The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niwat2524, 2021-10-21 05:47:34

O4 แผนกลยุทธ์โรงเรียน62-66

แผนกลยุทธ์โรงเรียน






ประจ ำปกำรศึกษำ ๒๕๖๒-๒๕๖๖


































...................................................................................


โรงเรียนหินโงมพิทยำคม



ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๒๑



กระทรวงศึกษำธิกำร

ค ำน ำ


แผนกลยุทธ์ของโรงเรียนหินโงมพิทยาคม จัดท าขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ให้สอดคล้องกันพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งประกอบด้วย สภาพปัจจบัน ผลการศึกษา

สถานภาพของสถานศึกษา ทศทางของการศึกษา กลยุทธ์การจัดการศึกษา ซึ่งคณะผู้จดท า ได้ท าการวิเคราะห์

สถานภาพของโรงเรียน ปัจจัยสิ่งแวดล้อม น ามาทาข้อมูล ใช้เป็นแนวทางในการก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด และได้น ามาจัดท าแผนงานที่ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ด าเนินงานให้บรรลุผล
ส าเร็จ ตามกลยุทธ์ที่ก าหนด ในระหว่างปีงบประมาณ 2562-2566

แผนกลยุทธ์ จึงเป็นแผนแม่บทของโรงเรียน อันจะน าโรงเรียนเป็นไปตามเป้าประสงค์ที่วางไว้









( นายนิมิตร กวีกรณ)

ผู้อ านวยการโรงเรียนหินโงมพิทยาคม










ู้
ผเห็นชอบโครงการ
( นายจันทรา ดาแก้ว )

ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนหินโงมพิทยาคม

สำรบัญ


หน้า


ส่วนที่ 1 สภาพบริบทของโรงเรียน 1
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์สถานภาพโรงเรียน 17

ส่วนที่ 3 ทศทางการจัดการศึกษา 21

ส่วนที่ 4 กลยุทธ์การจัดการศึกษา 23

ู่
ส่วนที่ 5 การแปลงกลยุทธ์สความสาเร็จ 37
ภาคผนวก

วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (โอกาสและอุปสรรค) 43
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (จุดแข็งและจดอ่อน) 44

ค าสั่งโรงเรียนหินโงมพิทยาคม 46

ส่วนที่ 1

สภำพบริบทของโรงเรียน





1. ขอมูลทั่วไปของโรงเรียน
1.1 ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ตั้งอยู่ที่ บ้านศาลาค า ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย มีพื้นท ี่

โดยประมาณ 29 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา

โรงเรียนหินโงมพิทยาคม เปิดทาการสอน เมื่อ วันที่ 22 พฤษภาคม 2521 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา

สังกัดกรมสามัญศึกษา รับนักเรียนเข้าเรียนแบบสหศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

ในปีการศึกษา 2538 โรงเรียนได้เปิดรับนักเรียนเข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีท 4
ี่
เป็นปีแรก ซึ่งในปัจจุบันมีถึงชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 แผนชั้นเรียนที่จัด คือ 3-3-4/2-1-1
ปัจจุบัน ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนได้เปิดเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 โดยมีการจัดแผน

ชั้นเรียนที่ คือ 2-2-2/1-1-2 โดยความพร้อมด้านอัตราก าลังครู สถานที่ งบประมาณที่จะตอบสนองความต้องการ
ของผเรียนยังไม่เพียงพอ
ู้

1.2 ตรำประจ ำโรงเรียนและควำมหมำยสัญลักษณ์
























ควำมหมำยตรำประจ ำโรงเรียน

“ คบเพลิงและหนังสือ ”


คบเพลิง หมำยถึง ควำมเจริญรุ่งเรือง

หนังสือ หมำยถึง กำรศึกษำ



สีประจ ำโรงเรียน

“ แดง-ขำว ”

แดง หมำยถึง ควำมแข็งแกร่ง

ขำว หมำยถึง ควำมมีคุณธรรม





ชื่อ โรงเรียนหินโงมพิทยำคม

อักษรย่อ ห.พ.

ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2521

ค ำขวัญ วินัยดี กีฬำเด่น เน้นวิชำกำร ประสำนชุมชน


อัตลักษณ์ รับผดชอบในหน้ำที่ มำรยำทด มีน้ ำใจ

เอกลักษณ์ สร้ำงคนดีสู่สังคมไทย ก้ำวไกลสู่อำเซียน

สหวิทยำเขต ปทุมเทวำภิบำล


มาร์ชโรงเรียน





หินโงมพิทยาคม แหล่งอบรมสถาบันอันกล้าแกร่ง

เราร่วมจิตสร้างสรรค์กันด้วยแรง หัวใจแกร่งดังศิลาเพื่อสถาบัน

หินโงมพิทยาคม ปราดเปรียวลมวิทยาคมอันลือลั่น

เรารักศาสตร์ศักดิ์ศรีมีสัมพันธ์ ทุกคนหมั่นฝึกอบรมสมเจตนา

แดงขาวเราก้าวหน้า พัฒนาไม่หวั่นไหว


แม้งานหนักเรารักสุดดวงใจ มีวินัย มีวิชาร่วมฝาฟัน
หินโงมพิทยาคม ศิษย์ชื่นชมรักนิยมกลมเกลียวมั่น

เราร่วมจิตฝึกเฟ้นเป็นส าคัญ มิเคยพรั่นหวั่นศัตรูหมู่ปัจจา



ค ำร้อง-ท ำนอง โดย ผอ.ชวน บุญแสนแผน

1.3 ที่ตั้งโรงเรียน
โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ตั้งอยู่ที่ริมถนนสายหนองคาย-โพนพิสัยห่างจากตัวจังหวัด

หนองคายประมาณ 15 กิโลเมตร และห่างจากเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 ประมาณ 19 กิโลเมตร











































1.4 ขนำดและลักษณะของพื้นที่


ี่
โรงเรียนหินโงมพิทยาคม มีพื้น 29 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา ตั้งอยู่ทเลขที่ 123 หมู่ 4
บ้านศาลาค าหมู่ที่ 4 ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ห่างจากตัวจังหวัดหนองคายประมาณ 14
กิโลเมตร ไปทางอ าเภอโพนพิสัย ที่ต าบลหินโงมประกอบด้วยหมู่บ้านขนาดใหญ่ จ านวน 8 หมู่บ้าน ซึ่งมีประชากร

ตั้งแต่ 700 คน ขึ้นไป 2 หมู่บ้าน หมู่บ้านขนาดกลางประชากรตั้งแต่ 400 คน ขึ้นไป 4 หมู่บ้าน และหมู่บ้านขนาด
เล็ก 2 หมู่บ้าน รวมประชากรทั้งต าบลประมาณ 5,118 คน (ข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนต าบลหินโงม วันที่ 16

พฤษภาคม 2562 ประชากรประมาณจ านวน 2,308 คน อยู่รวมกันเป็นชุมชนขนาดใหญ่ (บานหินโงม หมู่ที่ 1

หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 8) หมู่บ้านจ านวน 6 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ าโขง มีถนนชลประทาน(ถนนหนองคาย - โพนพิสัย

เดิม) เป็นเส้นทางคมนาคม ส่วน 2 หมู่บ้านที่เหลอเป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ตั้งอยู่ริมถนนหนองคาย-โพนพิสัย

ประชากรนับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น การท านา การเลี้ยงสัตว์ การปลูกยาสูบ ฯลฯ สภาพทาง

เศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง สภาพสังคมเป็นสงคมแบบชนบท ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ความ
ร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนอยู่ในระดับดี ชุมชนและโรงเรียนให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านต่าง ๆ เช่น

ให้ทุนการศึกษา การน าความรู้สู่ชุมชน การท ากิจกรรมวันส าคัญทางศาสนา และงานประเพณี ถึงแม้ว่าชุมชนใน
ต าบลหินโงมจะมีสภาพเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง แต่ในการให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือสถานศึกษาในด้าน

ต่างๆ อยู่ในระดับด ี


1.5 นโยบำยโรงเรยนหินโงมพิทยำคม ปีกำรศกษำ 2563

ั่
1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้กับนักเรียนอย่างทวถึง เท่าเทียมและมีคุณภาพ
2. เร่งรัดพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่โรงเรียนก าหนด

3. เร่งรัดพัฒนานักเรียนที่มีความบกร่องด้านการเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างน้อย
ร้อยละ 5

4. เร่งพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
5. ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ด้วยตนอง

6. ส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และน้อม

น าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต
7. ส่งเสริมให้ครูได้เข้ารับการประชุม อบรม สัมมนา ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

8. พัฒนาครูให้น าเทคโนโลยีใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ
9. ส่งเสริมให้ชุมชนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา



1.6 เขตพื้นที่บริกำรของโรงเรียนหินโงมพิทยำคม


1.6.1 หมู่บ้ำนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริกำร ประกอบดวย
1. บ้านศาลาค า ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

2. บ้านบง ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
3. บ้านดงเจริญ ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

4. บ้านพร้าวเหนือ ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
5. บ้านพร้าวใต ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

6. บ้านดงเวร ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

7. บ้านทาจาน ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

8. บ้านหินโงมเหนือ ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

9. บ้านหินโงมใต ้ ต าบลหินโงม อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

10. บ้านสันติสุข ต าบลสีกาย อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
11. บ้านฝ่ายแตก ต าบลสีกาย อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

12. บ้านสีกายเหนือ ต าบลสีกาย อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

13. บ้านสีกายใต ต าบลสีกาย อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

14. บ้านหมากก่อง ต าบลสีกาย อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

15. บ้านเดื่อ ต าบลบ้านเดื่อ อ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
16. บ้านนาเมย ต าบลเหล่าต่างค า อ าเภอโพนพิสัย

จังหวัดหนองคาย

1.6.2 โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริกำร ประกอบด้วย
1. โรงเรียนหินโงมวิทยา ระดับ ม.ต้น

2. โรงเรียนบ้านดงเจริญ ระดับ ม.ต้น

3. โรงเรียนบ้านสีกายวิทยาคม ระดับ ม.ต้น
4. โรงเรียนบ้านบง ระดับ ม.ต้น

5. โรงเรียนบ้านจอมแจ้ง ระดับ ม.ต้น
6. โรงเรียนบ้านพร้าวใต ระดับ ม.ต้น

7. โรงเรียนบ้านหมากก่องฝ่ายแตก ระดับ ม.ต้น

8. โรงเรียนบ้านเดื่อ ระดับ ม.ปลาย



1.7 เกียรติยศ ควำมภำคภูมิใจ

1 โรงเรียนรางวัลพระราชทานดีเด่น ปี พ.ศ. 2526
2 ได้รับการประเมินเป็นโรงเรียนปฏิรูปการศึกษาดีเด่น กรมสามัญศึกษา ปี 2544

3 ได้รับยกย่องให้เป็น สถานศึกษาดีเด่น เรื่องระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตามโครงการ
สานสายใยและศิษย์ ปีการศึกษา 2546

4 ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา“กิจกรรมคุ้มครองผบริโภคในโรงเรียน
ู้
ดีเด่น” (อย.น้อย) ปีการศึกษา 2547
5 ได้รับการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง ปีการศึกษา 2547

6 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การประกวดโครงการ อย.น้อย ปีการศึกษา 2547
ระดับเขตตรวจราชการ

7 รางวัลชมเชยโครงการรักการอ่าน สานสู่ฝัน สาขานักสื่อสารภาษาไทย เขตตรวจราชการที่

6 กระทรวงศึกษาธิการ
8 ได้รับรางวัลการแข่งขันหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รองชนะเลิศ

อันดับ 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ.2548


9 ชนะเลิศโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตพื้นที่การศกษาหนองคาย
เขต 1 ปีการศึกษา 2548

10 ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดคุกกี้สมุนไพร มหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาเขตหนองคาย

พ.ศ.2548
11 ได้รับรางวัลชนะเลิศมหัศจรรย์ร้อยพันอาชีพ งานประดิษฐ์ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

หนองคาย เขต 1
12 ได้รับรางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง จังหวัดหนองคาย พ.ศ.2548

13. ได้รับรางวัลนักเรียนพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปี พ.ศ.2548 ระดับจังหวัด

14. ได้รับรางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง จังหวัดหนองคาย พ.ศ.2548
15. ได้รับรางวัลชนะเลิศมวยสากลสมัครเล่นกีฬานักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต

1 ปีการศึกษา 2549

16. ได้รับรางวัลเหรียญทองโครงการอาหารจานเดียวและโครงงานประดิษฐ์เศษวัสดุเหลือใช้ระดับ
เขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1 ปีการศึกษา 2550

17. ได้รับรางวัลเหรียญทองการพูดสุนทรพจน์ ช่วงชั้นที่ 3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

หนองคาย เขต 1 ปีการศึกษา 2550

18. ได้รับรางวัลชนะเลิศการประดิษฐ์พลูดางจากขวดพลาสติก ระดับจังหวัด ปีการศึกษา 2550
19. ได้รับรางวัลชนะเลิศ ตะกร้อชายรุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี ระดับจังหวัด ปีการศึกษา 2550
20. ได้รับรางวัลชนะเลิศตะกร้อชายในการแข่งขันปาริชาติเกมส์ ปีการศึกษา 2550

