www.fiberglassthai.com นติ ยสารไทยคอมโพสทิ 1 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
ThaiComposites
ฉบับที่ 5 พฤษภาคม-สิงหาคม 2560 Issue 5, May-August, 2017
ภายใตการกำกับดูแลของ สมาคมไทยคอมโพสทิ กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม
Composites Industry 4.0
from cloud to ground technology
2
THAI COMPOSITES MAGAZINE
The company is very much the technology leader. In addition to being the first E-mail: [email protected] The Proven High Performance Sandwich Core www.neo.co3.th
company to introduce core kits, it has been in the vanguard of new China
environment-friendly processing developments such as Tel +86 (0)512 5763 0666
DIAB Core Infusion Technology™. E-mail: [email protected]
Denmark
Tel +45 48 22 04 70
E-mail: [email protected]
France
Tel + 33 (0)5 56 47 20 43
E-mail: [email protected]
Germany
Tel +49 (0)511 42 03 40
We have always been much more than just a materials supplier. To this end วสั ดคุ อมโพสทิ ทกุ ชนิด W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
we look to establish long-term partnerships with our customers by providing
High strength to weight ratio
high performance composite materials and an extensive range of Excellent fatigue strength
Good adhesion / peel strength
ผูนำเขา และตวั แทนจดั จำหนายtechnicalsupportservices. Compatible with all main
E-mail: [email protected] resin types
High thermal stability
Divinycell is a registered trademark of DIAB International AB. India Small cell size
All content in this publication is protected under international copyright laws. Tel +91 (0)44 42 31 67 68 Thermoformable
E-mail: [email protected] Low water absorption
©DIAB February 2008 Good insulation values
Italy Ultra-wide density range
Tel +39 0119 42 20 56
E-mail: [email protected] EZ
Norway
Tel +47 66 98 19 30
E-mail: [email protected]
Poland
Tel: +48 602 449 660
E-mail: [email protected]
Spain
Tel +34 661 373 267
[email protected]
Sweden
Tel +46 (0)430 163 00
E-mail: [email protected]
Thailand
Tel +66 (0)38 465 388
E-mail: [email protected]
Taiwan
Tel +886-2-27576330
E-mail: [email protected]
United Kingdom
Tel +44 (0)1452 50 18 60
E-mail: [email protected]
This data contained in this publication may be subject to revision and changes due to development and changes of the materials. USA Divinycell H SB-Eng-2.08- Rev.1.0
The data is derived from tests and experience. The data is average data and should be treated as such. Calculations should be Tel +1 (972) 228-3500
verified by actual tests. The data is furnished without liability for the company and does not constitute a warranty or representation E-mail: [email protected]
in respect of the materials or their use. The company reserves the right to release new data in replacement.
If your country is not listed above,
please check our web site
for details of your nearest DIAB
distributor or agent.
1. วัสดเุ สริมแรง CORE MATERIALS 2. เรซนิ่ สำหรับทำโมลด TOOLING RESIN
1. แผนรงั ผ้งึ Nidaplast 1. เรซนิ่ ทำโมลดชนิดไมห ดตัว Nord Composite
2. พวี ซี ี โฟม Diab 2. เจลโคตทำโมลดไวนิล
3. คอรแมน Lantor 3. เรซน่ิ และเจลโคตโพลเี อสเตอร Major resin
4. พียู โฟม PU Foam 4. อพี อ็ กซีเรซิน่ Aditiya
3. เครอ่ื งพนเจลโคดและใยแกว 4. วัสดสุ ำหรบั งานแวค็ คมั ทุกชนดิ
เคร่ืองฉีดเรซ่นิ LRTM Bagging Ffi ilm, Peel ply, Breather,
- NJ Robinson Flow media, Sealant tape Diatex
5. ใยแกว ผาคารบอน และวัสดุสำหรบั งานไฟเบอรท กุ ชนิด 6. น้ำยาถอดแบบ สูตรนำ้ ชนิดกึ่งถาวร
- Toxonic, Formosa, Protech, Jushi Semi-permanent, Sealer, Cleaner
Axel Plastic
COMPOSITE บรษิ ัท นีโอเทค คอมโพสทิ จำกดั
139 ซอยพระยาสเุ รนทร 30 ถ.พระยาสเุ รนทร แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรงุ เทพฯ
โทร: 02-517-4955-6, 086-374-6588, 081-686-2922, 086-374-6588, 086-315-2433
แฟกซ: 02-517-4957 Email: [email protected] Website: www.neo.co.th
4
THAI COMPOSITES MAGAZINE
5 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
EDITOR'S TALK
ขอแสดงความยนิ ดกี บั คณุ ดนู โชตกิ พานชิ ทไ่ี ดร้ บั ผลิต และวัสดุคอมโพสิทใหม่ๆ ทั้งในประเทศและต่าง
เลือกจากคณะกรรมการสมาคมไทยคอมโพสิท ประเทศ รวมไปถงึ บทความอ่นื ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งทเี่ ขียนข้ึนโดยผู้
ใหด้ �ำ รงตำ�แหน่งนายกสมาคมฯ เปน็ วาระท่ีสอง เชี่ยวชาญในสาขาน้นั ๆ โดยเฉพาะ
ซ่ึงท่านได้ชว่ ยผลักดนั ใหท้ างสมาคมฯ ได้เป็นทรี่ จู้ กั และ
ไว้วางใจจากหน่วยงานภาครฐั เปน็ อย่างสูง อาทเิ ช่น กรม ในฉบบั น้ีเราจะได้อ่านภาคต่อของบทความ “บทบาทของ
ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม และหน่วย วัสดุคอมโพสิทต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต”
เชื่อมโยงพฒั นาอตุ สาหกรรม ส�ำ นักงานส่งเสรมิ การลงทนุ โดย ผศ. ดร.สนตพิ ีร์ เอมมณี ท่ที ่านไดเ้ กร่นิ น�ำ ความ
เปน็ ต้น จำ�เป็น และบทบาทในปัจจุบัน รวมถงึ อนาคตของวสั ดุคอม
โพสทิ ในทั้งอุตสาหกรรมการบิน พลงั งานลม และยาน
ตลอดปี 2559 ทีผ่ ่านมา ทางสมาคมฯ ยงั คงมกี ิจกรรม ยนต์ ไวอ้ ยา่ งน่าตดิ ตามในตอนทแ่ี ล้ว คงจะไดก้ ล่าวในราย
เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการผลิตให้กับท่านสมาชิก คือ ละเอียดท่นี ่าสนใจ ให้น่าร้มู ากยิง่ ไปกวา่ เดิมในส่วนของอุต-
การอบรมการผลติ ชิ้นงานด้วยกรรมวธิ ีแบบตา่ งๆ และ สาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะในภาคต่อน้ี
ผลิตภณั ฑ์รปู แบบตา่ งๆ และยงั จะเพิ่มกจิ กรรมการอบรม
ใหเ้ ขม้ ข้นมากยงิ่ ขนึ้ ในปี 2560 โดยได้มีการวางตารางการ นอกจากน้นั ทางสมาคมฯ ยังได้ คณุ รฐั นันท์ อนิ ทรนวิ าส
สอนประจำ�เดือนไวอ้ ยา่ งหลากหลาย อาทเิ ช่น คอร์สอบรม (คณุ โบท๊ ) ห้นุ สว่ นผจู้ ดั การ หจก. นาวาเลยี นคอมโพสทิ
การผลิตประตูไฟเบอรก์ ลาส ช้ินส่วนประดับยนต์จาก เจ้าของรางวลั ผลงานยอดเยี่ยม จากงาน SolidWorks
คารบ์ อนไฟเบอร์ เฟอรน์ เิ จอรร์ ูปแบบต่างๆ อปุ กรณ์จัด Thai User Conference 2006 โดยสถาบนั SolidWorks
สวน รวมไปถึงน�ำ้ ตกเทียมอนั ซบั ซอ้ น ท้ังนี้เพอ่ื ส่งเสริมการ Thai Society มาเขียนบทความแบง่ ปันความรู้ในเร่อื งการ
พฒั นาและออกแบบผลติ ภัณฑ์ใหก้ บั ท่านสมาชกิ เปน็ การ ออกแบบเรือส�ำ หรับคนทั่วไป ให้กบั ท่านสมาชิกทสี่ นใจได้ใช้
ช่วยประชาสัมพันธ์ถึงศักยภาพของวัสดุคอมโพสิทท่ี เป็นแนวทางในผลติ เรอื ใหเ้ ป็นไปตามหลกั การทถ่ี กู ต้อง หรือ
สามารถนำ�ไปสร้างสรรค์ช้ินงานได้มากมายในหลากหลาย นำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์
อตุ สาหกรรมแก่ผูส้ นใจทัว่ ไปอกี ดว้ ย อ่ืนที่คลา้ ยคลึงกันได้ ท้ายนี้ ผมในฐานะตัวแทนผ้จู ดั ทำ�
วารสารฉบับน้ีก็เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมหลักของสมา วารสารขอกล่าวคำ�ว่า “ขอบคณุ ” ส�ำ หรบั ทุกทา่ นทีส่ ่งเสริม
คมฯ ท่จี ะใชเ้ ป็นหน่งึ ในสอ่ื หลักในการให้ข้อมลู ข่าวสารใน สนบั สนนุ ตดิ ตาม และตชิ มการจดั ท�ำ วารสารไทยคอมโพสทิ มา
แวดวงคอมโพสิทในประเทศไทยไปยังเหล่าสมาชิกและผู้สนใจ อยา่ งต่อเนือ่ ง เราจะยงั คงจัดหาเนอ้ื หาดๆี อยา่ งนี้มาให้ท่าน
รวมถึงแนวโนม้ การพฒั นา ทัง้ การออกแบบเทคโนโลยกี าร ได้อ่านอยา่ งต่อเนอ่ื งแนน่ อน แล้วพบกันใหม่ฉบบั หนา้ ครับ
จตุ ิ เพยี รลำ�้ เลศิ
อุปนายกสมาคม
6
THAI COMPOSITES MAGAZINE
7 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
BOARD OF COMMITTEE
คณะกรรมการบริหาร ปี 2560-2561
ดนู โชติกพนิช
นายกสมาคม
ธนชัย อำ�นวยสวัสด์ิ จุติ เพยี รลำ้�เลิศ
อุปนายก อุปนายก
ผศ.ดร.สนตพิ รี ์ เอมมณี ณฐั วฒุ ิ ชัยญาคณุ าพฤกษ์ รัฐนันท์ อนิ ทรนวิ าส วรางค์ศริ ิ ศศิทวีวัฒน์ ประพิณ เพิ่มอารยวงศ์
อปุ นายก อปุ นายก
เลขาธกิ าร เหรัญญิก ปฏคิ ม
อุทัย จารปุ ราโมทย์ อรอนงค์ ใจเย็น ชยั พล เขมปญั ญานรุ ักษ์ อธิษฐ์ จริ พงศานานรุ ักษ์ กฤษณะ เลขานกุ ิจ
กรรมการ กรรมการ
นายทะเบยี น ประชาสมั พันธ์ กรรมการ
จรี าภรณ์ วงศ์ชยั พานชิ ย์ ธวชั ชัย จารุกจิ จรูญ ณัฐนันท์ ศริ ริ ักษ์ ดร.ณฐั ไชย นะวิโรจน์ พรรณวดี กราพพ์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
THAI COMPOSITES MAGAZINE 8
ก�ำ หนดการฝกึ อบรม ประจ�ำ ปี 2560
TCA'S Activities จัดโดยสมาคมไทยคอมโพสิท
การท�ำ ประตู ชนิ้ ส่วนรถยนต์ อ่างล้างหน้า เกา้ อี้
ไฟเบอรก์ ลาส จากวัสดคุ อมโพสิท ด้วยวสั ดคุ อมโพสทิ คารบ์ อนไฟเบอร์
8-9 พ.ค. 60 22-26 พ.ค. 60 27-29 มิ.ย. 60
5-9 ม.ิ ย. 60
ป่ีเซ๊ยี ะหยก Case IPHONE การเลยี นแบบ หลังคา
ด้วยเรซิน่ หล่อ by Carbon Fiber ผิวเปลอื กไม้เทยี ม ไม่ใช้โครงสรา้ ง GPC
11-13 ก.ค. 60 25-26 ก.ค. 60 8-10 ส.ค. 60
29-30 ส.ค. 60
TCA’S Agenda
การท�ำ มาสคอต แผ่นหนา้ ช้ินส่วนบก๊ิ ไบค์ งานหลอ่ น้ำ�ตก
ไฟเบอร์กลาส โตะ๊ ครัว ด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ พระพุทธรปู ใส บอ่ ปลา
4-8 ก.ย. 60 19-20 ก.ย. 60 25-26 ต.ค. 60 6-10 พ.ย. 60
10-12 ต.ค. 60 โตะ๊ หนิ สนาม
12-15 ธ.ค. 60
สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเติมไดท้ ี่ ชิ้นส่วนรถแขง่
สมาคมไทยคอมโพสิท อาคารปฏิบัติการไฟเบอรก์ ลาส จากวสั ดคุ อมโพสิท
21-23 พ.ย. 60
ซอยตรมี ติ ร กล้วยน้�ำ ไท คลองเตย กทม
โทร. 02 713 5033
E-mail : [email protected]
http//www.facebook.com/thaicomposites2538
หมายเหตุ หลกั สตู รดังกล่าวอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม : รูปภาพประกอบเพือ่ การโฆษณาเทา่ น้ัน
บรษิ ัท เอ็มเค โพลีเอสเตอร เรซน่ิ จํากดั 9 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
MK POLYESTER RESIN CO ., LTD.
