The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krusasiraphak, 2019-06-04 03:04:02

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

introduction_programming

1

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1

ความรเู้ บอื้ งตน้ เกี่ยวกบั
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2

คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เพยี งแค่อุปกรณท์ ่ีทางานตามคาส่ังทร่ี ับมาจากผใู้ ช้ ดงั นน้ั ผูใ้ ชจ้ ึงจาเปน็ ตอ้ งบอก
คอมพวิ เตอร์ว่าตอ้ งการให้เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทาอะไร โดยการสง่ั งานให้เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ างานทต่ี ้องการ
วิธกี ารส่งั งานดังกลา่ วตอ้ งอาศัยโปรแกรม ซึ่งก็คอื กลุ่มของโปรแกรมหรือกลุ่มของคาสง่ั โดยใช้ภาษาต่างๆ ใน
การเขยี นโปรแกรมข้ึนมา ซง่ึ มมี ากมาย เชน่ ภาษา Fortran , Cobol , Lisp , PL / 1 , Basic , Pascal , C ,
Ada , C++ , Perl , Java เป็นต้น แต่ภาษาทน่ี ามาให้นักเรยี นเรียนในวิชาการเขยี นโปรแกรมภาษา C คอื
โปรแกรมภาษา C นั้นเอง ซ่งึ เปน็ รากฐานทีด่ ที ี่สุดสาหรับผเู้ รมิ่ ต้นการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมไปถงึ
การใชส้ ญั ลักษณ์ Flowchart แทนคาสงั่ โดยไมอ่ งิ ถึงคาสง่ั ในภาษาใดภาษาหนงึ่ ช่วยใหก้ ารเขียนโปรแกรม
ง่ายขึ้น

ก่อนจะเข้าสู่การเขยี นโปรแกรมภาษา C นักเรียนควรมคี วามร้พู ืน้ ฐานเกี่ยวกับการเขยี นโปรแกรมก่อน
โดยมีเน้อื หาตา่ งๆ ดังน้ี

1. องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์

โดยทว่ั ไปการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทางานตา่ ง ๆ นัน้ ถ้าเฉพาะตวั เครอ่ื งและอปุ กรณห์ รอื
"ฮาร์ดแวร์"(Hardware) นั้น จะไม่สามารถทางานได้ เพราะเครือ่ งยงั ไม่มสี ง่ิ ที่จะมาจัดการหรอื ควบคุมระบบ
ตา่ ง ๆ ดงั น้ันจงึ ต้องมโี ปรแกรมทีใ่ ชค้ วบคุมระบบและใชง้ าน ซ่ึงเราเรียกวา่ "ซอฟตแ์ วร์"(Software) แต่
เนอ่ื งจากคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ส่ิงทไ่ี ม่มีชวี ิตจิตใจเราจึงต้องพึง่ พาบคุ ลากร หรือ"พีเพลิ แวร์" (Pepleware) มาสงั่ การ
ให้คอมพวิ เตอรท์ างานตามกระบวนการ (Procedure) ดงั น้ันสรปุ ได้ว่าองคป์ ระกอบท่จี ะทาใหเ้ คร่ือง
คอมพวิ เตอรท์ างานได้นัน้ ประกอบด้วย 5 สว่ น คือ
1.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware)

ส่งิ ท่ีมองเหน็ และจับต้องสัมผสั ได้ท้งั หมดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั คอมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวร์จะไมส่ ามารถทางาน
ดว้ ยตัวเองเดย่ี ว ๆ ได้ จะตอ้ งนามาลงหรอื ตดิ ต้ังโปรแกรมหรอื ซอฟตแ์ วรท์ ่ีเขียนขน้ึ เพอื่ ให้ทางานได้
1.2 ซอฟตแ์ วร์ (Software)

ซอฟตแ์ วร์หรอื โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรอื ชุดคาส่งั ท่ีเขียนขนึ้ เป็นองคป์ ระกอบทสี่ าคัญประการท่สี อง
ซ่งึ กค็ อื ลาดับขั้นตอนของคาสัง่ ทจ่ี ะสั่งงานใหฮ้ ารด์ แวรท์ างาน เพ่อื ประมวลผลขอ้ มูลให้ไดผ้ ลลพั ธต์ ามความ
ต้องการของการใชง้ าน ซอฟต์แวร์แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคือ

1. ซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏิบัติการ (Operating System Software-OS)หมายถงึ ซอฟต์แวร์หรือ
โปรแกรมที่ควบคมุ การทางานทงั้ หมดของเคร่อื ง ได้แก่ Windows , Dos , Linux , Unix , Mac

2. ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ (Application Software)หมายถึงโปรแกรมทเี่ ขยี นขน้ึ มาเพอื่ สงั่ ให้เครื่อง
คอมพิวเตอรท์ างานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ

3

1.3 ข้อมูล (Data)
ข้อมูล เปน็ องค์ประกอบทีส่ าคัญอีกประการหน่ึงของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตวั ชี้ความสาเรจ็

หรอื ความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะตอ้ งมีการเกบ็ ขอ้ มลู จากแหล่งกาเนิด ข้อมลู จะต้องมีความถกู ต้อง
มกี ารกลน่ั กรองและตรวจสอบแลว้ เท่านั้นจงึ จะมีประโยชน์
1.4 บุคลากร หรอื พีเพิลแวร์ (People ware)

บคุ ลากรเป็นองค์ประกอบสาคัญในความสาเรจ็ ของระบบสารสนเทศ บคุ ลากรมีความรู้
ความสามารถทางคอมพวิ เตอรม์ ากเทา่ ใด โอกาสทจี่ ะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพวิ เตอร์ได้เตม็
ศกั ยภาพและคุ้มค่าย่ิงมากขึน้ เทา่ นน้ั บุคลากรท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั คอมพวิ เตอร์มหี ลายประเภท ซง่ึ แต่ละประเภทมี
หนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบแตกตา่ งกันไปดังน้ี

1. ผ้ใู ชง้ านคอมพวิ เตอร์ (User) หมายถึง ผ้ใู ชง้ านคอมพวิ เตอรท์ ่ัวไป สามารถทางานตามหน้าท่ใี น
หนว่ ยงานน้ัน ๆ เช่น พิมพง์ าน ป้อนข้อมูลเขา้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ การสง่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นตน้