21. ได้รับรางวัลชนะเลิศหุ่นยนต์ยุวชนอาชีวะระดับชาติ ถ้วยพระราชทานพระองค์เจ้าโสมสวล ี

พระวรราชา ทินัดดามาตุ ปีการศึกษา 2551
22. รางวัลนักเรียนยอดเยี่ยม งานประดิษฐ์เศษวัสดุเหลือใช้ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2551

23. รางวัลชนะเลิศการแข่งขันคณตศาสตร์คิดเร็ว ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1 ปี

การศึกษา 2552

24. รางวัลชนะเลิศแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1 ป ี

การศึกษา 2552
25.รางวัลชนะเลิศการแข่งขันข้าวปั้นน้ าพริกป่นถั่วเหลือง ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี

การศึกษา 2552
26. ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีเด่นโครงการสร้างจิตส านึกการใช้พลังงานส าหรับเยาวชน

ในสถานศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2553
27. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันโครงงานอาชีพระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้น ประจ าปีการศึกษา 2554 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21

28. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันมารยาท ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ประจ าปีการศึกษา 2554 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21

29. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญทอง กิจกรรมหนังสือเล่มเล็กระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ประจ าปีการศึกษา 2554 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
30. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแปรรูปอาหาร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ประจ าปีการศึกษา 2554 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21

31. นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับชาติ ประเภทหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ประจ าปีการศึกษา 2554 ส านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ
32. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ

มัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปีการศึกษา 2555 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

32. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการอ่านจับใจความ ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย ประจ าปีการศึกษา 2555 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

33. นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศ กิจกรรมการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปีการศึกษา 2555 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62

ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

34. นักเรียนได้รับรางวัล ระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปีการศึกษา 2555 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 62

ระดับประเทศ
35. นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศการแข่งขันหุ่นยนต์ บังคับมือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ประจ าปีการศึกษา 2555 ส านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

36. ผู้บริหารโรงเรียนได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น จากสมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่ง
ประเทศไทย

37. นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันเครื่องบินพลังยาง ประเภทบินนาน (ม1-3 ) 2556

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 63 ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
38. นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันอ่านเอาเรื่อง (ม1-3 ) 2556 งานศิลปหัตถกรรม

นักเรียนครั้งที่ 63 ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21

39. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันหุ่นยนต์ บังคับมือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประจ าปีการศึกษา 2556 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 63 (มุกดาหาร-

นครพนม)
40. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันหุ่นยนต์ บังคับมือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ประจ าปีการศึกษา 2556 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือครั้งที่ 63 (มุกดาหาร-
นครพนม)

41. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงินการแข่งขันร้องเพลงไทยสากล ระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลาย ประจ าปีการศึกษา 2556 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 63 (มุกดาหาร-
นครพนม)

42. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปี

การศึกษา 2556 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือครั้งที่ 63 (มุกดาหาร-นครพนม)
43. นักเรียนได้รับรางวัลระดับเหรียญทองการแข่งขันการอ่านจับใจความส าคัญ ระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 ปีการศึกษา 2557

44. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันหุ่นยนต์ บังคับมือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประจ าปีการศึกษา 2557 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 64 (สกลนคร)

45. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขั้นเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทชาย ม.1-3
รางวัลเหรียญทองประจ าปีการศึกษา 2558 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 65

46. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันกิจกรรมจัดการค่ายพักแรมระดับ ม. 1-3

ประจ าปีการศึกษา 2558 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 65
47. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการสร้าง Webpage ประเภท Web

Editor ม.1-6 ประจ าปีการศึกษา 2558 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 65
48. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันกิจกรรมจัดการค่ายพักแรมลูกเสือสามัญรุ่น

ใหญ่ ระดับ ม. 1-3 ประจ าปีการศึกษา 2559 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 66
49. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันกิจกรรมจัดการสร้างอุปกรณ์เพื่อให้บริการ

ระดับ ม. 4-6 ประจ าปีการศึกษา 2559 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 66

50. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการจัดการแข่งขันการจัดการค่ายพักแรม ระดับ ม. 1-3
ประจ าปีการศึกษา 2560 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 67


51. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงินการจัดการแข่งขันการสร้างอุปกรณเพื่อให้บริการ ระดับ ม. 4-6
ประจ าปีการศึกษา 2560 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 67

52. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงินการจัดการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับ ม. 1-3

ประจ าปีการศึกษา 2560 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 67
53. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงินการจัดการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับ ม. 4-6

ประจ าปีการศึกษา 2560 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 67



54. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ 2 การจดการแข่งขันหุ่นยนตผสมระดับ
ม. 1-3 ประจ าปีการศึกษา 2561 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 68
55. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองการจัดการแข่งขันการสร้างอุปกรณ์เพื่อให้บริการ ระดับ ม. 4-

6 ประจ าปีการศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 68
56. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การจัดการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับ ม. 1-3

ประจ าปีการศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69
57. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การจัดการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับ ม. 4-6

ประจ าปีการศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69

58. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การจัดการแข่งขันหุ่นยนตผสมระดับ ม. 1-3 ประจ าปี
การศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69

*** 59. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศอันดับที่ 1 การจัดการแข่งขันหุ่นยนตผสม ระดับ ม.

4-6 ประจ าปีการศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69


60. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การจัดการแข่งขันหุ่นยนตระดับกลาง ระดับ ม. 1-3 ประจ าปี
การศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69
61. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองแดง การจัดการแข่งขันหุ่นยนตระดับกลาง ระดับ ม. 4-6

ประจ าปีการศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69


62. นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การจัดการแข่งขันหุ่นยนตระดับสูง ระดับ ม. 4-6 ประจ าปี
การศึกษา 2562 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 69

ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนหินโงมพิทยำคม

ปีกำรศึกษำ 2563

ว ด ป

ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง ระดับ วิชาเอก วุฒิสูงสุด ที่บรรจุ

1 นายนิมิตร กวีกรณ์ ผู้อ านวยการ คศ.3 บริหารการศึกษา กศ.ม. 30/01/2540
2 นายฉัตรชัย พัฒนวงศ์ คร ู คศ.3 พลศึกษา ค.บ. 17/05/2528
3 นายธนวัฒน ์ โพธิดา คร ู คศ.3 เคมี วท.ม. 06/12/2528
4 นางชนิดา เงินขาว คร ู คศ.3 สังคมศึกษา ค.บ. 27/06/2531
5 นายอนุชา บุญแสนแผน คร ู คศ.3 เทคโนฯ ค.อ.ม. 10/08/2536
6 นางธารารัตน ์ ดีหนัก คร ู คศ.3 ภาษาอังกฤษ ศศ.บ. 1/09/2536
7 นายนิวัฒน ์ ด้วงเคน คร ู คศ.1 ฟิสิกส์ ค.บ. 1/02/2555
8 นางฐานะมาศ รัตน์รองใต ้ คร ู คศ.3 สังคมศึกษา ค.บ. 9/11/2537
9 นางประณี สาพินิจ คร ู ค.ศ.3 ภาษาไทย ค..บ. 21/09/2538
10 นายนพกร อุตสาห์ด ี คร ู ค.ศ.1 ดนตรีศึกษา ค.บ 11/08/2554
11 นางสาวนิภาพร บุตระมะ คร ู ค.ศ.1 คณิตศาสตร ์ ค.บ 24/03/2559
12 นายวินัย นาจันอ่อน คร ู ค.ศ.1 บริหารการศึกษา ศษ.ม. 05/07/2556
13 นางสาวธันยรัตน์ พันธ์พ านัก คร ู ครูผู้ช่วย คณิตศาสตร ์ ค.บ. 3/10/2559
14 นางสาวพิไลพร สาริมาตย ์ คร ู ครูผู้ช่วย วิทยาศาสตร ์ ค.บ. 1/10/2561

15 นางสาวเมญารัตน ควรค า คร ู ครูผู้ช่วย วิทยาศาสตร ์ ค.บ. 1/10/2561
16 นายพิษณุ โคตรศิลา คร ู ครูผู้ช่วย เกษตรศาสตร ์ ค.บ. 1/10/2561