ผนู าํ เขา และจัดจําหนา ย
โพลเี อสเตอร เรซิ่น
• เรซ่ินสาํ หรับงานหลอ หลอใสและหลอทว่ั ไป
• เรซิ่นสาํ หรับงานไฟเบอรก ลาส
• เรซิ่นทนกรด เกรด ISO
• เรซ่ินทนกรด เกรด ไวนิล เอสเตอร
• เรซ่ินสําหรับงานเคลือบผิว
• อีพอ กซี่เรซ่ิน งานเคลือบและงานคารบอน
• เจลโคต และ TOOLING GEL
ตวั แทนจาํ หนา ย ฮาต AKZO NOBEL
• ฮาต BUTANOX M-60, BUTANOX M-50
• มว ง COBALT 10%, RP-51, PROMOTER A
ใยแกว
• ใยแกว ผืน CHOPPED STRAND MAT
• ใยแกว ผา ทอ GLASS FABRICS
• ใยแกว ตาสาน WOVEN ROVING
• ใยแกวเสน ดา ย ROVING
• ใยคารบอน CARBON FABRIC
ยางซลิ ิโคนถอดแบบ
• ยางซลิ ิโคน MK 585, MK 586, MK 303
• ยางซิลิโคน SILASTIC 3481, 3483
• ยางซลิ โิ คน ELASTOSIL M4503
• และยางซลิ ิโคนเกรดพเิ ศษ
โซเวนทแ ละวัสดอุ ปุ กรณตางๆ
• สไตรีน โมโนเมอร
• อาซีโทน, ทินเนอร
• วสั ดแุ ละอปุ กรณต า งๆสาํ หรับงานไฟเบอร
จําหนา ยท้ังปลีกและสง
บริการ ใหค ําแนะนําและปรึกษา ฟร!ี
บ.เอม็ เค โพลีเอสเตอร เรซิ่น จก. 27/12 หมู 1 ต.บางนา้ํ จืด อ.เมอื งสมทุ รสาคร จ.สมทุ รสาคร 74000
โทร. 034 441 544 หรอื 088 809 5267-71 แฟกซ. 034 813 831 www.mkresin.com
THAI COMPOSITES MAGAZINE 10
Activities
อบรม 3D Printing
2for Furniture and Composite Product
2-24 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 สมาคมไทย
คอมโพสทิ รว่ มกบั สว่ นอตุ สาหกรรม
เครอ่ื งเรอื น กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
จดั การฝกึ อบรมหวั ขอ้ เรอ่ื ง “3D Print-
ing for Furniture and Compos-
ite Product” ณ อาคารปฏบิ ตั กิ าร
ไฟเบอรก์ ลาส กลว้ ยน�ำ้ ไท เปน็ การเปดิ
อบรมฟรี ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย ซง่ึ ไดร้ บั ผสู้ นใจรว่ ม
อบรมเปน็ จ�ำ นวนมาก และไดร้ บั ความรพู้ น้ื ฐานของ
การพมิ พแ์ บบสามมติ ิ ไปจนถงึ วธิ กี ารปรบั ใชเ้ พอ่ื งาน
ออกแบบในหลากหลายสาขา สง่ ผลตอ่ ความเปน็ ไปได้
ส�ำ หรบั ธรุ กจิ สรา้ งสรรคใ์ นอนาคต งานนไ้ี ดร้ บั เกยี รติ
จาก คณุ ธวชั ชยั อาทรกจิ กรรมการผจู้ ดั การ บรษิ ทั
บลโู อเซย่ี น จ�ำ กดั เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรทู้ ง้ั ลงมอื ปฏบิ ตั ิ
จรงิ ในครง้ั นด้ี ว้ ย
11 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
การทำโคมไฟ
2ดว ยวสั ดคุ อมโพสทิ
1-23 มนี าคม
2560 สมาคม
ไทยคอมโพสทิ ได้
จดั หลกั สตู รอบรมหวั ขอ้ การ
ท�ำ โคมไฟดว้ ยวสั ดคุ อมโพสทิ จดั ท่ี
อาคารปฏบิ ตั กิ ารไฟเบอรก์ ลาส กลว้ ยน�ำ้ ไท
กรงุ เทพ จดุ มงุ่ หมายการอบรมเพอ่ื ใหผ้ อู้ บรมเกดิ ความเขา้ ใจ ใน
การท�ำ ชน้ิ งานโคมไฟจากวสั ดคุ อมโพสทิ จนถงึ วธิ กี ารปรบั ใชเ้ พอ่ื งาน
ออกแบบในหลากหลายสาขา อนั จะน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานออกแบบผลติ ภณั ฑ์
สถาปตั ยกรรมและการน�ำ ไปตอ่ ยอดใชใ้ นงานสาขาอน่ื ๆ โดยผอู้ บรมจะไดร้ บั การ
ความรทู้ ง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ทิ �ำ งานจรงิ ตลอดการอบรม และไดร้ บั วฒุ บิ ตั รจาก
สมาคมฯ เมอ่ื ผา่ นการอบรมทง้ั 3 วนั
อบรมการทำน้ำตกจำลองขนาดเลก็
สเำหรบั จดั สวนในบา นดวยวัสดุคอมโพสิทมอ่ื เดอื นธนั วาคม 2559 ทผ่ี า่ นมา จดั โดยสมาคมไทยคอมโพสทิ
เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมได้มีทักษะและความรู้ในการทำ�ช้ินงานเพ่ิมมาก
ยง่ิ ขน้ึ ในภาคทฤษฏี จะไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์
คอมโพสทิ การท�ำ หนิ เทยี มดว้ ยวสั ดคุ อมโพสทิ การขน้ึ รปู หนิ
น�ำ้ ตกจ�ำ ลอง และภาคปฏบิ ตั คิ อื การท�ำ หนิ น�ำ้ ตกจ�ำ ลองและ
การตกแตง่ ชน้ิ งาน การอบรมจดั ขน้ึ ท่ี อาคารปฏบิ ตั กิ ารไฟ
เบอรก์ ลาส กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ถ.พระราม 4 คลองเตย
กทม. สนใจการอบรมทน่ี า่ สนใจตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี 02 7135033
THAI COMPOSITES MAGAZINE 12
in the World
Hutchinson more and more composites
ฮัทชินสนั : คอมโพสทิ มากข้ึน และมากข้ึน
ดว้ ยการซื้อกจิ การของอตุ สาหกรรมคอมโพสติ เม่อื เดอื นกนั ยายน บรษิ ทั ฮัทชนิ สนั กรปุ๊ แสดงใหเ้ หน็ ถึง
ความสนใจในวัสดุคอมโพสิทที่มากขน้ึ ถงึ แมว้ ่าบริษทั ฮัทชนิ สันน้ีจะไมใ่ ชผ่ ู้ค้ารายใหม่ แต่ก็ลงทุนอยา่ ง
สมำ่�เสมอและนำ�เสนอโซลูชน่ั ทหี่ ลากหลายแกล่ ูกคา้ มากขึน้ ในทกุ ตลาดที่มอี ยู่
ผลติ และซอ่ มแซมวสั ดคุ อมโพสทิ และวสั ดุ
คอมโพสิทท่มี ีโลหะเป็นส่วนผสมหลักและเป็น
ผู้ผลิตช้ินส่วนโดยตรงให้กับภาคส่วนการ
บนิ อวกาศ ภาคกองทพั ภาคโทรคมนาคม
และภาคการขนสง่ ตอ่ เนอ่ื งหลายรปู แบบ) ซง่ึ
ดูเหมือนว่าอุตสาหกรรมคอมโพสิทได้มาอยู่
ภายใตแ้ บรนดฮ์ ทั ชนิ สนั แลว้
กลมุ่ ธรุ กจิ และกลมุ่ ตลาดทห่ี ลากหลาย
ฮั ในฐานะทเ่ี ปน็ กลมุ่ ธรุ กจิ หลากหลาย และมสี าย
การตลาดหลายกลมุ่ ท�ำ ใหฮ้ ทั ชนิ สนั กรปุ๊
ทชนิ สนั กรปุ๊ ทเ่ี รารจู้ กั ตง้ั แตเ่ ดอื นมนี าคม พ.ศ. แตกตา่ งจากองคก์ รทว่ั ไป โดยกลมุ่ ธรุ กจิ และหนว่ ยงาน
2556 เกิดขึ้นจากการตัดสินใจรวมกลุ่มของ ทง้ั หมดของฮทั ชนิ สนั กรปุ๊ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู ท่ี
หนว่ ยงานทง้ั หมดภายใตช้ อ่ื ฮทั ชนิ สนั การเปลย่ี น เกดิ จากกจิ กรรมตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย และประสบการณ์
แปลงครง้ั นท้ี �ำ ใหบ้ รษิ ทั สามารถมองเหน็ การเชอ่ื มโยงกนั ดา้ นตลาดทถ่ี กู รวบรวมไว้ แนวคดิ ตา่ งๆ เชน่ การเชอ่ื ม
ทง้ั ภายในและภายนอกไดม้ ากขน้ึ การรวมตวั กนั ของ 26 ตอ่ เครอื ขา่ ยตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั การรวมกลมุ่ การแบง่ ปนั
แบรนด์ท่ีแตกต่างกันน้ันเป็นไปตามการพัฒนาท่ีเร่ิมต้น ขอ้ มลู รวมถงึ การผสมผสานนวตั กรรมจะไมเ่ ปน็ เพยี งแค่
ด้วยการจัดต้ังการดำ�เนินงานในต่างประเทศรวมท้ังใน แนวคดิ อกี ตอ่ ไป แตเ่ ปน็ ความจรงิ ไดท้ ง้ั หมดทก่ี ลา่ วมาน้ี
ประเทศจีนและบราซิลซ่งึ กล่มุ ดังกล่าวดำ�เนินการภายใต้ ยงั เปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ในการพฒั นาเทคโนโลยี และกระ บวน
แบรนดฮ์ ทั ชนิ สนั อยแู่ ลว้ การปฏบิ ตั งิ านอกี ดว้ ย
ตอนนฮ้ี ทั ชนิ สนั กรปุ๊ เพง่ิ ไดค้ รอบครองอตุ สาหรกรรม จากมมุ มองในทางปฏบิ ตั ิ ฮทั ชนิ สนั กรปุ๊ มคี วามเชย่ี ว
คอมโพสทิ (ผเู้ ชย่ี วชาญระดบั นานาชาตดิ า้ นกระบวนการ ชาญสด่ี า้ น ไดแ้ ก่ การปดิ ผนกึ การถา่ ยเทของไหล ระบบ
13 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
การสง่ ผา่ น และการเคลอ่ื นยา้ ย และฉนวนกนั ความรอ้ น (smart material)’ นน่ั กค็ อื การปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั ความ
(การสน่ั สะเทอื น เสยี งรบกวนและความรอ้ น) ฮทั ชนิ สนั ตอ้ งการในการใชง้ านตา่ ง ๆ ของผลติ ภณั ฑ์ “
กรปุ๊ มฐี านการผลติ ทม่ี น่ั คงในตลาดยานยนต์ (รถยนต์
โดยสาร และรถบรรทกุ หนกั ) ซง่ึ คดิ เปน็ สดั สว่ น 70% เพอ่ื ทจ่ี ะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคน์ ้ี วศิ วกร และชา่ งเทคนคิ กวา่
ของธรุ กจิ ภาคธรุ กจิ การบนิ และอวกาศ หนว่ ยงานการ 200 คน ก�ำ ลงั ท�ำ งานอยทู่ ศ่ี นู ยว์ จิ ยั ฮทั ชนิ สนั ใน Mon-
ปอ้ งกนั ประเทศ ระบบราง พลงั งาน และอตุ สาหกรรม targis ประเทศฝรง่ั เศส เปน็ สถานทเ่ี กา่ แกข่ องฮทั ชนิ สนั
