The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พัฒนาแหล่งเรียนรู้ศิลปกรรมรอยพระพุทธบาทบัวบาน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม จังหวัดอุดรธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanit Rungwannasak, 2022-11-30 23:40:36

วัดพระพุทธบาทบัวบาน

พัฒนาแหล่งเรียนรู้ศิลปกรรมรอยพระพุทธบาทบัวบาน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม จังหวัดอุดรธานี

Keywords: วัดพระพุทธบาทบัวบาน

PAGE

พฒั นาแหลง เรยี นรูแหลง ศิลปกรรมรอยพระพทุ ธบาทบวั บาน
เพ่อื การอนุรักษส ง่ิ แวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม จังหวดั อดุ รธานี

วดั พระพทุ ธบาทบวั บาน
ผศ.ดร.กนษิ ฐา เรอื งวรรณศักด์ิ และ อ.จรุ ีรตั น โยธะคง
สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

๑. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติสงเสริมและอนุรักษคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๕ ได
กำหนดใหจัดทำ แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ โดยแผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอม
ฉบับนี้ ใหความสำคัญกับ กระบวนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนา ไดแก หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
ประชาชนและชมรม/เครือขายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สถาบันการศึกษา องคกรพัฒนาและ
องคกรระหวางประเทศ และผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม โดยกำหนดกรอบแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และกำหนดทิศทางในการพัฒนา



ประเทศ ตองมงุ ไปสูการพฒั นาอยางยั่งยืน บนรากฐานของความสมดุลดา นเศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอม

วัดพระพุทธบาทบัวบาน รอยพระพุทธบาทบัวบานแตเดิมมีลักษณะเปนแองเวาบนพื้นหินธรรมชาติ
รูปรางคลายฝาเทา ตอมามีการสรางรอยพระพุทธบาทจำลองเลียนแบบของเดิม และสรางพระธาตุครอบไวอีกชั้น
พระพุทธบาทจำลองกอดวยปูน ผิวเรียบทาสีทอง ฝาพระบาทเรียบไมมีลวดลาย องคพระธาตุท่ีสรางครอบทับรอย
พระพุทธบาท เปนศิลปะสมัยลานชาง นอกจากน้ี ยังพบกลุมเสมาหินทราย และบริเวณเพิงผาใกลๆ เปนที่
ประดิษฐานพระพุทธรูปไมศิลปกรรมแบบลานชาง และพระพุทธรูปหินทรายจำหลักเปนพระส่ีทิศท่ีมีความงดงาม
เปนอยางมากอีกดวย มีเนินผาอยูดานทิศเหนือของเจดียพระพุทธบาท เรียกวา ถ้ำพระ และพระพุทธรูปหินทราย
จำหลักเปนพระส่ีทิศมีมณฑปกออิฐถือปูน จำหลักภาพบุคคลในลักษณะตางๆ ปกเปน ๘ ทิศ ปกซอนกัน ๒ หลัก
บางหลักถูกทำใหลม หลายหลักถูกดินทับถม มีจำนวนท้ังหมด ๓๑ หลัก เปนศิลปกรรมสมัยทวารวดีตอนปลาย-
ลพบรุ ตี อนตน สมยั ประวัติศาสตร

หนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดอุดรธานี ตระหนักถึงความสำคัญใน
การอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในจังหวัดอุดรธานี จึงมีความจำเปนท่ีจะตองมีการพัฒนาแหลง
เรียนรูแหลงศิลปกรรม เพิ่มพูนขอมูลการใหความรู ความเขาใจ ในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ
ตลอดจนความรับผิดชอบเพื่อใหมกี ารรกั ษาเฝา ระวังในพื้นทรี่ วมกนั อยางย้ังยนื

๒. วัตถปุ ระสงค

๒.๑ เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาของโบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานที่สำคัญ ประเพณีวัฒนธรรม
ของทองถิน่

๒.๒ เพือ่ ศึกษาแนวทางการพฒั นาแหลง เรยี นรแู หลงศิลปกรรม ใหเ ปนปจจุบนั และมีความทนั สมัย
๒.๓ เพอ่ื สรางสรรคเ ครือขา ยอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ ม

๓. สถานท่ีตงั้

วัดพระพุทธบาทบัวบาน ตั้งอยูบนเขาภูพาน บานไผลอม ตำบลเมืองพาน อำเภอบานผือ จังหวัด
อดุ รธานี พ้ืนท่ี ๑,๕๐๐ ไร หางจากชุมชนบานไผลอมประมาณ ๒ กิโลเมตร ตามประวัติกลาววาวัดพระพุทธบาท
บัวบาน สรางเม่ือ พ.ศ.๒๔๕๔ อยูบนเขาภูพาน เปนปาโปรง ถูกชาวบานรุกที่ทำกินเปนไรมันสำปะหลังบาง ไร
ขาวโพดบาง มีเสนทางขนสินคาทางการเกษตรของชาวบานผานดานหลังวดั ตัววัดอยูหางจากชุมชนบานไผลอม
ประมาณ ๒ กิโลเมตร ดานทศิ ตะวันออกเปนแปลงนา เสนทางเขาสูวัดพระพุทธบาทบวั บานถนนลาดยางจากตัว
อำเภอถึงเมืองพานประมาณ ๑๖ กิโลเมตร เปนเสนทางเขาสูบานไผลอม ๖ กิโลเมตร แยกเขาสูวัดประมาณ ๒
กิโลเมตร



ทิศเหนอื ตดิ ตอ กบั เขาภพู าน
ทิศตะวนั ออก ติดตอกับบา นไผลอ ม
ทิศตะวนั ตก ติดตอ กบั ไหลเ ขาภูพาน
ทศิ ใต ติดตอกับเขาภูพาน (หนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัด
อดุ รธานี. ๒๕๔๓ : น.๖๖)
อำเภอบานผือต้ังอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดอุดรธานีและหางจากตัวจังหวัดอุดรธานี
ประมาณ ๕๕ กิโลเมตร แตกอนเมื่อถึงปากทางเขาวัดตองเดินเทาข้ึนไปเพราะรถไมสามารถไปถึงได แตปจจุบัน
รถยนตส ามารถขึน้ ไปถงึ วดั ไดแ ลวแตถนนก็ยงั เปนลกู รังและทรายอยู

วดั พระพุทธบาทบัวบาน จังหวดั อดุ รธานี

๔. ประวัติความเปน มา (มขุ ปาฐะ)

หลวงพอสิริ รัตนคุณ เจาคณะตำบลเขต ๓ เจาอาวาสวัดพระพุทธบาทบัวบาน (สัมภาษณ ๑๕ มิถุนายน
๒๕๖๕) เลาวา ตำนานพระเจาเลียบโลก เปนวรรณกรรมทางศาสนาพุทธ ท่ีแพรหลายในภาคเหนือของไทย รัฐฉาน
ของพมา สบิ สองปนนา และลานชาง ตลอดถงึ บางพ้ืนท่ีแถบภาคอีสาน เพื่อโปรดคนพ้ืนเมือง ประวตั ิอางตำนาน
เอกสารพระเจาเลียบโลกวา บริเวณน้ีมีพญานาคนาม โฆตพัตรนาค ซ่ึงพำนักอาศัยในสระบัวบานและปกครอง
ดนิ แดนโพพันรมั และเมืองพาน มนี องชายนาม มิลนิ ทนาค พำนกั ในถำ้ บัวบกและมดี ินแดนปกครองจากภูเวียงถึง
ลุมน้ำโขง โฆตพัตรนาคมีนิสัยดุรายอันธพาล ชอบทำรายรังแกผูคนจนไดรับความเดือนรอนกันไปทั่ว เสียงร่ำไห
ความทุกขรอนของมนุษยไดยินถึงพระกัณฑขององคพระพุทธเจา ณ บนสรวงสวรรค พระองคจึงเสด็จลงมาท่ี
หนองบัวบาน เม่ือโฆตพัตรนาคไดเห็นองคทานก็โกรธเปนฟนเปนไฟวาพระองคทานกลาลวงล้ำมาในอาณาเขต
ของตนอยางมิเกรงกลัว จึงพุงเขาหาพระพุทธเจาหมายทำรายแตก็มิอาจทำอันตรายพระองคทานไดแมแตนิด
เดียว เพราะพุทธบารมีเมตตาอันสูงสงของพระองคโฆตพัตรนาคจึงหมดแรง พระพุทธเจาจึงเทศนาธรรมส่ังสอน
โฆตพัตรนาคสงผลให โฆตพัตรนาคบรรลุธรรมโสดาบันและเกดิ ความเลอื่ มใสในพุทธศาสนา โฆตพตั รนาคกราบขอ



อนุญาตองคพระพุทธเจาเพ่ือบวชเปนพระ แตพระพุทธเจาไมอนุญาตเพราะพญานาคถือวาเปนสัตวบวชเปนพระ
ไมไ ดแตถือศีลและปฏิบัติธรรมได โฆตพตั รนาคจงึ ไดข อใหพระพุทธเจาไปโปรดนองชายของตน คอื มิลินทนาคท่ีถ้ำ
บวั บกดวย พระองคก็ยินดีทำตาม นาคทั้ง ๒ ตนไดบ รรลุธรรมโสดาบันและซ้ึงใจในรสพระธรรม จึงไดข อใหพระ
พุทธองคประทับรอยพระบาทไวที่หนองบัวบานแดโฆตพัตรนาค และถ้ำบัวบกแดมิลินทนาค รอยพระพุทธบาททั้ง
๒ จึงถูกเรียกขานวา พระพุทธบาทบัวบก และพระพุทธบาทบัวบาน ต้ังแตน้ันเปนตนมา (สำนักการทองเที่ยวและ
กฬี าจงั หวดั อุดรธาน.ี ๒๕๖๑. ออนไลน)

