ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 19
เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๑๘.๔ การก�ำหนดระยะเวลาด�ำเนินการประเมินภายในของสถานศึกษานั้น ให้สถานศึกษา
ก�ำหนดได้เองตามความเหมาะสม แต่ควรสอดคล้องกับสภาพและบริบทของ
การด�ำเนินงาน เพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักฐาน
เช่น แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนการเรียนรู้ บันทึกหลังสอน
รายงานประชุม เป็นต้น ซ่ึงจะเห็นได้ว่า เอกสารหลักฐานต่าง ๆ น้ัน เกิดขึ้น
จากการปฏบิ ตั งิ าน ไมใ่ ช่การสร้างเอกสารหลักฐานเพิ่มเตมิ

๑๘.๕ การเก็บรวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกตและสัมภาษณ์นั้น ควรกระท�ำ
ด้วยความระมัดระวัง ต้องสร้างความรู้สึกเป็นมิตรมากกว่าการจับผิดหรือ
การกล่าวโทษ และควรพูดคุยสอบถามด้วยความสุภาพและสร้างความไว้วางใจ
เปน็ อันดบั แรก ก่อนทีจ่ ะสอบถามเพ่อื การเก็บรวบรวมข้อมลู ตอ่ ไป
_____________________________

20 ค่มู ือการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา

ภาคผนวก



ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึก_ษ_า_ข__ั้น_พ_้ืน_ฐ_า_น__เ_พ_ือ่_ก_า_ร_ป__ร_ะ_ก_นั _ค_ุณ__ภาพภายในของสถานศกึ ษา
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษที่สองทีก่ �ำหนดเป้าหมายและ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบาย
ให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อน
จะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จ�ำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ขนั้ พนื้ ฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ลงวันที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้ก�ำหนดการจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจดั การศึกษา
ใหย้ ึดหลกั ที่ส�ำคญั ขอ้ หน่ึง คือ มกี ารก�ำหนดมาตรฐานการศกึ ษา และจดั ระบบประกันคณุ ภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำกับ
ดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ก�ำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษา
ที่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดท�ำรายงานประจ�ำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
การศึกษา และเพื่อรองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก
ฉะน้นั อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๔๘
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานในการประชมุ ครง้ั ท่ี ๗/๒๕๕๙
เม่อื วนั ท่ี ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๙ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงประกาศใหใ้ ช้มาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพ่ือเป็นหลัก
ในการเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ท้ังประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตาม
ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบบั นี้
ทั้งนี้ ใหใ้ ช้กบั สถานศกึ ษาท่เี ปดิ สอนระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานทกุ สงั กัด

ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙

พลเอก
(ดาวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ)

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

22 คู่มือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐานเพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
เพ่อื การประกันคณุ ภาพภ_า_ย_ใ_น_ข_อ_ง_ส_ถ_า_น__ศ_ึก_ษ_า__ฉ_บ_บั _ล_ง_ว_ัน_ท_่ี_๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

มาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙
มีจำ� นวน ๔ มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รียน
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำ� คัญ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกนั คุณภาพภายในท่มี ปี ระสิทธิผล
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดงั น้ี

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น
๑) ความสามารถในการอา่ น เขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำ� นวณตามเกณฑ์
ของแต่ละระดับชัน้
๒) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียน
ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
๔) ความกา้ วหนา้ ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
๕) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
๖) ความพร้อมในการศกึ ษาต่อ การฝกึ งาน หรือการทำ� งาน
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
๒) ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
๓) การยอมรบั ท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจติ สังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
๑. การมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

คู่มอื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 23
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๒.๑ การวางแผนและด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนน้ คุณภาพของผู้เรียนรอบดา้ น
ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย และด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒ การวางแผนและด�ำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญ
ทางวิชาชพี
๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมลู สารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ
๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ
จดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ
๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัด
การศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน
๔. การก�ำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารและการจดั การศกึ ษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำ� คญั
๑. การมีกระบวนการเรยี นการสอนทีส่ รา้ งโอกาสใหผ้ เู้ รียนทกุ คนมีสว่ นร่วม
๒. การจัดการเรยี นการสอนท่ยี ดึ โยงกับบรบิ ทของชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
มปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่มี ปี ระสิทธิผล
การใช้ระบบการประกนั คุณภาพภายในเพือ่ ยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษาใหด้ ียิ่งขึ้น