ทว่ั ไป (เครอ่ื งใชใ้ นครวั เรอื น อาคาร และอปุ กรณก์ ฬี าและ กรปุ๊ ซง่ึ กอ่ ตง้ั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2396 ศนู ยว์ จิ ยั กลางนใ้ี หก้ าร
สนั ทนาการ) คดิ เปน็ อกี 30% ทเ่ี หลอื เพอ่ื ทจ่ี ะรองรบั สนบั สนนุ ศนู ยว์ จิ ยั เชงิ เทคนคิ 27 แหง่ ทว่ั โลกซง่ึ มหี นา้ ท่ี
ตลาดทง้ั หมดน้ี ฮทั ชนิ สนั กรปุ๊ ตอ้ งอาศยั พนกั งานกวา่ ตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ และออกแบบวธิ กี าร
38,300 คนทว่ั โลก โรงงานงานอตุ สาหกรรม 95 แหง่ ใน แก้ไขปญั หาทเ่ี ชอ่ื ถอื ใหก้ บั ลกู คา้ ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั หลกั
25 ประเทศ ศนู ยว์ จิ ยั ทางเทคนคิ 28 แหง่ และศนู ยว์ จิ ยั สามประการของทน่ี ค่ี อื วสั ดุ กระบวนการผลติ และระบบ
องคก์ รอกี หนง่ึ แหง่ ความสามารถท้งั หมดถูกระดมมาเพ่อื แก้ไขปัญหาความ
นวตั กรรมคอื ดเี อน็ เอ ท้าทายทางอุตสาหกรรมท่ีสำ�คัญของตลาดฮัทชินสัน
ไมว่ า่ จะเปน็ การลดน�ำ้ หนกั ของผลติ ภณั ฑ์ การจดั การ
เหนอื สง่ิ อน่ื ใด ความส�ำ เรจ็ ขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถของ พลงั งาน ระบบวศิ วกรรมเเมคคาทรอนกิ ส์ ความสะดวก
บรษิ ทั ในการสรา้ งสรรคว์ สั ดไุ ฮเทคใหมๆ่ และวธิ กี ารแก้ สบายและความปลอดภยั รวมถงึ วสั ดตุ า่ ง ๆ เชน่ อลี าส
ปญั หาทช่ี ว่ ยตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ในขณะ โตเมอร์ เทอรโ์ มพลาสตกิ และวสั ดคุ อมโพสทิ ศนู ยว์ จิ ยั
เดียวกันก็ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานท่เี ข้มงวดมากข้นึ ฮัทชินสันมีเคร่อื งมือท่ที ันสมัยสำ�หรับกิจกรรมทุกสาขา
ดว้ ย วชิ า เพอ่ื ด�ำ เนนิ การวเิ คราะหท์ างเคมี การจ�ำ ลองเชงิ
ตวั เลขและการวดั อะคสู ตกิ เพอ่ื ทดสอบพฤตกิ รรมเชงิ กล
ของวสั ดุ กลศาสตรก์ ารสน่ั สะเทอื น และเทคโนโลยกี าร
ประมวลผล
ดงั ทก่ี ลา่ วมา ศนู ยว์ จิ ยั ฮทั ชนิ สนั ไดจ้ ดั ตง้ั โครงการวจิ ยั
ซง่ึ ถกู ออกแบบมาเพอ่ื สรา้ งความกา้ วหนา้ ในเชงิ คณุ ภาพ
และเชงิ ปรมิ าณทส่ี �ำ คญั หรอื แมก้ ระทง่ั สรา้ งนวตั กรรมท่ี
พลกิ โฉมการตลาด และสงั คมโลกซง่ึ อาจน�ำ ไปสกู่ ารพฒั นา
ดา้ นความเชย่ี วชาญ และสายงานธรุ กจิ ใหมๆ่ สง่ิ นเ้ี ปน็
เครอ่ื งมอื หนง่ึ ทจ่ี ะสรา้ งความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ของ
ผลติ ภณั ฑท์ จ่ี ะน�ำ วสั ดคุ อมโพสทิ มาใชด้ ว้ ยฮทั ชนิ สนั กรปุ๊
มองวา่ สง่ิ นเ้ี ปน็ วธิ กี ารทจ่ี ะตอบสนองความตอ้ งการของ
ลูกค้าด้วยแนวทางการแก้ไขปัญหาท่เี ก่ยี วข้องกับความ
เชย่ี วชาญทง้ั สด่ี า้ นของบรษิ ทั ฯ เอง และยงั เปน็ การตอบ
สนองตอ่ ตลาดทแ่ี ตกตา่ งกนั อกี ดว้ ย ไมต่ อ้ งสงสยั เลย
ตามท่ี ฮทั ชนิ สนั กรปุ๊ ระบไุ วใ้ นเวบ็ ไซตว์ า่ “ความใฝฝ่ นั วา่ ฮทั ชนิ สนั กรปุ๊ มอี ะไรทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ ราประหลาดใจ เพราะ
ของเราคอื การพยายามคน้ หาแนวทางตา่ งๆ ทม่ี ากขน้ึ ว่าการสร้างนวัตกรรมน้นั ดูเหมือนจะอย่ใู นดีเอ็นเอของ
เพอ่ื น�ำ มาเสนอตอ่ ลกู คา้ ของเรา และมบี ทบาทส�ำ คญั ใน พวกเขาพนกั งานทกุ คน
การพฒั นาวสั ดสุ �ำ หรบั อนาคต เราเชอ่ื มน่ั วา่ อนาคตขน้ึ ทม่ี า www.hutchinson.com
อยกู่ บั การรวมกนั ของฟงั กช์ นั ตา่ งๆ การท�ำ ใหว้ สั ดุ และ แปลจาก JEC Composites Magazine
การท�ำ งานของวสั ดสุ อดคลอ้ งกนั เพอ่ื ทจ่ี ะสรา้ ง ‘วสั ดฉุ ลาด January – February 2017
THAI COMPOSITES MAGAZINE 14 Composites
Activities
International Composites Conference Composites in Rail
and Automotive: Trends, Innovations and Opportunities
“ทศิ ทางวัสดคุ อมโพสิทในอตุ สาหกรรมระบบขนสง่ ทางราง และช้ินส่วนยานยนต์”
สว่ นยานยนตใ์ นตลาดโลก รวมทง้ั อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ อกี
มากมาย
โดยการจัดงานคร้ังน้ีได้
รับเกียรติจาก Daniel
Ageda, COO, JEC Group
ไดแ้ สดงวสิ ยั ทศั น์ถงึ ภาพ
รวมของอุตสาหกรรม
ค อ ม โ พ สิ ท ร ะ ดั บ โ ล ก
สมาคมไทยคอมโพสทิ รว่ มกบั JEC GROUP และ ร ว ม ถึ ง วิ ท ย า ก ร จ า ก
กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม จดั การประชมุ และ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
สมั มนาวชิ าการ ในหวั ขอ้ เรอ่ื ง “ทศิ ทางวสั ดุ คอม อีกหลายท่านมาร่วมให้
ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร จั ด ง า น
ครั้งนี้ด้วย ด้านคุณดนู
โพสทิ ในอตุ สาหกรรมระบบขนสง่ ทางราง และชน้ิ สว่ น โชตกิ พนชิ ในฐานะนายก
ยานยนต”์ ในวนั พธุ ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2559 ณ หอ้ งบอล ส ม า ค ม ไ ด้ ใ ห้ เ กี ย ร ติ
รมู ชน้ั 38 โรงแรมพลู แมน จี กรงุ เทพ และวนั พฤหสั บดที ่ี ร่ ว ม ใ ห้ ก า ร ต้ อ น รั บ
16 มถิ นุ ายน 2559 ณ บรษิ ทั คอบรา้ อนิ เตอร์ เนชน่ั แนล พร้อมนำ�เยี่ยม ชม
จ�ำ กดั ชลบรุ ี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคม์ งุ่ เนน้ ถงึ ความส�ำ คญั กจิ การของบรษิ ทั คอบรา้
ของการพัฒนาเทคโนโลยี และส่งเสริมความรู้ในด้าน ณ จังหวัดชลบุรีในวันที่สองของการจัดงาน แสดงถึง
ต่างๆ ของอุตสาหกรรม คอมโพสิท ซึ่งเชื่อมโยงไปยัง ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภณั ฑค์ อมโพ
อตุ สาหกรรมการขนสง่ ระบบราง และอตุ สาหกรรมชน้ิ สทิ ไทยทม่ี มี าตรฐานระดบั สากล
Hawk Mountain (Thailand) Co., Ltd. 15 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
บร�ษัท ฮอวคเมา นเทน (ไทยแลนด) จำกัด
Head Office : 116/91 Nonsee Rd., Chongnonsee, Yannawa, Bangkok 10120
Tel : (66) 2 681 0283 & 4 Fax : 02 681 0258 E-mail : [email protected]
Website : www.hawk-mountain-thailand.com
Chonburi Service Center : Tel/Fax : 038 236 955-6
H.M. Thailand กอตัง้ ป พ.ศ. 2537
• จำหนา ยเคร�อ่ งและอุปกรณเครอ�่ งพน เรซ่น� ท่ีใหญ
และเกา แกทีส่ ดุ มีเคร�อ่ งพรอมจำหนา ย
• มีอะไหลพ รอมบรก� ารมากกวา 2,000 รายการ
• มกี ารฝกอบรมการใชแ ละการซอ มบำรงุ
• มบี ร�การหลงั การขายโดยไมค ิดคา บรก� าร
• คูมือการใชงานภาษาไทย
• บรก� ารดา นเทคนคิ โดยตรงจากสำนกั งานกรุงเทพฯ
และอเมรก� า
• เปน ผนู ำดา นเทคโนโลยลี า สุดสำหรับเคร่�องฉดี พนเรซน�่
• เปน ผูนำในดา นเคร่อ� งพนท่มี ีการฟุง กระจายนอยทส่ี ดุ
• จำหนายในราคายุติธรรม
การผลิตไฟเบอรก ลา สดวยว�ธ� Flex Molding / Silicone Bag Making Patriot Chopper / Gelcoater Ultra Max Chopper / Ultra Max Gelcoater
RTM units : (depending on configuration) RTM units : (depending on configuration)
นวิ บางใหญ่เรซน่ิ ฟรีใหค ำแนะนำ ปรึกษา
NEW BANGYAI RESIN
จำหนา ย : ปลีก-สง
วัสดุและอุปกรณไฟเบอรก ลาส งานหลอเรซิ่น
ใยแกว, ใยผา คารบ อน, ใยตาสาน, ยางซลิ โิ คนทำพิมพ,
ยางพารา อพี อ็ กซ,ี่ โพลยี เู รเทนโฟม, ข้ผี ึง้ ยาขัด,
ปูนพาสเตอร, แว็กซ, ผาขดั , ลูกกลิง้ พรอ มอุปกรณ
27/15 หมู 4 ถ.ตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ จ.นนทบุรี 11140
โทร. 0-2903-3483 แฟกซ. 0-2903-1906 www.newbangyairesin.com
THAI COMPOSITES MAGAZINE C16 omposites
Knowlage
เรื่องของเรอื ...