นมัสวิน นาคศิริ นักโบราณคดีปฏิบัติการอุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท (สัมภาษณ ๑๕ มิถุนายน
๒๕๖๕) เลา วา ตามตำนานอุสา – บารส เชอื่ วา สถานทพ่ี ระพุทธบาทบวั บานคือ สถานท่ีกำเนิดของนางอสุ าทเ่ี กิด
มาจากดอกบัว ษีจันทาไดนำนางอุสามาเล้ียงเอาไว บริเวณกลุมใบเสมาในวัดพระพุทธบาทบัวบาน จึงเรียก
บริเวณนี้วา “กลุมใบเสมาบวชพระปู” ตอมาทาวกงพานกษัตริยเมืองพานซึ่งเปนลูกศิษยของษีจันทาไดขอรับ
นางอสุ าไปเลีย้ งโดยใหมีฐานะเปน ธิดา

กำเนิดนางอุสาจากดอกบวั ณ วัดพระพุทธบาทบัวบาน
ทมี่ า : เสกสรรค หอมเพชร. ๒๕๖๕. ออนไลน

ชุมชนท่ีอยูโดยรอบในปจจุบันดั้งเดิมเปนลาวเวียง และลาวพวน อพยพมาจากเวียงจันทน และเชียง
ขวางประเทศลาวเร่ิมแตชุมชนลานชางในสมัยพระเจาไชยเชษฐาธิราชหนีศึกพมามาสองสุมผูคน เพ่ือสูศึกพมาท่ี
แถบบานผือสุวรรณคูหา หนองบัวลำภู น้ำโสม จึงมีศิลปกรรมและสถาปตยกรรมลานชางมากมายในแถบนี้ เชน
มณฑปครอบรอยพระพทุ ธบาทบัวบานพระพุทธรูปไม ฯลฯ และคงจะรางไป ตอ มาสมัยทพ่ี ระวอ พระตา พาพวก
เวียงจันทนหนีศึกพระเจาบุญสาร มาต้ังชุมชนท่ีหนองบัวลำภูก็ไดใชเสนทางนี้เดินทางไปสองสุมผูคนไวตอสูกับ
เจาสิริบุณสารเวียงจันทน เพราะมีขอความหน่ึงพาดพิงถึงนครหน่ึงชื่อวา นครเข่ือนขัณฑกาบแกวบัวบาน
(หนองบวั ลำภ)ู นา จะเก่ียวกับสถานทแ่ี หง นีด้ วย

ตอมาเม่ือเกิดศึกฮอในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พวกพวนอพยพหนีฮอมาต้ัง
ชมุ ชนใหม สภาพพ้ืนที่แตเติมเปนดงดิบแลง มีไมท ี่มีคามากมาย เชน ไมมะคาโมง ไมมะคาตะเคียน ตะเคียงทอง
ประดู ไมแดง ฯลฯ ปจจุบันสภาพปาเปนปาโปรง ทุงนา และไรมันสำปะหลัง (หนวยอนุรักษส่ิงแวดลอม
ศลิ ปกรรมทอ งถ่ินจังหวัดอุดรธานี. ๒๕๔๓ : น.๖๖)

ประวตั กิ ารคนพบวัดพระพทุ ธบาทบัวบาน พระพุทธบาทบัวบานถูกคนพบโดยพระธุดงคนาม พระคม
วงศรีจันทร และสามเณรแหล ชัยเจริญ ระหวางท่ีทานท้ัง ๒ เดินทางไปธุดงคในปาบนเขาระหวางทางหางจาก
หมูบานไผล อมไมไกลนัก พวกทานไดพบหินศลิ าแทงใหญที่มหี ลุมลกึ ลงไปใตแผนศิลานั้น ดวยความอยากรูอยาก



เห็นและเหมือนมีบางส่ิงดลใจ พระและเณรทั้ง ๒ รูปจึงลงไปดูในหลุมนั้น ปรากฎวาไดเจอพระพุทธรูปเกาแก
นอ ยใหญมากมายเรยี งรายอยูในหลุมใตศ ิลา ทานท้ัง ๒ จึงตดั สินใจจำวดั ณ ท่ีแหงนน้ั ในคืนน้ันพระคมไดฝน เห็น
นางฟาองคหนึ่งมาบอกวาท่ีน่ีเปนท่ีศักดิ์สิทธ์ิทานควรไปบูชาสักการะกลุมใบเสมาโดยใหทานเดินทางไปตามท่ี
ขาพเจาบอกแลวทานจะพบ พอรุงเชาพระคมจึงไดพาสามเณรแหลเดินไปตามทางที่นางฟาบอกและไดพบกับ
กลุมใบเสมาหินที่นั่นจริง ทานจึงไดทำการเคารพสักการะและตัดสินใจจำวัดท่ีใกลๆ กับกลุมใบเสมา และคืนน้ัน
นางฟาองคเดิมก็มาเขาฝนทานอีกและถามพระคมวา ทานไดไปเคารพบูชาสักการะรอยพระพุทธบาทหรือยัง
พระคมตอบวายังเลย แลวทานก็สะดุงต่ืนกอนจะถามนางฟาวารอยพระพุทธบาทอยูท่ีใด รงุ เชาพระคมไดเลาให
สามเณรแหลฟง ทานท้ัง ๒ จึงตัดสินใจเดินคนหารอยพระพุทธบาท สามเณรจึงไดเดินไป ณ หลุมหน่ึงและเจอ
พระพุทธรูปมากมายพรอมรอยพระพุทธบาท แตทันใดนั้นรอยพระพุทธบาทและพระพุทธรูปกห็ ายไปตอหนาตอ
ตาสามเณรแหลและพระคม ทานทั้ง ๒ จึงตัดสินใจเดินลงไปในหมูบานและบอกเลาเร่ืองราวท้ังขอใหชาวบา นมา
ชวยกันคนหารอยพระพุทธบาทน้ี พระคม สามเณรแหล และชาวบานราว ๑๐ คนไดกลับมาที่กลุมใบเสมาและ
หลุมท่ีเชื่อวาเปนรอยพระพุทธบาท ทำพิธีขอขมาและบวงสรวงบอกกลาวเทวดาอารักษและขออนุญาติส่ิง
ศักดิ์สิทธ์ิ เจาปาเจาเขาขอใหพบรอยพระพุทธบาทหากมีจริงก็ทำการถางปาคนหา และไดพบรอยพระพุทธบาท
และพระพุทธรูปจริง จากน้ันชาวบานก็ไดสรางองคพระธาตุครอบรอยพระพุทธบาท เรียกวา พระพุทธบาทบัว
บาน เพราะขางๆ รอยพระพุทธบาทมีสระน้ำท่ีชาวบานเรยี กกันวาหนองบวั บานมาชา นาน ที่เวลาน้ันดอกบัวบาน
สะพรั่งเตม็ สระหอมอบอวลเหมอื นกับเปนนิมติ ท่ีดีเพอ่ื บูชาสกั การะรอยพระพุทธบาท (ชนานา จอหสนั . มปป.)

กลุมใบเสมา (บวชพระปู) ใกลพระพุทธบาทบัวบานเปนภาพกอนท่ีจะสรางอาคารครอบใบเสมาดังเชน
ปจจบุ นั (สุวทิ ย ชยั มงคล, อรุณศกั ด์ิ กิ่งมณี และกลั ญาณี กจิ โชตปิ ระเสรฐิ . ๒๔๔๑ : น. ๒๙ และ ๓๔)

กลมุ ใบเสมา (บวชพระปู) ใกลพ ระพทุ ธบาทบัวบาน
ทีม่ า : สุวทิ ย ชยั มงคล, อรณุ ศกั ด์ิ กิ่งมณี และกลั ญาณี กิจโชตปิ ระเสริฐ. ๒๔๔๑ : น. ๒๙ และ ๓๔
หลวงพอสิริ รัตนคุณ เจาคณะตำบลเขต ๓ เจาอาวาสวัดพระพุทธบาทบัวบานองคปจจุบัน (สัมภาษณ
๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕) เจาอาวาสวัดพระพุทธบาทบัวบาน ๕๑ พรรษา อายุ ๗๓ ป มาจำวัดป ๒๕๓๓ มาจาก
ชยั ภูมิ กอนจะมาอยูตำบลจำปาโมง ไดติดตามขาวสารของวัดพระพุทธบาทบัวบานอยูตลอด และไดพาสามเณร
มาธุดงคป กกลดที่ลานใบเสมา สามเณรกก็ ลาววา “อาจารยท่ีวดั น้ีนา อยูจ งั เลยถา มาจำพรรษาคงจะดี” แตกย็ ังไม
ไดมาจำพรรษาท่ีนี่ จนในป ๒๕๓๓ หลวงปูสมภารทานนิมนตใหหลวงพอสิริ รัตนคุณขึ้นมาจำพรรษาสักระยะ



