The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ห้องสมุดประชาชนอำเภอเกาะยาว กศน.อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกิจกรรมวันช้างไทย 2564 ร่วมชมนิทรรศการออนไลน์เรื่อง "วันช้างไทย"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วันช้างไทย

ห้องสมุดประชาชนอำเภอเกาะยาว กศน.อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกิจกรรมวันช้างไทย 2564 ร่วมชมนิทรรศการออนไลน์เรื่อง "วันช้างไทย"

รวบรวมและเรียบเรียงโดย
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอเกาะยาว
กศน.อำเภอเกาะยาว จงั หวัดพงั งา

ประวตั ิความเป็นมา “วันช้างไทย”””

13 มนี าคม ของทุกปี ถอื เปน็ วันสำคัญอกี วันหน่ึงของไทย นน่ั คือ วันช้างไทย เกดิ จากการริเรม่ิ ของ
คณะอนุกรรมการ ประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย และ คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ที่เล็งเห็น
ว่าหากมกี ารสถาปนาวันชา้ งไทยขึ้น ก็จะช่วยให้ประชาชนคนไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนชา้ ง
ตลอดจนให้ความสำคัญตอ่ การใหค้ วามช่วยเหลอื อนรุ กั ษ์ชา้ งมากข้นึ

แรกเริ่มนั้น ได้พิจารณาเอาวันที่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือ
พระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกใช้เป็นวันกองทัพไทย (18 มกราคม) ไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น
และเห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็น
สัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้น มีความเหมาะสม จึงไดน้ ำเสนอมติตามลำดับขัน้ เข้าสูค่ ณะรัฐมนตรี โดย
ได้รบั การสนบั สนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณอ์ กี ทางหนง่ึ

ประวตั คิ วามเปน็ มา “วนั ชา้ งไทย”””

ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มมี ติเม่ือ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันช้าง
ไทย และได้ประกาศสำนักนายกรฐั มนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เมอื่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2541

ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิด ขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มี
ความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือ
ช้างเผือกทีเ่ ป็นสัญลกั ษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมีของพระมหากษตั รยิ ์

ความสำคัญของช้างต่อประวัตศิ าสตรช์ าติไทย

ข้อความที่ปรากฎอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่ง ..เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ในสมัยท่ี
กรุงสุโขทัยเป็นราชธานีนั้น “ช้าง” คือขุนพลที่ร่วมรบอยู่ในสมรภูมิจนมีชัยชนะ อีกท้ัง
พระมหากษัตริยท์ รงประทับชา้ งนำ ราษฎรไปบำเพ็ญกศุ ลตามพระอารามในอรัญญิก จะเห็นไดว้ ่าทัง้ ใน
ยามศึกและยามสงบช้างอยู่คู่แผ่นดินสุโขทัยเรื่อยมา ช้างมีความสำคัญมากถึงเพียงนี้ จึงมีการสอนวิชา
ขับขี่ช้างซึ่งเป็นวิชาสำคัญสำหรับเจ้านายและลูกผู้ดีเพื่อ ยังประโยชน์ในการใช้ช้างเป็นพาหนะและ
เตรียมการเพอ่ื ศกึ สงคราม

ช้างใช้ในการศึกสงครามในอดีต ในสมัยโบราณ ช้างเป็นยุทธปัจจัยสำคัญของกองทพั เปรียบได้กบั
รถถงั ประจญั บานของนักรบใน ปจั จุบนั ทวา่ ชัยชนะทสี ง่างามกว่าหลายเท่า เพราะมนุษย์ที่น่ังอยู่บนคอ
ช้างต้องเช่ยี วชาญอาวุธของา้ ว ใช้ความกล้าหาญไสช้างแตล่ ะเชอื กพุ่งตรงเข้ารบปะทะกันตัวต่อตวั

ความสำคัญของชา้ งต่อประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย

ช้างต่อช้างเข้าชนกันนั้น หากช้างของผู้ใดมีความสามารถมากกว่าก็จะงัดช้างศัตรูขึ้นด้วยงาจน
แหงนหงาย หรือเบนบ่ายจนได้ที เพื่อให้แม่ทัพบนคอช้างส่งอาวธุ เข้าจ้วงฟันคูต่ ่อสู้ ช้างกับนักรบบนคอ
ชา้ งจึงต้องมกี ำลงั แข็งแรงฝีมอื เข้มแข็ง ทงั้ คู่จึงจะได้ชยั ชนะมาประดับเปน็ เกยี รตยิ ศพระเจา้ แผน่ ดิน