คสำ�หุ รับคนทว่ั ไป (ตอนท่ี 1)ณรมู้ ยั้ วา่ “เรอื ” แตล่ ะล�ำ นน้ั มสี ่วนประกอบสำ�คญั ๆ อะไรบ้าง นติ ยสารไทยคอมโพสิทฉบบั
นี้ หจก.นาวาเลยี น คอมโพสิท ในฐานะทอ่ี ย่ใู นวงการต่อเรือ และการออกแบบเรอื ทกุ ประเภท
จะมาใหค้ วามรพู้ ร้อมได้น�ำ แบบจำ�ลองของ เรอื ตกปลา เรือไฟเบอร์ขนาดเล็กๆ มีโครงสรา้ งไม่
ซับซ้อน มาเป็นตวั อยา่ งเพ่ืออธิบายถงึ สว่ นประกอบต่างๆ ของเรอื รวมทั้งใหเ้ กร็ดความรู้เก่ียวกับศพั ท์
ต�ำ แหนง่ ต่างๆ ของเรอื เชน่ หวั เรอื ท้ายเรือ กาบซา้ ย กาบขวา, ความรู้เร่อื งรูปแบบของท้องเรือ และสูตร
การค�ำ นวณหาค่าจุดศนู ย์กลางของเรือ สำ�หรบั นำ�ไปใช้ประโยชนต์ อ่ การผลิตชน้ิ ส่วนประกอบของเรอื ได้
ตำ�แหน่ง และส่วนประกอบตา่ งๆ ของเรอื
Forward
Bow
Deck
Port Starboard
Keel / Structure
Hull
Stern
Aft
Bow คอื บรเิ วณหวั เรอื 17 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
MainDeck (ดาดฟา้ หลกั ) LowerDeck (ดาดฟา้ ชน้ั ลา่ ง)
Stern คอื บรเิ วณทา้ ยเรอื เปน็ พน้ื ทใ่ี ชส้ อยทอ่ี ยตู่ �ำ่ กวา่ MainDeck (ดาดฟา้ หลกั )
Port คอื กาบซา้ ย
Starboard คอื กาบขวา Keel / Structure คอื โครงสรา้ งเรอื เปน็ ชน้ิ สว่ นทใ่ี ช้
Forward คอื ไปทางหวั เรอื รองรบั แรงกระท�ำ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ ตวั เรอื ซง่ึ ถา้ ไมม่ กี าร
Aft คอื ไปทางทา้ ยเรอื รบั แรงแลว้ กระจายแรงสโู่ ครงสรา้ งเรอื แรงทเ่ี กดิ ขน้ึ ทจ่ี ดุ
Deck คอื ดาดฟา้ เรอื เป็นพ้ืนเรือท่ีสามารถใช้ ใดจดุ หนง่ึ อาจจะมากเกนิ ไป จนท�ำ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายท่ี
งานได้ซ่ึงในแต่ละประเภทของเรืออาจจะเรียกแตกต่าง จดุ นน้ั ๆ ได้
ออกไป เชน่ MainDeck (ดาดฟา้ หลกั ) ในเรอื ทป่ี ระกอบ
ไปดว้ ยพน้ื ทใ่ี ชส้ อยตา่ งๆ หลายชน้ั เราจะเรยี กชน้ั ดาดฟา้ Hull คอื ทอ้ งเรอื เปน็ ชน้ิ สว่ นทใ่ี ชร้ บั น�ำ้ หนกั ทง้ั หมดทอ่ี ยู่
ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ หรอื เปน็ ดาดฟา้ ทเ่ี รม่ิ จากหวั เรอื ไปจนถงึ ทา้ ย บนเรอื และท�ำ หนา้ ทล่ี ดแรงตา้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเคลอ่ื นท่ี
เรอื UpperDeck (ดาดฟา้ ยก) เปน็ พน้ื ทใ่ี ชส้ อยทอ่ี ยสู่ งู กวา่ ผา่ นน�ำ้ ทอ้ งเรอื สามารถแบง่ ออกไดห้ ลายชนดิ เชน่
Flat (ท้องแบน) Shallow Vee (ท้อง ว)ี Deep Vee (ทอ้ ง วี ลกึ ) Round (ท้อง กลม)
ระดับน�ำ้
แนวกระดกู งู
ซึง่ ในแต่ละประเภทของทอ้ งเรอื กจ็ ะมีคุณสมบัตรข้อดีข้อเสียแตกตา่ งกนั ไป ขนึ้ อยกู่ ับ ประเภท การใช้งาน ของผู้ใช้เรือนั้น ๆ
Boat Geometry ธรรมชาติของเรือ
Center of Gravity (CG.)
คอื จดุ ศนู ยก์ ลางมวล
Center of Buoyancy (CG.)
คอื จดุ ศนู ยก์ ลางแรงลอย
Design Water Line (DWL.) ระดบั น�้ำ
คอื ระดบั แนวน�ำ้ แนวกระดกู งู
หรอื การกนิ น�ำ้ ลกึ ทไ่ี ดจ้ ากการค�ำ นวณ
โดยปกติแล้วนำ�้ หนักของเรือจะต้องมีค่า
เท่ากับแรงลอยตัวของเรือท่รี ะดับแนวนำ�้
ตา่ ง ๆ
ตดิ ตามฉบบั ตอ่ ไป ทจ่ี ะมคี �ำ ศพั ทแ์ ละรายละเอยี ดเรอ่ื งของเรอื เพม่ิ มากขน้ึ รวมถงึ การใหค้ วามรเู้ รอ่ื งของจดุ ศนู ยถ์ ว่ ง
เรอื รวมถงึ สตู รการค�ำ นวณจดุ ศนู ยก์ ลางมวล หรอื CG Center of Gravity (CG.)
ขอบคณุ ขอ้ มลู จาก หจก นาวาเลย่ี น คอมโพสทิ http://www.facebook.com/navalian
THAI COMPOSITES MAGAZINE 18
FIBERGLASS RESINS & GELCOATS
With good chemis tr y great thin gs happen.™
Derakane™ epoxy vinyl ester resins
• Derakane Momentum 411-350
• Derakane Momentum 470-300
• Derakane 8084 (Primer)
• Derakane 510N (Fire Retardant)
บริษทั เลศิ วัฒนกจิ จำกัดตวั แทนจำหนายแตเพยี งผูเดยี วในประเทศไทย
เลขที่ 9 ซ.สขุ สวสั ด์ิ 50 แยก 3 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวง/เขต ราษฎรบูรณะ กทม.10140
โทรศพั ท: 02-8730480-9 โทรสาร: 02-4280556 E-mail: [email protected] Website: www.wdc-bkk.com
ตัวแทนจำหนายผลิตภัณฑของ และอ่ืนๆ ดังตอ ไปน้ีWith good chemistry great things happen.™
เรซนิ่ เจลโคท สำหรับทำโมลด และทำเรือ โดยเฉพาะ
น้ำยาเรซน่ิ และใยแกว สำหรบั ถังนำ้ มันใตดนิ มี
High Temp Epoxy Curing Agents and Epoxy Resin
HARDENER NOROX
GRP pipe continuous 19 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
winding technology
GRP pipe production line
with internal curing system
Ultra-wide FRP lighting
sheet production line
FRP waste products crush
and grinding machine
ใหคำปรึกษาแนะนำฟรี
โดยผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ
บริษัท เลิศวัฒนกจิ จำกัด
W E L Lตัวแทนจำหนายเคร่อื งจกั รและวัตถุดิบสำหรับงานไฟเบอรกลาส D E V E L O P M E N T C O . , L T D .
MACHINERY & TECHNOLOGIES FOR: POLGRAN SYSTEM, LATEST TECHNOLOGY FOR PRODUCING GRANITE TEXTURED EFFECT
• FLIAMENT WINDING BY SIMPLY SPRAYING GELCOAT (WITHOUT FILLER) PRODUCT
• GRC
• SLITTING • AIR RELEASE/WETTING AGEMT • GELCOAT • PREPGE
• OVEN • AR GLASS • GLASS FLAKE, • P.U. CHEMICALS
• SANDER (ALSO RETROFITTING) • AAP (PEROXIDE) • PVE FOAM
• PULTRUSION • BIAXIAL/TRIAXIAL GLASS CLOTH/TAPE • RTM MOULD MAKING
• SPRAY-UP • BISPHENOL RESIN • GRANITE FILLER
• GRINDING • CARBON FIBRE/CHOTH • SPRAY/F.WINDING ROVING MATERIAL
• GEL-TIMER • CHOPPED STRAND FOR BMC • HONEY COMB • SHEET WAX
• AERATOR • CHOPPED STRAND MAT/ • KEVLAR • SILICONE/P.U. RUBBER
• RTM • MEKP DISPENSER • TISSUE ‘C’ GLASS
• VERTICAL WINDING W. ROVING • MOLD WIZ • TOGGLE CLAMP SYSTEM
• VACUUM MIXER (FOAM CEMENT) • COBALT, CATALYST • MYLAR • VACUUM BAGGING
• CASTING (FOR ARTIFCIAL MARBLE/CASTING INDUSTRIES) • CONTINUOUS STRAND MAT • NEXUS
• CORE AMT FOAMING AGENT • CONDUCTIVE NEXUS MATERIALS
• FIBRE FOR CONCRETE • VINYLESTER RESIN
(FOR CEMENT) • POLYESTER RESIN ORTHO/ • CONDUCTIVE FILLER
• REEMAY • POLYPROPYLEN (PP)
• EPOXY RESIN ISO ETC.
COMPOSITE TIMBER
THAI COMPOSITES MAGAZINE C20 omposites
News Investment
eHaigghe-retnodcamrbotoonrbfiibkreestoo
รถจกั รยานยนตค์ ุณภาพสงู ก็อยากทจ่ี ะใชค้ ารบ์ อนไฟเบอร์ด้วย
ถึงแม้ว่าโครงสร้างคาร์บอนไฟเบอร์ได้ถูกนำ�มาใช้เป็นเวลาหลายปีในแวดวงการแข่งขันรถ
จกั รยานยนต์ แต่ยังคดิ เป็นสัดสว่ นเพยี งนอ้ ยนิดส�ำ หรบั ชน้ิ สว่ นโครงสรา้ งของรถจกั รยานยนต์
ทท่ี �ำ จากคารบ์ อนไฟเบอรท์ ว่ี างจ�ำ หนา่ ยโดยแบรนด์ใหญๆ่ สง่ิ นก้ี �ำ ลงั จะเปลย่ี นไปเมอ่ื Ducati และ
BMW ได้เปดิ ตวั โมเดลแห่งปี 2017 ใหม่สองรุ่นซงึ่ เตม็ ไปด้วยเสน้ ใยไฮเทค Lamborghini (ซึง่ เป็นเจ้าของ
โดยกลุม่ Volkswagen และเจ้าของ Ducati) และ BMW ก�ำ ลงั ขยายความเปน็ ผู้เช่ียวชาญในยานยนตส์ ี่
ล้อของพวกเขาไปยังจักรยานยนต์สองลอ้
21 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
สองรนุ่ พเิ ศษ: Ducati เพง่ิ ประกาศเปดิ ตวั รถจกั รยานยนต์ ส�ำ หรับ BMW รุ่น i3, i8 และ 7 Series ได้หรอื ไม่ เรา
แบบซเู ปอรส์ ปอร์ตไบค์ภายใต้ชือ่ 1299 Superleggera แทบจะอดใจรอไม่ไหวสำ�หรับสเปคท่ีแท้จริงของรถรุ่นนี้
ทีง่ านแสดงรถจักรยานยนต์ Esposizione internazi- แล้วไม่ได้มแี คแ่ บรนดเ์ ดียว
onale ciclo e motociclo ในเมืองมลิ าน ประเทศอิตาลี
เม่ือเดือนพฤศจกิ ายนที่ผา่ นมา โดยวนั รุ่งขึน้ BMW ก็ได้
ทำ�การเปดิ ตวั HP4 RACE ของพวกเขาเช่นกนั
Ducati โมเดล 1299 Superleggera
แบรนด์ผู้บุกเบิกทั้งสองนี้ไม่ใช่เจ้าเดียวท่ีนำ�คาร์บอนมา
ใช้ในกระบวนการผลิตยกตวั อยา่ งเช่นรถจักรยานยนต์
Vander Heide ซ่งึ ทำ�ให้มีการใชค้ าร์บอนไฟเบอร์มาก
ข้นึ เช่นเดยี วกันกบั ผผู้ ลิตรถจกั รยานยนต์ คาวาซากิ
ซ่ึงไดม้ กี ารใชค้ ารบ์ อนไฟเบอรม์ ากข้นึ กำ�ลังจะเปิดตัว
จกั รยานยนต์รนุ่ 2017 Ninja H2 Carbon Limited
Edition โดยจะมขี ายเพยี ง 120 คนั จะขายทัว่ โลก รถรุ่น
นี้มาพร้อมกับพวงมาลัยที่ทำ�จากคาร์บอนไฟเบอร์ซึ่ง