2. ผู้ดูแลและซอ่ มบารุงเครื่องคอมพวิ เตอร์ (Supporter or Technician) หมายถึง ผูค้ อยดูแล
ตรวจสอบสภาพของเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ พ่อื ใหม้ สี ภาพพร้อมที่จะทางานได้ตลอดเวลา กลมุ่ น้ีจะเรยี นรู้เทคนคิ
การดูแล รักษา การซ่อมแซม การตอ่ เชื่อม ตลอดจนการใชง้ านโปรแกรมตา่ ง ๆ ค่อนข้างดี

3. ผ้เู ขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer :โปรแกรมเมอร์) หมายถึง ผ้เู ขยี นโปรแกรม
ตามที่ผู้ออกแบบและผู้วเิ คราะหร์ ะบบคอมพวิ เตอร์เปน็ ผู้กาหนด เพื่อใหไ้ ด้โปรแกรมทต่ี รงตามวตั ถุประสงคก์ าร
ใชง้ านในองค์กร กลุ่มนี้จะศึกษามาทางดา้ นภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สามารถเขียนคาสง่ั คอมพิวเตอร์โดย
ภาษาต่างๆ ได้ และเป็นนกั พฒั นาโปรแกรมให้คนอนื่ เอาไปใช้

4. ผอู้ อกแบบและวเิ คราะหร์ ะบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) หมายถึง ผทู้ มี่ หี น้าที่
พจิ ารณาวา่ องค์กรควรจะใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นลักษณะใดจงึ จะเหมาะสม เกดิ ประโยชนส์ งู สมุด เป็นผู้ออกแบบ
โปรแกรมกอ่ นส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทางานในสว่ นต่อไป

5. ผบู้ ริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager or Administrator) คือ ผ้ทู ม่ี หี นา้ ท่บี รหิ าร
และดูแลทรพั ยาการทุกชนิดทเ่ี ก่ียวกับคอมพิวเตอร์ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
1.5 กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure)

เปน็ ขน้ั ตอนการทางานเพอ่ื ให้ได้ ผลลพั ธ์หรอื ขอ้ สนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกบั
คอมพิวเตอรจ์ าเปน็ ทจี่ ะต้องให้ผู้ใช้เขา้ ใจข้นั ตอนการทางาน ต้องมีระเบยี บปฏิบตั ิใหเ้ ป็นแบบเดียวกนั

4

2. ภาษาคอมพวิ เตอร์ (Computer Programming Language)

ภาษาเป็นตวั แทนการส่อื สารระหว่าง 2 ส่งิ หรือหลายๆส่ิงเพอ่ื ใหเ้ กิดความหมายและความเข้าใจตรงกัน
เชน่ มนษุ ย์ใชค้ าพูดส่อื สารกนั กถ็ ือวา่ คาพดู น้นั เป็นภาษาหรอื อาจใชม้ อื ในการสอื่ สารระหวา่ งคนทเี่ ป็นใบ้พดู
ไม่ได้หรอื แมแ้ ต่ดนตรีก็ถอื วา่ เปน็ ภาษาชนิดหนึ่งที่เปน็ สากลเพราะคนชาตใิ ดมาฟงั ก็จะใหค้ วามรสู้ กึ เดียวกัน

ในทางคอมพวิ เตอร์นัน้ กต็ อ้ งทาการพัฒนาภาษาที่จะสอ่ื สารระหวา่ งมนุษยก์ ับเคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ต่

ดว้ ยเหตทุ ่ีเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ป็นอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ซ่ึงมีเฉพาะวงจรการเปิดและปิดทาใหเ้ ครอ่ื ง

คอมพิวเตอรส์ ื่อสารโดยใช้เลขฐานสองเทา่ นัน้ เรียกภาษาทใ่ี ชเ้ ฉพาะเลขฐานสองในคอมพวิ เตอรว์ า่ ภาษาเครือ่ ง

(Machine Language) การท่ีมนุษยจ์ ะเรยี นรู้ภาษาเคร่อื งนนั้ ยากมากเพราะนอกจากจะต้องศึกษาถงึ อุปกรณ์

น้นั อีกด้วยซึง่ จะทาใหก้ ารใชง้ านคอมพวิ เตอรเ์ ป็นเร่อื งยุ่งยากจงึ มีผู้คิดค้นภาษาคอมพวิ เตอร์ขึน้ เพ่อื ทาหนา้ ท่ีใน

การติดตอ่ สื่อสารระหวา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์กับมนุษย์โดยผู้ใช้จะสามารถตดิ ต่อกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยผา่ น

ทางภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language)

2.1 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์

จากการทม่ี ีภาษาจานวนมากมายน้ันทาใหต้ ้องกาหนดระดบั ของภาษาคอมพวิ เตอร์เพ่ือชว่ ยในการแบ่ง
ประเภทของภาษาเหลา่ น้นั การกาหนดวา่ เป็นภาษาระดบั ตา่ หรือภาษาระดับสูงจะข้นึ อยกู่ บั ภาษาน้นั ใกล้เคียง
กับภาษาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ (ใกล้เคยี งกบั รหัส 0 และ 1 เรยี กว่า ภาษาระดับต่า) หรือวา่ ใกลเ้ คียงกบั
ภาษาท่ีมนุษย์ใช้ (ใกลเ้ คียงกับภาษาอังกฤษเรยี กวา่ ภาษาระดบั สูง)

1. ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language) ได้แก่
1.1ภาษาเคร่ือง (Machine Language) เป็นภาษาระดับตา่ ทสี่ ดุ เพราะใชเ้ ลขฐานสองแทนข้อมูล (0 และ
1)และคาสงั่ ตา่ งๆทาใหก้ ารเขยี นโปรแกรมยุ่งยากมาก

ตวั อย่าง แสดงคาสัง่ ของภาษาเครอ่ื งมีดังน้ี

ถา้ เราต้องการสง่ั ให้เคร่อื งทางานตามคาสัง่ 9 + 3 แสดงได้ดงั น้ี

การบวกแทนด้วยรหสั 10101010

เลข 9 เปลย่ี นเป็นเลขฐานสอง 00001001

เลข 3 เปลย่ี นเปน็ เลขฐานสอง 00000011

ดังน้ัน คาส่ัง 9 + 3 เขยี นเปน็ ภาษาเคร่ืองไดด้ ังนี้

00001001 10101010 00000011 ---------> ภาษาเคร่ือง

9 + 3 --------> ภาษามนษุ ย์และภาษาคอมพิวเตอร์

1.2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาแอสเซมบลใี ชร้ หสั เปน็ คาแทนคาสัง่ ภาษาเคร่อื ง