การรบบนช้างหรือที่เรียกว่า ยุทธหัตถี นั้น เกิดขึ้นไม่บ่อยนักในประวัติศาสตร์ไทย แต่ครั้งสำคัญ
ทสี่ ดุ ซงึ่ คนไทยยงั กล่าวขวัญจดจำไม่รลู้ ืม คอื การยทุ ธหัตถีระหวา่ งสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชแห่งกรุง
ศรีอยุธยาและพระมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี ที่ตำบลหนองสาหร่าย แขวงเมืองสุพรรณบุรี เมื่อปี
พุทธศกั ราช 2135 หรอื กวา่ 400 ปลี ่วงมาแล้ว

ความสำคัญของชา้ งไทย

ชา้ งเปน็ สตั ว์คบู่ ารมีของพระมหากษตั รยิ ์ไทย

เป็นสัตว์ที่ดำรงอยู่คู่กับประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามประเทศเคยใช้ธงชาตเิ ป็น รูปช้างเผือก ชาวไทยเช่ือกัน
ว่าชา้ งเผอื กเป็นสตั ว์คูบ่ ารมขี องพระมหากษตั ริย์ ช้างเผือกจงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งเสมอื นเจ้านายชน้ั เจ้าฟ้า

ช้างเปน็ ผู้ปกปอ้ งเอกราชแห่งชาตไิ ทย

ประวัติศาสตร์ชาติไทยได้ จารึกไว้ว่าช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชและความเป็นชาติ
ให้แก่ชาว ไทยหลายยุคหลายสมัย ในสมัยกรุงธนบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรง
รวบรวมชายไทยให้เป็น ปึกแผ่นและมั่นคงบนหลังช้างทรงพระที่นั่ง และในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชกไ็ ดท้ รงประกาศเอกราชและความเป็นชาติ

ความสำคญั ของช้างไทย

ช้างใชใ้ นพระราชพธิ สี ำคญั ตา่ งๆ

เมื่อแรกเริ่มการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นช้างคือพาหนะสำคัญที่อัญเชิญพระพุทธมณีรัตนปฏิมากร
แก้วมรกตมาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ในงานพระราชพิธีต่างๆ อาทิ พระราชพิธี
เฉลิมพระชนมพรรษา งานพระราชพิธีฉัตรมงคล จะต้องนำช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่น
เกยช้างดา้ นตะวันตกของพระท่นี ่งั ดสุ ิตาภิรมยใ์ นพระบรมมหาราชวงั เพื่อประกอบพระเกยี รติยศ

ชา้ งสรา้ งความสัมพนั ธ์ไมตรีระหว่างประเทศ

ในสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสสิงคโปร์ และเบตาเวีย (จาการ์ตา) ประเทศอินโดนีเซีย ได้
พระราชทานชา้ งสำริดใหแ้ ก่ทง้ั 2 ประเทศน้ี

ความสำคญั ของชา้ งไทย

ชา้ งใช้เปน็ พาหนะในการคมนาคม

ในยุคสมยั ทกี่ ารคมนาคมยังไมเ่ จริญเทียบเทา่ กับในปจั จุบัน มนุษยย์ งั ไมไ่ ด้มกี ารพฒั นาเคร่ืองจักร
ต่างๆ สำหรับนำมาใช้เป็นเครื่องทุ่นแรงเพื่อการขนส่งของ ช้างคือพาหนะที่ดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
สำหรับมนุษย์ เนื่องจากช้างเป็นสัตว์ใหญ่มีความเฉลียวฉลาดและมีพละกำลังมหาศาล ช้างจึงสามารถ
ขนสง่ ส่ิงตา่ งๆ ทม่ี ีอยใู่ นปริมาณมากไดอ้ ยา่ งอดทน

ชา้ งใชใ้ นการอตุ สาหกรรมทำไม้

การใช้ช้างทำไม้ในประเทศไทยเริ่มตั้งแต่การล้มไม้ การทอนไม้ซุง การขนส่งไม้จนถึงโรงงานหรอื
ตลาดการคา้ ในแง่ของการอนุรักษ์ป่าไม้ และระบบการจดั การป่าไมใ้ นประเทศไทย การใช้ช้างชักลาก
ไม้ นับว่าเหมาะสมมาก เพราะช้างสามารถเดินไปได้โดยไม่ทำลายกล้าไม้ตน้ เล็กๆ ไม่ทำให้ดินแน่น ไม่
ต้องตัดถนนหนทางใหม้ ากเสน้ นอกจากน้ชี ้างยังขนึ้ เขาไดด้ ี และมอี ายุการใชง้ านนานถงึ 50 ปี

