The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ด้านผลิตบัณฑิต
เทคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดด้านศิลปกรรมศาสตร์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ปีการศึุกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jometokri, 2021-09-14 21:32:59

เทคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดด้านศิลปกรรมศาสตร์

คู่มือการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ด้านผลิตบัณฑิต
เทคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดด้านศิลปกรรมศาสตร์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ปีการศึุกษา 2563

Keywords: เทคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดด้านศิลปกรรมศาสตร์

1

คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้เตรียมความพร้อมด้านการจัดการความรู้ (KM) นำมาใช้เป็น
เครื่องมือช่วยให้สามารถทำงานได้มากขึ้นและดีขึ้น เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการผลิตบัณฑิต
ระดับอุดมศึกษา และความเหมาะสมกับการพลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเรว็ เป็นเกณฑ์
มาตรฐานของหลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 ทำใหค้ ณะมีทิศทางการบริหารจดั การหลักสูตรท่ี
มลี ักษณะแตกต่างตามจุดเน้นของสาขาวชิ าการและวชิ าชีพต่าง ๆ เพอื่ ตอบสนองการผลิตบัณฑิตให้มี
คุณภาพสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลาดแรงงาน ความก้าวหน้า
ของศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทงั้ บรบิ ททางสงั คมที่เปลย่ี นแปลงไป ดังนัน้ การพฒั นาองค์กรไปสู่การ
เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นกว่าเดิม และนอกจากน้ี
ยังเป็นการเตรียมความพร้อมตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก ให้สอดคล้อง
กบั มหาวิทยาลยั 4.0 เพื่อการแขง่ ขันในศตวรรษท่ี 21 เพือ่ ให้หลกั สตู รมีมาตรฐานย่งิ ขน้ึ

ทางคณะศิลปกรรมศาสตร์ จึงได้มีการกำหนดประเด็นการจัดการความรู้ ด้านการผลิต
บณั ฑติ : เทคนคิ การส่งผลงานเข้าประกวดด้านศลิ ปกรรมศาสตร์ เพ่อื นำปญั หาการเพิ่มศักยภาพและ
ผลผลิตในดา้ นบคุ ลากรและการจัดการศึกษาให้ทันต่อการเปลยี่ นแปลง โดยการรวบรวมองค์ความรู้ท่ี
มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กร
สามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะ
สง่ ผลใหอ้ งค์กรมีความสามารถในเชิงแขง่ ขนั สูงสุดในวงวิชาชีพเดียวกนั

i

คำนำ หน้า
สารบญั
บทท่ี 1 บทนำ i
บทท่ี 2 การสร้างและแสวงหาความรู้ 1
บทท่ี 3 ผลการจัดการความรู้ 3
บทที่ 4 สรปุ ผลการจัดการความรู้ 19
อภิธานศัพท์ 39
บรรณานุกรม 44
ภาคผนวก 45
47
ภาคผนวก ก. ภาพกิจกรรมการระดมความรแู้ ละประสบการณ์ 48
เพ่อื แลกเปลี่ยนความรู้
ภาคผนวก ข. ภาพกิจกรรมการส่งเสริมนกั ศึกษาส่งผลงานเขา้ ประกวด 55
ภาคผนวก ค. แบบสรปุ การจัดการความรู้ KM1 KM2 และ KM3 69
คณะผจู้ ดั ทำ 76

1

ในปีการศึกษา 2563 คณะได้มีการจัดทำแผนกำหนดองค์ความรู้และเป้าหมายของการจัดการ
ความรู้ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : Learning to be Innovator : การเรียนรู้สู่การเป็น
นวัตกร เป้าประสงค์ : O1 การผลิตบัณฑิตสู่นวัตกรด้านศิลปกรรมและผู้ประกอบการสร้างสรรค์งาน
ศิลปะนวัตกรรม เพื่อเพิ่มความสามารถของการแข่งขันทางศิลปะของเทศ และได้กำหนดประเด็น
การจัดการความรู้ ด้านการผลิตบัณฑิต : เทคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดด้านศิลปกรรมศาสตร์ โดยมี
การดำเนินงานดังน้ี

1. แต่งตัง้ คณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินการจดั การความรู้ คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหี น้าท่ีจัดทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) และผลการดำเนินงานการจัดการความรู้

2. การค้นหาความรู้โดยคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านผลิตบัณฑิต ประชุมเพื่อกำหนด
ประเด็นความรู้ร่วมกัน ทำ Knowledge Mapping ที่ทุกคนมีองค์ความรู้เหมือนกัน เลือกประเด็นเพ่ือ
นำมาจัดการความรู้ (KM2)

3. การสรา้ งและแสวงหาความรู้
- ในการประชุมครงั้ แรก กำหนดกตกิ ารว่ มกนั ในการสรา้ งและแสวงหาความรู้
- กำหนดเนอื้ หาความรทู้ ่ตี ้องการ
- กำหนดเวลาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุกวันพฤหัสบดีท่ี 2 และ 4 ของเดือนและประชมุ ในแต่

คร้ังไมเ่ กิน 1 ชว่ั โมง
- ประธานและกรรมการเป็นผูน้ ำเสนอความรคู้ นละ 3 นาที
- คณะกรรมการทุกคนต้องมีการนำเสนอ จดั พิมพ์รายละเอียดทงั้ หมดและระบุชือ่ ผนู้ ำเสนอ

แต่ละคนจนครบ
- สรุปประเดน็ ท่ไี ด้พดู คยุ กันในแต่ละครั้ง
- กระบวนการในการสอ่ื สารระหว่างกนั ถูกจดั ขน้ึ อย่างเป็นระบบ

4. การจดั การความรูใ้ ห้เป็นระบบ
- นำความรทู้ ่มี ีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทไี่ ด้มาจัดเป็นระบบ
- กำหนดหวั ข้อ สารบญั ของประเด็นความรู้หลักทไ่ี ดจ้ ากการแลกเปลย่ี นความรู้

2

5. การประเมนิ และกล่ันกรองความรู้
- นำความรู้ท่ีได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาปรบั ปรงุ ให้เปน็ เอกสารรูปแบบเดียวกนั
- ปรบั ภาษาท่ใี ช้จากภาษาพูดใหเ้ ปน็ ภาษาเขียน ในรูปแบบเดยี วกนั ทัง้ หมด หากมคี ำศัพทใ์ ห้

จัดทำอภิธานศัพท์ของคำกำจัดความเฉพาะทีห่ น่วยงานใช้
- คณะกรรมการตรวจสอบความถูกตอ้ ง
- เรยี บเรียง ตดั ตอ่ ปรบั ปรงุ เนื้อหาให้ครบถว้ น สมบูรณ์และทันสมัย

6. การเข้าถึงความรู้ และการกระจายความรู้ไปสู่ผู้ใช้
- การปอ้ นความรู้ (push) การส่งข้อมลู ท่จี ัดเก็บไปใหอ้ าจารยใ์ นคณะ ดำเนินการโดยไม่ได้

รอ้ งขอ แตต่ ้องการใหท้ ดลองนำไปปฏิบตั ิ โดยนำความรทู้ ้งั หมดไปใช้ (supply base)
- การเลอื กใช้ความรู้ (pull) ใหผ้ ู้รับสามารถเลือกรับเฉพาะประเดน็ ท่ีต้องการได้ ตามความ

ต้องการของผรู้ บั (demand base)
วิธีดำเนินการ เมื่อได้กลุ่มคนที่ทดลองใช้ความรู้ทั้งสองประเภทแล้ว คณะกรรมการจัดทำ

แบบสอบถามในประเด็นการส่งเสริมการส่งผลงานเข้าประกวด และวิธกี ารส่งผลงานไปยงั นักศึกษากลุ่มที่
รับบริการประเมินก่อนนำองค์ความรู้ไปใช้และหลังนำองค์ความรู้ไปใช้ โดยแบบสอบถามกลุ่ม push และ
pull จะต้องมีความแตกต่างกัน คณะกรรมการติดตามผลการส่งประกวด คณะกรรมการนำแบบประเมนิ
มาสรุปผลและพิจารณาจดุ แข็งและจุดอ่อนขององค์ความร้จู ากกลุ่มเป้าหมาย

7. การแบง่ ปนั แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (Knowledge sharing)
ประชุมสรุปผล โดยให้กรรมการจัดการความรู้ และกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมทำ KM และเชิญ

ผู้ทรงคุณวุฒิ มาร่วมประชุม เพื่อพิจารณาประเด็นการจัดความรู้แต่ละประเด็นมีความครบถ้วนสมบูรณ์
หรอื ไม่ และแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์ และนำมาจัดทำเป็นเอกสาร

8. การเรยี นรู้ (Learning)
นำองค์ความรู้ที่สรุปประเด็นจากการแบ่งปันแลกเปลีย่ นเรียนรู้มาจดั ทำเปน็ คู่มือการจัดการความรู้

และเผยแพร่ให้บคุ ลากรภายในองค์กรนำไปใช้ประโยชน์ ผู้บริหารควรกำหนดให้มีการนำคู่มือการจัดการความรู้
ไปอยู่ในกระบวนการของการปฏิบัติงาน เพื่อให้การจัดการความรู้ถูกนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง และ
ขณะเดียวกันหากมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น ก็จะมีการนำเข้าสู่การวิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์ความรู้ใหม่ๆ
เพ่มิ ขน้ึ และถูกนำไปใช้สร้างองค์ความรใู้ หมๆ่ เป็นวงจรท่ไี มม่ ีทสี่ น้ิ สุด

3

ประเด็นความรู้ที่นำมาจัดทำการจัดการความรู้ด้านการผลิตบัณฑิต จำนวนครั้งที่คณะกรรมการ
ประชมุ เพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และจำนวนองคค์ วามรู้ทีจ่ ดั เก็บจากการประชุมชัดเจน เช่น การรับข่าวสารการ
จัดการประกวด/ ประสบการณ์ในการส่งเสริมนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวด/ การสร้างแรงจูงใจ/
เทคนิคในการคดั เลอื กผลงาน/ วธิ ีการสง่ / การติดตามผลและปัญหาอุสรรค

2.1 การระดมความรู้และประสบการณ์เพอ่ื แลกเปลีย่ นความรู้ครั้งท่ี 1

ผศ.รัตนฤทธ์ิ พดู ว่า ขอใหค้ ณะกรรมการทุกทา่ นการส่งผลงานเข้าประกวดดา้ นศลิ ปกรรมศาสตร์ที่ผ่านมา
เป็นอย่างใหท้ ุกท่านแชรป์ ระสบการณ์ ผมเห็นว่า อ.จฑุ ามาศ มปี ระสบการณ์ในการส่งผล
งานเข้าประกวดทั้งของตนเองและนักศึกษา ขอให้ทุกท่านใช้เวลาในการแชร์ไม่เกิน 3
นาทีครับ

ผศ.จุฑามาศ พดู ว่า จากประสบการณ์ของตัวเองทใี่ ห้นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวด และได้รางวัลนั้น ขอ
แชรเ์ ทคนคิ การคัดเลือก การส่งผลงานเขา้ ประกวด โดยกำหนดวางแผนมอบหมายงานให้
นักศึกษาในวิชาเรียนให้ตรงกับโครงการที่จัดประกวด มีการวางแผนเตรียมการสอนโดย
เอามาบูรณาการกับการเรียนการสอนที่อาจารย์รับผิดชอบอยู่ เช่น วิชาเรียนในเทอม 1
ประมาณเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน แต่การประกวดจะมีการประกวดในเดือน
ธันวาคม เราจะให้นักศึกษาเริ่มทำตั้งแต่เดือนมิถุนายนซึ่งผลงานจะแล้วเสร็จในเทอม 1
จากนั้นเราจะคัดเลือกงานที่สามารถเข้าตากรรมการ เช่น เลือก 10 ชิ้นงานจาก 20
ช้นิ งาน มองแลว้ มีความน่าสนใจ ใหโ้ อกาสนกั ศึกษาทุกคน แตต่ ้องเปน็ งานที่ตรงกับโจทย์
และมีคุณภาพ มีโอกาส ทำตามกติกาที่ทางผู้จัดกำหนด วันเวลาส่งและ เทคนิคการส่ง
ที่เขากำหนด ไม่เกินเวลา จำนวนข้อความที่ระบุต้องไม่เกิน 50 คำ ส่งมากว่า 1 แบบ
ส่งเป็นชุด นักศึกษา 1 คน สามารถทำงานได้มากว่า 1 ชิ้นงาน หลังจากได้ผลงานท่ีจะส่ง
ประกวดแล้ว อาจารย์มีวิธีการส่งผลงาน ดังนี้ ดูตามกติกา เกณฑ์การประกวด
ของหน่วยงานที่จัด เวทีการประกวดมีเฉพาะ หรือผ่านช่องทางไหน ดูกติกาการประกวด
เฉพาะการประกวด แยกเวที ส่งผลงานเข้าประกวดมากว่า 1 ผลงาน ส่งเป็นชุดงาน
ออกแบบบรรจุภัณฑ์ นกั ศึกษา 1 คน ทำงานไดม้ ากวา่ 1 ช้ิน บางทใ่ี ห้ประกวดหลายรอบ

4

เช่นการประกวดของ Thai Star packaging Awards โดยรอบแรกเป็นงาน SKETCH
DESIGN วิดีโอนำเสนอ รอบ 2 ทำผลงานจริง คัด20ผลงาน มีเงินสนับสนุน 1,500 บาท
รอบตัดสิน ผ่านการนำเสนอต่อคณะกรรมการ และรอบ 4 ประกาศผลเป็นตัวแทนไป
ประกวดต่างประเทศ เวที Thai Star packaging Awards อาจารยผ์ สู้ อนตอ้ งรบั งานเอง/
ส่งเอง เมื่อส่งผลงานแล้วจะมีเทคนิคการติดตามผล โดยติดตามผลงานจากนักศึกษาว่า
ส่งผลงานเรียบร้อยหรือไม่ หรือบางที่ส่งเอง ผลงานบางอย่างผู้จัดมารับผลงานเอง
ประกวดรอบแรก แล้วให้ผู้เข้ารอบไปทำงานจริง มานำเสนอต่อคณะกรรมการ อาจารย์
ต้องไปลุ้นให้กำลังใจ ติดตามผลการประกาศรางวัลด้วยวา่ ผลงานที่ส่งได้รบั รางวัลหรอื ไม่
แจ้งผลการประกวดให้ผู้บริหารทราบ การที่จะให้นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดเยอะๆ
โดยใช้เทคนิคการสรา้ งแรงจงู ใจ เชน่ ใหค้ ะแนนผลการเรยี น เกรด A ในรายท่ไี ดร้ บั รางวัล
มอบเกยี รติบตั ร มอบช่อดอกไม้ และประชาสมั พันธอ์ อกสือ่ ของคณะ
ผศ.ชัยพร พูดว่า อยากให้เนื้อหาหัวข้อเรื่องเทคนิคการคัดเลือกผลงาน การสร้างแรงจูงใจ และการ
สนับสนุนในการส่งผลงาน เช่น เงิน รถที่ใช้ในการส่งผลงานและคน จะขอแชร์เรื่องการ
คัดเลือกการส่งผลงาน สำคัญที่สุดคือต้องเลือกผลงานที่คุณภาพ ถ้าเป็นการส่งผลงาน
ภายในประเทศจะมกี ารใหค้ วามร้แู ละเกณฑ์การสง่ ประกวด
ผศ.รัตนฤทธิ์ พูดว่า พิจารณาจากผลงานศิลปะที่โดดเด่น และมีแนวโน้มที่สามารถส่งเข้าประกวด
ศิลปกรรม ระดบั ชาติได้ ของนกั ศึกษา ในรายวชิ าทเ่ี ป็นขั้นสูงของหลักสตู ร เช่น จิตรกรรม
5 ถึง ศิลปนิพนธ์ โดยให้คำแนะนำให้แกไ้ ขเพม่ิ เติมใหส้ มบรู ณ์ย่งิ ขึ้น เลือกผลงานที่มีรูปแบบ
และเนื้อหาตรงกับเวทีการประกวด เลือกผลงานที่ตรงกับสไตล์ของคณะกรรมการตัดสิน
และหัวข้อการประกวด และเลือกส่งเพียงชิ้นเดียว ถึงงานประกวดนั้นจะกำหนดให้ส่ง
มากกว่าได้ก็ตาม วิธีนี้จะแสดงให้กรรมการเห็นถึงความเด็ดเดี่ยว หากไม่ได้รับคัดเลือกก็
สามารถนำมาวิเคราะห์ปรับแก้ไขเพิ่มเติมส่งประกวดในเวทีอื่นๆ ได้อีก ส่งตามจำนวนท่ี
เกณฑ์กำหนด โอกาสได้คัดเลอื กเขา้ ร่วมแสดงจะมีโอกาสสงู กวา่ ส่งเพียงชน้ิ เดียว
อาจารย์ธนาพร พูดว่า ดูภาพรวมให้เหมาะสมกับงานประกวด เช่น การออกแบบ ต้องมีกระบวนการใน
การออกแบบ งานท่สี ่งเข้าประกวดต้องทนั ตามกำหนดการ (เพ่มิ ข้อมูลที่เห็นดว้ ย)
อาจารย์อชิตา พดู วา่ คดั เลือกคนท่ีมคี วามคดิ โดดเด่นของผลงานที่ตรงกับหัวข้อการประกวด โดยส่วนใหญ่
จะส่งผลงานทางออนไลน์ก่อน แต่เด็กไม่มีแรงจูงใจในการส่งผลงานเข้าประกวดเลย