ทาให้นกั เขยี นโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขน้ึ คอื ใช้สญั ลกั ษณแ์ ทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่องซ่งึ

สญั ลกั ษณ์ที่ใช้จะเป็นคาสงั่ สนั้ ๆ ทาให้การเขียนโปรแกรมงา่ ยขนึ้ กว่าภาษาเคร่ือง แต่กย็ งั คงยงุ่ ยากมากในการ

จาคาสัง่ ทั้งหมด

5

ตัวอย่างที่ แสดงคาสง่ั ของภาษาแอสเซมบลีมดี งั นี้
ถา้ เราต้องการสงั่ ใหเ้ ครอื่ งทางานตามคาสงั่ 9 + 3 แสดงได้ดังน้ี

MOV AX, 9
MOV BX, 3
ADD AX, BX
2. ภาษาระดบั สูง (High Level Language)
ภาษาระดบั สงู จะใช้คาในภาษาอังกฤษแทนคาส่งั ตา่ งๆรวมทง้ั สามารถใช้นพิ จน์ทางคณิตศาสตรไ์ ด้ด้วย
ทาใหน้ กั เขียนโปรแกรมสามารถใชเ้ วลามงุ่ ไปในการศกึ ษาถงึ ทางแก้ปญั หาเทา่ นนั้ ไมต่ อ้ งเป็นกงั วลวา่
คอมพิวเตอร์จะทางานอยา่ งไรอีกตอ่ ไปภาษาระดับสูงนถ้ี ือวา่ เปน็ ภาษายุคที่สาม (third-generation
language) ซง่ึ ทาใหเ้ กิดการประมวลผลข้อมูลเพมิ่ มากขน้ึ และมีผู้หันมาใชค้ อมพิวเตอรก์ ันมากขึ้น
3. ภาษาระดบั สูงมาก (Very high-level Language)
เป็นภาษายคุ ที่ 4 (fourth-generation language) หรือ 4GLs จะเปน็ ภาษาทใ่ี ช้เขียนโปรแกรมได้ส้ัน
กวา่ ภาษาในยุคก่อนๆการทางานบางอยา่ งสามารถใชเ้ พียง 5 ถงึ 10 บรรทดั เทา่ น้ันในขณะที่ถา้ เขียนด้วยภาษา
อาจตอ้ งใชถ้ งึ 100 บรรทดั โดยพน้ื ฐานแล้วภาษาในยุคท่ี 4 นี้มคี ณุ สมบตั ทิ ีแ่ ยกจากภาษายุคกอ่ นๆอยา่ งชัดเจน
กล่าวคอื ผู้เขยี นโปรแกรมเพยี งแต่กาหนดวา่ ตอ้ งการใหโ้ ปรแกรมทาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ทันที
โดยไมต่ อ้ งทราบว่าทาได้อยา่ งไรทาให้การเขยี นโปรแกรมสามารถทาไดง้ ่ายและรวดเร็ว
ภาษาในยคุ ที่ 4 นีย้ ังมภี าษาที่ใชส้ าหรับเรยี กดขู อ้ มลู จากฐานข้อมูลไดเ้ รยี กวา่ ภาษาเรียกค้นข้อมูล

(query language) การแสดงรายงานจากฐานข้อมลู ภาษาเรียกค้นขอ้ มลู ท่เี ป็นมาตรฐานเรยี กวา่ SQL

(Structured Query Language)

4. ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)
เป็นภาษายคุ ที่ 5 (fifth generation language) หรอื 5GLs ธรรมชาติ หมายถึง ธรรมชาตขิ อง

มนุษยค์ อื ไม่ต้องสนใจถึงคาสง่ั หรอื ลาดบั ของขอ้ มลู ที่ถกู ต้องผใู้ ช้เพยี งแต่พิมพส์ ิ่งทีต่ อ้ งการลงในเคร่อื ง

คอมพิวเตอรเ์ ปน็ คาหรอื ประโยคตามทีผ่ ้ใู ชเ้ ขา้ ใจซงึ่ จะทาให้มรี ปู แบบของคาสั่งหรอื ประโยคที่แตกต่างกนั

ออกไปได้มากมายเพราะผใู้ ช้แตล่ ะคนอาจจะใช้ประโยคตา่ งกันใชค้ าศัพทต์ ่างกนั หรือแม้กระทง่ั บางคนอาจจะใช้

ศัพท์แสลงกไ็ ด้คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรอื ประโยคเหลา่ นั้นตามคาสัง่ แต่ถา้ ไมส่ ามารถแปลใหเ้ ข้าใจได้ก็

จะมคี าถามกลับมาถามผู้ใชเ้ พ่อื ยนื ยนั ความถูกตอ้ งภาษาธรรมชาติจะใช้ระบบฐานความรู้ (knowledge base

system) ช่วยในการแปลความหมายของคาสั่งต่างๆ

5. ภาษาโปรแกรมเชงิ วัตถุ (Object-Oriented Programming Language)
นกั เขยี นโปรแกรมบางคนคดิ ว่าการเขียนโปรแกรมขนาดใหญน่ ้ันบางคร้งั ก็เปน็ งานที่หนักและเสียเวลา
มากจงึ ได้พยายามคิดหาวธิ ที จี่ ะทาให้การเขียนโปรแกรมนน้ั ง่ายขน้ึ และสามารถเขยี นได้อย่างรวดเร็วทาให้เกิด
เทคนคิ การโปรแกรมเชงิ วตั ถุ (Object-Oriented Programming) หรอื OOP เพ่อื ช่วยลดความยุ่งยากของการ
เขียนโปรแกรมโปรแกรมเชงิ วัตถทุ ่ไี ด้รบั ความนิยมสูงได้แก่ JAVA , Visual Basic , C++

6

2.2 การเลอื กใชภ้ าษาคอมพวิ เตอร์

เนื่องจากในปจั จบุ ันทุกๆปีจะมีภาษาคอมพวิ เตอร์เกดิ ขึน้ มากมายและภาษาต่างๆจะมจี ดุ ดแี ละจุดด้อย
แตกตา่ งกันไปผใู้ ช้จงึ จาเป็นตอ้ งทาการคดั เลือกภาษาทจ่ี ะนามาใช้งานอย่างระมดั ระวังเนื่องจากเมือ่ ศึกษาและ
พฒั นาซอฟต์แวร์ด้วยภาษาใดภาษาหนึ่งแลว้ การเปล่ยี นไปใชภ้ าษาอน่ื ในภายหลังจะเป็นเรอ่ื งทย่ี ากลาบากอย่าง
ยง่ิ ทง้ั ในเรอ่ื งของคา่ ใชจ้ ่ายและเวลาทีต่ ้องสูญเสียไปรวมทั้งปัญหาของบุคลากรทีต่ ้องศึกษาหาความชานาญใหม่
อีกดว้ ย