ช้างไทยในแต่ละรัชกาล

ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ปกครองมานานหลายรัชสมัย ซึ่งใน
การปกครองแต่ละรัชสมัยนั้นก็ได้มีช้างเข้ามาเกี่ยวข้อง ในการปกครองตั้งแต่สมัยโบราณจนกระทั่ง
ปัจจุบันช้างถือว่าเป็นสัตว์ที่ช่วยเสริมบารมีของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ตามความเชื่อในทาง
พระพุทธศาสนาที่ว่าพระพุทธเจ้าทรงเสวยราชย์เป็นพระยาช้างที่มีบุญบารมีมากว่า 500 ชาติ จึงถือได้
ว่าชา้ งเปน็ สัตวค์ บู่ า้ นคู่เมืองของคนไทยเลยก็ว่าได้
กรุงรตั นโกสนิ ทร์

• รัชกาลท่ี 1 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ได้ช้าง 10 เชอื ก คอื พระบรมไกรสร
(บวรสุประดิษฐ) พระบรมไกรสร (บวรบุษปทันต์) พระอินทรไอยรา พระเทพกุญชร พระบรม
ฉัททันต์ พระบรมนัขมณี และพระบรมคชลักษณ์ (อรรคคเชนทร์) พระบรมนาเคนทร์ พระบรมคช
ลกั ษณ์ ( อรรคชาติดามพหตั ถี ) พระบรมเมฆเอกทนต์

ชา้ งไทยในแต่ละรัชกาล

กรงุ รตั นโกสินทร์

• รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีช้าง 6 เชือก คือ พระยาเศวตกุญชร พระ
บรมนาเคนทร์ พระบรมหัศดิน พระบรมนาเคนทร์ (คเชนทรธราธาร) พระยาเศวตไอยรา และ
พระยาเศวตคชลักษณ์

• รัชกาลท่ี 3 พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยู่หวั มชี ้างเผอื กอยู่ 20 เชือก คอื พระบรมคชลักษณ์
พระบรมไอยรา พระบรมนาเคนทร์ พระบรมเอกทันต์ พระยามงคลหัสดิน พระยามงคลนาคินทร์
พระบรมไกรสร พระบรมกุญชร พงั หงษาสวรรค์ พระนขั นาเคนทร์ พระบรมไอยเรศ พระบรมสังข
ทันต์ พระบรมคชลักษณ์ ( ศักดิสารจุมประสาท ) พระบรมนขาคเชนทร์ พระนาเคนทรนขา พระ
บรมทัศนขา ชา้ งพลายสปี ระหลาด พระบรมศภุ ราช พระยามงคลคชพงศ์ และชา้ งพลายกระจุดดำ
บรมนาเคนทร์

ช้างไทยในแต่ละรัชกาล

กรุงรัตนโกสินทร์

• รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีช้าง 15 เชือก คือ พระบรมนัขสมบัติ
พระวมิ ลรตั นกริ ณิ ี พระบรมคชรัตน พระวสิ ตู รรตั นกิริณี พระพิไชยนลิ นขั พระพไิ ชยกฤษณาวรรณ
พระศรีสกลกฤษณ์ พระมหาศรีเศวตวิมลวรรณ ช้างพังเผือกเอก พระเศวตสุวรรณาภาพรรณ
ช้างพัง เผือกเอก พระเทวสยามมหาพิฆเนศวร ช้างสีประหลาด เจ้าพระยาปราบไตรจักร และ
พระยาไชยานุภาพ

• รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีช้าง 19 เชือก คือ พระเศวตวรวรรณ
พระมหารพีพรรณคชพงษ์ พระเศวตสุวภาพรรณ พระเทพคชรัตนกิริณี พระศรีสวัสดิเศวตวรรณ
พระบรมทันตวรลักษณ์ พระเศวตวรลักษณ์ พระเศวตวรสรรพางค์ พระเศวตวิสุทธิเทพา
พระเศวตสุนทรสวัสดิ์ พระเศวตสกลวโรภาศ พระเศวตรุจิราภาพรรณ พระเศวตวรนาเคนทร์
ชา้ งพลายเผอื กเอก พระศรีเศวตวรรณภิ า พระเศวตอดุ มวารณ์ ช้างพลายสปี ระหลาด 2 เชือก และ
เจา้ พระยาไชยานภุ าพ

ชา้ งไทยในแตล่ ะรัชกาล

กรุงรัตนโกสินทร์
• รัชกาลท่ี 6 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว ได้ช้าง พระเศวตวชริ พาหะ
• รชั กาลที่ 7 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ชา้ ง พระเศวตคชเดชนด์ ิลก
• รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มีช้างเผือก 10 เชือก คือ
พระเศวตอดุลยเดชพาหน พระเศวตวรรัตนกรี พระเศวตสุรคชาธาร พระศรีเศวตศุภลักษณ์
พระเศวตศุทธวิลาศ พระวิมลรัตนกิริณี พระศรีนรารัฐราชกิริณี พระเศวตภาสุรคเชนทร์
พระเทพรตั นกริ ณิ ี พระเศวตภาสรุ คเชนทร์ พระเทพรตั นกริ ณิ ี และพระบรมนขทศั
• ในรัชสมัยของรัชกาลที่ 10 ปัจจุบัน “พลายเอกชัย” เตรียมขึ้นระวางเป็นช้างประจำรัชกาล โดย
พลายเอกชัยเป็นช้างทม่ี คี ุณลกั ษณะตรงตามช้างเผือกตามคช