5

เน่อื งจาก อปุ กรณก์ ารผลิตผลงานไม่พร้อม ไมม่ แี รงจูงใจในการผลติ ผลงาน ควรจะมีเทคนิค
การสร้างแรงจงู ใจ และการติดตามผล
อาจารย์ยุทธศักดิ์ พูดว่า ผมขอพูดถึงเรื่องปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ห้องปฏิบัติการซ้อมไม่เพียงพอในการ
ฝึกซ้อมช่วงเวลาในการซ้อมมีจำกัดเนื่องจากรายวิชาเรียนมีทั้งวัน ทำให้จัดสรรเวลาในการ
ฝึกซ้อมได้ยาก การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพันธ์เพลงและ
การปฏิบัติเท่านั้น การประกวดทีเ่ กี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางสาขาไม่สามารถ
ทำได้ดีเท่าไร เนื่องจากห้องปฏิบัติการณ์ที่เกี่ยวข้องยังไม่สมบูรณ์เช่น ไม่มีโปรแกรม
(DAW-Digital work station) , คอมพิวเตอร์ เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา ซึ่งตรงนี้เป็น
ปัญหามาก เพราะองค์ความรู้ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมต้องใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลักในการเรียนรู้ ได้รับข่าวสารโดยตรงจากนักศึกษาว่ามีเวที
ประกวดที่ไหนบ้างในรอบปีนี้ และขอเสนอว่า ควรมีหัวข้อที่เกี่ยวกับเทคนิคในการสร้าง
แรงจูงใจทีจ่ ะให้นักศกึ ษาเข้าร่วมประกวดผลงาน
อาจารย์ณัฐพล พูดว่า โดยเฉพาะการขาดงบประมาณในการสนับสนุนในระหว่างการประกวดและ
ระหว่างการฝึกซ้อม มหาวิทยาลัยไม่ได้มองที่กระบวนการหรือขั้นตอนในการส่งผลงาน แต่
ต้องการแคผ่ ลสัมฤทธ์ิ เช่น หากไม่ไดร้ างวัลจะไม่ไดร้ ับการสนับสนุน อาจารย์ท่ีเป็นผู้ฝึกสอน
จะต้องจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการสนับสนุนนักศึกษาเอง วิธีการส่งงานเข้าประกวดของ
แต่ละภาควิชามีความแตกต่างกัน จึงอยากเสนอให้กำหนดเนื้อหาหัวข้อว่า วิธีการส่งผลงาน
เขา้ ประกวดตามสาขาวิชาชีพ นอกจากนั้นควรมีเทคนิคในการคดั เลือกงานด้วย
อาจารย์นริศรา พูดว่า การทราบข่าวการประกวดของบางหน่วยงานมีเวลาที่กระชั้นชิด ทำให้การขอ
งบประมาณไม่สามารถเป็นไปตามขนั้ ตอนของมหาวิทยาลยั ที่ต้องใชเ้ วลาพอสมควร และยังไม่
มีงบในส่วนนี้ในการส่งเสริมนักศึกษาเข้าร่วมประกวด ค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ เช่น ด้านการ
เดินทาง ที่พัก เป็นต้น สิ่งที่ทำได้เบื้องต้น คือ อาจารย์ที่ส่งเข้าประกวดรับผิดชอบเองไปก่อน
ซึ่งก็เป็นความสุขทางใจอย่างหนึ่งที่อาจารย์เป็นผู้เสียสละ แต่ก็ต้องยอมรับว่าความลำบากท่ี
เกิดขึ้นนั้นมันคงต้องดำเนินต่อไป ซึ่งระยะเวลาในการประกวดบางรายการสามารถเตรียมตัว
ได้เยอะ บางรายการสามารถเตรียมตัวได้น้อย ต้องใช้อุปกรณ์ สถานที่ ความพยายาม ของ
นกั ศกึ ษาเป็นอย่างมาก ถ้าเราสามารถสรา้ งแรงจงู ใจให้นักศึกษาไดโ้ ดยมีเงินรางวลั กับผู้ท่ีสร้าง
ชื่อเสียงให้กับคณะ โดยได้รางวัลจากการประกวดของหน่วยงานภายนอก รางวัลประเภทนี้
จำนวนเท่าไหร่ หรือจะเปน็ ในเรือ่ งของการเรยี นฟรี 1 เทอม เพือ่ เป็นการใหท้ ุนการศกึ ษาไปใน

6

ตัวแบบนี้ น่าจะเป็นกำลงั ใจให้กับเด็กที่ไดร้ างวัล และเป็นแรงผลักดนั ให้รุ่นนอ้ ง รุ่งหลังต่อไป
ได้นะคะ
อาจารย์สุจิตรา พูดว่า เห็นด้วยในหัวข้อช่องทางข่าวสารการจัดประกวด เพราะเป็นขั้นต้นที่ทำให้รู้ได้
รวดเรว็ ว่าช่วงเวลานมี้ ีการจดั ประกวดผลงานท่ีไหนบ้าง โดยเนน้ ที่เทคนคิ การสร้างแรงจูงใจ เช่น
รางวัลตอบแทน เน่ืองจากว่านักศกึ ษาไม่ค่อยสนใจหรือให้ความสำคัญในการส่งงานเข้าประกวด
โดยวิธีการหนูที่จะคัดเลือก เลือกผลงานที่ตรงกับหัวข้อการประกวดมากที่สุด เลือกผลงานที่มี
เทคนคิ นา่ สนใจและแปลกใหม่ ทำตามกติกาตามเกณฑก์ ารประกวดนัน้ ๆ
ผศ.รัตนฤทธิ์ พูดว่า การประชุมวันนี้เป็นการประชุมครั้งแรก ของคณะกรรมการกรจัดการความรู้ผม
ขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นที่มาแชรป์ ระสบการณใ์ นครัง้ น้เี ป็นอย่างมาก สำหรับการประชมุ ครั้งตอ่ ไป

2.2 การระดมความรู้และประสบการณเ์ พอื่ แลกเปลย่ี นความรู้ครงั้ ท่ี 2

ผศ.รตั นฤทธิ์ พดู วา่ จากการประชมุ คณะกรรมการการจัดการความรู้ คร้ังที่ 1 เมื่อวนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์
2564 ที่ผ่านมาถือเป็นก้าวแรกของคณะกรรมการฯ นี้ที่จะดำเนินการหาประเด็นความรู้ในการ
จัดทำ KM แต่ ก่อนจะถึงตรงนั้น อยากให้ทุกท่านแชร์ประสบการณ์ หรือ คณะกรรมการท่านใด
อยากแชร์เรือ่ งใด สามารถพูดได้เลยครับ

อาจารย์สจุ ิตรา พดู ว่า สำหรับนักศึกษาทหี่ นรู บั ผิดชอบนะคะ มีเวทที ส่ี ง่ นกั ศกึ ษาจำนวน 2 เวที
คา่ ยเยาวชน สร้างสรรค์ (บ้านดำ) ซงึ่ จดั เปน็ ประจำทุกปี และงานศิลปกรรมแห่งชาติ ซึ่ง 2 เวทีน้ี
เป็นเวทีใหญ่ระดับประเทศ หนูจึงให้นักศึกษาส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือก เมื่อนักศึกษาคนไหน
สง่ กจ็ ะมรี างวลั ตอบแทนให้

อาจารย์อชิตา พูดวา่ เสียงตามสายประชาสัมพันธท์ ว่ั ไป การประชาสัมพันธ์ขององคก์ ร Brand s Young
Blood เชน่ สอ่ื ประชาสัมพันธ์ ภาพนง่ิ วิดีโอ งานสภากาชาดไทย True Young Producer
Award การโฆษณา รว่ มกับสมาคมโฆษณาแหง่ ประเทศไทย Thailand Animator Festival
แอนิเมชัน ทำรว่ มกบั สมาคม TACGA แต่ผู้สนับสนนุ มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา สง่ ผลให้
กตกิ าการเขา้ ประกวดเปล่ียนแปลงดว้ ย การสร้างแรงจูงใจให้นักศกึ ษาส่งผลงานเขา้ ประกวดเรา
จะให้คะแนนในรายวิชาท่ีสอน ลดภาระงานในรายวิชาอื่น รางวัลผลตอบแทน เช่น เงนิ รางวัล
ทรปิ เทย่ี ว

อาจารยย์ ุทธศกั ดิ์ พูดว่า ร้จู ากนักศึกษา

7

อาจารย์ณัฐพล ดคี ำ พดู ว่า จากเวทีการประกวด ทเี่ คยเข้าร่วมประกวด และจากเพ่ือนๆ ในการประกวด
ซึ่งพอมีการจัดการประกวด หลายท่านก็อจะส่งข่าวมาทางไลน์ ทางเฟสบุ๊ค เหมือนเป็นการ
ประชาสมั พนั ธ์และชวนกับเข้ารว่ มประกวด

อาจารย์นริศรา พดู ว่า รู้จากนกั ศกึ ษาและสอ่ื โซเซยี ลทว่ั ไป ขา่ วการประกวดที่สง่ ผา่ นไลนก์ รุ๊ปและ
เครอื ขา่ ย

ผศ.จฑุ ามาศ พดู วา่ รู้จากเวป็ ไซตข์ ่าวสารท่เี กี่ยวข้องกบั การประกวดระดบั ประเทศ และตา่ งประเทศ
หนังสือที่ประชาสัมพันธ์ ไลน์ข่าวสารแต่ละประเภท ข่าวการประกวดที่ส่งผ่านไลน์กรุ๊ป ข่าวสาร
การประกวดท่ีแจง้ ประชาสัมพนั ธ์มาทางคณะ การประชาสมั พันธ์ของหน่วยงานผา่ นFacebook

อาจารย์ธนาพร พูดว่า ข่าวสารจากคนรู้จกั เครือข่าย การทำงานในสายงานเดยี วกนั
ผศ.ชัยพร พดู วา่ เวบ็ ไซตก์ ารประกวด ศลิ ปกรรม ระดับประเทศและนานาชาติ สือ่ โซเซียล ทวั่ ไป

ขา่ วประชาสัมพนั ธท์ ่ีแจง้ ผา่ นคณะ
อาจารย์สุจติ รา พูดวา่ รจู้ ากส่ือโซเซียลมีเดยี จากรุน่ พ่ี จากเพอื่ นๆ ในวงการศลิ ปะดว้ ยกนั
ผศ.รัตนฤทธ์ิ พดู ว่า รู้จากเวบ็ ไซต์การประกวด ศิลปกรรม ระดบั ประเทศและนานาชาติ Facebook การ

แสดงศลิ ปกรรมแหง่ ชาตทิ ีเ่ ปน็ เพ่อื นใน Facebook และขา่ วประชาสัมพันธท์ ่ีแจ้งผ่านคณะ
ประธานพดู สรุป ข่าวสารการประกวดมีจำนวนช่องทางดังนี้

1. เว็บไซตก์ ารประกวด
2. ส่อื โซเซยี ลมเี ดยี (ไลน์ Facebook)
3. จากนกั ศึกษา
4. หนังสือประชาสมั พันธแ์ จง้ ผา่ นคณะ
5. จากคนรจู้ ักการทำงานในสายงานเดียวกัน
ผศ.จฑุ ามาศ พูดว่า จากประสบการณท์ ี่ส่งผลงานเขา้ ประกวด มีดังน้ี
1. Thai Star Packaging Awards (จดั ทกุ ป)ี (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทก่ี ล้วยนำ้ ไทย)
2. Asia Star Packaging Awards (จัดทกุ ป)ี ทุกประเทศในโซนเอเชีย
3. World Star Packaging Award (จัดทกุ ปี) ระดบั โลก
4. ประกวดบรรจภุ ณั ฑ์ SCG (ทุกปี) บรษิ ัท ScG
5. ขา่ วการประกวดการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ฉลาดดว้ ยเทคโนโลยีการพิมพ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
6. งานประกวด ADDA (ทุก 2 ป)ี บรษิ ทั แอ็คด้า
7. งานประกวดสงิ่ ประดิษฐใ์ นมหาวิทยาลัย (จัดทกุ ปี) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

8

8. งานประกวดเศษวัสดเุ หลอื ใช้ ประกวดงานโรงพยาบาลพญาไท (ได้รางวัลเขา้ รอบ10ทีม)
9. งานประกวดออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนจากไม้สัก ขององค์การ

อุตสาหกรรมปา่ ไม้
10. งานประกวดของทร่ี ะลกึ สนับสนนุ การท่องเทย่ี วในประเทศไทย
11. ออกแบบผ้าขาวมา้ (ส่ง)
12 งาน การประกวดออกแบบของขวัญปีใหม่ 2564ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค และ สเปลล์

ได้รับ2 รางวัล
13. การพัฒนาภูมิปญั ญาสูน่ วัตกรรม กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา
14. ออกแบบเฟอรน์ เิ จอรข์ อง Modern form Design Contest
15. ออกแบบผลิตภณั ฑย์ างพารา
16. ออกแบบแวน่ ตา
17. ออกแบบสื่อจันทบูน ได้รับรางวัล 3 รางวัล และอื่นๆอีกที่ต้องสอบถามอาจารย์ในสาขา

ขึ้นอยู่กับช่วงนั้นมีงานประกวดอะไรเข้ามาใหม่แต่ต้องสอดคล้องกับวิชาที่สอนของอาจารย์
เพ่อื เปน็ การมอบหมายงานไดต้ รงกับงานที่สอน
อาจารย์ธนาพร พูดวา่ จากท่ีเคยพาเด็กเขา้ ร่วมมีดังนี้ Thailand Animator Festival , Young Thai
Artist Award, ชนช้างกราฟิก มแี คน่ ี้
อาจารยอ์ ชติ า พูดว่า ในปที ี่ผ่านมานำนกั ศึกษาเขา้ ร่วม ดังน้ี
-Brand s Young Blood เชน่ ส่ือประชาสมั พนั ธ์ ภาพนง่ิ วิดีโอ งานสภากาชาดไทย
-True Young Producer Award การทำโฆษณา ร่วมกับสมาคมโฆษณาแหง่ ประเทศไทย
-Thailand Animator Festival แอนเิ มชัน ทำรว่ มกับสมาคม TACGA
ซึง่ ผูส้ นบั สนนุ มกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ส่งผลให้กตกิ าการเข้าประกวดเปลี่ยนแปลงดว้ ย
อาจารย์สุจติ รา พูดวา่ ปี 2563 ได้สง่ นกั ศึกษาเข้าร่วมประกวดคา่ ยเยาวชนสรา้ งสรรค์ (บา้ นดำ) ซึ่ง
จดั เปน็ ประจำทุกปี และศิลปกรรมแหง่ ชาติ
ผศ.ชยั พร พูดวา่ ไดแ้ จง้ ใหน้ กั ศกึ ษาเข้าร่วมศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติ และงานศลิ ปกรรมรว่ มสมัยของ
ศิลปินรุ่นเยาว์
ผศ.รตั นฤทธิ์ พดู ว่า มอี ีกหนง่ึ งานท่นี ักศึกษาช้ันปีท่ี 4 ทกุ สถาบนั เข้าร่วมแข่งขนั ซ่งึ เป็นเวทรี ะดับชาติ
และมเี งนิ รางวลั สงู หากนกั ศกึ ษาได้รบั รางวัลนจี้ ะเปน็ การเพ่ิมศักยภาพของตนเอง คอื ดาวเด่น
บัวหลวง สำหรับวันนีข้ อขอบคณุ ทุกทา่ นท่มี าแชรป์ ระสบการณ์ ขอนัดประชมุ ครงั้ ต่อไปวนั ที่

9

22 มีนาคม 2564 ขอบคณุ ครับ
2.3 การระดมความรแู้ ละประสบการณเ์ พอื่ แลกเปลยี่ นความรู้ครัง้ ท่ี 3

ผศ.รัตนฤทธ์ิ พูดว่า ให้คณะกรรมการทุกท่านการส่งผลงานเขา้ ประกวดด้านศลิ ปกรรมศาสตร์ท่ีผ่านมา
เปน็ อย่างไรใหท้ กุ ท่านแชร์ประสบการณ์ ผมเห็นว่า อาจารย์จฑุ ามาศ มปี ระสบการณใ์ นการส่งผล
งานเข้าประกวดท้ังของตนเองและนักศึกษา