ในการเลือกภาษาคอมพวิ เตอรท์ จ่ี ะนามาใชส้ ิ่งท่คี วรพิจารณาคอื
1. ในหนว่ ยงานหน่ึงๆควรจะใชภ้ าษาคอมพวิ เตอรภ์ าษาเดียวกนั เพราะการดูแลรกั ษาซอฟต์แวรท์ พ่ี ัฒนาข้ึน

ตลอดจนการจัดหาบคุ ลากรจะกระทาให้งา่ ยกว่า
2. ในการเลอื กภาษาควรเลอื กโดยดูจากคุณสมบตั ิหรอื ขอ้ ดีของภาษานนั้ ๆ เปน็ หลัก
3. ถา้ โปรแกรมทีเ่ ขียนขึน้ น้ันต้องนาไปทางานบนเครอ่ื งตา่ งๆกันควรเลือกภาษาท่ีสามารถใชง้ านได้บนทกุ เคร่ือง

เพราะจะทาใหเ้ ขียนโปรแกรมเพียงคร้งั เดยี วเทา่ นัน้
4. ผู้ใช้ควรจากัดภาษาคอมพวิ เตอรท์ ีจ่ ะใชไ้ มค่ วรติดต้งั ตัวแปลภาษาคอมพวิ เตอร์ทุกภาษาบนเครือ่ งทกุ เครือ่ ง
5. ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีเลือกใช้จะถกู จากัดโดยนกั เขียนโปรแกรมท่ีมีอยเู่ พราะควรใชภ้ าษาท่ีมผี ้รู อู้ ยู่บ้าง

ตารางแสดงตวั อย่างภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ละการใชง้ าน

ภาษาคอมพวิ เ การใช้งาน
ตอร์
เพ่อื ใชส้ อนวชิ าการเขียนโปรแกรมสาหรบั ผูเ้ ริ่มศกึ ษาการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
BASIC เป็นภาษาสาหรบั ใช้ในงานธุรกจิ บนเครอ่ื งขนาดใหญ่
COBOL เปน็ ภาษาระดับสูงภาษาแรกของโลกใชส้ าหรับงานด้านคณิตศาสตรว์ ทิ ยาศาสตรว์ ิศวกรรมศาสตรท์ ่ตี ้องการการ
FORTRAN คานวณมากๆ
เพ่อื ใชส้ อนวิชาการเขยี นโปรแกรมสาหรบั ผู้เริ่มศึกษาการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์
Pascal เป็นภาษาระดบั สูง ใช้สอนวชิ าการเขยี นโปรแกรมสาหรบั ผเู้ ร่ิมศกึ ษาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์
C สาหรบั ผู้ผลิตซอฟตแ์ วร์แบบ OOP
C++ เรมิ่ ต้นไดร้ ับการออกแบบให้เปน็ ภาษาสาหรับงานทางวิทยาศาสตร์และต่อมามกี ารพัฒนาตอ่ เปน็ ภาษา PL/I และ
Pascal
ALGOL ออกแบบโดยบริษัท IBMเป็นภาษาท่โี ต้ตอบกับผู้ใชท้ นั ทเี หมาะสาหรับจัดการกบั กลุ่มของขอ้ มลู ทสี่ ัมพนั ธ์กันใน
รปู แบบตาราง
APL ถกู ออกแบบมาใหใ้ ช้กบั ข้อมูลทไ่ี มใ่ ช้ตัวเลขซง่ึ อาจเป็นสัญลักษณพ์ ิเศษหรือตัวอักษรกไ็ ดน้ ยิ มใช้ในดา้ น
ปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence)
LISP นิยมใชใ้ นโรงเรียนเพือ่ สอนทกั ษะการแก้ปัญหาให้กบั นกั เรียน
ถูกออกแบบมาใหใ้ ช้กบั งานทง้ั ทางด้านวิทยาศาสตร์และธรุ กจิ
LOGO นยิ มใชม้ ากในงานด้านปัญญาประดษิ ฐจ์ ัดเปน็ ภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง
PL/I ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจจะมีคุณสมบตั ใิ นการสรา้ งโปรแกรมสาหรบั พมิ พร์ ายงาน
PROLOG
RPG

7

2.3 ตวั แปลภาษา (Translator)

ในการพฒั นาซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์นั้นโปรแกรมเมอรจ์ ะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอรแ์ บบ
ตา่ งๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละคนโปรแกรมทไี่ ดจ้ ะเรยี กวา่ โปรแกรมตน้ ฉบับหรือซอร์สโปรแกรม
(source program) ซึ่งมนษุ ย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบบั น้ีไดแ้ ตค่ อมพิวเตอรจ์ ะไม่เขา้ ใจคาส่ังเหล่านัน้ เนอ่ื งจาก
คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซง่ึ ประกอบขนึ้ จากรหสั ฐานสองเท่านน้ั จงึ ตอ้ งมีการ
ใชโ้ ปรแกรมตวั แปลภาษาคอมพวิ เตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอรภ์ าษาต่างๆไปเปน็
ภาษาเครื่องโปรแกรมท่แี ปลจากโปรแกรมต้นฉบับแลว้ เรียกว่า ออบเจคโปรแกรม (object program) ซึง่ จะ
ประกอบดว้ ยรหัสคาส่ังที่คอมพวิ เตอร์สามารถเขา้ ใจและนาไปปฏิบตั ไิ ด้ตอ่ ไป

ตวั แปลภาษาทม่ี กี ารใชอ้ ยู่ในปัจจุบันสามารถแบง่ ได้เปน็ 3 ตัวดงั นี้
1. แอสเซมเบลอ (Assembler)
เปน็ ตวั แปลภาษาแอสแซมบลซี ึ่งเปน็ ภาษาระดบั ต่าให้เปน็ ภาษาเครือ่ ง

2. คอมไพเลอร์ (Compiler)
จะทาการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมใหเ้ ป็นภาษาเคร่อื งทเี ดยี วการแปลนจ้ี ะเปน็ การตรวจสอบ