17 นางสาวอาริยา กุดสถิต คร ู ครูผู้ช่วย ภาษาอังกฤษ ค.บ. 13/05/2562
18 นางสาวจีรนุช นันทพล คร ู - ภาษาไทย ค.บ. 23/03/2563
19 นายศิริศักดิ์ สิทธิไชย ครูพนักงานราชการ - พลศึกษา ค.บ. 20/05/2561
20 นายพิชัย จิตวิญญาณ ครูพนักงานราชการ - อุตสาหกรรมศิลป์ คอ.ม. 2/05/2554
21 นายอรรฆพร ทองจีน ครูอัตราจ้าง - รัฐประศาสนศาสตร ์ ศษ.บ. 1/06/2560
22 นายธนาคาร สุพันธะ ลูกจ้างชั่วคราว - พลศึกษา ค.บ. 1/05/2562

2. รำยชื่อครูแยกตำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ประจ ำปีกำรศึกษำ 2563



ตำรำงที่ 2.1 รำยชื่อคร-อำจำรย์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นางประณ ี สาพินิจ ครู คศ.3 คบ. ภาษาไทย
2 นางสาวจีรนุช นันทพล ครู ครูผู้ช่วย คบ. ภาษาไทย




ตำรำงที่ 2.2 รำยชื่อคร-อำจำรย์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร ์
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นางสาวนิภาพร บุตระมะ ครู ค.ศ.1 ค.บ คณิตศาสตร์

2 นางสาวธันยพันธ์ พ านักรัตน์ ครู ครูผู้ช่วย ค.บ คณิตศาสตร์



ตำรำงที่ 2.3 รำยชื่อคร-อำจำรย์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร ์
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นายธนวัฒน์ โพธิดา ครู คศ.3 กศ.ม. เคมี
2 นายนิวัฒน์ ด้วงเคน ครู คศ.1 ค.บ. ฟิสิกส ์

3 นางสาวพิไลพร สาริมาตย์ ครู ครูผู้ช่วย ค.บ. วิทยาศาสตร์

4 นางสาวเมญารัตน์ ควรค า ครู ครูผู้ช่วย ค.บ. วิทยาศาสตร์
5 นายอนุชา บุญแสนแผน ครู คศ.3 ค.อ.ม. เทคโนโลยี

การศึกษา




ตำรำงที่ 2.4 รำยชื่อครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นางธารารัตน์ ดีหนัก ครู คศ.3 ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ

2 นายวินัย นาจันอ่อน ครู คศ.1 ศษ.ม. บริหารการศึกษา

3 นางสาวอาริยา กุดสถิต ครู ครูผู้ช่วย ค.บ. ภาษาอังกฤษ

ตำรำงที่ 2.5 รำยชื่อครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม

ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก
1 นางฐานะมาศ รัตน์รองใต ้ ครู คศ.3 ค.บ. สังคมศึกษา

2 นางชนิดา เงินขาว ครู คศ.3 คบ. สังคมศึกษา

3 นายอรรฆพร ทองจีน ครูอัตรา - ศษ.บ. รัฐประศาสนศาสตร์
จ้าง



ตำรำงที่ 2.6 รำยชื่อครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพ
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นายอนุชา บุญแสนแผน ครู คศ.3 ค.อ.ม. เทคโนโลยี

การศึกษา
2 นายพิษณุ โคตรศิลา ครู ครู ค.บ. เกษตรศาสตร์

ผู้ช่วย

3 นายพิชัย จิตวิญญาณ ครูพนักงาน - ค.อ.ม. อุตสาหกรรมศิลป์
ราชการ



ตำรำงที่ 2.7 รำยชื่อครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศกษำและพลศึกษำ

ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นายฉัตรชัย พัฒนวงศ ์ ครู คศ.3 คบ. พลศึกษา

2 นายศิริศักดิ์ สิทธิไชย ครูพนักงาน - ค.บ. พลศึกษา
ราชการ



ตำรำงที่ 2.8 รำยชื่อครูกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปศึกษำ
ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ระดับ วุฒิสูงสุด วิชาเอก

1 นายนพกร อุตส่าห์ด ี ครู คศ.1 คบ. ดนตรีศึกษา


ตำรำงที่ 2.9 ข้อมูลพนักงำนรำชกำร (รำยปี)

ท ี่ ชอ - สกุล ต าแหน่ง วุฒิสูงสุด วิชาเอก
ื่
1 นายศิริศักด สิทธิไชย พนักงาน คบ. พลศึกษา
ิ์
ราชการ

2 นายพิชัย จิตวิญญาณ ครูพนักงาน ค.อ.ม. อุตสาหกรรมศิลป์

ราชการ

ตำรำงที่ 2.10 ข้อมูลอัตรำจ้ำง (รำยปี)