หนึ่ง แตก็ยังไมไดคิดจะมาอยูจงึ ไปธุดงคท่ีจังหวัดศรสี ะเกษ จังหวดั ระยอง จังหวัดจันทบุรี เม่อื กลับมากม็ ีโยมมา
สรางพระทศี่ าลา หลวงปูสมภารไดไปเชญิ ชางมาสรางพระพทุ ธรปู ชา งกถ็ ามหลวงปูสมภารวา “มาสรางพระแลว
จะมีพระมาอยูหรือไม” หลวงปูสมภารตอบวา “มี เดี๋ยวเจาของเขาจะมาเอง” ซึ่งตอนน้ันยังไมมีพระ ยังเปนวัด
รา งอยู หลวงพอ สิริ รตั นคุณจึงตกปากรบั คำวา จะมาอยู และจำพรรษาจนถึงปจ จุบัน

สัมภาษณหลวงพอสิริ รตั นคุณ
เจา คณะตำบลเขต ๓

เจา อาวาสวัดพระพุทธบาท
บวั บานองคป จจบุ นั

๕. ประวตั ิรอยพระพุทธบาทบวั บาน

รอยพระพุทธบาทกลุมเมืองพาน อำเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี หรือบริเวณอุทยานประวัติศาสตรภู
พระบาทและพ้ืนท่ีใกลเคียง จากการสำรวจและศึกษาพบรอยพระพุทธบาทกลุมเมืองพานจำนวน ๕ แหง ทั้งท่ี
เปนรอยดดั แปลงจากแอง เวา ธรรมชาติบนพื้นหิน และรูปจำลองสรางดว ยปูนปดทับรองรอยเดิม คือ ๑) พระพทุ ธ
บาทบวั บก ๒) พระพทุ ธบาทบัวบาน ๓) พระพทุ ธบาทหลังเตา ๔) พระพุทธบาทภผู าแดง และ ๕) พระพุทธบาท
ธาตุรางอุปโมงค รอยพระพทุ ธบาทบนแผน ดนิ อีสาน เทาท่ีกำหนดอายุไดอ ยูใ นชวงสมัยรัตนโกสินทร ซ่ึงประดับ
ดว ยลายมงคล ๑๐๘ ประการ ตามอยางอยุธยาและสุโขทัย แตทีมีอายุถึงสมัยลานชาง หรือเกามากขึ้นไปกวา นั้น
ยังไมอาจกำหนดรูปแบบหรือวิวัฒนาการ เน่ืองจากรอยพระพุทธบาทที่พบไมมีจารึกบอกปท่ีสราง ลวดลาย
ตกแตงลว นเปนลักษณะเฉพาะไมเคยพบมากอน บางแหงไมมีลวดลาย ปรากฎเพียงโครงฝา พระบาทเวา ลกึ ลงใน
พื้นหินทำใหตองตีความจากหลักฐานแวดลอมอื่นๆ รวมถึงนิทานพื้นบานหรือตำนานทองถ่ิน เชน อุรังคธาตุและ
ตำรสรพระเจาเลียบโลก (กลั ญาณี กจิ โชตปิ ระเสริฐ. ๒๔๔๑ : น.๔๔ - ๗๗)

รอยพระพุทธบาทบวั บก รอยพระพทุ ธบาทบัวบาน รอยพระพุทธบาทกลุม เมืองพาน


พระพุทธบาทบัวบานแหงน้สี รางข้ึนจากหนิ ทรายเปนรปู พระบาททมี่ ี ๕ นิ้วเรยี งเสมอกัน เชอ่ื วาสรา งขึ้น
ในสมัยลานชาง สมัยพุทธศกั ราช ๒๓ แตมหี ลกั ฐานและบุคคลเช่ือวา จรงิ ๆ แลว รอยพระพุทธบาทหลายแหงอาจ
สรางหรือมีข้ึนมาเม่ือประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ ปกอนพุทธศักราช และท่ีพระพุทธบาทบัวบานแหงน้ียังมี
พระพุทธรูปเกามากมาย รวมทั้งพุทธศาสนิกชนสวนใหญจากอดีตจนถึงปจจุบันเช่ือวารอยพระพุทธบาทนั้นคือ
รอยพระพุทธบาทขององคพ ระพุทธเจา พุทธศาสนิกชนจึงใหค วามเคารพสักการะแกรอยพระพุทธบาทและมีการ
กลาวไววา พระพทุ ธบาทบัวบานแหง นส้ี รางขน้ึ หรอื มีมากอ นพระพุทธบาทบัวบกและพระพุทธบาทหลงั เตา

๖. หลักฐานท่พี บ

รอยพระพุทธบาทบัวบานประดิษฐานอยูบนเขาหินทราย เขตบานไผลอม ตำบลเมืองพาน อำเภอบาน
ผือ จังหวัดอุดรธานี หางจากอุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท มาทางทิศใตประมาณ ๑๒ กิโลเมตร ชาวบานเลา
วา แตเดิมรอยพระพุทธบาทบัวบาน เปนแองเวาลงในหินธรรมชาติ รูปรางคลายฝาเทา ตอมาจึงไดมีการสราง
รอยพระพุทธบาทจำลองเลียนแบบของเดิมวางทบั ลงไป แลวจงึ สรางพระธาตคุ รอบไวอ ีกช้ันหน่ึง พระพุทธบาท
จำลองนี้กอดวยปูน ผิวเรียบทาสีทอง ขอบพระบาทเปนเสนตรง มีความยาว ๑๔๐ เซนติเมตร ปลายพระ
บาทกวาง ๖๕ เซนติเมตร สันพระบาทกวา ง ๕๓ เซนติเมตร ฝา พระบาทเรียบไมมลี วดลาย นอกจากเสน นูน
วาง แบงนิ้วเทาออกเปน ๕ ชองเทาๆ กัน แตละนิ้วมีสันนูนวางตามขวางแบงใหเปนนิ้วละ ๒ ขอ (กัลญาณี กิจ
โชติประเสรฐิ . ๒๔๔๑ : น.๔๔ - ๗๗)

รอยพระพทุ ธบาทบัวบาน




องคพระธาตุท่ีสรางครอบทับรอยพระพุทธ ขึ้น พระธาตุบัวบานจะเปนรุนหลังจากน้ัน คือมีการ
บาทมีลักษณะศิลปกรรมแบบลานชาง รูปทรง ยืดตัวบัวใหสูงขึ้นกลายเปนกลองสี่เหล่ียม แลวมีตัว
เหล่ียมยอเก็จ มีประตูทางเขาดานทิศตะวันออก ยอดตอ
ดานเดียว พระธาตุมีขนาดกวางดานละ ๒ เมตร
สูงประมาณ ๖ เมตร อายุสมัยราวพุทธศตวรรษท่ี อุทยานประวัติศาสตร ภูพระบาท อดุ รธานี
๒๒– ๒๔ สมัยวัฒนธรรมลานชาง นอกจากนี้ (๒๕๖๕. ออนไลน) เจดียราง (อุปโมงค) ตั้งอยู
บริเวณเพิงผาใกล ๆ ประดิษฐานพระพุทธรูปไม ทางดานทิศเหนือของวัดลูกเขย เปนศาสนสถานกอ
ศิลปกรรมแบบลานชาง และพระพุทธรูปหินทราย ดว ยอิฐอยูบนลานหิน เปนอาคารทรงสี่เหลี่ยมผืนผา
จำหลักเปนพระสี่ทิศ (สำนักงานโบราณคดีและ ผนังกอทึบ ๓ ดาน เวนดานหนาเปนประตูทางเขา
พิพิธภณั ฑสถานแหง ชาตทิ ี่ ๗ ขอนแกน . ๒๕๔๒) ภ า ย ใ น อ า ค า ร แ ต เดิ ม สั น นิ ษ ฐ า น ว า อ า จ เป น ที่
ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท เน่ืองจากไดขุดแตง
นมัสวิน นาคศิริ นักโบราณคดีปฏิบัติการ พบช้ินสวนของรอยพระบาทอยูเล็กนอย ภายนอก
อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท (สัมภาษณ ๑๕ อาคารโดยรอบ มีการสกัดเจาะหินเปนหลุมและ
มถิ ุนายน ๒๕๖๕) เลาถึงวัดพระพุทธบาทบัวบานวา หลุมสี่เหลี่ยม พิจารณาจากหลักฐานท่ีพบซึ่งมี
มโี บราณสถานท่ีสำคัญคือรอยพระพุทธบาทบัวบาน ชิ้นสวนโลหะประเภทที่ใชสำหรับยึดเก่ียวเคร่ืองไม
ท่ีประดิษฐานอยูในพระธาตุ การเรียกที่ถูกตองคือ จึงสันนิษฐานวา แตเดิมดานนอกนาจะมีขายคาตอ
พระธาตุ บางตำราเรียกวาสถูปซง่ึ ในความหมายจริง ยื่นออกมาตามแนวของหลุมเสาที่พบน้ี ซ่ึงจากตัว
สถูปจะใชในการบรรจุอัฐิธาตุ สวนพระธาตุจะเปน ฐานของเจดียรางมีความคลายคลึงกับพระธาตุพระ
สถานที่ประดิษฐานรอยพระบาท ควรเรียกวาพระ พทุ ธบาทบัวบานอยางมาก
ธาตจุ ึงจะถูกตองมากกวา เนือ่ งจากชาวพทุ ธจะไมไ ด
สกั การะแคพระพุทธรปู ซึ่งรอยพระบาทเปนอีกหนึ่ง
สง่ิ ที่ไดรับการสักการะเชน กนั ขอบเขตของเทอื กเขา
ภูพานปรากฎรอยพระพุทธบาทจำนวนมาก โดยมี
ปรากฎท่ีพระพุทธบาทบัวบก พระพุทธบาทบัวบาน
พระพุทธบาทหลงั เตา แสดงใหเห็นวา พื้นที่นี้ในอดีต
เปนแหลง พทุ ธศาสนาทีส่ ำคัญอยา งมาก

รปู แบบพระธาตุบวั บานสว นยอดจะมคี วาม
คลายกับพระธาตุศรีสองรัก จังหวัดเลย อยูในฐาน
รูปสี่เหลี่ยมแลวยอดจะแหลมขึ้น ลักษณะที่เดนของ
ศิลปะลานชางจึงสันนิษฐานวาสรางตั้งแตลานชาง
ชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ลงมาราวๆ สมัยอยุธยา
ดานหนามีการบรู ณะดว ยการเทปนู หลกั ฐานเดิมจะ
มีแทงหินอยูสันนิษฐานวาเปนเสมาขนาดยอมกวา
พระพุทธบาทบัวบก สวนยอดพระธาตุจะมี
พญานาค ๓ ตน ท้ัง ๔ มุมหลังคา ศิลปะลานชาง
ตนแบบคือพระธาตุศรีสองรัก เปนทรงบัวแลวเวา



ความคลา ยคลึงของรปู แบบ
สถาปตยกรรมศลิ ปะลา นชาง
ที่มา : กรมศลิ ปากร. ๒๕๖๕.