ผศ.จุฑามาศ พูดว่า จากประสบการณ์ของตัวเองที่ให้นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวด และได้รางวัลน้ัน
มปี ัญหาในการสนับสนนุ เช่น ทำงานเสร็จตามกำหนด ตอ้ งเตรยี มนกั ศึกษา ฝึกการนำสนอผลงาน
ต่อคณะกรรมการบางคำไม่เคยนำเสนอ การนำเสนอควรใช้เวลาอย่างน้อย 5 นาที ต่อ
คณะกรรมการต้องนำมาฝึกให้เคย การขอรถเพื่อไปส่งผลงานเข้าประกวด บางครั้งต้องเสีย
ค่าใช้จ่าย เช่น ค่าทางดว่ น คา่ ตอบแทนคนขบั (กรณีพเิ ศษ) หรอื บางคร้งั อาจารย์ต้องขับรถไปเอง
การติดต่อประสานงาน (ต้องประสานงานเองทุกอย่าง/การประชาสัมพันธ์/การถ่ายภาพ) ไม่มี
งบประมาณที่ใช้ในการสนับสนุน ซึ่งอาจารย์ผู้สอนต้องดำเนินการเองทั้งหมด ไม่ค่อยมีขวัญและ
กำลังใจให้กับนักศึกษา การพานักศึกษาไปส่งผลงานประกวดไม่มีเงินทุนสนับสนุน รวมถึงการ
สร้างสรรค์ผลงานด้วย และขอแชร์เทคนิคการคัดเลือก การส่งผลงานเข้าประกวด โดยกำหนด
วางแผนมอบหมายงานให้นักศึกษาในวิชาเรียนให้ตรงกับโครงการที่จัดประกวด มีการวางแผน
เตรียมการสอนโดยเอามาบูรณาการกับการเรียนการสอนที่อาจารย์รับผิดชอบอยู่ เช่น วิชาเรียน
ในเทอม 1 ประมาณเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน แต่การประกวดจะมีการประกวดในเดือน
ธันวาคม เราจะให้นักศึกษาเริ่มทำตั้งแต่เดือนมิถุนายนซึ่งผลงานจะแล้วเสร็จในเทอม 1 จากนั้น
เราจะคัดเลือกงานที่สามารถเข้าตากรรมการ เช่น เลือก 10 ชิ้นงานจาก 20 ชิ้นงาน มองแล้วมี
ความน่าสนใจ ให้โอกาสนักศึกษาทุกคน แต่ต้องเป็นงานที่ตรงกับโจทย์และมีคุณภาพ มีโอกาส
ทำตามกติกาที่ทางผู้จัดกำหนด วันเวลาส่งและ เทคนิคการส่ง ที่เขากำหนด ไม่เกินเวลา จำนวน
ข้อความที่ระบุต้องไม่เกิน 50 คำ ส่งมากว่า 1 แบบ ส่งเป็นชุด นักศึกษา 1 คน สามารถทำงาน
ได้มากว่า 1 ชิ้นงาน หลังจากได้ผลงานที่จะส่งประกวดแล้ว อาจารย์มีวิธีการส่งผลงาน ดังนี้ ดู
ตามกติกา เกณฑ์การประกวด ของหน่วยงานที่จัด เวทีการประกวดมีเฉพาะ หรือผ่านช่องทาง
ไหน ดูกติกาการประกวด เฉพาะการประกวด แยกเวที ส่งผลงานเข้าประกวดมากว่า 1 ผลงาน
ส่งเป็นชุดงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ นักศึกษา 1 คน ทำงานได้มากว่า 1 ชิ้น บางที่ให้ประกวด
หลายรอบ เช่นการประกวดของ Thai Star packaging Awards โดยรอบแรกเป็นงาน SKETCH
DESIGN วิดีโอนำเสนอ รอบ 2 ทำผลงานจริง คัด20ผลงาน มีเงินสนับสนุน 1,500 บาท รอบ

10

ตัดสิน ผ่านการนำเสนอต่อคณะกรรมการ และรอบ 4 ประกาศผลเป็นตัวแทนไปประกวด
ตา่ งประเทศ เวที Thai Star packaging Awards อาจารย์ผ้สู อนต้องรับงานเอง/ส่งเอง เม่อื ส่งผล
งานแล้วจะมีเทคนิคการติดตามผล โดยติดตามผลงานจากนกั ศึกษาวา่ ส่งผลงานเรียบร้อยหรือไม่
หรือบางท่ีส่งเอง ผลงานบางอย่างผู้จัดมารับผลงานเอง ประกวดรอบแรก แล้วให้ผู้เข้ารอบไป
ทำงานจริง มานำเสนอต่อคณะกรรมการ อาจารย์ต้องไปลุ้นให้กำลังใจ ติดตามผลการประกาศ
รางวัลด้วยว่าผลงานที่ส่งได้รับรางวัลหรือไม่ แจ้งผลการประกวดให้ผู้บริหารทราบ การที่จะให้
นักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดเยอะๆ โดยใช้เทคนิคการสร้างแรงจูงใจ เช่น ให้คะแนนผลการ
เรียน เกรด A ในรายที่ได้รับรางวัล มอบเกียรติบัตร มอบช่อดอกไม้ และประชาสัมพันธ์ออกสื่อ
ของคณะ
ผศ.ชัยพร พูดว่า อยากให้เนื้อหาหัวข้อเรื่องเทคนิคการคัดเลือกผลงาน การสร้างแรงจูงใจ และการ
สนับสนุนในการส่งผลงาน เช่น เงิน รถที่ใช้ในการส่งผลงานและคน จะขอแชร์เรื่องการคัดเลือก
การส่งผลงาน สำคัญที่สุดคือต้องเลือกผลงานที่คุณภาพ ถ้าเป็นการส่งผลงานภายในประเทศ
จะมีการใหค้ วามรูแ้ ละเกณฑ์การสง่ ประกวด
ผศ.รัตนฤทธ์ิ พูดวา่ พจิ ารณาจากผลงานศลิ ปะท่ีโดดเดน่ และมีแนวโน้มท่ีสามารถส่งเขา้ ประกวด
ศิลปกรรมระดับชาตไิ ด้ ของนกั ศกึ ษา ในรายวิชาที่เปน็ ขั้นสงู ของหลกั สูตร เชน่ จิตรกรรม 5 ถงึ
ศิลปนิพนธ์ โดยให้คำแนะนำให้แก้ไขเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เลือกผลงานที่มีรูปแบบ และ
เนื้อหาตรงกับเวทีการประกวด เลือกผลงานท่ีตรงกับสไตล์ของคณะกรรมการตัดสินและหัวข้อ
การประกวด และเลือกสง่ เพยี งช้ินเดียว ถงึ งานประกวดนั้นจะกำหนดให้ส่งมากกว่าไดก้ ็ตาม วิธีน้ี
จะแสดงให้กรรมการเห็นถึงความเด็ดเดี่ยว หากไม่ได้รับคัดเลือกก็สามารถนำมาวิเคราะห์ปรับ
แก้ไขเพิ่มเติมส่งประกวดในเวทีอื่นๆ ได้อีก ส่งตามจำนวนที่เกณฑ์กำหนด โอกาสได้คัดเลือกเข้า
ร่วมแสดงจะมโี อกาสสูงกว่าส่งเพียงช้ินเดียว
อาจารย์ธนาพร พูดวา่ ดภู าพรวมใหเ้ หมาะสมกบั งานประกวด เช่น การออกแบบ ต้องมีกระบวนการใน
การออกแบบ งานท่สี ่งเข้าประกวดต้องทันตามกำหนดการ
อาจารย์อชติ า พดู วา่ คดั เลอื กคนทม่ี ีความคดิ โดดเด่นของผลงานท่ีตรงกับหัวข้อการประกวด โดยสว่ นใหญ่
จะส่งผลงานทางออนไลน์ก่อน แต่เด็กไม่มีแรงจูงใจในการส่งผลงานเข้าประกวดเลย เนื่องจาก
อุปกรณ์การผลิตผลงานไม่พร้อม ไม่มีแรงจูงใจในการผลิตผลงาน ควรจะมีเทคนิคการสร้าง
แรงจงู ใจ และการติดตามผล
อาจารยย์ ุทธศักด์ิ พูดวา่ ผมขอพูดถงึ เร่ืองปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ คอื ห้องปฏบิ ัตติ กิ ารซอ้ มไม่เพยี งพอในการ

11

ฝึกซ้อมช่วงเวลาในการซ้อมมีจำกัดเนื่องจากรายวิชาเรียนมีทั้งวัน ทำให้จัดสรรเวลาในการ
ฝึกซ้อมได้ยาก การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพันธ์เพลงและการ
ปฏิบัติเท่านั้น การประกวดที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางสาขาไม่สามารถทำได้ดี
เท่าไร เนื่องจากห้องปฏิบัติการณ์ที่เกี่ยวข้องยังไม่สมบูรณ์เช่น ไม่มีโปรแกรม (DAW-Digital
work station) , คอมพิวเตอร์ เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา ซึ่งตรงนี้เป็นปัญหามาก เพราะองค์
ความรู้ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวตั กรรมต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลักใน
การเรียนรู้ ไดร้ บั ข่าวสารโดยตรงจากนกั ศกึ ษาวา่ มีเวทีประกวดท่ีไหนบ้างในรอบปีนี้ และขอเสนอ
วา่ ควรมหี ัวขอ้ ที่เกีย่ วกับเทคนิคในการสร้างแรงจงู ใจทีจ่ ะใหน้ ักศึกษาเข้าร่วมประกวดผลงาน
อาจารย์ณัฐพล พูดว่า โดยเฉพาะการขาดงบประมาณในการสนับสนุนในระหว่างการประกวดและ
ระหว่างการฝึกซ้อม มหาวิทยาลัยไม่ได้มองที่กระบวนการหรือขั้นตอนในการส่งผลงาน
แต่ต้องการแค่ผลสัมฤทธิ์ เช่น หากไม่ได้รางวัลจะไม่ได้รับการสนับสนุน อาจารย์ที่เป็นผู้ฝึกสอน
จะต้องจ่ายงบประมาณเพือ่ ใช้ในการสนับสนุนนักศึกษาเอง วิธีการส่งงานเข้าประกวดของแต่ละ
ภาควิชามคี วามแตกตา่ งกนั จงึ อยากเสนอให้กำหนดเน้ือหาหวั ข้อว่า วิธีการส่งผลงานเขา้ ประกวด
ตามสาขาวชิ าชีพ นอกจากน้ันควรมีเทคนคิ ในการคัดเลือกงานดว้ ย
อาจารย์นรศิ รา พดู วา่ น่าจะมีหวั ข้อท่สี ่งเสรมิ ให้นกั ศึกษากอ่ นส่งผลงานเข้าประกวด
อาจารย์สุจิตรา พูดว่า เห็นด้วยในหัวข้อช่องทางข่าวสารการจัดประกวด เพราะเป็นขั้นต้นที่ทำให้รู้ได้
รวดเร็วว่าช่วงเวลานี้มีการจัดประกวดผลงานที่ไหนบ้าง โดยเน้นที่เทคนิคการสร้างแรงจูงใจ
เช่น รางวัลตอบแทน เนื่องจากว่านักศึกษาไม่ค่อยสนใจหรือให้ความสำคัญในการส่งงานเข้า
ประกวด โดยวิธีการหนูที่จะคัดเลือก เลือกผลงานที่ตรงกับหัวข้อการประกวดมากที่สุด
เลือกผลงานท่มี เี ทคนิคน่าสนใจและแปลกใหม่ ทำตามกติกาตามเกณฑ์การประกวดนนั้ ๆ
ผศ.รัตนฤทธิ์ พูดว่า มีอีกหนึ่งงานที่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ทุกสถาบันเข้าร่วมแข่งขัน ซึ่งเป็นเวทีระดับชาติ
และมีสำหรับการประชุมวันนี้ได้ความรู้จากการที่คณะกรรมกากรทุกท่านแชร์ประสบการณ์
ขอนัดประชมุ ครงั้ ต่อไปวนั ที่ 20 เมษายน 2564 ขอบคุณครับ

12

2.4 การระดมความร้แู ละประสบการณ์เพอื่ แลกเปลย่ี นความรู้ครงั้ ท่ี 4

ประธาน ผศ.รตั นฤทธิ์ กล่าว จากการประชุมท่ีผ่านมา 3 คร้งั ไดร้ ับร้ถู งึ ช่องทางข่าวสารการประกวด
ปัญหา อุปสรรค และข้อกำหนดต่างๆ ของแต่ละสถานที่ในการส่งเข้าประกวด วันนี้อยากให้
คณะกรรมการทุกทา่ นได้พดู เรอื่ งทีท่ ุกท่านอยากสะท้อน หรอื พูดเกี่ยวกบั การประกวด หรืออะไร
ที่คณะกรรมการอยากพูด เพราะนารประชุม KM เราไม่สามารถกำหนดหัวข้อในการประชุมได้
แต่เราจะมาเรียนรู้ มาแชร์ ประสบการณ์ของทุกท่านเพ่ือจะนำไปกำหนดหัวข้อในภายหลังจากที่
เรา เรยี นรู้รว่ มกัน นะครบั วนั นี้ใครจะเป็นคนเริม่ ดคี รบั เชญิ ครบั

อาจารย์ยุทธศักดิ์ พูดว่า ผมจะพูดในเรื่องของปัญหา ห้องปฏิบัติติการซ้อมไม่เพียงพอในการฝึกซ้อม
ชว่ งเวลาในการซ้อมมีจำกัดเน่ืองจากรายวิชาเรยี นมีทั้งวนั ทำใหจ้ ดั สรรเวลาในการฝึกซ้อมได้ยาก
การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพันธ์เพลงและการปฏิบัติเท่านัน้ การ
ประกวดที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางสาขาไม่สามารถทำได้ดีเท่าไร เนื่องจาก
ห้องปฏิบัติการณ์ที่เกี่ยวข้องยังไม่สมบูรณ์เช่น ไม่มีโปรแกรมม (DAW-Digital work station) ,
คอมพวิ เตอร์ ไมเ่ พยี งพอต่อจำนวนนกั ศึกษา ซงึ่ ตรงนเี้ ปน็ ปญั หามาก เพราะองคค์ วามร้ทู ุกอย่างที่
เกีย่ วข้องกับเทคโนโลยหี รือนวัตกรรมต้องใช้คอมพิวเตอรเ์ ป็นเครื่องมือหลกั ในการเรียนรู้

อาจารย์ณัฐพล พูดว่า ขาดงบประมาณในการสนับสนุนในระหว่างการประกวดและระหว่างการฝึกซ้อม
มหาวทิ ยาลยั ไมไ่ ดม้ องท่ีกระบวนการหรือขั้นตอนในการส่งผลงาน แตต่ ้องการแค่ผลสมั ฤทธิ์ เช่น
หากไม่ไดร้ างวัลจะไม่ได้รับการสนบั สนนุ อาจารย์ท่เี ปน็ ผฝู้ ึกสอน จะตอ้ งจ่ายงบประมาณเพ่ือใช้ใน
การสนับสนนุ นกั ศึกษาเอง

ผศ.ชัยพร พูดว่า การจัดหางบประมาณในการจัดส่งผลงานไปประกวดในระดับนานาชาติ ซึ่งจะมี
ค่าใช้จ่าย ค่ารถ ค่าส่งไปรษณีย์ ถ้าเป็นการส่งภายในประเทศ อาจจะติดต่อหารถรับส่งผลงาน
และขาดผู้ประสานงานในองค์กรกับเวทีการประกวด ระดับนานาชาติควรหาผู้รับผิดชอบในการ
ประสานงาน

ผศ.รัตนฤทธิ์ พดู ว่า วันนท้ี ุกคนจะพดู ถึงปัญหา ผมพูดบ้างดีกวา่ เรอ่ื งคุณภาพของผลงานไม่สูงพอที่จะส่ง
เข้าประกวดขนาดผลงานมีขนาดเล็ก ทำให้ขาดความโดดเดน่ ตอบสนองต่อการรับรขู้ องกรรมการ
ไมม่ ากเพียงพอเม่ือเปรยี บเทียบผลงานกับที่อื่น ที่สง่ เข้าประกวดในรายการเดียวกันทำให้เราอาจ
ถูกมองข้ามจากคณะกรรมการตัดสิน อันนี้จะทำให้เราพลาด และ รูปแบบงาน และเทคนิค ไม่
แปลกใหม่อกี ท้ังนกั ศึกษาบางคนขาดความทมุ่ เท

13

ผศ.จุฑามาศ พูดวา่ จากประสบการณ์ทส่ี ่งนักศึกษาเข้าประกวดแต่ละรายการ เราจะกำหนดหัวข้อให้ตรง
กบั หวั ขอ้ ทีม่ ีการเรียนการสอนเป้าหมายคืออยากให้นักศึกษาเรยี นรเู้ ร่ืองอะไรนักศึกษาได้คะแนน
จากอาจารย์แต่ผลที่ไดข้ องนักศึกษาคอื การได้รับรางวัลจากหน่วยงานท่ีจดั ประกวดการให้รางวลั
เป็นใบประกาศ/ การมอบดอกไม้ ข้อเสนอเพิ่ม หรือจะมีการมอบทุนหรือเงินรางวัลให้ก็จะสร้าง
แรงจูงใจ และการประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ ของคณะและมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ
อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษา อำนวยความสะดวกในการเดินทาง มีงบประมาณ มีวัสดุสนับสนุน
บา้ งตามสมควร

อาจารย์อชิตา พูดว่า สำหรับนักศึกษาที่พาเข้าร่วมประกวดต่างๆ จะให้คะแนนในรายวิชาที่สอนเพิ่มขึ้น
เนื่องจากนักศึกษาเสียสละเวลาจากการทบทวนบทเรียน เพื่อทำผลงานส่งเข้าประกวด และการ
ลดภาระงานในรายวิชาอื่นร่วม เพื่อเป็นขวัญและกำลังให้กับนักศึกษา และอยากให้ผู้ใหญ่ให้
รางวัลผลตอบแทน เชน่ เงนิ รางวัล ทรปิ เทย่ี วเลก็ ๆ

อาจารย์ธนาพร พูดว่า ผมเห็นดว้ ยกับอาจารย์อชติ า ครบั เพราะ การสง่ ผลงานเข้าประกวดแต่ละรายการ
เดก็ ๆ ตอ้ งทมุ่ เท เป็นอย่างมาก เพราะบางรายการต้องมีการคัดเลือกหลายรอบ กว่าจะผ่านด่าน
ไปถึงเข้ารอบแต่ละรอบ หากเราสร้างขวัญและกำลังให้กับเด็กๆ เด็กจะมีกำลังใจ สำหรับผมการ
ให้คะแนนเพิ่มขึ้นผมถือว่าเป็นการสร้างขวัญและกำลังให้เด็กๆ เป็นอย่างดี หากคณะสนับสนุน
เงินรางวัลนอกเหนอื จากที่เด็กไดร้ างวัลมาก็อจะดีมากเลยครับ

อาจารย์นริศรา พูดว่า เวทีการประกวดจะไม่ให้นักศึกษาที่เคยได้รับรางวัลการประกวดของเวทีอื่นเข้า
ประกวดซ้ำ จึงทำให้นักศึกษาที่ไม่เคยผ่านเวทีการประกวดได้รับโอกาสเข้าร่วมรายการประกวด
จนได้รบั รางวลั