ด้วย Ducati 1299 Superleggera ผู้ผลิตจากอติ าลี นี่เป็นครั้งแรกเท่าท่ีเคยมีมาของช้ินส่วนพวงมาลัยท่ีมี
ตั้งใจจะนำ�ซปุ เปอรส์ ปอร์ตไบค์ไปยังอกี ระดบั หน่ึง และ โครงสร้างเป็นคาร์บอนไฟเบอร์
เป็นรถจักรยานยนต์รุ่นแรกที่มาพร้อมกับชิ้นส่วน
คาร์บอนไฟเบอร์เกือบทั้งคัน ไม่ว่าจะเป็นเฟรม สวงิ อนาคตของคาร์บอนไฟเบอร์ในรถจักรยานยนต์
อารม์ ซบั เฟรม รวมถึงลอ้ ทีม่ สี ว่ นผสมของคาร์บอน ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีความเป็นไปได้ที่เราจะเห็นคาร์บอน
ไฟเบอรเ์ ช่นกัน จึงทำ�ให้มีนำ้�หนักเบาลงกวา่ เดิมมาก ไฟเบอร์ในรถจกั รยานยนต์ในเมอื งเรว็ ๆ นี้ แต่คารบ์ อน
องคป์ ระกอบทัง้ หมดเปน็ ลักษณะเฉพาะของ 1299 Su- ไฟเบอร์มีข้อดีหลายประการส�ำ หรับรถประเภทซุปเปอร์
perleggera รวมไปถึงแฟรง่ิ หน้า และโครงสรา้ งแบบโม สปอร์ตไบค์เช่นเดียวกับรถยนต์สปอร์ตหรู อย่างไร
โนค็อกซ่ึงเป็นคาร์บอนไฟเบอร์ชนิดแข็งแกร่งพิเศษซึ่ง ก็ตาม นี่เป็นสัญญาณบวก เพราะในรูปแบบการผลิต
แสดงออกถึงดีเอ็นเอของรถ Ducati ได้อย่างชดั เจน รุ่นแรกๆ เหลา่ นีค้ ารบ์ อนไฟเบอรจ์ ะไม่ถูกจ�ำ กดั อยูท่ ีต่ วั
ถัง และทอ่ ไอเสียอกี ตอ่ ไป แต่จะยงั น�ำ ไปท�ำ เป็นชิน้ ส่วน
BMW โมเดล HP4 RACE โครงสร้างอน่ื ๆ ซ่ึงกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด
ด้วย HP4 BMW ยังอยู่ในขดี ความสามารถดา้ นเทคนคิ
ในปัจจุบัน กระบวนการผลิตของร่นุ นี้มาพร้อมกับเฟรม ทมี่ า www.ducati.com
หลัก และลอ้ คารบ์ อน จะเร่ิมต้นในปี ค.ศ. 2017 ราย www.bmwgroup.com
ละเอียดทางเทคนิคทั้งหมดจะถูกเปิดเผยออกสู่ตลาดใน แปลจาก JEC Composites Magazine
ฤดูใบไมผ้ ลหิ นา้ และจะมกี ารผลิตในจ�ำ นวนจำ�กัด เรามา January –February 2017
รอดูกันวา่ BMW จะใช้ประโยชน์จากเทคนิคทพ่ี ัฒนาขนึ้
THAI COMPOSITES MAGAZINE A22 utomotive
3D printing meets FRP:
more flexibility for highly-stressed components
เมือ่ เทคโนโลยกี ารพมิ พแ์ บบสามมติ ิ (3D printing) รวมกบั พลาสติกเสรมิ แรงดว้ ยเสน้ ใย
(Fiber-Reinforced Plastic, FRP) ทำ�ให้เกดิ ความยืดหยนุ่ มากขน้ึ กบั ช้ินส่วนท่ีรับความเคน้ สูง
กษณะเฉพาะตัวและความ
ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ไ ม่
ลัจำ�เป็นต้องขัดแย้งกับความ
DIPL.-ING. DIPL.-WIRT.ING. แขง็ แรงทนทานและความเสถียร เป็น
HENNING JANSSEN
ที่ ค า ด ก า ร ณ์ ว่ า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล า ย
หวั หน้าภาควชิ าพลาสตกิ เสรมิ แรงดว้ ยเสน้ ใย และเทคโนโลยีระบบเลเซอร์ ประเภทอาทิเชน่ โครงของคารซ์ ที หรอื
ของสถาบนั Fraunhfer ส�ำ หรับเทคโนโลยีการผลิต ช้ินส่วนอวัยวะเทียมทางการแพทย์
ซึ่งจำ�เป็นต้องมีคุณสมบัติตรงตาม
(The Fibre-Reinforced Plastics and Laser System Technology Department ลกั ษณะเหล่านท้ี ัง้ หมด จะถกู ผลิตข้ึน
Fraunhfer Institute for Production Technology, IPT) โดยใช้เทคโนโลยีการพมิ พส์ ามมติ ิ และ
เทคโนโลยีเสน้ ใยคอมโพสิทในอนาคต
รายช่ือผ้รู ่วมโครงการ LightFlex (กระบวนการโฟโตนกิ ส�ำ หรับการผลิตชนิ้ ส่วนวิศวกรรมท่ีมีนำ�้ หนักเบาซ่ึงยืดหย่นุ และมีประสิทธภิ าพ จากเสน้ ใยคอมโพสติ แบบเทอร์โมพลาสติก)
- Adam Opel. AG, Russelsheim - Institut fur Kunststoffverarbeitung (IKV) in Industrie und
- AFPT GmbH, Dorth - Handwerk ander RWTH Aachen
- Arges GmbH, Wackersdorf - KUKA lndustries GmbH & Co. KG, Obernburg
- Breyer GmbH Maschinenfabrik, Singen - Pixargus GmbH, Wurseten
- F.A. Kumpers GmbH & Co. KG, Rheine - Plastic Omnium Auto Components GmbH, Munchen
- Fraunhofer-Insiitut fur - Siemens AG, Erlangen
- Produktionstechnologie IPT, Aachen - Lasertine GmbH, Muhtheim-Karlich
23 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
การพิมพ์แบบสามมิติทำ�ให้มีความยืดหย่นุ สูงสุดในด้าน พิมพ์แบบสามมิตินี้ ชิ้นงานสามารถปรับแต่งให้ตรง
ลกั ษณะของรปู ทรง และฟงั กช์ นั การใชง้ าน วสั ดเุ สน้ ใย กับความต้องการต่างๆ ได้อย่างแท้จริง และมีความ
คอมโพสิทให้ความเสถียรแม้ในขณะท่ีต้องรับภาระแรง สามารถในการทำ�หน้าที่ ที่ระบุไว้กอ่ นท่ีจะถูกนำ�ไปรวม
กระท�ำ สงู สถาบนั Fraunhofer - Institute for Produc- กับวัสดุคอมโพสิทเส้นใยเทอร์โมพลาสติก เพื่อให้ได้
tion Technology (IPT) ในเมอื ง Aachen ซง่ึ เปน็ การ คุณภาพตามทต่ี ้องการ
รว่ มมอื กบั พนั ธมติ รในกลมุ่ วศิ วกรรมตา่ งๆ ก�ำ ลงั
ตรวจสอบกระบวนการผลิตแบบผสมผสานท่ีเป็นส่วน แผน่ ออรแ์ กนกิ
หนง่ึ ของโครงการ LightFlex ซง่ึ เปน็ โครงการวจิ ยั ทไ่ี ด้ แผ่นออร์แกนิกที่ทำ�จากวัสดุกึ่งสำ�เร็จรูปแบบทิศทาง
รับทุนสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการและการวิจัย เดยี ว (unidirectional semi-finished materials)
แหง่ สหพนั ธรฐั แหง่ เยอรมนี (BMBF) ผลการวจิ ยั เบอ้ื ง ถูกนำ�มาใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพความสามารถใน
ต้นได้ถูกนำ�เสนอเป็นคร้ังแรกเม่ือเดือนมีนาคมท่ีผ่านมา การรับน้ำ�หนักของช้ินส่วนที่ใช้พลาสติกเสริมแรงด้วย
ตอ่ ผเู้ ชย่ี วชาญทเ่ี ขา้ ชมงาน JEC World Trade Fair เส้นใยเปน็ ส่วนประกอบ สถาบนั Fraunhofer IPT ได้
สร้างความสะดวกมากขึ้นโดยการแทนที่การผลิตสินค้า
LightFlex การฉดี ขึ้นรปู มาตรฐานทม่ี ีขนาดคงที่ ด้วยการผลติ แผ่นออรแ์ กนกิ รู
ปร่างหลากหลายที่เหมาะกับแต่ละลักษณะการใช้งาน
ส่งิ นช้ี ว่ ยลดการสูญเสียวัสดุและทำ�ใหป้ ระหยัดคา่ ใช้จ่าย
อย่างมากในด้านการใช้เส้นใยคาร์บอนซึ่งการผลิตมี
การใช้พลังงานสูง กระบวนการดังกล่าวได้รับการ
พฒั นาโดยสถาบัน Fraunhofer IPT ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ
ของโครงการ E-Profit ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและ
การวิจัยแหง่ สหพันธรัฐแห่งเยอรมนี
กรรมวิธีการผลิตประเภทอัดขึ้นรูปพลาสติกแผ่น
ช้ินส่วนพลาสติกท่ีฉีดข้ึนรูปโดยใช้วัสดุเส้นใยคอมโพ (Thermoforming process)
สิทเพื่อเสริมแรงมีข้อเสียเปรียบท่ีสำ�คัญประการหน่ึง สถาบัน Fraunhofer
คือยากที่จะปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของงาน IPT น�ำ แผน่ ออรแ์ กนิกทม่ี ี
ทม่ี ีลักษณะเฉพาะได้ เนอ่ื งจากเครื่องมือฉดี ขนึ้ รปู ทใ่ี ช้มี โครงสร้างการพิมพ์แบบ
ราคาแพงและไมย่ ดื หยุ่น ทำ�ใหม้ ีแต่การผลติ ในปรมิ าณ สามมิติมาใช้ในกรรมวิธี
มากเทา่ นัน้ ท่ีสามารถท�ำ ได้ ฟังกช์ นั พิเศษหรือการปรบั ก า ร ผ ลิ ต ป ร ะ เ ภ ท
เปล่ียนที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์จำ�เป็น อั ด ขึ้ น รู ป พ ล า ส ติ ก
ตอ้ งมีตน้ ทนุ ที่สูงข้ึน รวมท้ังขั้นตอนหลังการผลติ ท่กี นิ แผ่น โครงการ LightFlex ครอบคลุมกระบวนการ
เวลานาน โดยส่วนใหญ่แล้วการผลิตที่มีปริมาณน้อย ทัง้ หมดของการผลิตแบบปรับตวั ทไ่ี ด้เชอ่ื มตอ่ กัน จาก
หรอื แม้แตก่ ารผลิตต้นแบบจะไม่สามารถทำ�ได้ เนอื่ งจาก กระบวนการผลิตวัสดุกึ่งสำ�เร็จรูปโดยสถาบันการ
มีต้นทุนทสี่ ูงท�ำ ให้ไมค่ มุ้ ค่าทางเศรฐกิจ แปรรูปพลาสตกิ (IKV) และธุรกจิ การค้าท่มี ผี เู้ ชยี่ วชาญ
ในมหาวิทยาลยั RWTH Aachen และคูค่ ้าอื่น ๆ ผ่าน
กระบวนการผลติ แบบผสมสารเติมแต่ง กระบวนการตัดเลเซอรโ์ ดยบริษัท Arges GmbH
ในกรณีดงั กลา่ ว สถาบนั Fraunhofer IPT และผู้รว่ ม
โครงการ LightFlex จงึ ก�ำ ลังวางแผนว่าจะแทนทีช่ ิ้น ท่ีมา www.ipt.fraunhofer.de
งานท่ีผลิตจากกระบวนการฉีดขึ้นรูปด้วยชิ้นงานที่มา แปลจาก JEC Composites Magazine
จากกระบวนการผลติ แบบผสมสารเติมแต่ง ด้วยการ January – February 2017
THAI COMPOSITES MAGAZINE C24 ompositesScoop
สมาคมไทยคอมโพสทิ รว่ มงาน JEC ASIA 2016
งานแสดงสินคา้ อุตสาหกรรมคอมโพสิทแห่งเอเซยี
สโชว์ศกั ยภาพอุตสาหกรรมคอมโพสิทไทย สู่เวทีสากล
มาคมคอมโพสทิ ไทย น�ำ คณะผบู้ รหิ ารสมาคมไทย
คอมโพสทิ , ผูป้ ระกอบการ และหนว่ ยงานภาครัฐ
รว่ มงาน JEC ASIA 2016 งานประชมุ และงานแสดง
สนิ คา้ ดา้ นอตุ สาหกรรมคอมโพสทิ แหง่ เอเชยี ทจ่ี ดั ขน้ึ เมอ่ื วนั
ท่ี 15-17 พ.ย. 2559 ทศ่ี นู ยป์ ระชมุ และแสดงสนิ คา้ ซนั เทค