ออนไลน

ผงั ธาตรุ า งอุปโมงค
ทมี่ า : กลั ญาณี กิจโชติประเสริฐ. ๒๔๔๑ : น.๖๙
ลายตกแตงท่ีผนังดานในและดานนอกไดรับการชำรุด การตกแตงยอดพระธาตุที่มีลักษณะเปนวงกลม
และสี่เหล่ียม สันนิษฐานวาเปนเครื่องถวยจีนมาตกแตงประดับตัวพระธาตุเชนเดียวกับวัดในสมัยอยุธยา ซ่ึง
เครื่องถวยเปนของนำเขาจากตางประเทศเปนส่ิงของที่มีมูลคาสูงมากในอดีต เมื่อชาวบานนำมาถวายวัด ก็จะ
นำมาตกแตงประดับท่ีพระธาตุ สวนดานความหมายในการจัดวางตำแหนงการตกแตงไมแนชัดเน่ืองจากขอมูล
ปรากฎไมมาก แตจุดประสงคที่ชัดเจนคือการประดับใหเกิดความสวยงาม ลายตกแตงเปนการเขียนลายบนปูน
ดวยการเขียนสี การขูดขีดใหเกิดลายแลวลงสีลักษณะแบบเดียวกับวัดลูกเขยในภูพระบาทซ่ึงเปนลายเก่ียวกับ
พระสมั มาสัมพุทธเจา แตวดั พระพุทธบาทบัวบานจะเปนเปนลายพรรณพฤกษา ซ่ึงไมส ามารถสรุปไดวา จะมีลาย
พระพทุ ธเจาหรอื ไมเ พราะภาพหลกั ฐานลบเลือนไปมาก

๑๐

ลวดลายภายในพระธาตุพระพุทธ
บาทบัวบานทเี่ กิดการเลือนหาย
สันนิษฐานวา เปนลายขดู ขีด เพ่ือ
การลงสี
ลวดลายภายในพระธาตพุ ระพุทธบาทบัวบาน

องคพระธาตทุ ส่ี รางครอบทับ
รอยพระพทุ ธบาทบัวบาน
แบบดง้ั เดมิ
ท่มี า : สำนักศิลปากรท่ี ๘
ขอนแกน.ออนไลน

องคพระธาตุที่สรางครอบทับรอยพระพุทธบาทบัวบานแบบด้ังเดิม ถายโดยสำนักศิลปากรท่ี ๘
ขอนแกน จากภาพโครงสรางขององคพระธาตุที่สรางยังคงความสมบูรณ แตปจจุบันจากการลงพื้นท่ีสำรวจ ๒๒
มนี าคม ๒๕๖๕ ปรากฎวา ยอดพระธาตสุ ูญหายแลว และเกิดการทรุดโทรมของตวั อาคาร มีตนไมเกิดบนสวนยอด
องคพระธาตุ รวมถึงลวดลายตกแตงท้ังภายใน ภายนอกเลือนหาย และชุมชนไดนำเต็นทมาวางปดบังสวน
ดานหนาองคพระธาตุเพื่อความสะดวกของญาติโยมในการมาสักการะบูชารอยพระพุทธบาทแตกอ ใหเกดิ การบด
บังทัศนียภาพไมส วยงาม

๑๑

ยอดองคพระธาตุชำรดุ สญู หาย
เต็นทว างปดดานหนา บดบังทัศนยี ภาพ

ปญหาจากการทรดุ โทรมของโบราณสถาน และการจัดทศั นียภาพทไ่ี มสวยงาม

มีตนไมขน้ึ บริเวณยอดองคพระธาตุ ตัวอาคารเกดิ การทรดุ ตามกาลเวลา

ปญหาจากการทรุดโทรมของโบราณสถาน

ลวดลายภายในผนังองคพ ระธาตเุ ลือนราง ลายตกแตงองคพระธาตุชำรดุ หลดุ หาย

ปญหาจากการชำรุดของลวดลายตกแตง องคพระธาตุ

๑๒

พระพุทธรูป ๔ พักตร หินทรายศิลปะทวารวดี
ประดษิ ฐาน ณ ลานปฏบิ ัตธิ รรม หางจากเจดียครอบรอยพระ
บาทศิลปกรรมลานชางประมาณ ๒๐๐ เมตร ลักษณะ
พระพุทธรูป ๔ พักตรเปนปางสมาธิท้ัง ๔ ดาน เกิดการชำรุด
ตามกาลเวลา แทงหินสลักเปนพระพุทธรูป ๔ องคประทับน่ัง
หนั หลงั ชนกัน แตเดมิ อยูใ นพระธาตพุ ระพทุ ธบาทบัวบาน
พระพุทธรูป ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูปสมัย
ทวารวดี แบงออกเปน ๓ ยุค คือ
๑. มีลักษณะของอินเดียแบบคุปตะ
และหลังคุปตะ บางคร้ังก็มีอิทธิพลของอมราวดีอยูดวย
ลักษณะวงพักตรแบบอินเดีย ไมมีรัศมี จีวรเรียบเหมือนจีวร
เปยก พระพุทธรูปน่ังจะขัดสมาธิหลวม ๆ แบบอมราวดี มี
อายใุ นราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒
๒. พัฒ นาขึ้นจากแบบแรก โดยมี
อิทธิพลพ้ืนเมืองผสมมากข้ึน พระขนงตอกันเปนรูปปกกา
พระเกตุมาลาเปนตอมนูนใหญ บางทีมีรัศมีบัวตูมเหนือเกตุ
มาลา และส้ัน พระพักตรแบนกวาง พระเนตรโปน พระหนุ
(คาง) ปาน พระนลาฏ (หนาผาก) แคบ พระนาสิกปานใหญ ภาพเดิมพระพทุ ธรูป ๔ พกั ตร หนิ ทราย
แบน พระโอษฐหนา พระหัตถและพระบาทใหญ ยังคง ศิลปะทวารวดี
ขัดสมาธิหลวม ๆ แบบอมราวดี มีอายุอยูในราวพุทธ
ที่มา : อรุณศักดิ์ ก่งิ มณี. ๒๕๔๓ : น.๖๙

ศตวรรษ ท่ี ๑๓ - ๑๕ ๓. พระพุทธรูปในชวงน้ีไดรับอิทธิพลศิลปะเขมร เน่ืองจากเขมรเร่ิมมีอิทธิพลมากขึ้นใน

สมัยเมืองพระนคร ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ในระยะนี้จึงมีอิทธิพลเขมรแบบบาปวนในประเทศไทยเรียกวา
ศิลปะลพบรุ ีปะปน เชน พระพักตรเปนรปู สี่เหลี่ยม มีลกั ย้มิ น่ังขัดสมาธิราบ เปน ตน นอกจากพระพุทธรูปแลว ยัง
พบสัญลักษณของพระพุทธเจา ซ่ึงแสดงการสืบทอดแนวคิดทางศิลปะอินเดียโบราณกอนหนาท่ีจะทำรูปเคารพ
เปน รูปมนษุ ยภ ายใตอ ทิ ธพิ ลศลิ ปะกรีก (วกิ พิ เิ ดีย สารานกุ รมเสร.ี ๒๕๖๕. ออนไลน)
จากขอมูลจึงสันนิษฐานวาพระพุทธรูป ๔ พักตร อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕ โดยมีอิทธิพล
พ้ืนเมืองผสม พระขนงตอกันเปนรูปปกกา พระเกตุมาลาเปนตอมนูนใหญ พระพักตรแบบกวาง พระเนตรโปน
น่ังจะขัดสมาธิหลวม ๆ หรือขัดสมาธิแบบตัวเอ็กซ (X) หรือแบบอมราวดี นมัสวิน นาคศิริ นักโบราณคดี
ปฏิบัติการอุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท (สัมภาษณ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕) กลาววาพระพุทธรูปแบบน้ีพบ
มากในแถบริมน้ำโขง อีสานตอนบนซ่ึงพบเยอะ ท่ีภพู ระบาทจะมีที่วัดพอตาซง่ึ เปนลักษณะพระประเภทเดียวกัน
และมีพระทจี่ ัดแสดงในพิพิธภัณฑ ลักษณะเดิมสนั นิษฐานวาเปนพระหินทรายลงรกั สดี ำและปดทองจากรองรอย
การปดทองที่หลงเหลือบนตัวพระ สเี ขียวนาจะเปนสีที่นำมาทาใหม รูปแบบศิลปะทวารวดจี ากทาน่ัง เคร่อื งทรง
รปู ทส่ี ันนษิ ฐานวารับอิทธิพลมาจากเขมรและทวารวดี