2.5 การระดมความรแู้ ละประสบการณ์เพ่อื แลกเปลีย่ นความรู้ครั้งที่ 5

ผศ.รัตนฤทธิ์ กล่าว จากการประชุมที่ผ่านมา 4 ครั้ง เราได้ปรับแก้ไขหัวข้อการประกวด ปัญหาและ
อุปสรรคที่ผ่านมาในช่วงการกำหนดเนื้อหาในการถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตบัณฑิตบางส่วน
แล้ววนั นีข้ อใหท้ กุ ท่านพูดถึงการปฏิบัติงานว่ามีปญั หาหรือข้อเสนอแนะแนวทางอะไรเพ่ิมเติมจาก
การประชุมครงั้ ท่ผี ่านมาบา้ ง เชิญครับ

14

ผศ.ชัยพร พูดว่า เรื่องการประกวดศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติ ว่าจะยึดตามจากการที่เคยพูดในที่ประชุม
ครั้งที่ผ่านมา ซึ่งผมก็ไดค้ ุยประสานงานในส่วนของอาจารย์ บุคลากรที่อยู่ในทีมจดั ทำนี้รู้บ้างแล้ว
วา่ เราตอ้ งดำเนินการอย่างไรบา้ ง

ผศ.จฑุ ามาศ พูดวา่ จะทำการประชาสัมพันธต์ ามเว็บไซต์การประกวด ของคณะศิลปกรรม ระดับประเทศ
และนานาชาติ และประชาสัมพนั ธผ์ า่ นสื่อโซเซียลมีเดีย Facebook การแสดงศลิ ปกรรมแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์ที่แจ้งผ่านหน่วยงาน ถ้าติดต่อทางใดได้ก็จะรีบดำเนินการล่วงหน้าไปก่อน
เพอ่ื ใหง้ านสะดวกและไวขน้ึ ในการทำงานจรงิ ๆ กจ็ ะได้ทำงานตอ่ เนือ่ งไปได้เลย

ผศ. รัตนฤทธิ์ พูดว่า แล้วอาจารย์ท่านอื่นมีใครจะพูด เรื่องปัญหาหรือข้อเสนอแนะอะไรอีกไหมครับ
เราจะได้มาดูปัญหาแล้วหาวิธีแก้ไขกันเลย เพื่อที่เราจะได้จัดทำเทคนิคการจัดประกวดให้แล้ว
เสรจ็ ใหค้ ณะสามารถดำเนินงานในขั้นตอนต่อไปได้ มที า่ นใดจะเสนออีกไหมครับ พดู เสนอได้เลย
ครับ

อาจารย์ยุทธศักดิ์ พูดว่า ที่ผมเคยพูดในเรื่องของปัญหา ห้องปฏิบัติติการซ้อมไม่เพียงพอในการฝึกซ้อม
ช่วงเวลาในการซ้อมมีจำกัดเนื่องจากรายวิชาเรยี นมีท้ังวัน ทำใหจ้ ัดสรรเวลาในการฝึกซ้อมได้ยาก
การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพันธ์เพลงและการปฏิบัติเท่านั้น
การประกวดที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางสาขาไม่สามารถทำได้ดีเท่าไร เนื่องจาก
ห้องปฏิบัติการณ์ที่เกี่ยวข้องยังไม่สมบูรณ์ คอมพิวเตอร์ ไม่เพียงพอต่อจำนวนเด็กนักศึกษาที่เข้า
มาใชห้ อ้ ง ซง่ึ มปี ัญหาแบบนี้มาตลอด ไมร่ ู้วา่ จะแกไ้ ขปัญหาตรงนีอ้ ยา่ งไรไดบ้ ้าง

ผศ.รัตนฤทธ์ิ พูดวา่ เราก็เข้าใจทางอาคารเรยี นนาฏศิลปว์ ่า มขี อ้ จำกัดเรอื่ งห้องปฏิบตั ิการเพ่ือเอาไวใ้ ห้
นักศึกษาใช้ไม่เพียงพอ ซึ่งผมก็ได้ลองปรึกษากับท่านคณบดีว่า เราจะช่วยแก้ไขปัญหาอยา่ งไรได้
บ้าง ซึ่งมันค่อนข้างลำบากในการท่ีเราจะของบจากมหาวิทยาลยั เพ่ือปรับห้องเรยี นท่ีไมไ่ ด้ใช้งาน
หรือห้องที่สามารถปรับเป็นห้องซ้อมได้ ในตอนนี้คือต้องขอความร่วมมือจากอาจารย์ผู้สอนและ
ท่านอาจารยย์ ุทธศักด์ิ ปรับเปล่ยี นช่วงเวลาและดูแลนักศึกษาในการใชห้ ้องไปก่อน จนกว่าเราจะ
หางบ หรือแนวทางอื่นได้อีกครั้งหนึ่งครับ ซึ่งเราก็ไม่ได้นิ่งนอนใจในปัญหาของท่านเรื่องนี้ เดี๋ยว
เรือ่ งแนวทางผมจะหารือกับท่านคณบดตี ่อไป มที ่านใดอีกไหมครับ เชญิ ครบั

อาจารย์นริศรา พูดว่า เราจะเลือกผลงานที่มีคุณภาพ รูปแบบ เนื้อหา ที่ตรงกับหัวข้อของการประกวด
มากที่สุดพิจารณาจากผลงานศิลปะท่ีโดดเด่น และมีแนวโน้มทีส่ ามารถส่งเขา้ ประกวดศิลปกรรม
ระดบั ชาตไิ ด้

15

อาจารย์อชิตา พูดวา่ หนูขอสนับสนนุ ความคดิ ตามอาจารยน์ รศิ ราคะ
อาจารย์ธนาพร พดู วา่ ผมขอพูดเพ่มิ เติมจากท่านอาจารย์นริศรานะครับ ในสว่ นของผลงานเรากค็ วรเลือก

ที่ตรงกับสไตล์ความชอบ ของคณะกรรมการตัดสินและหัวข้อการประกวดด้วยดีกว่านะครับ
เพ่อื ให้ผลงานของเราผา่ นเข้ารอบการประกวดครบั

2.6 การระดมความรแู้ ละประสบการณ์เพ่อื แลกเปลี่ยนความรู้ครั้งที่ 6
ผศ.รัตนฤทธิ์ กล่าว จากการประชุมครั้งที่ผ่านๆ มา เราจะเห็นได้ว่าอาจารย์แต่ละท่านมีแนวคิด มีการ

เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค จนงานเราสามารถดำเนินการมาได้สว่ นหนึ่งแล้ว
ในวันนีผ้ มกอ็ ยากจะให้ทุกท่านได้พูดถึงปัญหาหากท่านมีเพิ่มเติมจากการประชุมก่อนหน้านี้ และ
ขอให้ท่านที่ดำเนินการไปแล้วในการเตรียมผลงาน พูดสรุปให้ที่ประชุมทราบในวันนี้ได้เลยครับ
เชญิ ทา่ นใดจะพดู กอ่ นได้เลยครับ
ผศ.จุฑามาศ พูดวา่ ในสว่ นของที่อว้ นไดด้ ปู ระสานงานกับนกั ศึกษาไปบา้ งแล้วไม่มีปัญหาคะ แลว้ ภาคการ
ออกแบบฯ ไดใ้ ชช้ อ่ งทางการประชาสัมพนั ธ์ ดงั นค้ี ะ
1. เว็บไซตก์ ารประกวด ศลิ ปกรรม ระดบั ประเทศและนานาชาติ
2. สือ่ โซเซียลมเี ดีย
3. Facebook การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
4. ข่าวประชาสมั พันธท์ ี่แจ้งผา่ นหนว่ ยงาน
ผศ.ชัยพร พูดว่า ผมจะพูดถึงการสร้างเทคนิคการสร้างแรงจูงใจ ที่ภาควิชาออกแบบฯ คุยกันแล้วตกลง
เอาเปน็ แบบน้ีนะครับ
1. กำหนดหวั ข้อให้ตรงกบั หวั ข้อทม่ี ีการเรยี นการสอน
2. เปา้ หมายคอื อยากใหน้ กั ศึกษาเรยี นรเู้ รอ่ื งอะไร
3. นักศึกษาได้คะแนนจากอาจารย์แต่ผลที่ได้ของนักศึกษาคือการได้รับรางวัลจากหน่วยงานท่ี

จัดประกวด
4. การให้รางวัลเป็นใบประกาศ/การมอบดอกไม้ หรือจะมีการมอบทุนหรือเงินรางวัลให้ก็จะ

สร้างแรกจูงใจการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อเชิญชวนสื่อจากภายนอก
มาทำข่าวประชาสมั พันธ์ให้คนทั่วไปได้ทราบขา่ วการประกวด

16

5. สร้างขวัญและกำลังใจอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษา เช่น ประกาศเกียรติคุณ ผ่านสื่อ
ประชาสมั พันธภ์ ายในองค์กร มอบใบประกาศ โล่ และชอ่ ดอกไม้

6. อำนวยความสะดวกในการเดินทาง มงี บประมาณ มีวสั ดสุ นับสนนุ
7. คะแนนในรายวชิ าที่สอน
8. การลดภาระงานในรายวชิ าอืน่ ร่วม
9. รางวัลผลตอบแทน เช่น เงินรางวัล ศึกษาดูงานตามกิจกรรมที่ผู้จัด จัดทำขึ้น และในกรณีท่ี

ไดร้ บั รางวัลจะได้รับพิจารณารับเข้าทำงานในสถานทน่ี น้ั ๆ
อาจารย์ยทุ ธศกั ด์ิ พดู วา่ ของฝ่ังนาฏศลิ ป์ สรปุ การสรา้ งเทคนคิ การสรา้ งแรงจูงใจ มาแบบนค้ี รับ

1. เงินรางวลั /ผลตอบแทนทจี่ ะไดร้ ับ
2. เวทกี ารประกวดจะไม่ใหน้ กั ศึกษาทเ่ี คยได้รบั รางวลั การประกวดของเวทีอน่ื เข้าประกวดซ้ำ

จึงทำให้นักศึกษาท่ไี มเ่ คยผ่านเวทกี ารประกวดไดร้ ับโอกาสเข้ารว่ มรายการประกวดจนไดร้ บั
รางวัล
3. ส่งเสริมนักศกึ ษาทยี่ ังไม่เคยได้เข้ารับการประกวด
ในดา้ นวิธีการสง่ ผลงานกจ็ ะดำเนินการตามน้ีครับ
1. ส่งผลงานตามท่ีผจู้ ัดกำหนด
2. ดจู ากข้อจำกัดของหนว่ ยงานทีจ่ ัด เช่น ลกั ษณะวงทจี่ ะสง่ เข้าประกวด จำนวนนักดนตรีท่ีจะ
บรรเลง
3. ลักษณะเฉพาะของกรรมการ เช่น สไตล์ รสนิยม ทัศนคติ การชอบของกรรมการแต่ละคนมี
ความแตกต่างกัน จึงต้องฝึกซ้อมนึกศึกษาให้ตรงตามความชอบของคณะกรรมการไม่มีการ
เปลยี่ นแปลงอะไรเพิม่ เติมครับ
อาจารย์นริศรา พูดวา่ เหน็ ดว้ ยตามท่อี าจารยย์ ุทธศกั ด์ิเสนอมาคะ
อาจารย์ธนาพร พูดว่า ผมจะขอพูดในส่วนของทัศนศิลป์นะครับว่าเราใช้การคัดเลือกผลงานในการ
ส่งเสริมการส่งผลงานเข้าประกวด โดยให้คำปรึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งประกวดของ
นักศกึ ษาดว้ ยดงั นี้ครับ
1. รางวัลผลตอบแทน
2. เปน็ การเผยแพรผ่ ลงานสรา้ งสรรค์
3. เปน็ การสรา้ งเครอื ขา่ ยในสายงานศิลปะของตนเอง

17

4. อธิบายถึงผลลัพธจ์ ากการส่งประกวดทำให้ได้รว่ มแสดงหรือไม่ได้ หรอื ไดร้ บั รางวัล ได้แก่
ชื่อเสียง ไดท้ นุ มาเปน็ การศึกษา และไดบ้ นั ทึกประวตั ใิ ชอ้ ้างอิงในการศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน
ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ และหากมผี ลงานมาก ๆ จะสง่ ผลในการเข้าบรรจุเปน็ อาจารย์
สอนในสถาบันการศึกษา

อาจารย์อชติ า พดู ว่า การส่งผลงานจะทำตามกติกาตามเกณฑ์การประกวด ถา้ เปน็ การสง่ ภายในประเทศ
อาจจะติดตอ่ หารถรบั สง่ ผลงาน ถ้าเป็นการส่งผลงานไปต่างประเทศจะมีการให้ความรู้และ
หลักเกณฑ์การสง่ ประกวดส่งตามจำนวนที่เกณฑ์กำหนด โอกาสได้คัดเลือกเข้าร่วมแสดงจะมี
โอกาสสูงกว่าส่งเพยี งชิ้นเดียว

ผศ.รัตนฤทธิ์ พูดว่า จากทปี่ ระชุมกันมาผมขอสรปุ ปัญหาและอปุ สรรคให้ฟงั อกี ทนี ะครบั

2.7 สรปุ การแบ่งปนั ความรู้
จากการแบ่งปันความรู้ทั้ง 6 ครั้งได้สรุปความรู้และประสบการณ์เรื่องเทคนิคการส่งผลงานเข้า

ประกวดดา้ นศิลปกรรมศาสตร์ แตด่ ้านของวชิ าชีพ ดังน้ี
ศลิ ปะการออกแบบ
1. ทำงานเสร็จตามกำหนด ต้องเตรียมนักศึกษา ฝึกการนำสนอผลงานต่อคณะกรรมการ
นักศึกษาบางคนไม่เคยนำเสนอ ซึ่งการนำเสนอบางเวทีประกวดจะใช้เวลาอย่างน้อย 5 นาที
อาจารย์จะต้องฝึกนักศึกษาให้เคยชินและกล้าพูดต่อหน้าคณะกรรมการ ซึ่งบางเวทีนักศึกษา
ค่อนขา้ งตืน่ เต้นมาก
2. การขอรถเพื่อไปส่งผลงานเข้าประกวด บางครั้งต้องเสียค่าใช้จ่าย เช่น ค่าทางด่วน
คา่ ตอบแทนคนขับ(กรณพี ิเศษ) หรอื บางครัง้ อาจารย์ต้องขับรถไปเอง
3. การตดิ ต่อประสานงานเอง/ ประสานงานเองทกุ อย่าง/การประชาสัมพนั ธ์/การถ่ายภาพ ต้อง
ดำเนินการเอง
4. ไม่มงี บประมาณทใ่ี ช้ในการสนับสนุน ซ่ึงอาจารยผ์ ู้สอนต้องดำเนนิ การเองท้ังหมด
5. ไม่ค่อยมีขวญั และกำลังใจให้กบั นกั ศกึ ษา
6. นักศึกษาไม่มีแรงจูงใจในการส่งผลงานเข้าประกวด เนื่องจาก อุปกรณ์การผลิตผลงานไม่
พร้อม ไม่มีแรงจูงใจในการผลิตผลงาน

18

ดา้ นทัศนศิลป์
1. การจดั หางบประมาณในการจดั สง่ ผลงานไปประกวดในระดับนานาชาติ
2. ขาดผู้ประสานงานในองคก์ รกับเวทกี ารประกวด ระดับนานาชาติ
3. คุณภาพของผลงานรปู แบบงาน และเทคนิค ไมแ่ ปลกใหมไ่ มเ่ ข้าขา่ ยกติกาการประกวด เชน่

ขนาดผลงานมขี นาดเล็ก ทำให้ขาดความโดดเดน่ ไมด่ งึ ดูดสายตา แก่คณะกรรมการ
4. นักศกึ ษาขาดทกั ษะขาดความกระตือรือร้น ขาดความมน่ั ใจ ในการสรา้ งผลงานเพอื่ สง่ เข้า

ประกวด
ศิลปะการแสดง
1. หอ้ งปฏิบัตติ ิการซอ้ มไมเ่ พียงพอในการฝึกซอ้ ม
2. ชว่ งเวลาในการซ้อมมจี ำกัดเน่ืองจากรายวชิ าเรยี นมีทั้งวัน ทำให้จดั สรรเวลาในการฝึกซ้อมได้

ยาก
3. การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพันธ์เพลงและการปฏิบัติเท่านั้น

การประกวดที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางสาขาไม่สามารถทำได้ดีเท่าไร
เนอื่ งจากหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารณ์ท่ีเกี่ยวข้องยังไม่สมบูรณเ์ ช่น ไมม่ โี ปรแกรมม (DAW-Digital work
station) , คอมพิวเตอร์ เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา ซึ่งตรงนี้เป็นปัญหามาก เพราะองค์
ความรู้ทกุ อยา่ งทีเ่ กย่ี วข้องกับเทคโนโลยหี รอื นวัตกรรมต้องใช้คอมพิวเตอร์เปน็ เคร่ืองมือหลัก
ในการเรียนรู้
4. ขาดงบประมาณในการสนับสนนุ ในระหว่างการประกวดและระหวา่ งการฝึกซ้อม
5. มหาวิทยาลัยไม่ได้มองที่กระบวนการหรือขั้นตอนในการส่งผลงาน แต่ต้องการแค่ผลสัมฤทธ์ิ
เชน่ หากไม่ได้รางวลั จะไม่ไดร้ ับการสนับสนนุ
6. อาจารย์ที่เป็นผูฝ้ ึกสอน จะต้องจา่ ยงบประมาณเพ่อื ใช้ในการสนับสนนุ นกั ศึกษาเอง

19

3.1 ประเด็นทไ่ี ดจ้ ากการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
ประเด็นแลกเปลย่ี นเรียนรู้ เช่น การรับข่าวสารการจัดการประกวด, ประสบการณ์ในการส่งเสริม