ประเทศสงิ คโ์ ปร์ นับเป็นงานระดบั เอเชยี ทส่ี ำ�คัญตอ่ วงการ
อตุ สาหกรรมคอมโพสทิ อกี งานหนง่ึ โดยเปน็ งานทร่ี วบรวม
ความสำ�คัญของวัสดุคอมโพสิทท่ีมีต่ออุตสาหกรรมต่างๆ
ที่สามารถช่วยทำ�ให้ลดต้นทุนการผลิต และมีคุณภาพที่ดี
กวา่ เดมิ อาทิ ยานยนต์ ขนสง่ กอ่ สรา้ ง เดนิ เรอื กฬี า ชน้ิ สว่ น
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อากาศยาน และยานอวกาศ เปน็ ตน้
25 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
นบั เปน็ อกี หนง่ึ กจิ กรรมทส่ี มาคมฯ ไดท้ �ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ย์ ส�ำ หรบั ผสู้ นใจรว่ มงานออกบธู
กลางการประสานงานการเชญิ ชวน ผปู้ ระกอบการไทย หรอื รว่ มกจิ กรรมเยย่ี มชมงาน
เขา้ รว่ มงานในรปู แบบการออกบธู และเยย่ี มชมงานอยา่ ง กบั ทางสมาคมคอมโพสทิ ไทย
ตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั นเ้ี พอ่ื เปน็ การเพม่ิ โอกาสในการรว่ มพฒั นา สามารถสอบถามขอ้ มลู ไดท้ ่ี 02713 5033
ผ้ผู ลิตช้นิ ส่วนในอุตสาหกรรมคอมโพสิทไทยได้ศึกษาดู หรอื ตดิ ตามกจิ กรรมอพั เดทไดท้ ่ี
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตอ่ืนๆภายในงาน Facebook : สมาคมไทยคอมโพสทิ (ไฟเบอรก์ ลาส)
รวมถึงโอกาสในการมองหาช่องทางการตลาดใหม่ๆ
เพม่ิ ขน้ึ
THAI COMPOSITES MAGAZINE 26
Composites
Technology
Complete loudly your Lamborghini collection
เตมิ เตม็ Lamborghini collection ของคณุ ด้วยชุดล�ำ โพงสุดล้�ำ
ESAVOX is the docking station built an extreme
can polymerized cabon fiber monocoque body
in autoclave, variable value opening exhaust-
ing system to manage the subwoofer pressure ,
passive ,vibration absorption and height variable
conic supports. The carbon fiber and the original
parts of the iconic Lambonghini supercars com-
bined in an object that merges design and sound
charity. ในส่วนของชุดท่อไอเสียท่ีควบคุมความดันของซับวูฟ
ESAVOX คอื ชดุ ล�ำ โพงสดุ อลงั การณท์ ถ่ี กู ออกแบบให้ เฟอร์ และระบบโชค้ อพั เพอ่ื รองรบั การสน่ั สะเทอื น การ
มที กุ สง่ิ ทกุ อยา่ งเชน่ เดยี วกบั รถซเู ปอรค์ าร์ ไมว่ า่ จะเปน็ รวมตัวกันระหว่างคาร์บอนไฟเบอร์และส่วนประกอบ
โครงสรา้ งคารบ์ อนไฟเบอรโ์ มโนคอ็ ก (Carbon fiber อนั โดดเดน่ ของ ซเู ปอรค์ าร์ Lamborghini นน้ี บั เปน็ การ
monocoque) ขน้ึ รปู โดยกระบวนการออโตเคลฟ (Au- ผสมผสานท่ีลงตัวของการออกแบบและพลังเสียงสุด
toclave) ซง่ึ เปน็ วสั ดเุ ดยี วกบั ทใ่ี ชใ้ นตวั รถ Lamborghi- กระหม่ึ เลยทเี ดยี ว
ni และยงั น�ำ ชน้ิ สว่ นอน่ื ๆ ของตวั รถมาเปน็ สว่ นประกอบ
ดว้ ยเพอ่ื สรา้ งตวั ล�ำ โพงใหด้ สู มจรงิ มากขน้ึ ไมว่ า่ จะเปน็ ทม่ี า www.lamborghinistore.com
Composites in your workout 27 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
คอมโพสิทกับการออกก�ำ ลงั กาย
rectly and obtain the appropriate level of training
benefit from your workout.
Bodyblade CxT คอื อปุ กรณก์ ฬี าอเนกประสงคท์ ท่ี �ำ
จากวัสดุคอมโพสิทที่มีน้ำ�หนักเพียง 1.25 ปอนด์แต่
สามารถตอบโจทย์การออกกำ�ลังกายได้หลากหลาย
ประเภท Bodyblade CxT ใช้งานได้ดีเหมาะกับคนทุก
เพศทกุ วยั ไมว่ า่ จะเปน็ ผทู้ เ่ี พง่ิ เรม่ิ ตน้ ออกก�ำ ลงั ผทู้ อ่ี อก
ก�ำ ลงั กายมานานแลว้ หรอื แมก้ ระทง่ั การออกก�ำ ลงั กาย
Crafted of composite, the Bodyblade CxT is a แบบกลมุ่ อปุ กรณน์ ม้ี ขี นาดกะทดั รดั คณุ สามารถพก
versatile fitness tool weighs only 1.25 pounds ติดตัวไปได้ตลอดเวลาทำ�ให้ออกกำ�ลังกายได้แม้ในขณะ
but offers variable resistance for a variety of ex- ทอ่ี ยนู่ อกบา้ น นอกจากนย้ี งั มคี มู่ อื และดวี ดี แี นะน�ำ การ
ercises. It works well for beginners, seniors and ออกก�ำ ลงั กาย ทจ่ี ะชว่ ยใหส้ ามารถใช้ Bodyblade CxT
group classes. It is compact enough to travel ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและชว่ ยให้ไดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ จากการ
with you , so you don’t have to miss workouts ออกก�ำ ลงั กายอกี ดว้ ย
during travel. The package includes anexercise
guide and a DVD to help you use the CxT cor- ทม่ี า www.bodyblade.com
The key to successful organization
กุญแจสคู่ วามส�ำ เรจ็ ในองคก์ ร
in the right place and your keys save much more
space than the conventional key ring. In addition,
you stop the annoying jingling as well as dam-
aged pocket.
CABOSS™ คอื พวงกญุ แจเรยี บหรทู �ำ จากวสั ดคุ ารบ์ อน
ไฟเบอร์ 100% เพื่อความแข็งแรง และความพึงพอใจ
สงู สดุ พวงกญุ แจนม้ี ลี กั ษณะการจดั เรยี งกญุ แจคลา้ ยๆ
กับชดุ ของมีดพก โดยกญุ แจแต่ละดอกจะถกู สอดเขา้ ไป
เพอ่ื เรยี งตอ่ กนั จากกญุ แจดอกถดั ไปตามล�ำ ดบั และถกู
ยดึ ดว้ ยสกรกู บั ตวั พวงกญุ แจ ดงั นน้ั ทกุ ๆ สง่ิ จงึ ถกู จดั
CABOSS is a minimalist keyring made of 100% วางอยู่ในตำ�แน่งท่ีถูกต้องและช่วยประหยัดพ้ืนท่ีในการ
carbonfibre for maximum strength and com- เกบ็ กญุ แจไดม้ ากกวา่ พวกกญุ แจแบบเกา่ นอกจากนค้ี ณุ
fort. As a type of pocketknife for the set of keys, จะไม่ต้องเผชิญกับเสียงกรุ๊งกร้ิงอันน่ารำ�คาญรวมท้ัง
CABOSS puts your chaos in order. The keys are ความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ กบั กระเปา๋ สตางคอ์ กี ดว้ ย
simply inserted next to each other and screwed
oppositely in the organizer. Hence, everything is ทม่ี า www.bodyblade.com
THAI COMPOSITES MAGAZINESA28THU AUTO SEAT LTD. PART.
รบั งานส่งั ทำข้ึนรปู ชิ้นงาน Fiberglass
หจก. สาธอุ อโตซสี ท 275/21-22 ถนนสาธปุ ระดษิ ฐ แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
โทร. 0-2211-7345, 0-2211-6148, 0-2212-6728 โทรสาร. 0-2212-6729
Website: cardecorate.com E-mail: [email protected] Line: earthpuk
บWรWิษWัท.POโพLYลLIีไNลEน20 0จ2.ำCกOัดM
จำหนา ย
และใหค ำปรก� ษา
บรษิ ทั โพลีไลน จำกดั
47/3 หมู 6 ต.บงึ คำพรอ ย อ.ลำลกู กา
จงั หวัดปทุมธานี 12150
โทร. 02-070-6447, 084 696 8441,
084 696 8443, 081 363 0397
แฟกซ. 02-070-6447
E-mail : [email protected]
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
29
THAI COMPOSITES MAGAZINE C30 ompositesNano
น�ำ้ หนักทเี่ บากบั ผลกระทบที่หนัก 3
บทบาทของวัสดคุ อมโพสทิ ต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต (ตอนท่ี 3)
ระบบส่งก�ำ ลัง
และส่วนประกอบของยานยนต์ :
ผศ.ดร. สนติพีร์ เอมมณี
ภาควิชาวศิ วกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
สตู รส�ำ เร็จในการเลอื กวัสดุน้�ำ หนกั เบามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
จากปัจจัยท่ีได้กล่าวไว้ในบทความสองตอนท่ผี ่าน รถสามารถผลติ จากพลาสตกิ หรอื เสน้ ใยคารบ์ อนได้
มา จะเหน็ ไดว้ า่ ในทา้ ยทส่ี ดุ ผผู้ ลติ ชน้ิ สว่ นยานยนต์ งา่ ยกวา่ เหลก็ ในขณะทร่ี างในอปุ กรณค์ อมมอนเรล ใน
ทเ่ี ปน็ OEM จ�ำ เปน็ ตอ้ งพฒั นากลยทุ ธ์ในการเลอื ก เครอ่ื งยนตด์ เี ซลควรผลติ จากเหลก็ กลา้ ความแขง็ แรงสงู
วสั ดุ เพอ่ื ใชก้ บั ชน้ิ สว่ นตา่ งๆ ทผ่ี ลติ ขน้ึ อยา่ งเหมาะสมเอง เน่ืองจากความต้องการในการทนต่อความดนั และการ
เนอ่ื งจากรายละเอยี ดของแตล่ ะชน้ิ มคี วามตอ้ งการทแ่ี ตก กดั กรอ่ น อยา่ งไรกด็ รี ายละเอยี ดบทความนจ้ี ะมงุ่ เนน้ ไป
ตา่ งกนั เชน่ การขน้ึ รปู ความแขง็ แรง ความทนทานตอ่ ทว่ี สั ดชุ นดิ หลกั ๆ ทเ่ี ปน็ สว่ นประกอบของน�ำ้ หนกั รถยนต์
อณุ หภมู ใิ ชง้ าน ฯลฯ นอกเหนอื จากนร้ี าคาคา่ วตั ถดุ บิ ของ มากกว่าร้อยละ 90 โดยทำ�การวิเคราะห์รถในตลาด
วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ กต็ า่ งกนั ดว้ ย ยกตวั อยา่ งเชน่ แผน่ บงั โคลน ทท่ี �ำ การซอ้ื ขายกนั เปน็ จ�ำ นวนมาก
31 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