24 ค่มู ือการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

คณะทำ� งานปฏริ ปู ระบบการประเมินและประกันคุณภาพการศกึ ษา
นายแพทย์ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป ์ ท่ปี รึกษาคณะทำ� งาน
รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นายไมเคิล เดวดิ เชอบ ี้ ทป่ี รึกษาคณะทำ� งาน
ท่ีปรกึ ษารัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
หมอ่ มหลวงปริยดา ดสิ กุล ทปี่ รึกษาคณะทำ� งานผู้ช่วยเลขานุการ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.อนชุ าติ พวงส�ำลี ท่ปี รกึ ษาคณะทำ� งาน
รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล ร่มโพธ์ิ หน้าหน้าคณะท�ำงาน
นางปารชิ าดิ ทัพภะสุด คณะทำ� งาน
นายแพทยช์ ัยชนะ นิ่มนวล คณะท�ำงาน
แพทยห์ ญงิ ศภุ รา เชาวป์ รีชา คณะท�ำงาน
แพทย์หญิงปยิ าภัสร์ จติ ภริ มย ์ คณะท�ำงาน
นางสาวผาณิดา วทิ ยวราวฒั น์ คณะท�ำงานและเลขานกุ าร

คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ดร.ดเิ รก พรสีมา ประธานกรรมการ
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน รองประธานกรรมการ
ดร.อ�ำรุง จันทวานิช กรรมการ
ดร.เบญจา ชลธาร์นนท์ กรรมการ
นางมัณฑนา ศังขะกฤษณ ์ กรรมการ
ดร.บุญชู ชลษั เฐียร กรรมการ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย กรรมการ
ดร.ไพรวลั ย์ พิทกั ษ์สาล ี กรรมการ
รองศาสตราจารย์ ดร.พชิ ติ ฤทธจ์ิ รญู กรรมการ
ศาสตราจารย์ ดร.สุวมิ ล ว่องวาณิช กรรมการ
ผู้อำ� นวยการส�ำนักทดสอบทางการศึกษา กรรมการและเลขานกุ าร
ผู้อ�ำนวยการกล่มุ พฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ผ้ชู ่วยเลขานุการ


ค่มู ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 25
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

คณะท่ีปรกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
นายการณุ สกุลประดษิ ฐ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ดร.บุญรกั ษ์ ยอดเพชร ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
ดร.วษิ ณุ ทรพั ยส์ มบัติ

คณะจดั ทำ� เอกสาร
ดร.บุญชู ชลัษเฐียร คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ดร.ไพรวลั ย์ พทิ ักษส์ าลี คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
ดร.วษิ ณุ ทรพั ย์สมบัติ ผ้อู ำ� นวยการสำ� นักทดสอบทางการศึกษา
นางเพญ็ นภา แก้วเขียว ผู้อำ� นวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา
ดร.ลาวัลย์ พชิ ญวรรธน์ รองผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ลพบุรี เขต ๑ ปฏิบัติหน้าท่ี สพฐ.
นางสุอารยี ์ ช่ืนเจรญิ นกั วิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
นายภัทรแสน แสนยะมลู นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัตกิ าร สำ� นักทดสอบทางการศึกษา
นางสาวสวุ ณี พมิ พกรรณ ์ นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการพิเศษ ส�ำนกั พฒั นานวัตกรรม
การจดั การศึกษา
นางสาวรุ่งทิวา งามตา นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ สำ� นักตดิ ตามและประเมินผล
การจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
นางพงษ์จนั ทร์ อยูเ่ ป็นสขุ ขา้ ราชการบำ� นาญ
ดร.ดวงใจ ชนะสทิ ธิ์ อาจารย์คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม
นางสาวแสงมณี มีน้อย ผูอ้ �ำนวยการส�ำนักวชิ าการ
ส�ำนักประสานและพฒั นาการจัดการศกึ ษาทอ้ งถิ่น
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่
นางสาวชฎาธาร มะลิลลิ นกั จัดการทัว่ ไปช�ำนาญการ
ส�ำนักประสานและพัฒนาการจดั การศึกษาทอ้ งถิน่
กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ
นางสาวนันทิพา กงวไิ ล หวั หน้าแผนกนโยบายและแผน โรงเรียนวัฒนาวทิ ยาลยั
ส�ำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
นางสาวถวลิ จนั ทร์สวา่ ง นกั วิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนกั การศกึ ษากรุงเทพมหานคร
นางสาววาสนา เครือมาศ นักวชิ าการศึกษาช�ำนาญการ
สำ� นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
ดร.เกรยี งศักด์ิ สุวรรณวจั น์ ผ้อู ำ� นวยการกลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต ๑
นายมาโนช จนั ทร์แจ่ม ผู้อำ� นวยการกลมุ่ นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำ� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๑