และพัฒนานักศึกษาสง่ ผลงานเข้าประกวด, การสร้างแรงจูงใจ, เทคนิคในการคัดเลอื กผลงาน และวิธีการ
ส่งการ ประเดน็ ท่ีไดจ้ ากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้กันมีคุณภาพ เพราะอาจารยแ์ ตล่ ะท่านได้นำข้อมูลที่ได้จาก
การปฏิบัติจริง ที่มีการพบเจอในประเด็นต่างๆ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างหลากหลาย โดยจะสะท้อน
ให้เห็นถึงธรรมชาติของแต่ละสาขาวิชาชีพนั้นๆ อย่างเด่นชัด เพื่อนำไปสู่การสรุปในภาพรวมที่จะพัฒนา
นักศกึ ษาสง่ ผลงานเขา้ ประกวดใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย

ประเด็นเหล่าน้ีทำให้ทราบข่าวสารวิธีการรับข้อมูลการประกวดแต่ละคน มีการใช้วิธีการได้รับ
ข้อมูลข่าวสารคล้ายๆกัน จากเว็บไซต์บ้าง จาการรับข้อมูลตรงบ้างหรือจาการรับข้อมูลจากแหล่งที่ไป
สถานทน่ี ัน้ มาบ้าง เพือ่ มาส่งเสริมใหน้ ักศึกษาไดร้ ่วมประกวดค่ะ จะเห็นไดว้ ่า จะมอี าจารย์เฉพาะบ้างกลุ่ม
เทา่ น้นั ที่ตัง้ ใจสนบั สนนุ ลูกศิษย์ในการประกวด เกดิ จากประสบการณ์ของอาจารย์ผู้นน้ั เลยลงประกวดมา
ก่อนก็จะเห็นช่องทาง แนวทางให้นักศึกษาประกวด นำประสบการณ์ดีๆมาบอกต่อแก่นักศึกษา จนทำให้
นักศึกษาได้รับโอกาสดีๆ ซึ่งบ้างคนเคยได้รับรางวัล แต่บ้างคนไม่ได้รับรางวัลแต่ได้รับประสบการณ์ดีๆ
การลงแข่งขนั ตา่ งจากแค่เรียนในห้อง ไปแขง่ ขนั กับคนนอก หรอื มหาวทิ ยาลัยอ่ืน

3.2 บรรยากาศในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นอาจารย์หลากหลายสาขาที่มีความสามารถชำนาญในเรื่องท่ี

แตกต่างกันไป อาจารย์ให้ความร่วมมือในการถ่ายทอดประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้นำพา
นกั ศกึ ษาเข้าประกวดในเวทีตา่ งๆ จนประสบผลสำเร็จได้รบั รางวัล อาจารยจ์ ะมีไอเดยี จดุ ประกายความคิด
ริเริ่มในการชี้นำนักศึกษาให้เกดิ แรงจูงใจในการส่งผลงานประกวดเป็นสิ่งที่ท้าทายและแสดงศักยภาพของ
อาจารยแ์ ละสง่ เสรมิ พฒั นานักศกึ ษาได้เป็นอย่างดี

บรรยากาศโดยรวมดี แลกเปล่ียนความคดิ เห็นบรรยากาศมีความเป็นกนั เอง มปี ระธานกลุ่ม และ
อาจารย์แตล่ ะทา่ นช่วยกนั ใหข้ ้อมลู ใชเ้ วลาอาจจะไมเ่ ยอะแต่ทุกคนช่วยกนั พดู คยุ เพื่อเป็นการแลกเปล่ียน
เรยี นรูค้ ะ่ ลักษณะการประกวดแต่ละประเภทก็ไม่เหมือนกัน เลยอาจจะทำให้แตล่ ะคนที่เปน็ ตัวแทนมาไม่
มาก เพราะอาจารย์ด้านออกแบบก็มีไม่มากที่เล่นงานประกวดนะคะ เช่นด้านออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือ

20

บรรจภุ ัณฑ์กม็ ีไม่ก่คี นที่ใหข้ ้อมลู เลยอาจจะไมท่ ราบเทคนิคในกล่มุ ทปี่ ระกวดเหมือนกันนะคะ แต่จะได้ฟัง
ของานประกวดกลมุ่ อื่น ท่ีใกลเ้ คียงกันค่ะ กเ็ ปน็ ประโยชน์นะคะ

3.3 ผลการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
3.3.1 ข่าวสารการจดั การประกวดดา้ นศลิ ปกรรมศาสตร์
1. เว็บไซตข์ า่ วสารทเี่ กย่ี วข้องกบั การประกวดศลิ ปะ ระดบั ประเทศ และต่างประเทศ
2. หนังสือขา่ วสารแจ้งประชาสัมพันธ์ เช่น โปสเตอรก์ ารประกวด, กติกาการประกวด,
3. กลมุ่ ไลน์เครือขา่ ยการประกวดทางด้านการออกแบบแต่ละประเภท
4. การประชาสมั พันธ์ของหน่วยงานผา่ นส่ือโซเซียลมเี ดยี อาทีการแสดงศลิ ปกรรมแห่งชาติ
Facebook
5. ขา่ วสารจากเครือขา่ ยของกลุ่มอาจารยผ์ สู้ อนสายออกแบบหรือการทำงานในสายงาน
เดียวกนั
6. เสียงตามสายประชาสมั พันธท์ ่ัวไป
7. ขา่ วประชาสมั พันธ์ที่แจ้งผา่ นระบบราชการของหนว่ ยงาน
8. จากนักศึกษา และจากเวทกี ารประกวดที่เคยเข้าร่วม
3.3.2 ประสบการณ์ในการส่งเสริมและพฒั นานักศกึ ษาสง่ ผลงานเข้าประกวดจะมีความแตกต่างกนั
ของแตล่ ะเวทีการประกวดดงั นี้
1. Thai Star Packaging Awards จดั ประจำทกุ ปี โดยกรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม ทก่ี ลว้ ยน้ำไทย
นกั ศกึ ษาได้รบั รางวลั เกือบทุกปี ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2553-2563 มกี ารสง่ เสริมและพฒั นานักศึกษา
ดังน้ี
a. ให้นักศึกษาเรียนรู้ในการออกแบบกล่องขั้นพื้นฐานก่อน ข้อมูลรายละเอียดกราฟิก หา
ตัวอย่างงานประกวดที่ได้รับรางวัลให้ดู ลองให้โจทย์ให้นักศึกษาฝึกสร้างสรรค์ผลงาน
ผลงานไหนที่ดีก็ใหน้ ำไปตอ่ ยอดในการประกวด Thai Star Packaging Awards ถ้าของ
ใครยังไม่ดีก็จะบอกจุดที่ต้องไปปรับปรุงแล้วนำมาส่งใหม่นะคะเพื่อพัฒนาไปสู่การ
ออกแบบ ทสี่ ามารถเข้าประกวดได้
b. สรา้ งแรงจงู ใจกอ่ นประกวดจะพาไปชมโรงงานบรรจภุ ัณฑ์ให้นักศึกษาทราบกระบวนการ
ผลติ กอ่ นการออกแบบ เวลาออกแบบจะไดท้ ำได้

21

c. พานกั ศกึ ษาไปฟงั บรรยายจากกองประกวด เพอ่ื รับการกติกาการประกวด หรือปจั จบุ ันก็
จะดผู ่านออนไลน์

d. ใหน้ ักศึกษาทราบสงิ่ ที่ตอ้ งเตรยี มก่อนการประกวด ใหส้ อดคล้องกบั วิชาทีเ่ รียน
e. จดั หาวสั ดุเพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถทำบรรจภุ ณั ฑ์ได้
f. นกั ศกึ ษาส่งงานเข้าประกวด อาจารยก์ จ็ ะดแู ลในการพาไปสง่ งานเขา้ ประกวด
g. นกั ศึกษาไดร้ ับการคดั เลือกได้รับรางวัลอาจารยก์ ็พาไปรับรางวลั
h. รวมแสดงความยนิ ดีและประชาสัมพนั ธ์

(ภาพผลงานทีไ่ ดร้ บั รางวัลตั้งแต่ป2ี 553-2563)

22

2. Asia Star Packaging Awards จดั ประจำทุกปี โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ท่ีกล้วยน้ำไทย
ทุกประเทศในโซนเอเชีย ได้รับรางวลั ทกุ ปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553-2563 มีการส่งเสริมและ
พัฒนานกั ศึกษา ดังนี้
a. นักศึกษาที่ได้รับรางวัล Thai Star Packaging Awards สามารถส่งในระดับ Asia Star
Packaging Awards ตอ่ ได้

23

b. นักศึกษาตอ้ งทำบรรจภุ ัณฑ์ใหม่อีกชุดเพ่ือประกวดระดับAsia Star Packaging Awards
บรรจุภัณฑ์ต้องแปล 2 ภาษาเพื่อเข้าประกวด จัดหาวัสดุเพื่อให้นักศึกษาสามารถทำ
บรรจภุ ัณฑไ์ ด้

c. ตดิ ตามข่าวสารการประกวด เมอื่ นักศึกษาไดร้ ับการคดั เลือกได้รับรางวัลอาจารย์กพ็ าไป
รับรางวัล

d. รวมแสดงความยนิ ดแี ละประชาสัมพันธ์

24

3. World Star Packaging Award จดั ประจำทุกปี ระดับนานาชาติ มกี ารส่งเสรมิ และพฒั นา
นกั ศึกษา ดังน้ี
a. มีแต่ผลงานอาจารย์ ส่งเข้าประกวด ผู้ที่สามารถส่งผลงานเข้าประกวดได้ ต้องได้รับ
Thai Star Packaging Awards หรือรางว ัล Asia Star Packaging Awards ถึง จ ะ
ประกวดต่อได้ ผู้ประกวดต้องส่งผลงานประกวดเอง กรอกข้อมูลผ่านระบบ และติดต่อ
กองประกวดทางชอ่ งทางe-mail มคี ่าใช่จ่ายในการประกวด ส่งผลงานเป็นรปู ถา่ ย พร้อม
รางวัลการันตี ในระดบั ประเทศและตา่ งประเทศมาก่อน
(นักศึกษายังไม่สง่ เข้าประกวดเพราะต้องเสียเงนิ คา่ สง่ ประกวด ยงั ไมม่ ีงบประมาณสนับสนุน)

4. ประกวดบรรจุภณั ฑ์ SCG จดั ประจำทกุ ปี โดยบริษัท SCG ส่งเขา้ ประกวดปีเว้นปี นกั ศึกษา
เข้ารอบ 1 ใน 10 และเขา้ รอบชิงชนะเลศิ มกี ารส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ดังน้ี
a. ติดตามข่าวสารการประชาสมั พนั ธก์ ่อนการประกวด
b. เชญิ เจ้าหนา้ ท่ผี ้ดู แู ลการประกวดมาให้ข้อมูลประชาสัมพนั ธท์ ี่คณะ

25

c. ให้นักศึกษาทำออกแบบตามโจทยท์ ี่ได้รบั มอบหมาย โดยนักศึกษาสามารถเลือกหัวข้อที่
ตัวเองสนใจ

d. ส่งผลงานเขา้ ประกวด
e. ติดตามขา่ วการคดั เลือกผลงาน
f. จดั หาวัสดเุ พ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถทำบรรจุภณั ฑไ์ ด้
g. นักศกึ ษาสง่ งานเข้าประกวด อาจารย์ก็จะดแู ลในการพาไปส่งงานเข้าประกวด
h. เม่อื นักศึกษาผา่ นการคดั เลือกรอบแรก 1 คน
i. พานกั ศกึ ษาเข้าร่วมกจิ กรรมกับทาง SCG พาไปชมโรงงานและรับโจทย์เพื่อประกวดอีก

รอบ
j. อาจารยก์ ับนักศึกษาเขา้ รว่ มกิจกรรมกับทาง SCG ไปชมโรงงานต่างๆ
k. นกั ศึกษาได้พฒั นาบรรจภุ ัณฑ์และบรรจุภัณฑต์ น้ แบบ และนำเสนองานประกวดต่อ

คณะกรรมการ อาจารย์ก็ไดร้ ่วมเป็นกำลังใจให้ลูกศษิ ย์

5. ข่าวการประกวดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ฉลากดว้ ยเทคโนโลยีการพมิ พ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์จัดโดย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นักศึกษาได้รับรางวัลชมเชย มีการส่งเสริมและพัฒนา
นักศกึ ษา ดงั น้ี
a. ตดิ ตามข่าวสารการประกวด
b. เลือกหวั ข้อประกวดที่สอดคล้องกบั ความสามารถของนกั ศึกษา
c. รบั โจทยง์ านประกวด

26

d. ดูกติกาการประกวด พานักศึกษาไปฟังสัมมนาการประกวด
e. ใหน้ ักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดทกุ คน
f. ตดิ ตามผลการผ่านรอบแรก รับแผงวงจรมาทำกลอ่ งเพอื่ ประกวดรอบท่ี 2
g. พานักศกึ ษาไปส่งงานประกวดทีม่ .สุโขทยั
h. ผ่านเขา้ รอบ พานกั ศกึ ษาไปลุ้นรบั รางวัล ไปฟงั การผลการประกวดท่ีไบเทคบางนา
i. นกั ศกึ ษาไดร้ ับรางวลั ก็จะถ่ายภาพแสดงความยินดีและส่งข้อมูลประชาสัมพนั ธใ์ ห้

ทางคณะ

6. งานประกวด ADDA (จัดทุก 2 ป)ี โดยบริษทั แอ็คด้า นักศึกษาไดร้ บั รางวัลรองชนะเลศิ
อนั ดับ 1 มีการส่งเสรมิ และพัฒนานักศึกษา ดังน้ี
a. ติดตามขา่ วสารการประชาสมั พนั ธ์ก่อนการประกวดออกแบบรองเท้า
b. เชญิ วิทยกร การประกวดบริษทั แอ็คดา้ มาใหข้ อ้ มูลประชาสัมพันธ์ทคี่ ณะ
c. ใหน้ กั ศกึ ษาออกแบบตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย
d. สง่ ผลงานเขา้ ประกวด
e. ติดตามขา่ วการคดั เลือกผลงานรอบแรก

27

f. เมอื่ นักศกึ ษาผา่ นการคัดเลอื ก ก็พานกั ศึกษาเข้ารว่ มกจิ กรรมกับทางบรษิ ทั ADDA พาไป
ชมโรงงานและเข้ารวมกิจกรรมท่ที างบริษัทจัด

g. อาจารยก์ ับนักศึกษาเขา้ ร่วมกิจกรรมกบั ทางADDA
h. นกั ศึกษาได้พฒั นาออกแบบรองเท้าต่อและนำเสนองานประกวดต่อคณะกรรมการ

อาจารยก์ ็ได้ร่วมเป็นกำลงั ใจใหล้ ูกศิษย์
i. ออกแบบและทำต้นแบบจำลอง รองเท้าเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการ
j. นกั ศกึ ษาไดร้ ับการคดั เลอื กได้รบั รางวัลอาจารยก์ ็พาไปรับรางวลั
k. รวมแสดงความยนิ ดแี ละประชาสัมพันธ์
l. ยินดีและประชาสมั พนั ธ์

7. งานประกวดเศษวสั ดเุ หลือใช้ จัดประกวดโดยโรงพยาบาลพญาไท เข้ารอบรางวัล 3 ใน 10
ทีม มกี ารส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศกึ ษา ดงั น้ี
a. ตดิ ตามข่าวสารการประชาสมั พนั ธ์กอ่ นการประกวดวสั ดเุ หลือใช้จากโรงพยาบาล

28

b. ให้นักศึกษาเลือกวัสดุที่ทางโรงพยาบาลพญาไท มีหนังสือขอวัสดุเหลือใช้มาทดลอง
ออกแบบให้นกั ศึกษาเลือกมา 1 ชิ้น ใหน้ กั ศึกษาออกแบบตามโจทยท์ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย

c. พานักศึกษาไปส่งประกวดที่โรงพยาบาลพญาไท พร้อมทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ส่งผลงาน
เข้าประกวด

d. ตดิ ตามข่าวการคัดเลือกผลงานรอบแรก นักศึกษาผา่ น 3 ทีมใน 10 ทมี
e. เม่อื นักศึกษาผา่ นการคัดเลือกก็พานักศึกษาเขา้ ร่วมกิจกรรมกบั โรงพยาบาลพญาไท

นำเสนอผลงานตอ่ คณะกรรมการ
f. นกั ศกึ ษาได้พัฒนาออกแบบและทำตน้ แบบนำเสนองานประกวดต่อคณะกรรมการ

อาจารย์ก็ไดร้ ว่ มเปน็ กำลังใจให้ลกู ศษิ ย์
g. นกั ศึกษาไดร้ บั การคัดเลอื กได้รับรางวัลอาจารยก์ ็พาไปรบั รางวลั
h. รวมแสดงความยนิ ดแี ละประชาสัมพันธ์

8. งานประกวดออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์ ออกแบบผลิตภัณฑเ์ คร่ืองเรือนจากไมส้ ัก ขององค์การ
อุตสาหกรรมป่าไม้ มกี ารส่งเสริมและพฒั นานักศึกษา ดังนี้
a. ติดตามข่าวสารการประชาสัมพันธ์การประกวดเฟอร์นิเจอร์ ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่อง
เรอื นจากไม้สกั
b. ให้นกั ศกึ ษาออกแบบตามโจทยท์ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ออกแบบและทำแบบจำลอง

29

c. ส่งผลงานเข้าประกวด
d. ติดตามผลการประกวด

(ภาพกจิ กรรมการสง่ เสริมนกั ศกึ ษา)

(ภาพกิจกรรมการสง่ เสริมนักศกึ ษาออกแบบของทีร่ ะลึกสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศไทย)

9. งานการประกวดออกแบบของขวัญปใี หม่ 2564 ศนู ย์การค้าฟวิ เจอร์พารค์ และ สเปลล์ ไดร้ ับ
2 รางวัล