ไวยากรณ์ของภาษาถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกดิ ข้นึ ก็จะแจง้ ให้ทราบ
3. อนิ เตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
จะทาการแปลโปรแกรมภาษาช้นั สงู ทลี ะคาสง่ั ทลี ะบรรทัดระหวา่ งการแปลเกดิ พบข้อผดิ พลาดท่ี

บรรทดั ใดก็จะฟ้องใหท้ าการแกไ้ ขทีละบรรทดั นั้นทนั ที

ตัวแปรภาษาทุกตัวจะทาการแปรภาษาคอมพวิ เตอรใ์ หเ้ ปน็ ภาษาเครือ่ ง (ตวั เลข 0 กบั 1) เพอ่ื ให้
เครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจและทางานตามคาสง่ั ได้

8

3. การพัฒนาโปรแกรม

ขนั้ ตอนหรือวธิ ีการพฒั นาโปรแกรมประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดงั นี้
1. การวิเคราะห์ปัญหา(Problem Analysis) การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบดว้ ยขัน้ ตอนต่างๆ ดังนี้

1. กาหนดวตั ถุประสงค์ของงาน เพอ่ื พจิ ารณาว่าโปรแกรมตอ้ งทาการประมวลผลอะไรบา้ ง
2. พจิ ารณาขอ้ มลู นาเข้า เพ่ือให้ทราบว่าจะต้องนาขอ้ มลู อะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ขอ้ มูลมคี ุณสมบตั เิ ป็น
อยา่ งไร ตลอดจนถงึ ลักษณะและรปู แบบของข้อมูลทจ่ี ะนาเข้า
3 พิจารณาการประมวลผล เพื่อให้ทราบว่าโปรแกรมมขี นั้ ตอนการประมวลผลอยา่ งไรและมีเงื่อนไปการ
ประมวลผลอะไรบ้าง
4. พิจารณาข้อมูลนาออก เพ่อื ใหท้ ราบว่ามีข้อมูลอะไรทจี่ ะแสดง ตลอดจนรูปแบบและส่ือที่จะใชใ้ นการ
แสดงผล
2. การออกแบบโปรแกรม(Design)

การออกแบบข้ันตอนการทางานของโปรแกรมเปน็ ขั้นตอนท่ีใชเ้ ป็นแนวทางในการลงรหสั โปรแกรม
อาจใชเ้ คร่ืองมือตา่ งๆ ชว่ ยในการออกแบบ เชน่ คาสงั่ ลาลอง (Pseudocode) หรือ ผังงาน
(Flow chart)การออกแบบโปรแกรมนั้นไมต่ อ้ งพะวงกบั รูปแบบคาสงั่ ภาษาคอมพวิ เตอร์ แตม่ ุ่งความสนใจไป
ที่ลาดบั ขนั้ ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านนั้
3. การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์(Programming)

การเขยี นโปรแกรมเปน็ การนาเอาผลลัพธข์ องการออกแบบโปรแกรม มาเปล่ียนเปน็ โปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอรภ์ าษาใดภาษาหน่งึ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคาสงั่ และกฎเกณฑข์ อง
ภาษาท่ใี ช้เพื่อให้การประมวลผลเปน็ ไปตามผลลพั ธ์ทีไ่ ด้ออกแบบไว้
4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม(Testing)

การทดสอบโปรแกรมเปน็ การนาโปรแกรมทลี่ งรหัสแล้วเข้าคอมพวิ เตอร์ หรือการตดิ ต้ังโปรแกรมเพ่ือ
ตรวจสอบการทางานของโปรแกรมวา่ ถูกต้องหรอื ไม่ ถ้าพบว่ายงั ไมถ่ ูกก็แกไ้ ขใหถ้ กู ต้องตอ่ ไป
5. การทาเอกสารประกอบโปรแกรม(Documentation)

การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเปน็ งานทสี่ าคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบ
โปรแกรมชว่ ยให้ผู้ใชโ้ ปรแกรมเข้าใจวตั ถุประสงค์ ขอ้ มลู ทจ่ี ะต้องใชก้ ับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ท่ีจะได้จาก
โปรแกรม การทาโปรแกรมทกุ โปรแกรมจึงควรตอ้ งทาเอกสาร
6. การบารุงรักษาโปรแกรม(Maintenance)

ต้องมผี ู้คอยควบคมุ ดแู ลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นข้นั ตอนท่ี
ผเู้ ขยี นโปรแกรมต้องคอยเฝา้ ดูและหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมในระหว่างทผี่ ู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุง
โปรแกรมเมือ่ เกิดขอ้ ผิดพลาดขนึ้

9

4. การจาลองความคิดในการเขียนโปรแกรม

การจาลองความคดิ เพื่อวางแผนขั้นตอนในการเขยี นโปรแกรมทางคอมพิวเตอรเ์ รียกไดอ้ ีกอยา่ งว่า
อลั กอรทิ มึ (Algorithm) หรือขน้ั ตอนวธิ ี

อัลกอริทึม เป็นลาดบั ของคาส่งั ทค่ี อมพวิ เตอร์จะปฏบิ ัติตามเพอื่ แกป้ ัญหาให้กับเราโดยจะทาคาส่ัง
เรียงกนั ตามลาดับก่อนหลงั จะไมข่ ้ามขน้ั ผลลพั ธ์ของแตล่ ะข้นั ตอนผลลัพธท์ ี่ไดข้ องข้ันตอนหนึง่ จะส่งตอ่ ไปยงั
ข้นั ตอนถดั ไปและส่งต่อกนั ไปเช่นนต้ี ามลาดับขน้ั จนถึงคาส่งั สดุ ทา้ ยจึงจะได้ผลลัพธ์ท่เี สร็จสมบรู ณ์

เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการจาลองความคิดประกอบด้วย 2 ลักษณะคอื
1. ข้อความคาบรรยายหรอื รหสั เทียม (pseudo code)

เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษามนษุ ย์ท่ใี ช้สือ่ สารกันเพือ่ ใหท้ ราบถึงข้นั ตอนการ
ทางานของการเขียนโปรแกรมแตล่ ะตอนในบางครง้ั อาจใช้คาสง่ั ของภาษาทใ่ี ชเ้ ขยี นโปรแกรมกไ็ ด้
หลกั การทว่ั ไปในการเขยี นรหสั เทยี ม

1. สัญลักษณท์ ่ีใช้ในการดาเนนิ การทางคณติ ศาสตรต์ า่ งๆจะถกู ใชง้ านตามปกติคอื “+” สาหรบั การ
บวก “-” สาหรับการลบ “*” สาหรับการคณู และ“/” สาหรับการหาร