๑๓

๑๔

ชาวบานเรียกพระพุทธรูป ๔ พักตร หิน พระพทุ ธรปู ๔ พักตร หินทรายศิลปะทวารวดี
ทรายศิลปะทวารวดี วา พระสามชั้น อดีตมีคนมา พระเจาหงสาวดีบเุ รงนองไดเ ขามาตง้ั ชุมชนที่น่ี จงึ มี
สกัดตัวองคพระเพื่อไปสรางวัตถุมงคล ทำผงพระ ศิลปกรรมลานชางมากมาย เชน มณฑปครอบรอย
เครื่อง จึงทำใหเห็นช้ันพระคือ ช้ันหินทราย ชั้นลง พระพุทธบาท พระพุทธรูปไม และคงจะรางไป จน
รักสีดำ และช้ันสีเขียวสนิม จึงเรียกพระสามช้ัน เม่ือเกิดศึกฮอ พวกลาวพวนจึงไดอพยพมาตั้งชุมชน
ปจจุบันยายมาประดิษฐานที่ลานปฏิบัติธรรมและ ใหม ปจจุบันพบกลุมเสมาหินทราย จำหลักภาพ
หามสกัดองคพระเพื่อไปทำวัตถุมงคลโดยเด็ดขาด บุคคลในลักษณะตางๆ ปกเปน ๘ ทศิ ปกซอนกนั ๒
ชาวบานนิยมมาสักการะบูชาเพราะมีความเชื่อวา หลัก บางหลักถูกทำใหลม หลายหลักถูกดินทับถม
ไดโชคลาภเม่อื มาขอพร มีจำนวนทั้งหมด ๓๑ หลัก ไดรับการบูรณะโดย
สรางหลังคาครอบเพื่อลดปญหาการเส่ือมโทรมของ
แ ล ะ เมื่ อ เดิ น ต อ จ า ก ล า น ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม โบราณสถานตามกาลเวลา
ประมาณ ๓๐๐ เมตร จะเปนกลุมใบเสมาหิน
ศิลปะทวราวดี-ลพบุรี พุทธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๖ เปน อรุณศักดิ์ กิ่งมณี (๒๔๔๑ : น.๒๖-๒๙)
โบราณสถานท่ีข้ึนทะเบียนใหเปนโบราณสถานของ กลาวถึง ใบเสมากลุมพระพุทธบาทบัวบานสัมพันธก ับ
ชาติตามราชกจิ จานุเบกษา หนา ๕ เลม ๑๒๒ ตอน ขอมูลการสัมภาษณนมัสวิน นาคศิริ นักโบราณคดี
พิเศษ ๙๘ง ลงวันท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๔๘ กลุมใบ ปฏบิ ตั กิ ารอุทยานประวตั ศิ าสตรภ ูพระบาท (สมั ภาษณ
เสมาบวชพระปูต้ังอยูบนภูพาน บานไผลอม ตำบล ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕) กลุมใบเสมาในวัดพระพุทธ
เมืองพาน อำเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี จาก บาทบัวบาน มีช่ือเรียกวา “บวชพระปู” ตั้งอยู
การศึกษากลุมเสมา และการจำหลักภาพขนาดของ ทางดานทิศใตของอุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท
เสมา จำนวนเสมา นาจะเปนชุมชนขนาดใหญ มี บนเทือกเขาภูพาน ในเขตปาสงวนแหงชาติ (ปาเขือ
ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ จึ ง ส า ม า ร ถ ส ร า ง ศิ ล ป ก ร ร ม น้ำ) หางออกมาประมาณ ๘ กิโลเมตรประกอบดวย
ประติมากรรมหินทรายขนาดใหญที่มีความงดงามได วฒั นาเสมา ๒ กลุม คอื
สภาพชุมชนคงจะไดร างไป ตอมาชมุ ชนลาวลานชา ง
ในสมัยท่ีสมเด็จพระเจาไชยเชษฐาธิราชหนีศึกพมา กลุมที่ ๑ ต้ังอยูดานทิศตะวันออกใกลกับ
หนาผา โดยมีเพิงหินขนาดใหญที่ต้ังอยูริมหนาผา
เปนศูนยกลาง ท่ีเพิงหินมีหลักฐานทางศิลปกรรมที่

๑๕

สำคัญ คือ ภาพเขียนสีสมัยกอนประวัติศาสตร อายุ
๓,๐๐๐ ป อยูทางดานทิศตะวันออกของเพิงหิน
เปนลายเรขาคณิตในแนวต้ังและแนวนอนลักษณะ
รูปสามเหล่ียม สีที่ใชเปนสีแดง พบหลักหินที่มีการ
ตกแตงเปนรูปทรงลูกบาศก และเปนรูปใบเสมา
ขนาดตางๆ บางใบมีการสลกั เปนเสน นูนอยกู ลางใบ
ปกเรียงเปนกลุมท่ีไมมีทิศทางหรือขอบเขตท่ีชัดเจน
คลายกับจะลอมรอบเพิงหิน พบทั้งสิ้น ๑๒ ใบ
สันนิษฐานวามีความสัมพันธและเก่ียวของกับหลัก
หินท่ีปกลอมรอบเพิงหินที่พบอยูภายในบริเวณ ภาพเขยี นสีสมยั กอนประวตั ศิ าสตร อายุ ๓,๐๐๐ ป

อุทยานประวตั ศิ าสตรภพู ระบาท
กลุมท่ี ๒ อยูถัดจากกลุมที่ ๑ ประมาณ ๑๕ เมตร พบกลุมเสมาท่ีปกเพื่อแสดงขอบเขตของพ้ืนท่ีรูป
สี่เหลี่ยมผืนผา ตามทิศทั้ง ๘ ทิศ โดยปกทิศละ ๓ ใบ รวม ๒๔ ใบ ลักษณะเสมารูปทรงเปนแผนแบน (Slab
Type) ดานบนเปนทรงโคงแบบกลีบบัวสวนเอวคอดและบานออกเล็กนอย เรียกวาใบเสมาโดยมีสวนฐานถัดลง
ไปดานลางแกนเดือยหิน ใชสำหรับปกลงบนพื้นดิน และท่ีสำคัญ คือ ใบเสมากลุมน้ีมีการสลักลวดลายและ
ประติมากรรมเลาเรื่องในพุทธศาสนา ไดแก ประติมากรรมรูปบุคคลชาดกและพุทธประวัติตอนตางๆ เสมา
ทั้งหมด ๒๔ ใบ ปกซอนกัน ๓ ช้ัน โดยมี ๓ ขนาดตามแตช้ัน ชั้นนอกสุดมีขนาดต่ำท่ีสุดความสูงเฉล่ีย ๑.๒๕
เมตร ช้ันกลางความสูงเฉลี่ย ๑.๗๐ เมตร และสวนชัน้ ในสดุ มคี วามสงู สดุ เฉลยี่ ๒.๓๐ เมตร

ลกั ษณะการจดั วางกลมุ เสม “บวชพระป”ู ท่ีวดั พระพุทธบาทบวั บาน
ทมี่ า : อรุณศักด์ิ กง่ิ มณี. ๒๔๔๑ : น.๒๙
๑๖

๑๗

กลมุ ใบเสมาหนิ ศิลปทวารวดี-ลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖
คตีเกี่ยวกับการสรางใบเสมาหินขนาดใหญเพื่อใชเปนสิ่งที่เคารพบูชาหรือทำหนาท่ีแสดงขอบเขตอัน
ศักด์ิสิทธิ์ ถือเปนเอกลักษณพิเศษที่พบในดินแดนแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรืออีสาน นักวิชาการบางทาน
เชื่อวา อาจสืบคติมาจากการปกหิน (Megaliths) ซึ่งเปนสังคมสมัยกอนประวัติศาสตรที่เช่ือเกี่ยวกับการนับถือผี
บรรพบุรุษ และตอมาไดมีการผสมผสานกับความเชื่อทางศาสนาท่ีเปนอิทธิพลของชุมชนภายนอกท่ีเรียกวาสมัย
ทวารวดี หนา ทใี่ บเสมามจี ุดประสงค ๓ อยางคือ
๑) เพื่อเปนการแสดงเขตศักด์ิสิทธ์ิทางศาสนา เชน การปกลอมรอบอุโบสถซ่ึงเปนที่ทำสังฆกรรมของ
ภกิ ษุสงฆ หรือปก ลอมสถปู เจดยี ทเ่ี คารพบูชา
๒) เปนการสรางข้ึนเพ่ือการกุศลแลวนำไปปกไวในเขตศักด์ิสิทธ์ิ ดวยเหตุนี้จึงพบใบเสมาจำนวนมาก
ปก เรียงอยูใ นบริเวณเดียวกัน โดยการที่พบใบเสมาสลกั ภาพสถปู เจดีย ภาพสลกั พุทธประวัติหรือชาดกกเ็ ปนการ
สรางข้ึนเพ่ืออทุ ิศใหก ับศาสนา เชนเดยี วกับการสรา งเจดีย หรอื ภาพพระบฏ เพอ่ื อุทิศใหกบั ศาสนาในสมัยหลังลง
มา
๓) เสมาบางหลัก ท่ีมีขนาดใหญเกินกวาเปนหลักเขต อาจเปนสิ่งศักดิ์สิทธ์ิที่สมบูรณในตัวเอง โดยทำ
หนา ท่เี ชนเดยี วกับพระสถูปเจดยี หรือพระพุทธรปู เพ่ือใหคนกราบไหวบ ชู า
ลกั ษณะการปก เสมามอี ยู ๓ แบบดวยกัน คือ
๑) ปกเปนกลมุ กระจายอยูท ง้ั บรเิ วณตามเนนิ ดินหรอื เขตใดเขตหนง่ึ โดยไมม ีทิศทางทแี่ นนอน
๒) ปก ประจำอยูต ามทศิ โดยรอบเนนิ ดนิ หรอื ส่ิงกอสรางทางศาสนาเพ่อื กำหนดใหเ ปน เขตศักด์สิ ทิ ธ์ิ
๓) ปกอยโู ดดๆ เพ่อื แสดงเขต หรือตำแหนงของบริเวณศกั ดิ์สิทธิ์