30

10. ออกแบบสื่อจันทบูน จดั โดยกรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม นกั ศึกษาไดร้ บั รางวัล 3 รางวัล
มีการส่งเสรมิ และพฒั นานักศึกษา ดังนี้
a. ให้นกั ศึกษาเขา้ ร่วมประกวด
b. พาไปชมกระบวนการผลติ เสื่อที่จ.จนั ทบุรี
c. พฒั นาออกแบบและสง่ ผลงานเขา้ ประกวด งานsketch design

31

d. รอบแรกผา่ นจำนวน 10 ทมี แล้วนำผลงานทอ่ี อกแบบมานำเสนอผลงานต่อ
คณะกรรมการ นกั ศึกษาไดร้ ับรางวลั ท่ี 1 ที่ 2 และที่ 3

11. ออกแบบผลติ ภัณฑส์ ีเหลือง จดั โดย ร้าน Loft siam Discovery นกั ศกึ ษาไดร้ บั รางวลั ท่ี 2
และท่ี 3

32

12. Thailand Animator Festival หน่วยงานท่ีจัดไม่แน่นอน เนื่องจากผู้สนับสนุนไปเปลี่ยนทุก
ปี นักศึกษาไดร้ บั รางวัลยอดเยยี่ ม 1 ใน 10 ทมี ได้มีการสง่ เสริมและคดั เลอื กผลงานนักศึกษา
ที่มีคุณภาพดีที่เป็นเป็นประเภท Animation จากศิลปนิพนธ์ โดยอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
เป็นผู้แนะนำและประสานงาน ซึ่งเป็นสายงานที่ อาจารย์ธนาพร ประกอบดี และอาจารย์
อชิตา เทพสถิตย์ เป็นผู้ดูแล ส่งเข้าร่วมประกวดเมื่อมีการจัดงาน Thailand Animator
Festival โดยสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหน้ ักศึกษาว่าในการประกวด มีกรรมการทที่ ำงานเก่ียวข้อง
ในวงการ Animation อาจนำไปสู่โอกาสในการทำงานในวงการ Animation รวมถึงผลงาน
ได้เผยแพรส่ ู่สายตาผทู้ ่สี นใจ Animation ท่วั โลก

13. Brand s Young Blood เช่น สื่อประชาสัมพันธ์ ภาพนิ่ง วิดีโอ งานสภากาชาดไทย จัดโดย
สภากาชาดไทย และแบรนด์ซุปไก่สกัด นักศึกษาได้รับรางวัล 2 ปีต่อเนื่อง ได้มีการส่งเสริม
การส่งผลงานประกวดในรายวิชา หลักการออกแบบโฆษณา รับผิดชอบวิชาโดย อาจารย์
อชิตา เทพสถิตย์ โดยได้มอบหมายงานเป็นงานประจำรายวิชา มีคะแนนเป็นแรงจูงใจ และ
ได้รับแรงบันดาลใจจากรุ่นพี่ที่เคยประกวด และได้รับรางวัลในปีที่ผ่านมา ส่งเสริมความ
ภาคภูมิใจให้กับนักศึกษา ในการทำคลิปวีดีโอโฆษณาประชาสัมพันธ์ การบริจาคเลือด และ
ทำใหน้ กั ศกึ ษาไดพ้ ัฒนาตนเอง มจี ติ สาธารณะ

14. True Young Producer Award การทำโฆษณา ร่วมกับสมคมโฆษณาแห่งประเทศไทย
นักศึกษาเข้ารอบ 1 ใน 20 ทีมสุดท้าย ได้มีการส่งเสริมการส่งผลงานประกวดในรายวิชา
หลักการออกแบบโฆษณา รับผิดชอบวิชาโดย อาจารย์อชิตา เทพสถิตย์ โดยได้มอบหมาย
งานเป็นงานประจำรายวิชา มีคะแนนเป็นแรงจูงใจ และได้รับแรงบันดาลใจจากรุ่นพี่ที่เคย
ประกวด และได้รับรางวัลในปีที่ผ่านมา ได้ร่วมเข้าค่ายพัฒนาทักษะการทำโฆษณาจากผู้ท่ี
ทำงานในวงการโฆษณาจรงิ โดยได้สรา้ งแรงบันดาลใจว่าในการประกวดมีคณะกรรมการจาก
สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย เข้าร่วมตัดสิน ให้คำแนะนำ และเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมให้
นกั ศกึ ษาไดท้ ำงานในวงการโฆษณาจริง โดย True เป็นผู้สนับสนนุ

15. ค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ (บ้านดำ) จัดโดย สสร. กระทรวงวัฒนธรรม นักศึกษาได้ผ่านการ
คัดเลือกเข้าร่วมโครงการ มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา จากการคัดเลือกเพื่อเข้า
โครงการ ทางสาขาได้ให้ นักศึกษารวบรวมแฟ้มผลงานทั้งหมดของนกั ศึกษาที่มีแนวโน้มว่ามี
ความน่าสนใจ ตั้งแต่ชั้นปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จนถึงผลงานที่เตรียมเสนอหัวข้อ เพื่อส่ง

33

เข้าร่วมโครงการ โดยนักศึกษาสาขาศิลปะไทยช้ันปีที่ 4 ได้ผ่านเข้าร่วมโครงการ ถือเป็นการ
เปิดประสบการณ์ และเพื่อเปิดมุมมองในการพัฒนาต่อยอดในการสร้างสรรค์ รวมถึงการได้
เเลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เทคนิควิธกี ารในการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ จากเพ่ือนๆ หลายสถาบันใน
ประเทศไทยอีกด้วย
16. ศลิ ปกรรมแห่งชาติ จดั โดย มหาวิทยาลัยศิลปากร นักศึกษสาขาศลิ ปะไทย ไดร้ บั รางวัล
เหรยี ญทองแดง ปี 2563 มีการส่งเสรมิ และพัฒนานักศึกษาโดยเร่มิ จากการคดั เลอื กผลงาน
ของนักศึกษาช้ันปที ่ี 4 ท่ีมีแนวโน้มว่าจะไดร้ างวลั เขา้ ร่วมส่งผลงานเข้าประกวด ซ่ึงมีการ
สนับสนนุ ทง้ั การขนสง่ งาผลงาน และการจัดหากำหนดการใบสมัครและได้ให้คำปรึกษาเร่ือง
คณุ สมบตั ทิ ่จี ะส่งผลงานเข้าประกวด
17. ดาวเด่นบัวหลวง 101 ครั้งที่ 11 ประจำปี 2561 นางสาวชนิสรา วรโยธา ได้รับรางวัล
ชนะเลิศ ได้เงินรางวัล 100,000 บาท ในการประกวดดาวเด่นบัวหลวง ครั้งที่ 11 น้ัน
นางสาวชนสิ รา วรโยธา ได้รับการคัดเลือกจากสาขาวิชาจิตรกรรม เนื่องด้วยมีผลงานเรยี นมี
ความโดดเด่นทางรปู แบบและเทคนิคทสี่ มบูรณ์ ด้วยลักษณะทางรูปแบบเมอ่ื เข้ารว่ มแข่งขันก็
สามารถดึงดูดความสนใจของคณะกรรมการตัดสินได้ ดังนั้นการประกวดเวทีนี้จะมีกติกา
แตกตา่ งจากการประกวดอื่นๆ ตรงทต่ี ้องให้นกั ศึกษาไปเขา้ ค่ายระยะเวลา 10 วนั ณ หอศิลป์
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สร้างสรรค์งานศิลปะแข่งขันกับตัวแทนของ
มหาวิทยาลัยอื่น ๆ 71 คน ตามโจทย์ที่ผู้จัดการประกวดกำหนด คือ “ก้าวใหม่ศิลปะไทย
วิวัฒน”์ ในระยะเวลาที่จำกัดนกั ศกึ ษาต้องแกป้ ัญหาการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและนำเสนอ
ด้วยตนเอง ด้วยการที่นักศึกษาที่เข้าร่วมแข่งขันจะมีประสบการณ์ในการสร้างสรรค์งาน
ศิลปะน้อยเมอ่ื เจอกับโจทย์ใหม่ๆ ทแ่ี ตกต่างจากที่เรียนมานน้ั อาจทำให้สับสนเกิดความมั่นใจ
ในตัวเอง หลายคนในการประกวดนั้นได้ติดต่อขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอ
คำแนะนำการแก้ปัญหาทางด้านความคิดและการสร้างสรรค์ผลงาน จะช่วยนักศึกษาเกิด
ความมั่นใจและสามารถสรุปความคิดรวบยอดได้ทำให้ผลงานเกิดความสมบูรณ์ทุกด้านทั้ง
ความคิด รูปแบบ และเทคนิค ส่งผลให้ผลงานชิ้นนี้ได้รางวัลชนะเลิศ ชนิสรา (2564) กล่าว
ว่า “ช่วงเวลาของการแข่งขันหนูได้ปรึกษาและขอคำแนะนำจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์
รตั นฤทธิ์ จนั ทรรังสี ท้งั ในเร่ืองของการวเิ คราะห์ผลงาน และการนำเสนอผลงาน โดยอาจารย์
แนะนำแนวทางเพ่ือพยายามทำให้เราเขา้ ใจในผลงานและการพดู มากยงิ่ ขน้ึ ซึ่งมีผลอยา่ งมาก

34

ในตอนนั้นที่หนูจะต้องแข่งขันกับเวลาที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ผลงาน บนความกดดัน
โดยเฉพาะการพูดพรีเซนต์งานที่มีความสำคัญมากต่อคณะกรรมการ ในวันสุดท้ายของการ
แข่งขันทุกคนค่อนข้างกดดันและเครียดรวมไปถึงหนูก็ด้วย แต่ด้วยส่วนหนึ่งที่ทำให้หนูมี
ความมัน่ ใจและพรเี ซนต์ผลงานได้อย่างชัดเจนและแม่นยำก็ เพราะได้คำปรึกษาจากอาจารย์
จงึ มีสว่ นทที่ ำใหห้ นสู ามารถคว้ารางวัล “ยอมเยยี่ ม” อันดับ 1 ดาวเดน่ บวั หลวง คร้ังท่ี 11 มา
ได”้

การส่งเสริมโดยให้นักศึกษานำเรื่องราวใกล้ตัวมาเป็นสื่อในการแสดงทางจิตรกรรม
แต่เรื่องราวนั้นต้องเกิดจากความบันดาลใจที่มาจากประสบการณ์ตรงของนักศึกษา นำมา
ทดลองจัดองคป์ ระกอบหลายๆ แบบ และทำการวเิ คราะห์จากรูปแบบท่เี ปลยี่ นไปวา่ สามารถ
สะท้อนแง่คิดหรือปรัชญาใดได้บ้าง และใหเ้ น้นออกมาใหช้ ัดด้วยสีและเทคนิควิธีการ ในส่วน
ของนักศึกษาท่ีมีผลงานโดยเด่นอยู่แล้วแต่ไม่เข้าใจในผลงานของตน จึงต้องวิเคราะห์ให้เขา
เห็น และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทั้งด้านความคิดและรูปบบ สามารถสะท้อนสิ่งใดได้
บ้าง
18. โครงการพัฒนาศักยภาพศิลปินรุ่นใหม่ประจำปี 2562 ภายใต้หัวข้อ “อาเซียนสัมพันธ์” จัด
โดยสำนักงานศิลปะวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับจังหวัดกระบี่ นางสาว
ชนิสรา วรโยธา ได้รับคัดเลือกผู้มผี ลงานดีเด่นรบั ทุนศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเวลา
15 วนั

ในการแขง่ ขันสร้างสรรคผ์ ลงานเพอื่ คดั เลือกเป็นตัวแทนไปศึกษาดูงาน ผู้จัดไม่ไดก้ ำหนด
หัวข้อ แต่ให้สร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาใหม่ และนำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ ชนิสรา
(2564) กล่าวว่า “ระหว่างของการแข่งขันอย่างต่อเนื่องหนูก็ยังต้องรบกวนปรึกษาอาจารย์
รัตนฤทธิ์ จันทรรังสี ในเรื่องของการนำเสนอผลงาน เทคนิคการพูดที่ช่วยให้ผลงานของเรา
เข้าคณะกรรมการให้ได้มากที่สุด การทำงานอย่างเต็มที่และได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์
อยา่ งต่อเน่ืองทำให้เกิดผลสำเร็จ”
19. จติ รกรรมบวั หลวง นกั ศกึ ษาได้รว่ มแสดง จดั โดยมูลนิธิบวั หลวง ธนาคารกรุงเทพ
มกี ารสง่ เสริมและพฒั นานักศึกษา โดยนำโจทยห์ รอื หวั ข้อการประกวดมากำหนดหัวข้อ
การเรียนในรายวิชาศิลปะไทยสร้างสรรค์ 3 เพอื่ ให้สอดคล้องกันและไดผ้ ลประโยชน์ทั้ง 2
ดา้ น คือในรายวิชาทเ่ี รยี นและสามารถส่งผลงานการประกวดรว่ มด้วย

35

20. ศิลปกรรมกรุงไทย นักศึกษาสาขาศิลปะไทย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ปี 2563 จัด
โดยธนาคารกรุงไทย มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทางสาขาวิชาได้รวบรวมข้อมูลและ
กำหนดการของการประกวด และได้ปรึกษากับทีมผู้สอนคดั เลือกผลงานท่ีมแี นวโน้มที่ตรงกับ
หัวข้อของโครงการประกวด เมื่อได้จำนวนผลงานที่จะส่งเข้าประกวด ทางสาขาได้จัดการ
สนับสนุนเรื่องขนส่งผลงานสู่เวทีการประกวด นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 สาขาศิลปะไทย ได้รับ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ถือเป็นรางวัลที่เป็นแรงบันดาลใจกระตุ้นให้รุ่นน้องในสาขามี
แรงผลกั ดนั ในการส่งผลงานเข้าประกวดในเวทตี ่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

25. The Thailand international Wind Symphony Competition มหาวิทยาลัยมหดิ ล
เข้ารอบ 10 วงสุดท้าย มหิดล - small ensemble มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดย
การนำนักศึกษาที่เข้ารอบนัน้ มาแชร์ประสบการณ์ให้รุน่ น้องต่อไป โดยอาจารย์มอบหมายให้
นักศึกษาควบคุมการซ้อมโดยนำประสบการณ์ดังกล่าวมาใช้และส่งต่อคุณภาพในลักษณะ
เช่นนไ้ี ปสรู่ ุ่นต่อๆ ไป

26. Thailand jazz Competition มหาวิทยาลัยศิลปากร เข้ารอบ10 วงสุดท้าย jazz small
ensemble จากผลการแข่งขันดังกล่าวทำให้มีการสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีแจ๊ซ ท้ัง
ทฤษฎี, ประวัติศาสตร์ และการแสดงเข้าไปในสาขาดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษาด้วย เพื่อให้
นักศึกษาไดป้ ระยุกตใ์ ชก้ ับดนตรีประเภทอน่ื ๆ อยา่ งเหมาะสมในอนาคต

27. Young thai artist award (SCG) ได้รับรางวลั ดเี ดน่ สาขาประพนั ธ์ดนตรี ปี 2561-2563
มีการส่งเสริมโดยการประชาสัมพันธ์ถึงการประกวดบอกถึงจุดดีในการประกวด เพื่อให้
นักศึกษามีประสบการณ์โดยตรงทางสายวิชาชีพที่ตนสนใจรวมไปถึงการบอกถึงปลายทาง
เงนิ รางวลั ที่นักศึกษาจะไดร้ ับ ในสว่ นของการพัฒนานักศึกษา คอื ให้นักศกึ ษาทำการทดลอง
ประพนั ธเ์ พลงจากแนวคิดอย่างเปิดกว้าง พรอ้ มทง้ั ให้นักศึกษาสามารถปรึกษาได้ตลอดเวลา

28. การประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยเพื่อพัฒนาทักษะแก่เยาวชน ระดับชาติ ครั้งที่ 4
ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฎอตุ รดิตถ์ นักศกึ ษาไดร้ ับรางวัลเหรยี ญทอง จำนวน 4 คน เหรียญเงิน
จำนวน 1 คน มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ด้วยการประชาสมั พนั ธโ์ ครงการประกวดให้
นักศึกษาทราบท่วั กัน หลักจากนั้นจะมีการสำรวจความสนใจในการประกวดของนักศึกษาแต่
ละคน โดยอาจารย์จะเป็นผู้รวบรวมรายชื่อ วางแผนการส่งเรื่องในการประกวดที่จะต้องมี