2. ชอ่ื ข้อมลู แทนจานวนทจ่ี ะถกู ดาเนนิ การ
3. การกาหนดคา่ ให้กับชอ่ื ข้อมูล เช่น เมื่อเราต้องการกาหนดใหข้ อ้ มูล pi มีคา่ เทา่ กบั 3.14
สามารถเขียนได้ดว้ ยข้อความ pi=3.14
ในการกาหนดคา่ ทางคอมพวิ เตอร์ด้านซา้ ยของเครื่องหมายมกั ใช้แทนทเี่ กบ็ ข้อมลู และด้านขวาแทน
ขอ้ มูลที่ต้องการนาไปเก็บ(ดังน้นั หากใช้ข้อความวา่ 3.14=pi ถอื ว่าไมถ่ ูกตอ้ งตามความหมายนี้)
4. คาสงวนบางคาทใี่ ชใ้ นภาษาระดบั สูงทั่วไปอาจถูกนามาใช้เช่น Read หรอื Enter สาหรบั การรบั
ข้อมลู เขา้ และ Write หรือ Print สาหรบั การแสดงขอ้ มูลออก
5. การเพ่ิมหรือลดระยะยอ่ หนา้ อย่างเหมาะสมเพ่อื แสดงระดับของขั้นตอนการทางานในโครงสร้าง
ควบคุมการทางานในกลมุ่ เดยี วกัน

ตัวอยา่ งท่ี 1 การวางแผนไปโรงเรยี น
การจาลองความคดิ ด้วยรหสั เทยี ม

เรมิ่ ตน้
ตนื่ นอน
อาบนา้ แตง่ ตวั
รบั ประทานอาหารเช้า
ไปโรงเรยี น
จบ

10

2. สญั ลักษณ์หรอื ผังงาน (Flowchart)
เปน็ เคร่ืองมอื ชนิดหนึ่งทใ่ี ชร้ ูปภาพแสดงการไหลของขอ้ มลู ในระบบตัง้ แต่แรกจนได้ผลลพั ธ์ตาม

ตอ้ งการจะแสดงการทางานของโปรแกรมโดยละเอียดในแตล่ ะข้นั ตอนผงั งานโปรแกรมเปน็ สงิ่ จาเปน็ สาหรับ
ผ้เู ขียนโปรแกรมเพราะตอ้ งใชเ้ ปน็ แนวทางในการเขียนโปรแกรมและเมือ่ โปรแกรมเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดการเขา้ ไป
วเิ คราะหผ์ ังงานโปรแกรมจะทาได้งา่ ยกว่าการเข้าไปวเิ คราะห์ตัวโปรแกรมโดยตรง

ประโยชนข์ องผงั งาน
1. ช่วยอธบิ ายลาดบั ขนั้ ตอนการทางานของโปรแกรม
2. ทาให้ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมไดง้ ่าย
3. ทาใหผ้ อู้ นื่ สามารถศกึ ษาการทางานของโปรแกรมและแกไ้ ขโปรแกรมได้ง่าย

สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการเขียนผังงานและหนา้ ที่

หมายถงึ เร่ิมตน้ /จบงาน

หมายถงึ การตัดสนิ ใจเลอื ก

หมายถึง แทนการกาหนดค่าหรือคานวณคา่

หมายถงึ อ่านข้อมลู เขา้ หรอื แสดงข้อมลู ออก

หมายถึง แสดงผลลัพธท์ างเคร่อื งพิมพ์

หมายถึง แสดงผลลัพธ์บนจอภาพ

หมายถึง จดุ เช่ือมตอ่

หมายถงึ ลูกศรแสดงทิศทาง

หมายถึง การป้อนขอ้ มลู เขา้ ด้วยมือ

11

ทาความรจู้ กั กบั สัญลักษณ์สาคญั ท่ีใชบ้ ่อย
1. สัญลักษณ์การคานวณ Process

ความหมายของ Process คอื การกาหนดค่าหรอื การคานวณคา่

Process

ตวั อยา่ ง แสดงการกาหนดคา่ ให้ตวั แปร Total

ตัวอย่าง แสดงการคานวณค่าผลรวมของตวั แปร Total

2. สัญลกั ษณ์การตัดสินใจ Decision

ความหมายของ Decision คือ การทดสอบเง่อื นไขหรอื เปรียบเทียบเง่อื นไข เพ่อื ตัดสนิ ใจทางาน
อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งตามทตี่ ้องการ

ตัวอยา่ ง แสดงการเปรยี บเทียบเงอ่ื นไข 1 ทางเลอื ก

12
ตวั อยา่ งแสดงการจาลองความคดิ แบบรหัสเทยี ม (pseudo code)และเปน็ สญั ลกั ษณ์ (Flowchart)

ตวั อย่างท่ี 1 การเดินทางไปโรงเรยี น

รหัสเทยี ม (pseudo code)
เร่ิมต้น
ต่นื นอน
อาบน้าแตง่ ตัว
รับประทานอาหารเชา้
ไปโรงเรยี น
จบ

สัญลกั ษณ์ (Flowchart)

เริม่ ต้น

ตน่ื นอน

อาบนา้ แต่งตวั

รับประทานอาหารเชา้

ไปโรงเรียน

จบ

13

ตวั อย่างที่ 2 การคานวณพนื้ ท่ีรปู วงกลม
การจาลองความคิดดว้ ยรหัสเทยี ม

เร่มิ ต้น
รบั คา่ radius
คานวณพื้นทีด่ ้วยสูตร area= 22/7 * radius * radius
แสดงค่า area
จบ
การจาลองความคดิ เป็นสัญลกั ษณ์

เรม่ิ ต้น

รับคา่ radius

area = 22/7 * radius * radius

แสดงคา่ area

จบ

14

ตัวอยา่ งท่ี 3 การจาลองความคิดในการหาผลบวก 1,2,3,4,5,… จนถึง 20
(นั่นคอื จะหาค่า 1+2+3+4+5+…+20)

การจาลองความคิดดว้ ยรหัสเทียม
เรม่ิ ต้น

1. กาหนดให้ N มคี ่าเร่มิ ต้นเป็น 0
2. กาหนดให้ K มีคา่ เรมิ่ ตน้ เปน็ 1
3. นาค่า K มารวมกับค่า N เดิมได้ผลลพั ธ์เท่าไรเก็บไว้ท่ี N
4. นาคา่ 1 มารวมกบั ค่า K เดมิ ได้ผลลพั ธ์เทา่ ไรเก็บไวท้ ่ี K
5. เปรยี บเทยี บคา่ K กบั 20 ถ้า K นอ้ ยกว่าหรือเท่ากับ 20 ให้วนกลบั ไปทาในขัน้ 3 และทาคาส่งั ถัด
ลงมาตามลาดบั แตถ่ า้ K มากกวา่ 20 ใหแ้ สดงคาตอบ
จบ