๑๘

ลกั ษณะและรูปแบบใบเสมาหนิ แบงออกเปน ๓ แบบ แบบที่ ๑ เปนแบบแทงหินธรรมชาติ ไมมีการถาก
หรือตกแตงใหเปนรูปทรงท่ีแนนอน แบบท่ี ๒ เปนแบบแผนหินแบนๆ รูปทรงส่ีเหลี่ยมผืนผาซึ่งเกิดจากการถาก
และตกแตงหินใหเปนรูปทรงทแี่ นนอน และแบบท่ี ๓ เปนแทง หินลักษณะคลายเสาหิน โดยเกิดจากการถากและ
ตกแตงหินใหเปนแทง หรือเหลี่ยม เชน ส่ีเหลี่ยม หกเหล่ียม โดยสวนปลายจะสอบเขาหากัน เปนยอดแหลม ใน
แบบท่ี ๒ และ ๓ มีการตกแตง ลวดลายแกะสลกั ไวด ว ย แบงได ๓ ประเภท คอื

๑) แกะเปน ลายกา นขด ลายกอนเมฆ หรือลายพรรณพฤกษา
๒) แกะเปน สนั นนู อยูกลางเสมาคลา ยสถูปเจดีย หรือบางแผน สลักคลา ยรูปหมอน้ำ ท่ีมีลายพรรณ
พฤกษาประกอบ (หมอปูรณฆฏะ) โดยมสี ว นยอด (ของลาย) เปนกรวยเรยี วแหลมขึน้ ไป
๓) แกะสลักเปน ภาพเลาเรอื่ ง ที่มีภาพบคุ คลประกอบ ซ่งึ มักเกย่ี วของกบั พทุ ธประวัติและชาดก

๗. แนวทางการอนุรกั ษศ ิลปกรรม

จากการชำรุดของโบราณสถาน ไดทำการติดตอประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของเบื้องตนเพ่ือทำการ
บูรณะดงั น้ี

๑. แจงกับสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุดรธานี เพ่ือติดตอกับสำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแกน และ
หัวหนา อุทยานประวัติศาสตรภ ูพระบาทท่ีมคี วามชำนาญในการบูรณะโบราณสถาน เพ่ือดำเนินการตอไป

๒. ประสานงานกับ นายวิมล สุระเสน นายอำเภอบานผือ เพ่ือปรับปรุงภูมิทัศนโดยรอบขององค
พระธาตใุ หสวยงาม

นายวมิ ล สรุ ะเสน นายอำเภอบา นผอื สำรวจพื้นที่วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕

นายวมิ ล สุระเสน นายอำเภอบานผอื ปรบั ภมู ิทัศนโ ดยรอบ วนั ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๑๙

๓. จัดทำแผนที่การนำชมบริเวณโดยรอบวัด องคพระธาตุรอยพระพุทธบาท ลานปฏิบัติธรรม ที่
จัดวางพระพุทธรูป ๔ พกั ตรหินทรายศิลปะทวารวดี และกลุมใบเสมาหิน เพื่ออำนวยความสะดวกแกผูไปปฏิบัติ
ธรรมและนักทองเทย่ี ว โดยไดสัมภาษณขอมูลเพื่อรับรองความถกู ตอ งกับทางวดั พระพุทธบาทบวั บาน เจาอาวาส
พระ กำนัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน ชาวบานในพื้นท่ี และขอมูลทางโบราณสถาน โบราณวัตถุรวมกับ
นักโบราณคดปี ฏิบตั กิ ารอุทยานประวตั ิศาสตรภ พู ระบาท

สอบถามขอ มลู ประวัตคิ วามเปน มา ณ วดั พระพทุ ธบาทบัวบาน

สอบถามขอ มูลโบราณสถาน ณ อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท
๔. แนวทางการอนุรักษทางโบราณคดขี องอุทยานประวัตศิ าสตรภูพระบาท ในการอนุรักษโบราณสถาน
พระพุทธบาทบัวบาน เบื้องตนคือการเขาไปดูและตรวจสอบ เชนภาพฝาผนังดานนอกตองทำการเก็บรวบรวม
เศษท่ีหลุดจากผนังกอนที่จะสูญหาย เพื่อมาประกอบและติดที่ตัวพระธาตุเดิมตามหลักโบราณสถานของกรม
ศิลปากร หรือการสงเจาหนาทไ่ี ปดูแล ทำความสะอาดแตเน่อื งจากเปนพืน้ ทว่ี ดั ไมไ ดอยูในความดแู ลโดยตรงของ
อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาทจึงทำไดเพียงการดูแลเบ้ืองตน แตจากสภาพที่ทรุดโทรมตองดำเนินการเรง ดวน
เพ่อื เขา ไปบูรณะตัวอาคารตอไป โดยประสานรว มกบั กรมศลิ ปากร

๒๐

๘. ประเพณพี ระพทุ ธบาทบัวบาน

นายไพสาน ไชยสิน ผูใหญบานหมูท่ี ๑๐ ตำบลเมืองพาน (สัมภาษณ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๕) กลาวถึง
ประเพณีประจำปของวัดพระพุทธบาทบัวบานวา มีประเพณีปดทองรอยพระพุทธบาทบัวบาน หมผาองคพระ
ธาตุ

บญุ เดอื น ๓ (วนั เพญ็ เดือน ๓ กุมภาพนั ธ วนั มาฆบูชา) บุญขา วจเ่ี ปนประเพณขี องตำบลเมืองพาน
บุญเดือน ๖ ชาวบานจะมาบูชารอยพระพุทธบาทกอนลงนา เชนเดียวกับรอยจารึกของวัดถ้ำสุวรรณ
คหู า จังหวัดหนองบวั ลำภู และวัดศรชี มภูองคตื้อ จงั หวดั หนองคาย ซึ่งเปนประเพณีที่มมี า ๑๑๔ ปอ ยา งตอเนื่อง
นายอำเภอ คณะผนู ำ ผใู หญบาน กำนัน ผูชว ยจะนำชาวบานมาบวชชีพราหมณในวนั งาน
ซ่ึงประเพณีจัดเปนประจำทุกป ชวงสถานการณโรคระบาดโควิด-๑๙ ไดงดจัดไป แตก็มีญาติโยมมา
ทำบุญกันอยูประจำ ทางวัดยังคงมารักษาประเพณีน้ีไวอยู ชาวบานใหความรวมมือดีถาทางวัดตองการให
ชวยเหลือ

หมผา องคพ ระธาตพุ ระพุทธบาทบัวบาน
ท่มี า : รุง นภา ยศพน. ๒๕๖๔

ประเพณีวันสงกรานต จะมีสรงน้ำรอยพระพุทธบาทที่เดียว แตไมใหสรงท่ีตัวพระธาตุ โดยทางวัดจะ
เตรยี มน้ำอบนำ้ หอมไวใ หแ กญาติโยมในการสักการะบชู า

๒๑

หลวงพอสิริ รตั นคุณ เจาคณะตำบลเขต ๓ เจา อาวาสวัดพระพุทธบาทบัวบาน (สัมภาษณ ๑๕ มถิ ุนายน
๒๕๖๕) กลาววา ทางวัดตองการใหวัดพระพุทธบาทบัวบานเปนศนู ยป ฏิบัติธรรม เปนท่ีพ่ึงของญาตโิ ยมท่ีมีความ
ทุกขใจ เขามาใหจิตใจเกิดความสงบ ความสุข ลักษณะโดยรอบทางวัดจะคงธรรมชาตไิ วการกอ สรา งตางๆ จะไม
ทำลายธรรมชาติ ใหเกิดความกลมเกลียวกับธรรมชาติใหมากที่สุด อดีตมีคนปฏิบัติธรรมถือศีล ๑๐๐ กวาคน
ปจจุบันก็ลดลงดวยสถานการณโควิด-๑๙ ทางวัดก็สรางศาลาปฏิบัติธรรม ลานปฏิบัติธรรม สุขา ๔๐ หอง
รองรบั ผูมาปฏบิ ตั ิธรรม