พลายเอกชยั

“พลายเอกชัย” เป็นช้างท่ีมีคุณลักษณะตรงตามช้างเผือกตามคชลักษณะ 7 ประการ คือ เล็บขาว ตาขาว

เพดานขาว ขนขาว พื้นหนังขาว หรือสีคล้ายหม้อใหม่ อัณฑโกศขาว โดยถือเป็นช้างสำคัญที่มีมงคล
ซ่งึ “พลายเอกชยั ” จะไดร้ ับการพระราชทานนามอย่างเป็นทางการหลังพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกเสรจ็ สิ้น

ใครเปน็ คนแต่งเพลง ช้าง มาหาคำตอบกัน

“ชา้ ง ช้าง ช้าง หนรู ้จู กั ชา้ งหรอื เปลา่ ชา้ งมันตัวโตไมเ่ บา จมูกมันยาวเรยี กว่างวง สองเขี้ยวข้างงวง
เรยี กว่างา มีหมู ตี าหางยาว” (เนือ้ เพลงชา้ ง)

เพลงช้าง เป็นเพลงที่มีความสำคัญ เพราะการร้องเพลง การปรบมือ และการเคาะจังหวะ เป็น
พื้นฐานของการเรียนรู้การขับร้องและดนตรี คุณมธุรส วิสุทธกุล ได้นำเสนอที่มาของเพลง ช้าง ใน
หนังสอื ตว่ ยตูนฉบับปกั ษ์แรก เดือนกันยายน พ.ศ.2548

คุณหญงิ ชน้ิ ศลิ ปบรรเลง เปน็ ผแู้ ตง่ เปน็ เพลงรอ้ งสำหรบั เด็กให้กับรายการ “วทิ ยุโรงเรยี น” ซง่ึ
เป็นบทเรยี นในหลกั สูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้นกั เรยี นไดร้ จู้ กั และทราซง้ึ ในเพลงไทยโดยใช้
ทำนองเพลงเกา่ คอื “เพลงพมา่ เขว” และใสเ่ นอ้ื ร้องเขา้ ไปในทำนองเพลง เกดิ ความลงตวั ของท้งั เนื้อ
เพลงและทำนอง เม่อื ผูข้ ับรอ้ งเพลงกส็ ร้างความสนุกสนานใหก้ บั ทง้ั ผ้รู ้องและผู้ฟงั อีกทั้งยงั ร้องงา่ ย ทำ
ใหถ้ กู ใจทุกเพศทุกวยั ตง้ั แต่วัยเดก็ ไปจนถงึ ผใู้ หญ่

ใครเป็นคนแตง่ เพลง ชา้ ง มาหาคำตอบกนั

นอกจากนี้ “เพลงช้าง” ได้รับการยกย่องคัดเลือกเป็นเพลงประเทศภาคพื้นเอเชียโดย
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งเอเชีย หน่วยงานของยูเนสโก (ACCU:Asian Cultural Centre for UNESCO) ซ่ึง
เป็นองคก์ รหน่งึ ของสหประชาชาตอิ กี ดว้ ย

หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง

คณะอนุกรรมการ ประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย เป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การ
ภาครัฐและเอกชนท่ีทำงานเก่ียวกบั การอนุรักษ์ช้างไทย

คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี

กิจกรรมวนั ช้างไทย

กจิ กรรมวันช้างไทยทัง้ หน่วยงานรฐั และเอกชนไดม้ กี ารจดั กิจกรรมพเิ ศษมากมาย อาทเิ ช่น การจัด
สะโตกชา้ ง หรอื ขันโตกช้าง โดยชา้ งจะรบั ประทานอาหารของชา้ งท่ีทางปางช้างไดจ้ ดั หาไว้ให้เปน็ อย่างดี
ในวันนี้เด็กนักเรียนจะสามารถข้าชมได้ฟรีเพื่อเป็นการส่งเสริม ให้เด็ก เห็นคุณค่าของช้างไทยและ
ความสำคัญของวนั ชา้ งไทย

อา้ งองิ ””

• https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/106873.html
• https://sites.google.com/site/khtuthphph/prawati-khwam-pen-ma-khxng-chang-

thiy/chang-thiy-ni-taela-rachkal
• https://thestandard.co/royal-coronation-ceremony-white-elephant/
• https://www.facebook.com/wwfthailand/photos/pcb.2382795945105089/2382794

958438521
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%8A%

E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
• https://www.sanook.com/campus/947870/
• https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/106800.html


Click to View FlipBook Version