การจาลองความคดิ เป็นสญั ลักษณ์

เรมิ่ ต้น

N=0

K=1

N=N+K

K=K+1
K< = 20

แสดงค่า N

จบ

15

ตวั อย่างท่ี 4 การสรา้ งผังงานแสดงการคานวณภาษี

การจาลองความคิดด้วยรหสั เทียม
เริม่ ตน้

รับคา่ ราคาสนิ ค้า
รับคา่ อตั ราภาษา ร้อยละ 7

คานวณภาษาท่ตี ้องจา่ ย โดยใช้สตู ร ภาษี = ราคาสินคา้ + อัตราภาษี
แสดงค่าภาษี
จบ

การจาลองความคิดเป็นสญั ลกั ษณ์

เร่ิมตน้

รบั ค่า ราคาสินค้า

รบั คา่ อัตราภาษี 7%

ภาษี = ราคาสนิ คา้ + อตั ราภาษี

แสดงคา่ ภาษี

จบ

16

กจิ กรรมที่ 1.1 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ กู ต้องสมบูรณท์ ่ีสุด
1. องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอรป์ ระกอบด้วยก่ีส่วน อะไรบา้ ง
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ยกตัวอย่างซอฟต์แวรร์ ะบบปฏบิ ตั กิ าร (OS) ท่นี ักเรียนรูจ้ กั มาอยา่ งนอ้ ย 5 โปรแกรม
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ยกตัวอย่างซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์หรือโปรแกรมสาเรจ็ รูปทนี่ ักเรียนเคยใช้และชอบมาอย่างนอ้ ย 5 โปรแกรม
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
4. ผู้เขียนโปรแกรมหรอื ผู้พฒั นาโปรแกรมมีชื่อเรียกอกี อยา่ งหนึง่ วา่ อะไร
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
5. จากองคป์ ระกอบระบบของคอมพวิ เตอร์ท้งั หมด ตัวนักเรยี นเองจดั อย่ใู นองคป์ ระกอบขอ้ ใด
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ชื่อ-นามสกลุ ………………………………………………………………ห้อง…………เลขท…่ี ………

17

กิจกรรมท่ี 1.2 ภาษาคอมพวิ เตอร์
คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ กู ต้องสมบรู ณ์ทสี่ ุด
1.บอกความหมายของ ภาษาคอมพวิ เตอร์
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ภาษาเคร่ืองใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล ตวั เลขฐานสองประกอบดว้ ยตัวเลขจานวนกี่ตัว อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3.ภาษา C จัดอยู่ในภาษาระดับใด
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
4. ตวั แปลภาษาทาหน้าทอี่ ะไร จงอธบิ าย
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
5.คอมไพลเลอร์(Complier) ทางานอยา่ งไร
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ชอ่ื -นามสกลุ ………………………………………………………………หอ้ ง…………เลขท…่ี ………

18

กิจกรรมท่ี 1.3 ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั การพฒั นาโปรแกรม
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ให้ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ที่สดุ
1.ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรมประกอบดว้ ยกี่ขนั้ ตอน อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2.ข้ันตอนการวิเคราะห์ปญั หา ต้องการทราบข้อมูลอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. การเขยี นผงั งาน หรอื Flowchart จดั อยูใ่ นขัน้ ตอนใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. เครื่องหมายที่ใชแ้ ทนการคณู การหาร ในการพฒั นาโปรแกรมใช้เครื่องหมายใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. การจาลองความคดิ มกี แ่ี บบ อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. จงบอกประโยชน์ของผงั งานมาพอเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ช่ือ-นามสกลุ ………………………………………………………………หอ้ ง…………เลขท…ี่ ………

19

กจิ กรรมที่ 1.4 ข้นั ตอนการพัฒนาโปรแกรม

คาชี้แจง ให้นกั เรยี นนาตัวอักษรท่ีอยู่หน้าขอ้ ความด้านขวามอื มาใส่หน้าขอ้ ความดา้ นซา้ ยมือใหส้ อดคลอ้ งกนั

…………1.การเขียนผังงาน (Flowchart) 1. การวเิ คราะหป์ ญั หา (Problem Analysis)
…………2.ขน้ั ตอนที่ยากทสี่ ุด 2. การออกแบบโปรแกรม (Design)
…………3.ตอ้ งการใหท้ าอะไร 3. การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์
…………4.ต้องการผลลพั ธอ์ ะไร (Programming)
…………5.ขอ้ มลู พ้ืนฐานทีจ่ าเป็น 4. การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม (Testing)
…………6.ขั้นตอนที่ผดิ พลาดไม่ได้ 5. การทาเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)
…………7.เหมาะสาหรบั โปรแกรมเมอร์ 6. การบารงุ รกั ษาโปรแกรม (Maintenance)
…………8.ต้องมพี ้ืนฐานด้านภาษาโปรแกรม
…………9.เลือกเคร่อื งมือทีจะนามาแก้ปัญหา
…………10.ตรวจสอบวา่ วิธกี ารน้ีใหผ้ ลลพั ธ์ท่ถี ูกต้อง
…………11.ผู้ใชโ้ ปรแกรมไมเ่ ข้าใจการใชง้ าน
…………12.จัดทาคมู่ อื การใช้โปรแกรม

ช่อื -นามสกุล………………………………………………………………หอ้ ง…………เลขท…่ี ………

20

กจิ กรรมที่ 1.5 การจาลองความคดิ แบบคาบรรยายหรอื รหสั เทยี ม

คาชีแ้ จง จงเรยี งลาดับข้ันตอนท่ีกาหนดให้ถกู ต้อง

1.