๒๒

๙. เทคนคิ การถา ยภาพโบราณสถานเพ่อื สง เสริมการทอ งเท่ียว

ชว งสถานการณโรคระบาดโควิด-๑๙ สงผลใหการทองเที่ยวภายในประเทศซบเซาอยางมาก ดังนั้นในป
๒๕๖๕ ที่สถานการณเร่ิมคล่ีคลายดวยประชาชนรับการฉีดวัคซีนแลว ภาพถายสถานที่ทองเท่ียวจึงเขามามี
บทบาทอยางชดั เจนในสือ่ ออนไลนต างๆ ท้งั LINE, Facebook, Tictok, Youtube

เทคนิคในการจัดวางองคประกอบการถายรูปดวยเทคนิค จุดตัด ๙ ชอง เปนเทคนิคงายๆ ท่ีสามารถใช
ถายภาพสถานท่ีทองเท่ียวตางๆ ผานกลองถายรูปในมือถือ สำหรับจุดตัด ๙ ชอง น้ันมาจากการแบงเสน ๓x๓
ตามหลกั กฏสามสว น (Rule of Third) โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้ (Banana. ๒๕๖๒. ออนไลน)

วธิ ที ่ี ๑ วธิ ีการเปดเสน จุดตัด ๙ ชอง ในมอื ถือ ใหทำการกด Setting เพ่ือเปดโหมด Grid

วธิ ีการเปด เสน จุดตดั ๙ ชอง ในมอื ถือ
ทมี่ า : Banana. ๒๕๖๒. ออนไลน

วิธีที่ ๒ ถายภาพใหอยูในจุดตัดเสนเดียวกัน เทคนิคแรกเปนการถายภาพใหสิ่งที่เราตองการใหเปน
จดุ เดน ใหอยูตรงจุดตัดเสนเดียวซึง่ การเปด ตารางจุดตัดขึ้นมาจะชวยใหเ ราจัดภาพไดงา ยมากข้ึน ภาพที่ไดจะดไู ม
แข็งทื่อจนเกินไป เพราะมีการเทน้ำหนักภาพ และมีการเวนที่วาง ทำใหไดภาพท่ีไมนิ่งจนเกินไป ชวยดึงความ
สนใจได

ถายภาพใหอ ยูใ นจุดตัดเสน เดยี วกนั
๒๓

วธิ ที ่ี ๓ ถา ยภาพตามเสน แนวนอน วธิ ีทส่ี อง เปนการถา ยภาพใหด ูนง่ิ ม่นั คง โดยการถา ยภาพ ใหอยตู าม
เสนแนวนอนของตาราง อาจจะไมตองจับภาพใหอยูในเสน พอดีเปะ แตขอใหอยใู นบรเิ วณน้ันก็พอ ภาพท่ไี ดจ ะให
ความสมสว นของภาพทแี่ บงเปน ๓ สวนเทา ๆ กัน ซ่งึ การถายแบบน้เี หมาะสำหรบั การถายววิ ธรรมชาติ หรือการ
ถายภาพมุมกวางท่ีมีการแบง พื้นทภ่ี าพชดั เจน การถา ยแบบนจ้ี ะชว ยใหกระจายความนาสนใจในภาพไดเ ทาๆ กัน
ไมม ีอะไรที่เดนกวา

ถายภาพตามเสน แนวนอน
วธิ ีที่ ๔ ถายภาพตามเสน แนวต้ัง เปนการถายสงิ่ ของโดยการจัดภาพใหอยูในแนวตั้ง โดยเวนชอ งวางตรง
กลางไว วางสิ่งของท่ีจะถายอยูฝงซายและขวาของรูป ภาพท่ีไดจะทำใหไดภาพท่ีดึงความสนใจไปท่ีฝงซายและ
ขวาของรูปเทาๆ กัน ไมใหภาพหนักไปทางซายหรือทางขวาเกินไป เหมาะสำหรับถายส่ิงของ วิวธรรมชาติ หรือ
การถา ยภาพทอ่ี ยากใหสงิ่ ของทไี่ มเ หมือนกัน แตเ ดนเหมอื น ๆ กนั กไ็ ด

ถายภาพตามเสน แนวตงั้
๒๔

เอกสารอางองิ

กรมศิลปากร. (๒๕๖๕). วฒั นธรรมลา นชางทีป่ รากฏบนภพู ระบาท. ออนไลน สืบคนเมือ่ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๕.
https://www.finearts.go.th/main/view/๓๒๖๕๓

กัลญาณี กิจโชตปิ ระเสริฐ. (๒๔๔๑). รอยพระพทุ ธบาทกลุมเมืองพาน. ใบเสมากลมุ พระพุทธบาท อำเภอบาน
ผือ จงั หวดั อดุ รธาน.ี หา งหนุ สว นจำกดั สารรังสรรค.

สำนกั ศิลปากรท่ี ๘ ขอนแกน . (๒๕๖๕). พระพุทธบาทบัวบาน วดั พระพุทธบาทบัวบาน บานไผลอม ตำบล
เมอื งพาน อำเภอบา นผือ จังหวดั อุดรธานี. ออนไลน สืบคนเมอ่ื ๑๐ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๕. https://www.
finearts.go.th/fad๘/view/๑๔๐๔๒-

ชนานา จอหส นั . (มปป.). พระพุทธบาทบัวบาน บา นไผลอม อ.บา นผอื อุดรธานี. เอกสารแนะนำวัดพระพุทธ
บาทบวั บาน.

ไพสาน ไชยสนิ . (๒๕๖๕). ประเพณี และแนวทางการอนุรักษณว ดั พระพุทธบาทบวั บาน. สัมภาษณ.
นมัสวิน นาคศิร.ิ (๒๕๖๕). ความเปน มาทางโบราณคดี และรปู แบบโบราณสถานวดั พระพทุ ธบาทบัวบาน.

สมั ภาษณ
รงุ นภา ยศพน. (๒๕๖๔). ประเพณหี ม ผาพระธาตพุ ระพทุ ธบาทบวั บาน. ภาพถาย.
วกิ พิ เิ ดยี สารานกุ รมเสร.ี (๒๕๖๕). ศิลปะทวารวดี. ออนไลน สบื คน เมือ่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๕. https://th.

wikipedia.org/wiki/%E๐%B๘%A๘%E๐%B๘%B๔%E๐%B๘%A๕%E๐%B๘%๙B%E๐%B๘%B
สำนกั การทองเท่ียวและกีฬาจังหวดั อดุ รธาน.ี (๒๕๖๑). พระพุทธบาทบัวบก. ออนไลน ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑.

https://udonthani.mots.go.th/news_view.php?nid=๔๔๔
สำนกั งานโบราณคดีและพพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติท่ี ๗ ขอนแกน . (๒๕๔๒). ทำเนยี บโบราณสถานอสี านบน.

เอกสารอัดสำเนา.
สุวิทย ชัยมงคล, อรุณศักดิ์ กิ่งมณี และกัลญาณี กิจโชติประเสริฐ. (๒๔๔๑). ใบเสมากลุมพระพุทธบาท อำเภอ

บานผอื จงั หวัดอดุ รธานี. หางหนุ สว นจำกดั สารรงั สรรค.
เสกสรรค หอมเพชร. (๒๕๖๕). แฟนพนั ธุแทนทิ านอุสาบารส. ออนไลน ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๕. https://www.

dek-d.com/quiz/supertest/21560/
หนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรมทองถนิ่ จงั หวดั อดุ รธานี. (๒๕๔๓). มรดกสิง่ แวดลอมและศิลปกรรมทองถ่ิน

จงั หวัดอุดรธานี. กรงุ เทพ : สวุ ีรยิ าสาสสน จัดพิมพ.
หลวงพอ สริ ิ รตั นคุณ. (๒๕๖๕). ประวัตคิ วามเปนมาวดั พระพุทธบาทบวั บาน. สัมภาษณ.
อรุณศักด์ิ กิ่งมณี. (๒๔๔๑). การศกึ ษาดา นประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะของใบเสมากลุมพระพุทธบาท. ใบเสมากลุม

พระพุทธบาท อำเภอบา นผือ จังหวดั อดุ รธานี. หา งหุนสว นจำกัดสารรงั สรรค.
อรุณศักด์ิ ก่ิงมณี. (๒๕๔๓). ภมู ินาม ความเปน มาและความหมายของช่ือบา นในเขตอำเภอบานผือ อดุ รธาน.ี

วนิ จิ การพมิ พ อำเภอบา นผือ จงั หวัดอดุ รธาน.ี
อทุ ยานประวตั ศิ าสตร ภูพระบาท อดุ รธานี (๒๕๖๕). เจดียราง (อูปโมงค). ออนไลน ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๕.

https://finearts.go.th/phuphrabathistoricalpark/view/๑๐๕๒๐
Banana. (๒๕๖๒). เทคนคิ ถายรูปสวยดว ยมือถือ ทรคิ งาย ๆ ดวย จุดตัด ๙ ชอ ง. ออนไลน สบื คน เม่ือ ๑๔

มถิ นุ ายน ๒๕๖๕. https://instore.bnn.in.th/tip_photograph/
๒๕

โครงการพฒั นาแหลงเรยี นรู

เพอ่ื การอนรุ ักษส ่ิงแวดลอมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ งถ่ินที่ย้ังยนื อำเภอบานผือ จังหวัดอดุ รธานี

พัฒนาแหลงเรียนรูแหลงศิลปกรรมรอยพระพุทธบาทบัวบานเพ่อื การอนรุ ักษ
สงิ่ แวดลอ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม จงั หวัดอดุ รธานี

“กจิ กรรม WORKSHOP ถายภาพพระพทุ ธบาทบัวบานในมมุ มองเยาวชนบา นผือ”