26 คู่มือการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

นายสมโภชน์ หลกั ฐาน ศึกษานิเทศก์เช่ยี วชาญ
สำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๑
ดร.กนกมนตร นาจวง ศกึ ษานิเทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ
ส�ำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต ๓
ดร.ชนกนาถ วงษค์ ำ� จนั ทร์ ศึกษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๔
นางปัทมพร สุรกจิ บวร ศึกษานิเทศก์ชำ� นาญการพเิ ศษ
สำ� นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๒
นางรัญญาภทั ร์ อัยรา ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ
สำ� นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุทัยธานี เขต ๒
นางสาวพิไลลักษณ์ หม่ันวงศ ์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำ� นาญการพิเศษ
สำ� นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต ๕
นางสาวสมลกั ษณ์ พมิ สกุล ศึกษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต ๒
นางอภิวนั ทน์ พินทอง ศกึ ษานิเทศกช์ ำ� นาญการพิเศษ
สำ� นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาประจวบศีรีขนั ธ์ เขต ๑
นายบญุ เรือน ฉายศิร ิ ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตราด
นายสมบตั ิ เนตรสวา่ ง ศึกษานเิ ทศก์ช�ำนาญการพเิ ศษ
สำ� นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต ๑
นายอัทธนยี ์ ศนั สนยี กุล ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพเิ ศษ
สำ� นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต ๒
นางน�ำ้ ค้าง โตจนิ ดา ศกึ ษานิเทศกช์ �ำนาญการพิเศษ
ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๑๘
นางพติ รชาภรณ์ ชมุ่ กมลธนัตย ์ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๑๐
นางสาวสนุ ทรี จนั ทร์ส�ำราญ ศึกษานิเทศกช์ �ำนาญการพิเศษ
ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต ๕
ดร.อิทธิฤทธ์ิ พงษ์ปิยะรัตน ์ ศกึ ษานิเทศก์ชำ� นาญการ
ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๕
นางพิฐชญาณ์ ไพรด�ำ ศึกษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการ
สำ� นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสงิ ห์บรุ ี
นายจงรกั รุ่งเรืองศิรนิ นท์ ศกึ ษานิเทศกช์ �ำนาญการ
ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร
นางสาวดวงใจ ถวิลไพร ผูอ้ �ำนวยการโรงเรียนบ้านหว้ ยไผ่หนองโน จังหวัดขอนแก่น
ส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๔

คมู่ ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 27
เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ดร.ศริ ริ ตั น์ สุคนั ธพฤกษ์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนวัดเจา้ ปลกุ (เตมิ ประชาสรรค์)
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ส�ำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต ๑
ดร.สุชาติ บรรจงการ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกมลศรี จังหวดั ตรงั
สำ� นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๒
ดร.นันทิยา ทองหล่อ ผ้อู �ำนวยการโรงเรียนโรงเรยี นวัดหนองนา จังหวัดลพบรุ ึ
ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลพบรุ ึ เขต ๑
ดร.อรพรรณ ตู้จนิ ดา ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นพลบั พลาไชย จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต ๒
นางปราณี หนขู าว ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นโรงเรยี นวัดแก้วศลิ าราม จงั หวดั ชลบุรี
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต ๒
นางรติมา ปฤษฎางคเดชา ผู้อำ� นวยการโรงเรียนวชริ ป่าซาง จงั หวัดลำ� พนู
สำ� นกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๕
นางโสภา ชวนวัน ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นชยั เกษมวทิ ยา จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์
ส�ำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๑๐
นายวิทยา จติ เงิน ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนอนุบาลท่าช้างเฉลมิ พระเกยี รติ
จงั หวดั นครราชสมี า
ส�ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๒
นายอนศุ ักดิ์ พันธง์ าม ผู้อำ� นวยการโรงเรียนโรงเรียนบา้ นโนนเพ็ก จังหวัดศรีสะเกษ
สำ� นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๑
นางสุมนา เสือเอก ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนสุขฤทัย กรงุ เทพมหานคร
ส�ำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
นายธงชัย โคระทัต ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดมกุฎกษตั รยิ าราม กรงุ เทพมหานคร
ส�ำนกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร
นายสุพจน์ หวา่ นเงิน ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นแย้มจาดวชิ ชานุสรณ์ กรงุ เทพมหานคร
สำ� นักการศึกษากรงุ เทพมหานคร
นายธีรวัฒน์ สมเพาะ รกั ษาการผอู้ �ำนวยการโรงเรียนเทศบาลปลายบางวัดอบุ ลนาราม
จังหวดั นนทบุรี
สำ� นักประสานและพัฒนาการจดั การศกึ ษาท้องถิน่
กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น
นายทวิช แจ่มจำ� รสั รองผูอ้ ำ� นวยการโรงเรยี นวดั พรหมสาคร จงั หวัดสิงห์บรุ ี
ส�ำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสิงหบ์ ุรี
นางโพธ์ทิ อง จติ เงนิ ครูโรงเรยี นอนบุ าลท่าช้างเฉลิมพระเกยี รติจังหวัดนครราชสีมา
สำ� นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๒
นางวิจติ รา วนั เลศิ ครู โรงเรียนตะดอบวทิ ยา จังหวัดศรสี ะเกษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๑
ดร.อนสุ รณ์ เกดิ ศร ี ครู โรงเรยี นวัดเขาพระยาสังฆาราม จงั หวัดอุทัยธานี
สำ� นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอทุ ยั ธานี เขต ๒

28 คมู่ อื การประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

สำ� นักทดสอบทำงกำรศกึ ษำ
สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน


Click to View FlipBook Version