ลกั ษณะของรายการทป่ี ระยกุ ตใ์ ชว้ สั ดนุ �ำ้ หนกั เบาทผ่ี ผู้ ลติ จากทไ่ี ดก้ ลา่ วไวแ้ ลว้ วา่ ผผู้ ลติ OEM ยนิ ดที จ่ี ะมคี า่ ใชจ้ า่ ย
OEM จะน�ำ ไปใชใ้ นอนาคต สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 แบบ ทส่ี งู ขน้ึ เพอ่ื แลกมากบั น�ำ้ หนกั ทล่ี ดลง ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั รปู
ตามเซคเมนต์ และชนดิ ของการสง่ ก�ำ ลงั ของรถยนตท์ ใ่ี ช้ แบบของการสง่ ก�ำ ลงั ในยานยนต์ และขนาดของรถทแ่ี ตก
ตามทร่ี ายละเอยี ดไดก้ ลา่ วไวด้ า้ นลา่ ง และรปู ท่ี 10 ตา่ งกนั รปู ท่ี 11 ไดแ้ สดงถงึ รายการทผ่ี ผู้ ลติ สามารถ
เลอื กใชไ้ ดใ้ น 2 มติ ิ กลา่ วคอื
ตลาดยานยนต์จำ�นวนสอง
ใ น ส า ม ซ่ึ ง ไ ด้ แ ก่ ร ถ ข น า ด
กลาง และเลก็ ทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งยนต์
สนั ดาปภายใน (เชน่ โตโยตา้
อลั ทสิ ) หรอื รถยนตไ์ ฟฟา้ ไฮ
บรดิ (Hybrid electric vehi-
cle – HEV) และตลาดรถทใ่ี ช้
ระบบขบั เคลอ่ื นไฟฟา้ ทางไกล
(Range-extended elec-
รปู ท่ี 10 รายการวสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาแบบตา่ งๆ (ขอ้ มลู จาก McKinsey) tric vehicle – REEV) จะใหค้ วามสนใจกบั รายการวสั ดุ
น�ำ้ หนกั เบาทว่ั ไป เนอ่ื งจากสามารถรบั คา่ ใชจ้ า่ ยจากทาง
• รายการวสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาทว่ั ไป ไดแ้ ก่ การใชเ้ หลก็ กลา้ เลอื กวสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาประเภทนเ้ี ทา่ นน้ั
ความแขง็ แรงสงู แทนการใชเ้ หลก็ กลา้ ธรรมดา ซง่ึ จะไดใ้ ช้
ในกระบวนการผลิต โดยบรษิ ัทรถยนต์ทม่ี คี ณุ ภาพมา อีก 1 ใน 3 ของตลาด ซึ่งได้แก่ รถยนต์ขนาดใหญ่ (เช่น
เปน็ เวลาพกั หนง่ึ แลว้ การใชว้ สั ดทุ ม่ี นี �ำ้ หนกั เบากวา่ โดย เมอรซ์ เิ ดส เบน็ ซ์ อคี ลาส) ทใ่ี ชร้ ะบบสง่ ก�ำ ลงั หลายรปู
เฉพาะอยา่ งยง่ิ เสน้ ใยคารบ์ อน และอลมู เิ นยี มจะถกู มอง แบบ หรอื ยานยนตท์ ใ่ี ชแ้ บตเตอรเี ปน็ แหลง่ พลงั งานเพยี ง
ขา้ มเนอ่ื งจากเหตผุ ลทางดา้ นราคา ตวั เลขของน�ำ้ หนกั อยา่ งเดยี ว (Battery electric vehicle – BEV) ทง้ั
ทล่ี ดลงในรถขนาดกลางอยทู่ ่ี 250 กโิ ลกรมั หรอื รอ้ ย ขนาดกลาง และขนาดเลก็ จะเลอื กใชร้ ายการลดน�ำ้ หนกั
ละ 18 ซง่ึ มคี า่ ใชจ้ า่ ยประมาณ 120 บาทตอ่ หนง่ึ กโิ ลกรมั ขน้ั กลาง ซง่ึ รถยนตส์ ว่ นใหญใ่ นรนุ่ นไ้ี ดเ้ รม่ิ ใชเ้ หลก็ กลา้
ของน�ำ้ หนกั ทห่ี ายไป ความแขง็ แรงสงู หรอื อลมู เิ นยี มในการผลติ ไปแลว้ โลหะ
• รายการวสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาขน้ั กลาง ซง่ึ เปน็ การน�ำ วสั ดอุ ลู น�ำ้ หนกั เบา เชน่ อลมู เิ นยี ม แมค็ นเี ซยี ม และโครงสรา้ ง
มเิ นยี ม แมก็ นเี ซยี ม (ในชน้ิ สว่ นทห่ี ลอ่ ได)้ และเหลก็ กลา้ แบบแซนดว์ ชิ ไดถ้ กู น�ำ มาประยกุ ตใ์ ชจ้ �ำ นวนมาก การน�ำ
ความแขง็ แรงสงู มาทดแทน การพจิ ารณาใชเ้ สน้ ใยคาร์ รายการวัสดุนำ�้ หนักเบาข้ันกลางมาใช้เป็นวัตถุดิบแม้ว่า
บอนจะดำ�เนินการในช้ินส่วนท่ีต้องการความแข็งตึงสูง จะมีค่าใช้จ่ายท่ีสูงข้ึนแต่ก็อยู่ในระดับท่ีไม่มากจนเกินไป
เป็นพิเศษหรือในช้ินส่วนท่ีการลดนำ้�หนักมีความคุ้มค่า คอื ประมาณ 160 บาท/กโิ ลกรมั ของน�ำ้ หนกั ทห่ี ายไป
(เชน่ หลงั คา) น�ำ้ หนกั ทน่ี อ้ ยลงโดยประมาณของรถขนาด ซง่ึ ยงั ต�ำ่ กวา่ ระดบั ทผ่ี ผู้ ลติ ยอมรบั ไดท้ ่ี 200 – 550 บาท/
กลางทใ่ี ชร้ ายการวสั ดนุ ค้ี อื 420 กโิ ลกรมั หรอื รอ้ ยละ กโิ ลกรมั
30 โดยมคี า่ ใชจ้ า่ ยเพม่ิ ขน้ึ ท่ี 160 บาทตอ่ น�ำ้ หนกั หนง่ึ
กโิ ลกรมั ทต่ี �ำ่ ลง ส่วนรายการวัสดุนำ้�หนักเบาข้ันสูงสุดท่ีมีการใช้วัสดุ
• รายการวัสดุน้ำ�หนักเบาขั้นสูงสุด ซึ่งเป็นการนำ� คอมโพสิทท่ีเสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนอย่างเต็มท่ีจะ
เทคโนโลยวี สั ดนุ �ำ้ หนกั เบามาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี โดย นำ�ไปใช้กับช้ินส่วนทางโครงสร้างท่ีต้องการการลดนำ้�
ไมค่ �ำ นงึ ถงึ ขอ้ จ�ำ กดั ในดา้ นราคา และคา่ ใชจ้ า่ ย น�ำ้ หนกั หนกั ลงมากทส่ี ดุ ในรถยนตท์ ม่ี คี วามหรหู รา และรถยนต์
ทส่ี ามารถลดไดส้ งู สดุ อยทู่ ่ี 490 กโิ ลกรมั หรอื ประมาณ ไฟฟา้ แบบพรเี มยี มเทา่ นน้ั (รวมกนั ไดร้ อ้ ยละ 1 ของ
รอ้ ยละ 35 และน�ำ้ หนกั ทล่ี ดลงได้ 1 กโิ ลกรมั จะมคี า่ ใช้ จ�ำ นวนรถยนตท์ ง้ั หมด) เนอ่ื งจากคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี พม่ิ ขน้ึ มาก
จา่ ย 320 – 400 บาท ประมาณ 320 – 400 บาท/กโิ ลกรมั ของน�ำ้ หนกั ทล่ี ดลง
THAI COMPOSITES MAGAZINE 32 ปัญหาและวิธีการแก้ ไขในวัสดุ
คอมโพสิทที่เสริมแรงด้วยเส้นใย
รปู ท่ี 11 การประยกุ ต์ใชร้ ายการวสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาแบบตา่ งๆ คารบ์ อน
(ขอ้ มลู จาก McKinsey) ทง้ั ๆ ทว่ี สั ดคุ อมโพสทิ ทม่ี เี สน้ ใย
คารบ์ อนเปน็ วสั ดเุ สรมิ แรงจะใหก้ าร
ลดนำ้�หนักมีประสิทธิผลสูงมาก
ราคาวัตถุดิบเส้นใยคาร์บอนจะเป็น
อุปสรรคหลักท่ขี ัดขวางการใช้วัสดุ
คอมโพสทิ ชนดิ นใ้ี นวงกวา้ ง ยง่ิ ไป
กว่าน้ีความท้าทายท่ีจะใช้คาร์บอน
ไฟเบอรม์ กั จะเกดิ จากปจั จยั ตา่ งๆ ท่ี
แสดงในรปู ท่ี 12
ปริมาณของการเปล่ียนวัสดุจะข้ึนอยู่กับรายการของ
วสั ดดุ งั ทไ่ี ดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ อยา่ งไรกด็ จี �ำ นวน ช้ิ น ส่ ว น
หลายๆ ชน้ิ ในรถยนตท์ กุ คนั จะใชว้ สั ดชุ นดิ ใหมอ่ ยา่ งเปน็
นยั ส�ำ คญั ในชว่ งทศวรรษทก่ี �ำ ลงั จะมาถงึ ซง่ึ มกี ารคาด
การณ์ว่าการแข่งขันเพ่ือลดนำ้�หนักของยานยนต์จะเป็น
กลจักรสำ�คัญในการสร้างความแตกต่างของผู้ผลิต
OEM โดยเฉพาะรถยนตท์ ม่ี ขี นาดใหญใ่ นอนาคตอนั ใกล้
การประยุกต์ใช้และการทำ�ตลาดจะส่งผลอย่างมากต่อ
ยห่ี อ้ ของรถและการดงึ ดดู ลกู คา้ มาสผู่ ผู้ ลติ
รปู ท่ี 12 ปญั หาในการใชว้ สั ดคุ อมโพสติ
วัสดุหลักท่ีคาดว่าจะมีบทบาทท่ีสำ�คัญเพ่ิมข้ึนอย่าง
มากคอื เหลก็ กลา้ ความแขง็ แรงสงู อลมู เิ นยี ม พลาสตกิ นอกเหนอื จากราคาของเสน้ ใยคารบ์ อนแลว้ ยงั มคี วาม
โครงสรา้ งแซนดว์ ชิ (ซง่ึ เปน็ การใชว้ สั ดทุ ง้ั 3 อยา่ งนร้ี ว่ ม ทา้ ทายในการใชว้ สั ดคุ อมโพสทิ อกี 3 ปจั จยั หลกั คอื การ
กนั ในหลายรปู แบบ) แมค็ นเี ซยี ม และคอมโพสทิ เสรมิ แรง ซอ่ มบ�ำ รงุ รกั ษา ความยง่ั ยนื รว่ มกบั การน�ำ วสั ดกุ ลบั มา
เสน้ ใยคารบ์ อน ชน้ิ สว่ นโครงสรา้ ง (เชน่ โครงรถหรอื ใชใ้ หม่ และการจ�ำ ลองการรบั แรงกระแทก
โครงสรา้ งทน่ี ง่ั ) มกั ท�ำ มาจากเหลก็ กลา้ ความแขง็ แรงสงู • การซ่อมบำ�รุงชิ้นส่วนที่ผลิตมาจากวัสดุคอมโพสิท
หรอื อลมู เิ นยี ม หรอื แมแ้ ตค่ อมโพสทิ ทม่ี เี สน้ ใยคารบ์ อน เสริมแรงด้วยเส้นใยคาร์บอนมีความยุ่งยาก เนื่องจาก
ชน้ิ สว่ นทต่ี อ้ งการรบั ความแขง็ แรงสงู เฉพาะ (เชน่ ในระบบ ความเสียหายมักเกิดในบริเวณท่ีตรวจสอบไม่ได้จาก
บงั คบั เลย้ี ว และระบบสง่ ก�ำ ลงั ) ควรผลติ จากเหลก็ กลา้ การมองโดยตรง การตรวจสอบจงึ ตอ้ งใช้การส่งคลื่น
ความแขง็ แรงสงู และเสน้ ใยคารบ์ อน ชน้ิ สว่ นภายในยงั เสยี ง หรอื การถา่ ยภาพดว้ ยเทคนคิ ทางความรอ้ น อลั
มคี วามนยิ มใชเ้ ปน็ พลาสตกิ ในปจั จบุ นั และตอ่ เนอ่ื งไปใน ตรา้ โซนคิ หรอื เอก็ ซเรย์ การใชเ้ ทคโนโลยเี หลา่ นต้ี ามมา
อนาคต ในความเปน็ จรงิ พลาสตกิ จะมคี วามส�ำ คญั ทส่ี งู ซง่ึ คา่ ใชจ้ า่ ยการลงทนุ ดา้ นอปุ กรณ์ และการเสรมิ สรา้ ง
ขน้ึ เชน่ ใชเ้ ปน็ แผน่ กนั ลมหรอื หนา้ กากและใชเ้ ปน็ ชน้ิ สว่ น ทกั ษะผใู้ ชง้ าน อยา่ งไรกด็ ี ดว้ ยการจดั การทเ่ี หมาะสม
ตวั ถงั ทไ่ี มเ่ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของโครงสรา้ ง เพราะมรี าคาแต่ จะทำ�ให้ค่าใช้จ่ายอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เช่น การใช้
ผู้เชย่ี วชาญการตรวจสอบ และเครอ่ื งมอื รว่ มกบั ผผู้ ลติ
หนว่ ยน�ำ้ หนกั ทด่ี ี
33 W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
OEM รายอน่ื สว่ นเรอ่ื งการซอ่ มแซมสามารถใชว้ ธิ กี าร การสร้างนวัตกรรมต่อไป การเรียนรู้ระหว่างภาค
ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในงานอากาศยานหลากหลายวธิ ี เชน่ การ อุตสาหกรรมก็เป็นอีกบทบาทหน่ึงท่ีสำ�คัญในการแก้
ใชก้ ารยดึ ทางกลหรอื การประสานดว้ ยกาว ซง่ึ วธิ กี าร ปญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดว้ ย
เหล่าน้ีสามารถนำ�มาประยุกต์ให้เข้ากับอุตสาหกรรม
ยานยนตไ์ ด้ นอกจากนค้ี วามเสยี หายจากการแยกชน้ั ท่ี อน่ึงการเกิดร่วมมือกันระหว่างภาคอุตสาหกรรม
เกิดข้ึนภายในเน้ือวัสดุสามารถแก้ไขได้จากการฉีดเรซ่ิน การบนิ พลงั งานลม และยานยนตจ์ ะชว่ ยขบั ดนั ยคุ อตุ
ไปเชอ่ื มรอยรา้ วในชน้ิ งานทไ่ี มใ่ ชส่ ว่ นหนง่ึ ของโครงสรา้ ง สาหภวิ ฒั น์ (ทง้ั ๆ ทม่ี คี วามแตกตา่ งระหวา่ งวสั ดทุ ใ่ี ช้ และ
แตถ่ า้ ความเสยี หายมคี วามวกิ ฤต หรอื รนุ แรงกม็ คี วาม กระบวนการผลติ ) อตุ สาหกรรมการบนิ และพลงั งาน
จำ�เป็นต้องทำ�การเปล่ียนและทดแทนด้วยช้ินใหม่แม้ว่า ลมจะยงั เปน็ ภาคสว่ นหลกั ในการผลกั ดนั วศิ วกรรมวสั ดุ
เหตกุ ารณน์ จ้ี ะไมเ่ กดิ ขน้ึ บอ่ ยกต็ าม คอมโพสิท และสง่ ถ่ายองค์ความรูส้ อู่ ุตสาหกรรมยาน
• เนอ่ื งจากข้อก�ำ หนดของสหภาพยุโรป ในการตั้งเป้า ยนต์ ในทางกลบั กนั ความกา้ วหนา้ ในกระบวนการผลติ
หมายเพื่อนำ�ชิ้นส่วน หรือวัสดุในยานยนต์หมุนเวียน และวัตถุดิบ เช่น เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวางเส้นใย
กลบั มาใชใ้ หมใ่ ห้ไดร้ อ้ ยละ 85 การพฒั นากระบวนการ หรอื ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นการบม่ วสั ดุ จะเรม่ิ ตน้ จาก
แปรสภาพเส้นใยคาร์บอนท่ีใช้แล้วจึงมีความสำ�คัญต่อ อุตสาหกรรมยานยนตก์ ่อน เพราะมคี วามต้องการใน
ความสำ�เร็จของการใช้วัสดุน้ำ�หนักเบา ในปัจจุบันมี การลดค่าใช้จ่ายมากกว่า หลังจากนั้นจึงถ่ายทอดให้
ความเป็นไปได้ในการลดของเสียจากการข้ึนรูปในตอน อตุ สาหกรรมทง้ั สองประเภทอกี ที ดงั แสดงในรปู ท่ี 13
ต้นโดยการนำ�ส่วนเหลือท้ิงมาใช้อีกคร้ังได้ถึงร้อยละ
30 ของการใชเ้ สน้ ใยคารบ์ อนทง้ั หมด และน�ำ ไปผลติ ชน้ิ
ส่วนขนาดเล็กหรือช้ินส่วนท่ีไม่ต้องการความแข็งตึงท่ี
สงู หรอื เดมิ ทค่ี าดวา่ เสน้ ใยคารบ์ อนทผ่ี า่ นกระบวนการ
ขน้ึ รปู ไปแลว้ จะไมส่ ามารถน�ำ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ กส็ ามารถ
นำ�กลับมาใช้ได้โดยการบดละเอียดหรือการแยกเส้นใย
ด้วยความร้อนหรือเคมี แม้ว่าเส้นใยคาร์บอนที่ผ่าน
กระบวนการผลิตไปแล้วจะมีคุณภาพท่ีตำ่�กว่าของใหม่
แตก่ ย็ งั น�ำ มาใชง้ านได้
• ส�ำ หรบั การจ�ำ ลองการชน หรอื การกระแทกของวสั ดุ รปู ท่ี 13 การแลกเปลย่ี นระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรม
คอมโพสทิ นน้ั อตุ สาหกรรมยานยนตส์ ามารถน�ำ ขอ้ มลู (ขอ้ มลู จาก McKinsey)
ทม่ี อี ยใู่ นภาคอตุ สาหกรรมการบนิ มาใชป้ ระโยชน์ ในขณะ
น้ีผู้ผลิตยานยนต์บางรายได้มีความร่วมมือกับบริษัทท่ี นอกจากน้ี ไมเ่ พยี งแคผ่ มู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในภาคอตุ สาหกรรม
ผลติ เครอ่ื งบนิ เพอ่ื ถา่ ยทอดประสบการณ์ และขอ้ มลู ผล จะมีโอกาสก้าวข้ามความท้าทายจากการใช้เส้นใย
การจ�ำ ลองการชน เชน่ บรษิ ทั Boeing และ Lamborgh- คารบ์ อนตามแนวทางทก่ี ลา่ วไวใ้ นขา้ งตน้ โดยใชร้ ายการ
ini แตก่ ย็ งั มขี อ้ จ�ำ กดั ในปจั จบุ นั เนอ่ื งจากพฤตกิ รรมทซ่ี บั วสั ดนุ �ำ้ หนกั เบาแบบทว่ั ไปและแบบขน้ั กลางแทน แตก่ ย็ งั มี
ซอ้ นของวสั ดทุ ม่ี สี มบตั ไิ มเ่ ทา่ กนั ทกุ ทศิ ทาง และโปรแกรม ความเป็นไปได้ท่กี ารใช้วัสดุนำ�้ หนักเบาข้นั สูงสุดจะมีการ
ท่ีใช้ในการจำ�ลองการกระแทกท่ีต้องมีการพัฒนาอยู่ แพร่หลายมากยิ่งขึ้น การเจาะเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ยานยนต์ของวัสดุนำ้�หนักเบาข้ันสูงสุดจะผลักดันให้เกิด
• โดยภาพรวม ยงั คงมอี ปุ สรรค และปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ หลาย การพฒั นาสองประการคอื
อยา่ ง (รวมถงึ การใชป้ รมิ าณพลงั งานทส่ี งู มาก ในการผลติ • ความตอ้ งการของรถยนตไ์ ฟฟา้ แบบไฮบรดิ
เสน้ ใยคารบ์ อน ซง่ึ สง่ ผลใหเ้ กดิ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ ทว่ี ง่ิ ไดร้ ะยะมากขน้ึ โใปนรเลด่มติต่ดอตไาปมตอนจบ
และสง่ ผลลบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม) ปญั หาเหลา่ นม้ี คี วามทา้ ทาย • การลดการปลอ่ ยกา๊ ซ
และเป็นโจทย์ที่กำ�ลังได้รับความสนใจในการวิจัย และ คารบ์ อนไดออกไซดท์ ส่ี งู ขน้ึ
THAI COMPOSITES MAGAZINE 34
Composites Report
สมาคมฯ จัดสมั มนาใหญ่เชิงปฏิบตั กิ าร
Carbon Fiber and Reinforce Plastics : The ERA of Thailand 4.0
สพร้อมจดั ประชมุ ใหญส่ ามญั ประจ�ำ ปี 2560มาคมไทยคอมโพสิท ร่วมกับ สำ�นักพัฒนา สำ�หรับวัตถุประสงค์การจัดงานสัมมนาก็เพื่อมุ่งเน้น
อตุ สาหกรรมสนับสนนุ (BSID) จดั การสมั มนา การพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกวิศวกรรม การ
ใหญข่ ึน้ มาอีกครง้ั เมอ่ื วันอังคารที่ 31 มกราคม ถ่าย ทอดเทคโนโลยีการผลิตให้แก่ผู้ประกอบการ และ
2560 ณ โรงแรมมณเฑียร รเิ วอร์ไซต์ กรุงเทพ และวัน มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการประยุกต์งานวิจัย
พุธท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2560 ณ บริษัท สยามเคมคี อลอิน และพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ดัสตร้ี จ�ำ กัด จ.สมทุ รปราการ โดยคร้ังน้จี ัดเปน็ งาน ในการแข่งขันและช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก
สมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการในหัวข้อเรอ่ื ง Carbon Fiber and วิศวกรรมในประเทศไทยให้เจริญเติบโตอย่างย่ังยืนต่อ
Reinforce Plastics : The ERA of Thailand 4.0 โดย ไป รวมทั้งสามารถกา้ วสู่ตลาดสากลไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี ม
มีสมาชิกและผู้สนใจในวงการอุตสาหกรรมคอมโพสิท กบั นานาอารยประเทศอีกด้วย
เข้าร่วมงานอยา่ งคึกคกั ภายหลงั ทจ่ี บสมั มนาของวนั องั คารท่ี 31 มกราคม 2560
ณ โรงแรมมณเฑยี ร์ริเวอรไ์ ซต์ ทางสมาคมฯ ไดจ้ ดั วาระ
พิเศษ ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำ�ปี 2560 เพื่อรายงาน
สภานภาพของสมาชกิ , ผลการด�ำ เนินงานสมาคมฯ และ
เลือกตงั้ คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ซ่ึงผลการเลือก
ตัง้ ในคร้ังนี้ ตอ้ งขอแสดงความยนิ ดกี บั คุณดนู โชตกิ
พนิช ที่ได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกได้รับเลือกให้
ดำ�รงต�ำ แหนง่ นายกสมาคม เป็นสมัยท่ี 2 และอพั เดท
กรรมการชุดใหม่ได้ท่ีหนา้ Board of Director นะคะ
W W W. F I B E R G L A S S T H A I . C O M
35
36THAI COMPOSITES MAGAZINE
ผผู ลิต-นำสเขำา หแลระบัจำงหานนาย ไวฟตั เถบดุ อบิ ครณุ ก ภลาาพสดี
เชน ใยแกว เรซ่ิน ผา ตาสาน ใยเสนส้นั ใยพัน/พน ไวนิล เคมภี ัณฑแ ละอปุ กรณอนื่ ๆ ท้งั ปลีกและสง
The manufacturer-importer and distributor of quality raw material for Fiberglass application such as Chopped Strand mat, UP Resin, Woven
Roving, Chopped Strand for Thermo Plastic, Filament Winding. Spray-Roving, Vinyl Ester Resin, Other Chemicals and equipments. We sell in retail and
wholesale.
ใยแกวผืน เรซิน่ ไฟเบอร-หลอ โมโนสไตรีน อาซโิ ทน-ทินเนอร โคบอลท
แปง ทลั คมั Talcum ตัวเรง โมโนเเวก ซ Monowax น้ำยา PVA Solution ใยทอ WR
ใยทิชชู แผน รงั ผง้ึ ข้ผี ้งึ ถอดแบบ ผา คารบ อน-เคฟลาร ใยพน -ใยพัน
Biaxial +45/-45 องศา Silicon ถอดเเบบ โฟมขาว-ดำ Epoxy Resin ลูกกล้งิ
ผงเบา
เจลโคท ใยทอทางเดยี ว Uni 0/90๐ คอรแมทเสริมความหนา ใยเเกวตดั สั้น
นำ้ ยาถอดเเบบ เเมสี Pigment Paste ไมโครบัลลนู ผงเเคลเซียม ยางพารา Latex Ruber
บรษิ ทั เจ.เอน็ . ทรานสอส (ประเทศไทย) จำกัด www.jn-transos.com
69/21 ม.13 ซ.เพชรเกษม 91 ถ.เพชรเกษม ต.ออมนอย อ.กระทมุ แบน จ.สมทุ รสาคร 74130
JN TRANSOS (Thailand) CO.,LTD.
69/21 Moo 13, Petchakasame 91, Petchakasame Road, Omnoi, Kratumbaen, Samutsakorn, Thailand 74130
Tel: 02-8137315-6 Fax: 02-8111574 Mobile: 086-319-5331, 089-444-8108 E-mail: [email protected]