วนั ท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ วัดพระพุทธบาทบัวบาน ตำบลเมืองพาน อำเภอบานผอื จังหวดั อดุ รธานี

ขอ มูลผูตอบแบบประเมินโครงการ หญงิ รอยละ ๕๐
๑) เพศ ชาย รอยละ ๕๐ รอ ยละ ๑๐๐
๒) อายุ ต่ำกวา ๑๕ ป รอยละ ๑๐๐
ประเภท นักเรียน / นกั ศึกษา

๒๖

ตารางที่ ๑ การประเมนิ ดา นความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรม (N=๓๐) S.D. ระดบั ความคดิ เห็น
ขอ ประเด็น
๑. วิทยากรไดอธบิ ายเนอ้ื หาไดชัดเจนและเขา ใจไดงาย ๔.๗๓ ๐.๕๑ มากทส่ี ุด
๒. วทิ ยากรสามารถใหข อมูล หรอื ตอบขอ ซกั ถามไดเปน อยางดี ๔.๗๐ ๐.๕๓ มากทสี่ ุด
๓. รปู แบบ/หัวขอ ในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสมนา สนใจ ๔.๘๗ ๐.๔๓ มากที่สุด
๔. ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม ๔.๔๗ ๐.๗๖ มาก
๕. การประชาสัมพนั ธก ารจัดกิจกรรม ๔.๓๗ ๐.๕๕ มาก
๖. สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม ๔.๘๗ ๐.๔๓ มากทสี่ ุด
๗. โครงการ/กจิ กรรม เปนประโยชนและตรงกบั ความตอ งการ ๔.๗๐ ๐.๔๖ มากทส่ี ุด
๘. สามารถนำความรู จากการเขารว มโครงการ/กจิ กรรมไปใช
ประโยชนข ยายผลเผยแพรสูผูอ น่ื ได ๔.๙๓ ๐.๒๕ มากทีส่ ุด

๙. สามารถนำความรู จากการเขารว มโครงการ/กิจกรรมไปใช ๔.๙๗ ๐.๑๘ มากท่ีสดุ
ประโยชนใ นการดำเนินชวี ิตประจำวนั ได
๑๐. ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมครง้ั นี้ ๔.๗๓ ๐.๕๗ มากที่สดุ
รวม ๔.๗๓ ๐.๓๗ มากทสี่ ุด

จากตารางท่ี ๑ ผูตอบแบบสอบถาม ๓๐ คน ประเมินความพึงพอใจภาพรวมของการจัดกิจกรรม
ระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย ๔.๗๓) โดยไดผลมากที่สุดเรียงลำดับความพึงพอใจ จำนวน ๘ ขอ คือ สามารถนำ
ความรู จากการเขารวมโครงการ/กิจกรรมไปใชประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันได (คาเฉล่ีย ๔.๙๗)
สามารถนำความรู จากการเขารวมโครงการ/กิจกรรมไปใชประโยชนขยายผลเผยแพรสูผูอื่นได (คาเฉล่ีย ๔.๙๓)
รูปแบบ/หัวขอ ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมนาสนใจ และสถานท่ีจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึง
พอใจเทากันที่ (คาเฉลี่ย ๔.๘๗) วิทยากรไดอธิบายเนื้อหาไดชัดเจนและเขาใจไดงาย และภาพรวมความพึง
พอใจในการจัดกิจกรรมครั้งน้ี มีความพึงพอใจเทากันที่ (คาเฉล่ีย ๔.๗๓) วิทยากรสามารถใหขอมูล หรือตอบ
ขอซักถามไดเปนอยางดี และโครงการ/กิจกรรม เปนประโยชนและตรงกับความตองการ มีความพึงพอใจเทากัน
ท่ี (คาเฉลีย่ ๔.๗๐)

พิธีเปด โครงการ
กลา วรายงานโดย อาจารยร ะพีพรรณ จันทรสา หัวหนาหนวยอนุรักษสงิ่ แวดลอมฯ

๒๗

กลาวเปด งาน
โดย นายประจวบศักด์ิ อารมณ ปลดั อำเภอหวั หนากลุมงานบริหารงานปกครอง ที่ทำการปกครองอำเภอบานผือ

(ตัวแทนนายอำเภอบา นผือ)

นายประจวบศักดิ์ อารมณ ปลดั อำเภอหัวหนากลุมงานบริหารงานปกครอง ท่ีทำการปกครองอำเภอบานผือ
มอบของทรี่ ะลกึ แกหนว ยงานราชการตางๆ ท่ีเกี่ยวของ
๒๘

หลวงพอสริ ิ รตั นคุณ นำสวดมนตไ หวพระ และขอขมาตอพระธาตุ พระพทุ ธบาทบวั บาน

โครงการกจิ กรรม WORKSHOP ถายภาพพระพทุ ธบาทบวั บานในมมุ มองเยาวชนบานผือ

บรรยากาศการถายทอดองคความรโู บราณสถานพระพุทธบาทบัวบาน

นายนมัสวิน นาคศิริ นักโบราณคดีปฏิบัติการอุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท ใหความรูเก่ียวกับประวัติ
ความเปน มา ลักษณะพระพทุ ธบาทบัวบาน พระพทุ ธรปู ๔ พกั ตร และกลุมใบเสมาบวชพระปู

บรรยากาศการถา ยทอดองคความรูโบราณสถานพระพุทธบาทบัวบาน

บรรยากาศการถา ยภาพ

อาจารยมารญิ า ทรงปญญา อาจารยสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี ใหค วามรูเก่ียวกับการถา ยภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ จากโทรศัพทม ือถือ เพื่อ
สง เสรมิ การทองเทย่ี วจงั หวดั อุดรธานี

๒๙

ฐานท่ี ๑ บริเวณพระพุทธบาทบวั บาน
ฐานท่ี ๒ ลานปฏบิ ัตธิ รรม พระพุทธรปู ๔ พกั ตร

ฐานที่ ๓ ลานใบเสมาบวชพระปู
๓๐

บรรยากาศการประกวดภาพถาย ดวยการลงคะแนนใหภาพทสี่ วยงามแปลกใหม ถูกใจท่สี ุด
๓๑

๓๒

พิธมี อบรางวัลการประกวดถายภาพ

มอบรางวัลการประกวดภาพถาย โดย อาจารยระพีพรรณ จันทรสา หัวหนาหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอม
ธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทองถ่นิ จงั หวดั อดุ รธานี

รางวัลท่ี ๑ ด.ญ.นัดชา มอลสิทธ์ิ รางวลั ท่ี ๒ ด.ช.ศิรศิ กั ดิ์ สงั แกว

รางวัลท่ี ๓ ด.ช.ชนทั ธา วันตาแสง และ ด.ญ.วีราพร ชมุ พล
รางวัลชมเชย ๔ รางวลั

ด.ช.ชนทั ธา วันตาแสง , ด.ช.ศริ ิศกั ดิ์ สงั แกว , ด.ช.วสนุ ันท ธรรมเลิศ และด.ญ.วรรณภา แกว มงคล
(ลำดับจากซายไปขวา)

๓๓

เอกสาร พัฒนาแหลง เรยี นรูศลิ ปกรรมรอยพระพุทธบาทบัวบานเพ่ือการอนุรักษส่งิ แวดลอ มธรรมชาติ
จัดพมิ พโดย และศลิ ปกรรมจังหวดั อดุ รธานี : วดั พระพทุ ธบาทบัวบาน
ปทพี่ มิ พ สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี
๒๕๖๕ พิมพค รัง้ ที่ ๒ จำนวน ๕๐ เลม

คณะผจู ัดทำ ผูอ ำนวยการสำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม
รองผูอำนวยการสำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม
ฝา ยบรหิ าร รองผูอำนวยการสำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม
อาจารยระพพี รรณ จนั ทรสา ผชู ว ย ผอู ำนวยการสำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม
ผศ.ดร.ณัฏฐานชุ เมฆรา ผูช ว ย ผูอ ำนวยการสำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม
ผศ.ดร.กนิษฐา เรอื งวรรณศักด์ิ
อาจารยชตุ ิพงศ คงสันเทียะ
อาจารยจรุ ีรัตน โยธะคง

งานบริหารงานทั่วไป ผูอำนวยการสำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม
มลฤดี เศษณะเวช เจา หนาท่บี ริหารงานทว่ั ไปชำนาญการ
มารสิ า เจริญษา เจา หนา ทีบ่ ริหารงานทว่ั ไปชำนาญการ
พรสวรรค แสงเลศิ เจา หนาท่ีธุรการ
เจษฎาภรณ ธรรมดาลพ

หัวหนา หนวยอนรุ กั ษสิง่ แวดลอ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ งถนิ่ จังหวดั อุดรธานี
อาจารยระพพี รรณ จันทรสา

เลขานกุ ารหนวยอนุรักษสง่ิ แวดลอ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมจังหวดั อดุ รธานี
เจษฎาภรณ ธรรมดาลพ

ผูเขียนและเรยี บเรียงเอกสาร
ผศ.ดร.กนษิ ฐา เรืองวรรณศักดิ์
อาจารยจุรรี ัตน โยธะคง

สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

๖๔ ถ.ทหาร อ.เมือง จ.อดุ รธานี ๔๑๐๐๐

หมายเลขโทรศัพท ๐๔๒-๒๑๑๐๔๐-๕๙ ตอ ๑๑๑๕
https://culture.udru.ac.th/

๓๔

๓๕


Click to View FlipBook Version