36

การเตรียมตัวในเรื่องการฝึกซ้อม การส่งใบสมัครให้ทันเวลา การเตรียมตัวในการเดินทางไป
สถานที่จริงในการประกวดรอบชิงชนะเลิศ อาจารย์จะยกตัวอย่างในการประกวดครั้งที่ผ่าน
มาหรือประสบการณ์ในการประกวดให้นักศึกษาฟังเพื่อเกดิ แรงจูงใจ หรือยกตัวอย่างร่นุ พีท่ ่ี
เคยประกวดไดร้ บรางวลั เป็นแบบอยา่ งเพ่ือให้เกดิ ความมุ่งมนั่ ต้ังใจ อาจารย์คอยดูแลควบคุม
การฝึกซ้อมการบรรเลงที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ตรงกับเกณฑ์การประกวด โดยมีการ
ยกตวั อยา่ งหรือทำให้ดเู ป็นตวั อย่างเพื่อให้นักศึกษาทำตาม กอ่ นขึน้ เวทีการประกวดอาจารย์
จะตรวจสอบความเรยี บร้อยของเครื่องดนตรี และใหก้ ำลังใจเพื่อลดความต่ืนเตน้ ความกังวล
ของนกั ศึกษา
29. การประกวดเด่ียวเคร่ืองดนตรีไทยและขับร้องระดบั ชาติ “เสรมิ ประสบการณ์ สบื สานสังคีต
ศิลป์ไทย" จัดโดย วิทยาลัยการดนตรี มรภ.บ้านสมเด็จเจ้าพระยา Bansomdejchaopraya
Rajabhat university นกั ศึกษาเข้ารอบชงิ ชนะเลิศ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทอง จำนวน
2 คน มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ด้วยการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักศึกษา แจ้งเวที
การประกวดให้นักศึกษาทราบโดยทั่วกัน อธิบายรายละเอียดในการรับเข้าประกวดแข่งขัน
เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินการประกวด พูดชี้แนะนักศึกษาเกิดความสนใจในการประกวด ซึ่ง
นักศึกษาแต่ละคนมีความสามารถในการบรรเลงเครื่องดนตรีไม่เท่ากัน อาจารย์จะให้
นักศึกษาแต่คนแสดงศักยภาพสูงสุดในการบรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนเองถนัด โดยอาจารย์
ปรับพื้นฐานนักศึกษาในการบรรเลงเครื่องดนตรีให้นักศึกษาฝึกซ้อมตามคำแนะนำ บอกถึง
จุดเด่นจุดอ่อนของนักศึกษาแต่ละคนเพื่อในไปปรับปรุงพัฒนา มีอาจารย์คอยกำกับดูแล
ความก้าวหน้าอย่างใกล้ชดิ

3.3.3 เทคนิคการสรา้ งแรงจงู ใจ

1. สร้างแรกจูงใจด้วยการให้เงินรางวัล ทุนศึกษาดูงาน ให้คะแนนเกรด A ในรายวิชาท่ี
เก่ยี วขอ้ ง

2. การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อเชิญชวนสื่อจากภายนอก มาทำข่าว
ประชาสัมพันธใ์ ห้คนท่วั ไปไดท้ ราบข่าวการประกวด

3. สร้างขวัญและกำลังใจอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษา เช่น การยกย่องประกาศเกียรติคุณ
มอบโล่ ชอ่ ดอกไม้ และประชาสัมพันธ์ผ่านสือ่ ประชาสัมพันธภ์ ายในองคก์ ร

37

4. สิ่งอำนวยความสะดวกในเตรียมตัวส่งเข้าประกวด เช่น ค่าการเดินทาง สนับสนุนวัสดุ
อุปกรณ์ ใหเ้ วลาในการสร้างสรรคผ์ ลงาน

5. จำนวนเงนิ รางวัล หรอื ผลตอบแทนท่จี ะได้รบั จากเวทีการประกวด
6. สง่ เสริมนกั ศกึ ษาท่ียังไม่เคยสง่ ผลงานเข้าประกวดได้มโี อกาสเข้าร่วมรายการประกวดจน

ไดร้ ับรางวัล
7. อธิบายถึงผลลัพธ์จากการส่งประกวดทำให้ได้ร่วมแสดงหรือไม่ได้ หรือ ได้รับรางวัล

ได้แก่ ชื่อเสียง ได้ทุนมาเป็นการศึกษา ได้สร้างเครือข่ายในสายงานศิลปะของตนเอง
และได้บันทึกประวัติใช้อ้างอิงในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ และหากมีผลงานมาก ๆ จะส่งผลในการเข้าบรรจุเป็นอาจารย์สอนใน
สถาบันการศกึ ษา
3.3.4 เทคนิคในการคดั เลือกผลงานในการส่งเสริมการสง่ ผลงานเขา้ ประกวด
1. ผลงานจะตอ้ งมคี วามโดดเดน่ และมีความนา่ สนใจตรงตามหัวข้อที่เข้าประกวด เชน่ เลอื ก 10
ชิ้นงานจาก 20 ชน้ิ งาน
2. เปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนแต่ต้องเป็นงานที่ตรงกับหัวข้อการประกวดและงานนั้นต้องมี
คณุ ภาพจึงมีโอกาสได้รับรางวัล
3. ทำตามกฎกติกาที่ทางผู้จัดกำหนด เช่น กำหนดการส่งงาน จำนวนชิ้นงาน หรือส่งเป็นชุด
เทคนิคการสง่ จำนวนข้อความทร่ี ะบุตอ้ งไมเ่ กิน 50 คำ
4. ดา้ นดนตรแี ละนาฏศลิ ป์เลอื กจากนักศึกษาท่สี นใจในการประกวด
3.3.5 วิธีการสง่ ผลงาน (มวี ิธกี ารเฉพาะท่ีอาจารย์เปน็ ผอู้ อกแบบข้ึน)
1. ส่งผลงานผ่านทางระบบออนไลน์ ส่งงานด้วยตนเอง ส่งผลงานผ่านไปรษณีย์ หรือนักศึกษา
ส่งผลงานท่ีอาจารย์ทป่ี รึกษาเพอ่ื ประสานงานกบั ผ้จู ดั ให้มารบั ผลงาน (ขนึ้ อยูก่ บั ผจู้ ดั )
2. การส่งขึ้นอยู่กับกติกาหรือเกณฑ์การประกวดของหน่วยงานที่จัด บางที่ให้ส่งประกวดหลาย
รอบ เช่น งานด้านออกแบบในการประกวดของ Thai Star packaging Awards รอบแรกเปน็
งาน SKETCH DESIGN วิดีโอนำเสนอ รอบ 2 ทำผลงานจริง คัด20ผลงาน มีเงินสนับสนุน 1,500
บาท รอบตัดสนิ ผ่านการนำเสนอต่อคณะกรรมการ รอบ 4 ประกาศผลเป็นตัวแทนไปประกวด
ต่างประเทศ เวที Thai Star packaging Awards อาจารย์ผู้สอนต้องรับผลงาน หรือส่งผล
งานใหน้ ักศึกษา/สง่

38

3. งานด้านออกแบบนักศึกษาสามารถส่งผลงานเข้าประกวดได้มากกว่า 1 ผลงานต่อคน หรือส่งเป็น
ชดุ งานออกแบบบรรจุภัณฑ์

4. งานด้านทศั นศิลป์สามารถส่งไดม้ ากกวา่ 1 ชนิ้ แต่ไม่เกนิ จำนวนทเี่ กณฑก์ ำหนด การสง่ หลาย
ช้นิ ทำใหม้ ีโอกาสได้รบั คัดเลือกเขา้ รว่ มแสดงและเข้ารอบรางวลั

5. ดูจากข้อจำกัดของหน่วยงานที่จัด เช่น ลักษณะวงที่จะส่งเข้าประกวด จำนวนนักดนตรีที่จะ
บรรเลง

6. ลักษณะเฉพาะของกรรมการ เช่น สไตล์ รสนิยม ทัศนคติ การชอบของกรรมการแต่ละคนมี
ความแตกต่างกนั จึงตอ้ งฝกึ ซ้อมนึกศึกษาใหต้ รงตามความชอบของคณะกรรมการ

3.3.6 เทคนิคการตดิ ตามผล
1. ติดตามผลงานจากนักศึกษาท่ีส่งผลงาน หรืออาจารย์ที่ปรึกษาติดตามผลการประกาศรางวลั
ดว้ ยว่าผลงานที่ส่งไดร้ ับรางวลั หรือไม่
2. งานด้านการออกแบบจะมกี ารติดตามการประกวดแต่ละรอบ แล้วให้ผูเ้ ข้ารอบไปทำงานจรงิ
มานำเสนอต่อคณะกรรมการ อาจารยต์ ้องไปลนุ้ ให้กำลงั ใจ
3. ติดตามในช่องทางที่ผู้จัดกำหนด เช่น เว็บไซต์ Facebook Line ส่งผลทาง e-mail ให้กับ
ผเู้ ขา้ รว่ มประกวด ส่ง SMS สง่ จดหมายทางไปรษณยี ์
4. อาจารย์ที่ปรึกษาสอบถามเครือข่ายศิลปะ เช่น กรรมการตัดสิน เจ้าหน้าที่จัดงานประกวด
ทำให้สามารถทราบผลการประกวดรวดเร็วและได้ทราบข้อมูลเชิงลึกถึงข้อวิพากษ์หรือ
ขอ้ เสนอแนะในผลงาน จะใหน้ ำมาเปน็ ข้อมลู ใหน้ กั ศึกษานำไปพัฒนา

39

4.1 ความรทู้ ไี่ ดใ้ นการจดั การความรู้
ได้ศึกษาค้นคว้าก่อนที่จะดำเนินการส่งเสริมนักศึกษา ว่ามีกิจกรรมประกวดที่เกี่ยวข้องกับ

รายวิชาที่ทำการสอนมีที่ใหนบา้ ง เลือกเวทีการประกวดที่ตรงกับหัวข้องานท่ีมอบหมายให้นักศึกษา และ
ตรงกบั ชว่ งเวลาของบทเรยี นน้ัน ๆ หรอื ไม่ ถา้ เป็นงานด้านออกแบบบรรจภุ ัณฑ์จัดขนึ้ ปลี ะ 1 ครั้ง และจะ
เปดิ โอกาสให้สง่ สองรอบและตรงกบั ชว่ งปกี ารศึกษาทม่ี ีการสอนในรายวชิ าทเี่ ก่ียวข้อง ผู้สอนจึงแบ่งการส่ง
ประกวดออกเปน็ 2 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1 จะฝึกใหน้ กั ศกึ ษาทดลองสง่ รอบแรกก่อนเพื่อจะได้
ประสบการณ์เกิดการเรียนรู้จากการนำเสนอผลงานอื่นๆ ที่ร่วมส่งประกวด จะนำมาพัฒนาตนเองเพื่อส่ง
ประกวดรอบทีส่ องในรายวชิ า การออกแบบพัฒนาบรรจุภณั ฑ์

งานประกวดสอื่ โฆษณาสิ่งแรกอาจารย์ต้องรกู้ ่อนว่าเทรนด์ (Trend) ชว่ งเวลานนั้ มคี วามนิยมหรือ
ความต้องการแบบใหน และเครื่องมือที่ใช้เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปอะไรในการผลิตสื่อโฆษณา นักศึกษาท่ี
ส่งผลงานจะไดร้ ับการอบรบเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) โดยวทิ ยากรมืออาชีพเฉพาะด้านผลิตสื่อโฆษณา
มาให้ความรู้และยกตัวอย่างประสบการณ์การทำงานให้เป็นกรณีศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการในแบบ
เดียวกันนีจ้ ะเกิดขึ้นกับเวทกี ารประกวดทางด้านศิลปะการออกแบบเกือบทุกเวที บางเวทีก็มีการคัดเลือก
ก่อนและให้ผู้ท่ีผ่านเขา้ รอบมีสิทธิ์เข้าอบรม นักศึกษาเกิดความภาคภูมใิ จเสมือนกับการได้รบั รางวัล เช่น
การประกวดของสภากาชาติ นอกจากอบรบเชิงปฏิบัติการแลว้ ยังให้นักศึกษาไปศึกษาดูงานระบบของการ
บริจาคเลือด และได้รับการอบรมโดยโปรดักชั่นที่เชี่ยวชาญด้านนี้ การประกวด Thailand Animator
Festival นักศึกษาจะได้ทำตั้งแต่ฟรีโปรดักชั่น (pre-production) ไปถีงโปรดักชั่น (post-production)
และมีทั้งการสตอรี่บอร์ดที่มีบุคลากรในสายงานมาสอนและครูด้านการแสดงมาแสดงสดเพื่อสร้างแอนิ
เมชั่น การประกวดของ SCG ก็เช่นกันนอกจากอบรบเชิงปฏิบัติการแบบเข้าค่ายต่อเนื่องหลายวันแล้ว
ยังให้ศึกษาดูงานภายในโรงงานการผลิต การประกวด แอดด้า (Adda) จะมีการอบรมและให้ศึกษาดูงาน
โรงงานผลิตรองเท้า จากนั้นให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้รับมาปฏิบัติการออกแบบ และทำต้นแบบด้วย
ตนเอง กิจกรรมเหล่าทำให้นกั ศึกษาเกิดการพัฒนาดา้ นทักษะที่เปลี่ยนแปลงไปทีด่ ีขึ้นจากการเรียนในช้นั
เรียนได้อยา่ งชดั เจน

40

สำหรับงานประพันธ์เพลงจะส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกอธิบายแนวความคิดก่อน โดยให้ศึกษาจาก
วรรณกรรม หรือเรื่องวิทยาศาสตร์โดยการถอดสูตรตัวเลขมาเป็นเสียง เมื่อนักศึกษามีความคิดที่ชัดเจน
แล้วจากน้ันให้นำมาวางแนวเพลง

การประกวดของเวทีใหมๆ่ มีเกิดข้นึ เรอ่ื ย ๆ ในรอบปี มกั จะพบเห็นตามสื่อออนไลน์จะไม่ปรากฎ
ขอ้ มลู เชงิ ลึกที่จะมาถ่ายทอดให้กบั นักศกึ ษาได้ อาจารย์จึงมคี วามจำเปน็ ตอ้ งติดต่อสอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม
ในสิ่งทผ่ี ้จู ัดประกวดตอ้ งการ รปู แบบการประกวด เกณฑ์ หรือใหท้ างผจู้ ดั เขา้ มาอธิบายใหน้ ักศกึ ษาฟังหาก
มาไมไ่ ด้ อาจารยก์ เ็ ป็นคนนำมาถา่ ยทอดให้นกั ศกึ ษาได้

ปัญหา อุปสรรค ในการจัดการความรู้ การส่งงานเข้าร่วมประกวดหากต่างคนต่างส่งสิ่งแรกที่
พบคือค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าขนส่งจะสูง และอาจารย์ที่ส่งเสริมการประกวดไม่รู้ว่าผลงานที่ส่งมีลักษณะ
อย่างไรเป็นนักศึกษาคนใด แนวทางแก้ไขเพื่อลดค่าใช้จ่ายของนักศกึ ษา คืออาจารยเ์ ปน็ คนรวบรวมผลงาน
และถ่ายรูปผลงานกับเจ้าของผลงานเก็บไว้เป็นข้อมูลในการติดตามผล เมื่อรวบรวมแล้วอาจารย์ผู้สอน
ดำเนินการส่งให้ หมายรวมถึงการประกวดอื่นๆ ด้วยที่อาจารย์ดำเนินการให้และออกค่าใช้จ่ายด้วย
งบประมาณสว่ นตวั

อปุ สรรคในการดำเนินการพัฒนานักศึกษา อาจารย์ขาดความรูเ้ ชิงลึกของเทคนิคเฉพาะที่เวทีการ
ประกวดกำหนด เช่น ด้านภาพยนตร์ แอนิเมชั้น (Animation) และขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัย ที่เพียงพอต่อ
ความต้องการ ทำให้ไม่สามารถส่งเสริมนักศึกษาส่งงานเข้าร่วมแข่งขันในเวทีใหม่ๆ ที่ใหญ่กว่าและการ
แข่งขนั สงู กว่าได้

การประกวดด้านดนตรีเวลาทนี่ กั ศึกษาเรมิ่ ต้นทำงานเพื่อส่งประกวดจะไม่มเี ร่ืองค่าใช้จ่าย แต่เม่ือ
ส่งแล้วและได้รับคัดเลือกให้เข้ารอบสิ่งที่ตามมาจะมีเรื่องค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น เช่น ค่าจ้างนักดนตรีจาก
ภายนอกสถาบนั คา่ เช่าสถานทฝ่ี ึกซอ้ ม อาจารยจ์ ึงตอ้ งเขา้ ไปชว่ ยเหลือด้วยการแทนทจี่ ะจ้างนกั ดนตรีจาก
ภายนอก มาเสาะแสวงหานักศึกษาร่วมชั้นเรียนหรือชั้นปีอื่นที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการและสามารถมา
รวมเป็นวงได้ และบางคร้งั ตอ้ งปรบั บทประพันธ์เพลงใหม่ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามรถของนักดนตรที มี่ ีอยู่

ปัญหาในการประชุม การนัดประชุม มีปัญหาเรื่องเวลาที่ตรงการตรงกับการอบรมต่างๆ หรือ
ตรงวันที่ขออนุญาตไปราชการ หรือตรงกับชั่วโมงสอน เวลาในการประชุมนานเกินไปทำให้บางท่านไม่
สามารถเข้าประชุมได้ครบเนื่องจากมีภาระงานสอน ดังนั้นการประชุมออนไลน์จะมีความสะดวกขึ้นและ
ช่วยแกป้ ัญหาน้ไี ด้ หรือทบทวนกำหนดการประชุมรว่ มกันกอ่ นนดั ประชุมครงั้ ต่อไป

41

4.2 ปัญหาที่พบในการดำเนนิ การจัดการความรู้ดา้ นทศั นศิลป์ และการออกแบบ
1. งานด้านศิลปะการออกแบบเมือ่ ทำงานเสร็จตามกำหนด ต้องเตรยี มนักศึกษา ฝกึ การนำสนอ
ผลงานตอ่ คณะกรรมการ นักศึกษาบางคนไม่เคยนำเสนอ ซ่งึ การนำเสนอบางเวทีประกวดจะใช้
เวลาอย่างนอ้ ย 5 นาที อาจารย์ท่ีปรกึ ษาจะต้องฝึกนักศกึ ษาใหเ้ คยชินและกลา้ แสดงออกต่อหน้า
คณะกรรมการ ซึง่ บางเวทีนักศึกษาคอ่ นข้างตืน่ เต้นมาก
2. การขอรถเพอื่ ไปส่งผลงานเข้าประกวด บางครั้งตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่าย เชน่ ค่าทางดว่ น ค่าตอบแทน
คนขับ(กรณีพเิ ศษ) หรอื บางครัง้ อาจารย์ท่ีปรึกษาต้องขับรถไปเอง
3. อาจารยท์ ีป่ รึกษาจะดำเนินการตดิ ตอ่ ประสานงานทุกอยา่ ง เชน่ การประชาสมั พนั ธ์ การถ่ายภาพ
งบประมาณทใ่ี ช้ในการสนบั สนุน
4. นักศึกษาขาดแรงจูงใจในการผลิตผลงานสง่ ประกวด เนอื่ งจาก อุปกรณก์ ารผลติ ผลงานไม่พรอ้ ม
5. ขาดผู้ประสานงานภายในองค์กรกับเวทกี ารประกวดระดบั นานาชาติ ทำให้นักศึกษาขาดโอกาส
ในการส่งประกวดศิลปกรรมระดบั นานาชาติ
6. นกั ศกึ ษาขาดทักษะขาดความกระตือรือร้น ขาดความมน่ั ใจในการสรา้ งผลงานเพือ่ สง่ เข้าประกวด
และคณุ ภาพของผลงานรปู แบบงาน และเทคนิค ไม่แปลกใหม่ ขนาดผลงานมีขนาดเลก็ ขาดความ
โดดเด่น ไมด่ งึ ดูดสายตาแก่คณะกรรมการ ต้องอาศัยระยะเวลายาวนานในการพฒั นา