ลาดบั ข้นั ตอนที่กาหนด การเรียงลาดบั ข้ันตอนทถี่ กู ตอ้ ง

ไปห้องวิชาการ
เร่ิมตน้
ถา่ ยรูปทาบตั ร
จบ
เซ็นช่อื รับบตั ร
เขียนใบคารอ้ ง
พิมพบ์ ตั ร

2. การเรียงลาดับขั้นตอนทีถ่ กู ต้อง

ลาดบั ขัน้ ตอนทกี่ าหนด
เริม่ ต้น
อ่านหนังสอื
สอบปลายภาค
จบ
คะแนนมากกวา่ 50 หรือไม่
พมิ พ์สอบผา่ น
พมิ พ์สอบตก

3. 21
การเรยี งลาดบั ขั้นตอนท่ถี กู ต้อง
ลาดับข้ันตอนทีก่ าหนด
คะแนน 70-79 ไดเ้ กรด 3 การเรยี งลาดับข้ันตอนที่ถกู ต้อง
รบั ขอ้ มลู คะแนน
คะแนน 60-69 ไดเ้ กรด 2
ตรวจสอบคะแนน
คะแนน 80 ขน้ึ ไปไดเ้ กรด 4
จบ
คะแนน 50-59 ได้เกรด 1
คะแนนนอ้ ยกว่า 50 ได้เกรด 0
พิมพร์ ะดับผลการเรียน
เรมิ่ ตน้

4.

ลาดบั ขั้นตอนท่ีกาหนด
ลงทะเบยี นขอสอบแก้ตวั
สอบไมผ่ า่ น
ประกาศผลสอบปลายภาค
ประกาศผลสอบแก้ตัว
สอบแก้ตัว
เริ่มต้น
จบ

22

กจิ กรรมท่ี 1.6 การเขียนผงั งาน (Flowchart)

คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นบอกความหมายของสัญลักษณ์ผงั งานให้ถกู ต้อง

1. สญั ลักษณต์ ่อไปน้ี หมายถึง

สัญลกั ษณ์ ความหมาย

23

2. จงเรยี งลาดบั ขัน้ ตอนที่กาหนดใหถ้ กู ต้อง

ลำดับขั้นตอนท่ีกำหนด กำรเรียงลำดบั ข้นั ตอนทีถ่ กู ตอ้ ง
ไปหอ้ งวชิ าการ เริ่มตน้
เร่มิ ต้น ไปห้องวิชาการ
ถา่ ยรูปทาบตั ร เขียนใบคารอ้ ง
จบ ถ่ายรปู ทาบตั ร
เซน็ ช่อื รับบตั ร พิมพ์บัตร
เขยี นใบคาร้อง เซ็นชื่อรบั บตั ร
พมิ พ์บตั ร จบ

นำขอ้ ควำมท่เี รียงสมบูรณ์แล้วมำเขยี นลงในผงั งำนใหถ้ ูกตอ้ ง

24

3. จงเรยี งลาดับขั้นตอนทีก่ าหนดให้ ให้ถูกตอ้ ง

ลำดบั ขั้นตอนทีก่ ำหนด กำรเรยี งลำดับขน้ั ตอนทถ่ี กู ตอ้ ง
เรมิ่ ต้น เร่ิมตน้
อ่านหนังสือ อ่านหนงั สือ
สอบปลายภาค สอบปลายภาค
จบ คะแนนมากกว่า 50 หรอื ไม่
คะแนนมากกว่า 50 หรอื ไม่ พมิ พส์ อบผา่ น
พิมพ์สอบผ่าน พมิ พ์สอบตก
พมิ พ์สอบตก จบ

นำข้อควำมทีเ่ รียงสมบูรณแ์ ล้วมำเขียนลงในแผนผังควำมคิดใหถ้ กู ตอ้ ง

25

4. จงเรยี งลาดบั ขนั้ ตอนทีก่ าหนดใหถ้ กู ต้อง

ลำดับข้นั ตอนท่กี ำหนด กำรเรียงลำดับขน้ั ตอนทถี่ กู ตอ้ ง

คะแนน 70-79 ได้เกรด 3 เริม่ ต้น

รบั ขอ้ มูลคะแนน รับข้อมลู คะแนน

คะแนน 60-69 ไดเ้ กรด 2 ตรวจสอบคะแนน

ตรวจสอบคะแนน คะแนน 80 ขึ้นไปไดเ้ กรด 4

คะแนน 80 ข้นึ ไปได้เกรด 4 คะแนน 70-79 ได้เกรด 3

จบ คะแนน 60-69 ได้เกรด 2

คะแนน 50-59 ได้เกรด 1 คะแนน 50-59 ไดเ้ กรด 1

คะแนนน้อยกวา่ 50 ไดเ้ กรด 0 คะแนนนอ้ ยกว่า 50 ได้เกรด 0

พิมพ์ระดบั ผลการเรยี น พิมพร์ ะดับผลการเรยี น

เรมิ่ ตน้ จบ

นำขอ้ ควำมท่เี รียงสมบรู ณ์แล้วมำเขยี นลงในผงั งำนให้ถกู ตอ้ ง

26

5. จงเรยี งลาดบั ข้นั ตอนทีก่ าหนดใหถ้ กู ต้อง

ลำดับขนั้ ตอนทก่ี ำหนด กำรเรียงลำดับขั้นตอนทถ่ี ูกตอ้ ง
ลงทะเบยี นขอสอบแกต้ ัว เริ่มต้น
สอบไมผ่ ่าน ประกาศผลสอบปลายภาค
ประกาศผลสอบปลายภาค สอบไมผ่ ่าน
ประกาศผลสอบแก้ตัว ลงทะเบยี นขอสอบแก้ตัว
สอบแก้ตวั สอบแกต้ ัว
เร่ิมตน้ ประกาศผลสอบแก้ตัว
จบ จบ

นำขอ้ ควำมที่เรยี งสมบรู ณ์แลว้ มำเขยี นลงในผังงำนให้ถกู ตอ้ ง

กจิ กรรมที่ 1.6 Mind Mapping 27

คาชีแ้ จงให้นกั เรยี นเขยี น Mind Mapping เรือ่ ง ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (หน่วยท่ี 1)

องคป์ ระกอบของ 1. ระดบั ตา่ 2.การเลือกใช้
ระบบคอมพิวเตอร์ 2. ระดบั สูง ภาษาคอมพิวเตอร์
3. ระดบั สูงมาก
4. ธรรมชาติ 3.ตัวแปลภาษา
5. โปรแกรมเชงิ วัตถุ
1. แอสเซมเบลอ
1. ชนิดภาษาคอมพวิ เตอร์ 2.อินเตอรพ์ รเี ตอร์
3. คอมไพเลอร์
ภาษาคอมพวิ เตอร์

ความรูเ้ บื้องตน้ เก่ียวกับการเขียน
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ช่อื -นามสกลุ ……………………………………………………………………ห้อง………………เลขท…ี่ ……………..


Click to View FlipBook Version