4.3 ปัญหาที่พบในการดำเนนิ การจัดการความรู้ด้านดนตรแี ละนาฏศลิ ป์
1. หอ้ งปฏบิ ัติการซ้อมไมเ่ พยี งพอในการฝึกซ้อม และช่วงเวลาในการซ้อมมีจำกัดเน่ืองจากรายวิชา
เรยี นมที งั้ วนั ทำให้จัดสรรเวลาในการฝึกซ้อมได้ยาก
2. การส่งผลงานเข้าประกวดสามารถส่งได้ในประเภทการประพนั ธเ์ พลงและการปฏบิ ัติเท่าน้นั การ
ประกวดทเ่ี กยี่ วข้องกับเทคโนโลยีหรอื นวตั กรรมทางสาขาไมส่ ามารถทำได้สมบูรณ์ เนื่องจาก
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารณ์ทเ่ี ก่ยี วข้องยังไม่ตอบสนองตอ่ การแสดงออก เช่น ไม่มีโปรแกรมม (DAW-Digital
work station) , คอมพิวเตอร์ เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา ซงึ่ ตรงน้ีเป็นปัญหามาก เพราะองค์
ความรู้ทกุ อยา่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมต้องใช้คอมพิวเตอร์เปน็ เครอื่ งมือหลกั ใน
การเรียนรู้

42

3. ขาดงบประมาณในการสนับสนุนในระหวา่ งการประกวดและระหวา่ งการฝกึ ซ้อม ซ่ึงองค์กรไม่ได้
ให้ความสำคญั ทก่ี ระบวนการหรอื ข้นั ตอนในการเตรยี มความพร้อมของนกั ศึกษาก่อนสง่ ผลงาน
เข้าประกวด แตต่ อ้ งการแค่ผลสมั ฤทธหิ์ ากไมไ่ ดร้ างวัลจะไม่ไดร้ ับการสนบั สนนุ

4. อาจารย์ท่เี ปน็ ผู้ฝกึ สอน จะต้องจ่ายงบประมาณเพือ่ ใช้ในการสนบั สนุนนกั ศกึ ษาเอง

4.4 ประเมินและกลนั่ กรองความรู้
จากการส่งไปให้ภาควิชาช่วยกระจายความรู้ไปให้อาจารย์และนักศึกษาในคณะทดลองปฏิบัติ

และได้สอบถามไปยังนักศึกษากลุ่มที่รับบริการก่อนและหลัง นำมาให้กรรมการได้พิจารณาจุดแข็งและ
จุดอ่อนจากอาจารย์ผู้นำไปใช้ อีกทั้งได้ตรวจสอบความถูกต้องปรับปรุงเนื้อหาให้ครบถ้วน สมบูรณ์และ
ทันสมัย และเมื่อทางฝ่ายเลขานุการแกไ้ ขตามที่ประชมุ เสนอแนะแล้ว ให้ดำเนินการเผยแพร่ผ่านช่องทาง
ของเว็บไซตค์ ณะฯ ต่อไป

การดำเนินงานสิ่งแรกที่พบ คือเป็นการส่งเสริมเทคนิคนิคการส่งผลงานเข้าประกวดระหว่าง
กรรมการด้วยกัน จนเกิดองค์ความรู้ที่เป็นการบูรณาการณ์ข้ามศาสตร์ที่เข้มแข็งมากขึ้น และได้ทราบ
ข้อมูลเวทีการประกวดมากขึ้น ถือว่าเป็นการสร้างแรงจูงใจอย่างหนึ่งให้กับกรรมการในการนำไปส่งเสรมิ
นักศึกษา หลังจากที่นำไปใช้พบว่า อาจารย์อชิตา เทพสถิต และอาจารย์ณัฐพล ดีคำ ได้นำองค์ความรู้ที่
ได้ไปส่งเสริมนักศึกษาในรายวิชาที่สอนส่งงานเข้าประกวดในเวที True Young Producer Award และ
“Young Thai Artist Award 2020” แต่ยังไม่ประกาศผล ฉะนั้นในส่วนของอาจารย์ในคณะนำไปใช้
จำนวน 3 ทา่ น เชน่ อ.สุระจิตร แก่นพมิ พ์, ผศ.ธนเดช วรวงษ์ และอ.นรากร สิทธเิ ทศ ยงั อยู่ในช่วงพัฒนา
เตรยี มพรอ้ มนกั ศกึ ษาในการประกวดในช่วงตน้ ปี 2565

ผลจากการจัดการความรู้ พบว่าอาจารย์ณัฐพล ดีคำ ภาควิชานาฏดุริยางคศิลป์ ได้นำพัฒนา
นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 สาขาวชิ าดนตรีคตี ศิลป์สากลศึกษา เข้าประกวดโครงการรางวัลยุวศิลปินไทย ประจำปี
2564 “Young Thai Artist Award 2021” ยังไมป่ ระกาศผล

อ.อชิตา เทพสถติ สาขาออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี สง่ เสรมิ
นกั ศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 3 เข้าร่วมประกวด True Young Producer Award แตย่ งั ไมป่ ระกาศผล

ผศ.จุฑามาศ เจริญพงษ์มาลา โครงการนวัตกรรมการออกแบบทางด้านศลิ ปกรรมศาสตร์ “ผ้าใย
กล้วย” จดั ขน้ึ ระยะ 1 พฤษภาคม -30 มิถุนายน 2564 และระยะ 2 วนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ประกาศ
ผล ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2564 นักศึกษาได้รับรางวัล ประเภทออกแบบสร้างสรรค์ ดังนี้ นาย ชินภัทร
ชมภูนุช นักศึกษาสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ชั้นปีท่ี 3 ได้รับรางวัลชนะเลิศ ผลงาน “อ้อมกอดที่อบอุ่น”

43

นาย กรดนัย ฤทธิชัย นักศึกษาสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ชั้นปีท่ี 2 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
ผลงาน “Traveler” นางสาวอิสรีย บุรีรักษ์ นักศึกษาสาขาออกแบบผลิตภณั ฑ์ชั้นปีที่ 2 ได้รับรางวัลรอง
ชนะเลศิ อันดบั 2 ผลงาน “Banana fiber Bag”

อาจารย์นริศรา พันธ์ธาดาพร ได้ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเข้าการประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรี
ไทยและขับร้องระดับชาติ เหรยี ญทองเด่ียวซอด้วง นางสาวปุญญิศา อ่อนสมสวย สาขาวชิ าดนตรีคีตศิลป์
ไทยศึกษา และการประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยและขับร้องระดับชาติ เหรียญทองเดี่ยวขลุ่ยเพียงออก
นายปราบดา ปอ้ มยคุ ล สาขาวิชาดนตรคี ีตศิลป์ไทยศึกษา วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2564 จดั โดย วิทยาลัยการ
ดนตรี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

ดังนั้นการส่งเสริมอาจารย์ทั่วไปนั้น เริ่มต้นจากการที่อาจารย์รู้วิธีการส่งเสริมนักศึกษาเข้าร่วม
ประกวด และสนับสนุนนักศึกษาในรายวิชาที่สอน ให้อาจารย์เข้าสู่กระบวนการตามคู่มือจัดการความรู้
ฉบบั น้ีดว้ ยตนเองจะได้ต่อยอดองค์ความรู้นไี้ ปปรับใช้กบั รายวชิ าอน่ื ๆ ทีท่ ำการสอนต่อไป

44

ทัศนศิลป์ หมายถงึ ผลงานด้านจติ รกรรม ประติมากรรม ศลิ ปะภาพพมิ พ์ ศิลปะ
ศิลปะการออกแบบ ไทย ส่ือผสม ภาพถา่ ย
หมายถึง ผลงานทีเ่ ก่ียวกบั ศาสตรก์ ารออกแบบ เช่น ออกแบบ
ศิลปะการแสดง ผลิตภัณฑ์ ออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ นวตั กรรมการออกแบบ ออกแบบ
งานสร้างสรรค์ แฟชน่ั ออกแบบภายใน เครื่องปัน้ ดนิ เผา
หมายถงึ ผลงานดา้ นดนตรีไทย ดนตรสี ากล นาฏศลิ ปไ์ ทย ดุริยางค
ศลิ ป์
หมายถึง ผลงานศลิ ปะและสงิ่ ประดษิ ฐ์ทางศิลปะประเภทต่างๆ ทมี่ ี
ความเปน็ นวตั กรรม โดยมีการศึกษาคน้ ควา้ อย่างเป็นระบบทเี่ หมาะสม
ตามประเภทของงานศลิ ปะซง่ึ มแี นวทางการทดลองหรือการพฒั นา
จากแนวคดิ สร้างสรรคเ์ ดิมเพอ่ื เปน็ ต้นแบบหรือความสามารถในการ
บกุ เบกิ ศาสตร์ อันก่อให้เกิดคุณค่าทางสุนทรีย์และคุณประโยชนท์ เี่ ป็น
ที่ยอมรบั ในวงวชิ าชีพตามการจบั กล่มุ ศิลปะ ของอาเชยี นงาน
สรา้ งสรรค์ทางศิลปะ

45

กานนท์ แก้วขำ. รางวลั เหรียญเงนิ เด่ยี วฆ้องวงใหญ่. ประกวดเด่ียวเครือ่ งดนตรไี ทยเพ่ือพฒั นาทักษะแก่
เยาวชน ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์, อุตรดติ ถ.์

กญั ญา ตู้พิจิตร์. 2564. รางวัลนรศิ รานุวัดติวงศ์. โครงการทุนการศึกษาในสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ัตตวิ งษ์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี, กรุงเทพฯ.

ชนิสรา วรโยธา. 2561. มติ ิทับซอ้ น. รางวลั ยอดเย่ยี ม อนั ดับ 1 ศลิ ปินดาวเด่นบัวหลวง. หอศิลป์สมเดจ็
พระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ The Queen’s Gallery, กรงุ เทพฯ.

ชรณั ปกรณ์ สทุ ธิประภา. รางวลั เหรียญทอง เดยี่ วปใ่ี น. ประกวดเดี่ยวเคร่ืองดนตรีไทยเพ่ือพฒั นาทกั ษะแก่
เยาวชน ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์, อตุ รดิตถ.์

ทศพล พรหมแกว้ . รางวลั ชนะเลศิ เหรียญทอง เดยี่ วจะเข้. ประกวดเดยี่ วเครื่องดนตรีไทยเพอ่ื พัฒนาทักษะ
แกเ่ ยาวชน ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 4, มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์, อตุ รดติ ถ.์

ปภาวนิ อกั โขสุวรรณ, พมิ พ์ผนิต แก่นจนั ทร์, อาภาภัชร แย้มเป่ียม, นลินี นวลไม้ และอิสรยี า วงศแ์ ก้ว.

2563. Plood Blood. รองชนะเลิศอันดับ 3, โครงการ“BRAND’S Young Blood…พลงั เลอื ด

ใหมต่ อ่ พลังชวี ิต กบั ความภาคภูมิใจ ของการให้ “ชวี ติ ”. สภากาชาดไทย. กรุงเทพฯ.
ปราบดา ปอ้ มยุคล.2564.รางวลั เหรียญทอง เดย่ี วขลยุ่ เพยี งออ.เสรมิ ประสบการณ์ สบื สานสังคตี ศิลป์ไทย.

วิทยาลยั การดนตรี มรภ.บ้านสมเด็จเจ้าพระยา, กรุงเทพฯ.
ปุญญศิ า อ่อนสมสวย.2564.รางวัลเหรียญทอง เดีย่ วซอด้วง.เสริมประสบการณ์ สบื สานสังคตี ศลิ ป์ไทย.

วทิ ยาลัยการดนตรี มรภ.บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา, กรงุ เทพฯ.
พลภทั ร สร้อยทอง. 2563. บรรจุภณั ฑอ์ าหารสนุ ขั LUCKY Dog Food. ไดร้ ับรางวัลท่ี 2 ระดบั Asia

Star Packaging Awards 2020. สหพนั ธก์ ารบรรจุภณั ฑ์แห่งเอเชีย. กรุงเทพฯ.

พทั ธนันท์ มาอว่ ม, สกฤษฎ์พร แกว้ วิเศษ, ธนเดช ขำวารี, สริ ภพ พ่ึงพัก และกญั ญาภัทร สังขเ์ ดช. 2563.

หมหู มกึ กุ้งหงุ อนุ่ ตนุ๋ ตม้ น่งึ . รองชนะเลิศอนั ดบั 2, โครงการ“BRAND’S Young Blood…พลงั
เลอื ดใหม่ต่อพลงั ชวี ิต กบั ความภาคภมู ใิ จ ของการให้ “ชีวิต”. สภากาชาดไทย. กรุงเทพฯ.

46

ภกั ตร์ศิริ ธนกติ ตว์ รวิบลู . 2564. รางวลั นรศิ รานุวดั ตวิ งศ์. โครงการทุนการศกึ ษาในสมเด็จพระเจา้ บรม
วงศ์เธอเจา้ ฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตตวิ งษ์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธญั บุรี, กรงุ เทพฯ.

ภัทรมนสั ม่วงราบ, นิสา คำเจริญ และฐาปนพงษ์ ชมภูพ้ืน. 2562. ทีม SIREN. “Stop Sexual
Exploitation: หยดุ แสวงหาประโยชนท์ างเพศบนออนไลน”์ , กรุงเทพฯ.

เมธิณี ประยาตร์กลุ , สริ ญิ ญา ชวู รเวช และฑริกาญจน์ สุคนธากร. 2562. CYCUS. Thailand Animator
Festival 5. 10 ผลงานท่ยี อดเย่ยี ม, โครงการพฒั นาเครือข่าย Digital Content ภายใตโ้ ครงการ
สนบั สนนุ เครือขา่ ย SME. สสว. ร่วมกบั มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ.

รุ่งทพิ ย์ โชติเนตร. 2563. โคมไฟแมงป๋อง. รางวัลท่ี 2, การประกวดออกแบบผลติ ภณั ฑ์สดี ำใหเ้ ปน็
ผลิตภณั ฑ์สเี หลอื ง, ร้าน Loft siam Discovery, กรุงเทพฯ

วลัยมาศ ผดงใจ. 2563. กระเปา๋ สตางคไ์ พโ่ พดำ. รางวลั ท่ี 3, การประกวดออกแบบผลติ ภณั ฑส์ ีดำให้เป็น
ผลิตภณั ฑ์สเี หลือง, รา้ น Loft siam Discovery, กรุงเทพฯ

วรพล อนนั ตพงษ.์ 2562. จานใบเดยี ว. Thailand Animator Festival 5. 10 ผลงานทย่ี อดเย่ยี ม,
โครงการพฒั นาเครือข่าย Digital Content ภายใตโ้ ครงการสนับสนนุ เครือข่าย SME. สสว.
ร่วมกับมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. กรุงเทพฯ.

วรี วัฒน์ มณีวงศ.์ รางวัลเหรียญทอง เดี่ยวป่ใี น. ประกวดเด่ียวเคร่ืองดนตรีไทยเพ่ือพัฒนาทักษะแก่เยาวชน
ระดบั ชาติ คร้ังที่ 4, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์, อตุ รดิตถ.์

วุฒชิ ยั เอีย่ มธนากุล.ชนะเลศิ เหรยี ญทอง เด่ยี วซออู้ (คะแนนสูงสุด).ประกวดเดย่ี วเคร่ืองดนตรไี ทยเพ่อื
พัฒนาทักษะแก่เยาวชน ระดับชาติ คร้ังที่ 4, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, อตุ รดติ ถ.์

ศริ พิ ร บุรนิ ทรโกษฐ. 2564. รางวลั นรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์. โครงการทุนการศึกษาในสมเดจ็ พระเจา้ บรม
วงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวตั ตวิ งษ์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลธญั บรุ ี กรงุ เทพฯ.

สุนษิ า นิราช. 2563. ตน้ แบบบรรจุภณั ฑใ์ หม่. รางวลั ที่ 3, Thai Star Packaging Awards 2020. กลมุ่
ส่งเสริมการออกแบบอุตสาหกรรม กองพฒั นาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม
กองประกวดบรรจุภณั ฑ์ไทย. กรุงเทพฯ.

อัครพล แสงสวา่ ง. 2563. โจโฉ. รางวลั ดีเดน่ สาขาการประพนั ธด์ นตรี, โครงการรางวลั ยวุ ศิลปนิ ไทย.
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี กรุงเทพฯ.

47

ภาคผนวก ก. ภาพกิจกรรมการระดมความรแู้ ละประสบการณ์ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
ภาคผนวก ข. ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ นักศึกษาสง่ ผลงานเขา้ ประกวด
ภาคผนวก ค. แบบสรุปการจัดการความรู้ KM1 KM2 และ KM3

47


Click to View FlipBook Version