ท ี่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง วุฒิสูงสุด วิชาเอก
1 นายอรรฆพร ทองจีน ครูขั้นวิกฤต ศร.ป.บ. รัฐประสานศาสตร์

2 นายธนาคาร สุพันธะ ลูกจ้างชั่วคราว ค.บ. พลศึกษา


ตำรำงที่ 2.11 ข้อมูลลูกจ้ำงชั่วครำว (รำยปี)

ที่ ชื่อ - สกุล ต ำแหน่ง วุฒิสูงสุด
1. นายไชยา โคตะวัน พนักงานขับรถยนต ์ ม.3

2 นายไพรัตน์ โคตะวัน พนักงานบริการ ป.4



ตำรำงที่ 2.12 ข้อมูลคณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนโรงเรียนหินโงมพิทยำคม
ท ี่ ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง

1 นายจันทรา ดาแก้ว ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ

2 นางพรพิทักษ์ ยาศิริ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

3 นายมานิต อิตถาฤทธิ์ ผู้แทนองค์กรปกครองท้องถิ่น กรรมการ

4 นางจรัสศรี เพชรภูมี ผแทนองค์กรศาสนา กรรมการ
ู้
5 นางชนาทิพย์ ไสยราม ผแทนองค์กรชุมชน กรรมการ
ู้
6 นายวีรัช ไกรยะวงศ ์ ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ

7 นางเนาวรัตน์ สร้อยมาลัน ผแทนผู้ปกครอง กรรมการ
ู้
8 นางธารารัตน์ ดีหนัก ผู้แทนครู กรรมการ


9 นายนิมิตร กวีกรณ ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ



ตำรำงที่ 2.13 ท ำเนียบผู้บริหำรโรงเรียนหินโงมพิทยำคม ตั้งแต่อดตจนถึงปัจจุบัน


ท ี่ ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง ว.ด.ป ด ารงต าแหน่ง
1 นายชวน บุญแสนแผน อาจารย์ใหญ่ 25 ก.พ. 2521 - 27 ต.ค. 2529
2 นายวุฒิสาร พุทธวงศ ์ อาจารย์ใหญ่ 28 ต.ค. 2529 - 12เม.ย. 2532

3 นายสมนึก ก าแพงศิริชัย รก.อาจารย์ใหญ่ 13 เม.ย. 2532 - 14 ส.ค. 2532

4 นายพิณ นันทวงศ ์ อาจารย์ใหญ่ 15 ส.ค. 2532 - 20 พ.ย. 2535

5 นายปรีชา ตึงตระกูล ผู้อ านวยการ 21 พ.ย. 2535 - 8 มี.ค. 2542

6 นายอนันต์ สุวรรณรินทร์ ผู้อ านวยการ 9 มี.ค. 2542 - 30 ก.ย. 2546

7 นายสมนึก ก าแพงศิริชัย อาจารย์ใหญ่ 10 พ.ย. 2546 - 26 ธ.ค. 2550

8 นายสมนึก ก าแพงศิริชัย ผู้อ านวยการ 27 ธ.ค. 2551 - 30 ก.ย. 2557

ท ี่ ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง ว.ด.ป ด ารงต าแหน่ง

9 นางกลีบแก้ว สีหไตร ผู้อ านวยการ 2 ต.ค. 2557 - 30 ก.ย. 2559

10 นายนุชา อินทรสูต ผู้อ านวยการ 9 พ.ย. 2559 – 30 ก.ย. 2562

11 นายนิมิตร กวีกรณ ์ ผู้อ านวยการ 16 ธ.ค. 2562 – ปัจจุบัน



3. ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน


ข้อมูลนักเรียน


ระดับชั้น จ ำนวนนักเรยน รวม
ชำย หญิง
ม.1 33 14 47

ม.2 29 21 50

ม.3 32 32 64
ม.4 14 17 31

ม.5 16 21 37

ม.6 10 15 25
รวม 134 120 254




4. ขอมูลเกี่ยวกับอำคำรสถำนที่และสิ่งก่อสร้ำง


โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ที่เปิดท าการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา 2521 เพื่อขยายการรับนักเรียนของ
จังหวัดหนองคาย ปัจจุบันเปิดท าการสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีท 1 - 6 จ านวน 10 ห้องเรียน มีจ านวนนักเรียน
ี่
283 คน ครู จ านวน 21 คน นักการภารโรง - คน ส่วนอาคารเรียน อาคารประกอบ และสนามกีฬา แสดง

รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
1. สิ่งก่อสร้ำง-อำคำรสถำนที่

ล าดับท ี่ สิ่งก่อสร้าง-อาคารสถานท ี่ จ านวน ปีงบประมาณที่ได ้ งบประมาณ
1 อาคารชั่วคราว 10 ห้องเรียน 1 2522 400,000

2 อาคารชั่วคราว 004 3 ห้อง 1 2524 141,000

3 โรงฝึกงานมาตรฐาน 1 ชั้น 1 2524 619,671
4 โรงฝึกงาน HI 1 ชั้น 1 2529 813,800

5 อาคารชั่วคราวลักษณะไม้ 1 2524 59,716

6 บ้านพักครู 2 ชั้น 2 ห้อง 1 2527 100,000

7 บ้านพักครู 2 ชั้น 2 ห้อง 1 2523 116,400

ล าดับท ี่ สิ่งก่อสร้าง-อาคารสถานท ี่ จ านวน ปีงบประมาณที่ได ้ งบประมาณ

8 บ้านพักครู 2 ชั้น 2 ห้อง 1 2525 416,000
9 บ้านพักครู 2 ชั้น 2 ห้อง 1 2525 416,000

10 ห้องส้วมชาย 4 ท ี่ 1 2522 43,500

11 ห้องส้วมหญิง 4 ท ี่ 1 2527 80,000
12 โรงอาหาร 1 2545 1,670,000

13 ห้องส้วมหญิง 6 ที่ 1 2553 430,000

14 ศาลาทรงไทย 1 2553 210,000
15 อาคารเรียน 216 ค 2 ชั้น 16 ห้องเรียน 1 2524 2,900,000

16 อาคารเรียน CB-213B 2 ชั้น 11 ห้องเรียน 1 2529 2,512,100


2. ข้อมูลเกี่ยวกับอำคำรเรียน


ล าดับท ี่ สิ่งก่อสร้าง-อาคารสถานท ี่ จ านวน ปีงบประมาณที่ได ้ งบประมาณ

1 อาคารเรียน 216 ค 2 ชั้น 16 ห้องเรียน 1 2524 2,900,000

2 อาคารเรียน CB-213B 2 ชั้น11 ห้องเรียน 1 2529 2,512,100
3 โรงฝึกงานมาตรฐาน 1 ชั้น 1 2524 619,671

4 โรงฝึกงาน HI 1 ชั้น 1 2529 813,800


3. ข้อมูลเกี่ยวกับห้องบริกำร


ล าดับท ี่ ชื่อห้อง จ านวน ผู้รับผิดชอบ หมายเหต ุ

1 ห้องผู้บริหาร 1 ผู้บริหาร

2 ห้องหัวหน้ากลุ่มบริหารบุคคลและ 1 หัวหน้ากลุ่มบริหารบุคคล
งบประมาณ และงบประมาณ

3 ห้องกลุ่มบริหารบุคคลและงบประมาณ 1 กลุ่มบริหารงบประมาณ

4 ห้องกลุ่มบริหารทั่วไป 1 หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป
5 ห้องกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 1 หัวหน้ากลุ่มกิจการนักเรียน

6 ห้องกลุ่มบริหารงานวิชาการ 1 หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ


4. ข้อมูลห้องพิเศษ


ล าดับท ี่ ชื่อห้อง จ านวน ผู้รับผิดชอบ หมายเหต ุ

1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ

2 ห้องปฏิบัติการภาษาอังกฤษ 1 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
3 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ

ล าดับท ี่ ชื่อห้อง จ านวน ผู้รับผิดชอบ หมายเหต ุ

4 ห้องปฏิบัติการหุ่นยนต ์ 1 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
5 ห้องแนะแนว 1 หัวหน้างาน

6 ห้องพยาบาล 1 หัวหน้างาน

7 ห้องสมุด 1 หัวหน้างาน
8 ห้องประชาสัมพันธ์ 1 หัวหน้างาน

9 ห้องปฏิบัติการชีววิทยา 1 ครูกลุ่มสาระวิทย์ฯ

10 ห้องโสตทัศนูปกรณ ์ 1 หัวหน้างาน
11 ห้องสารสนเทศ ICT 1 หัวหน้างาน

12 ห้องปฏิบัติการสอนสังคมศึกษา 1 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ

13 ห้องปฏิบัติการสอนศิลปะและดนตรี 1 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
14 ห้องปฏิบัติการสอนการงานอาชีพ 3 หัวหน้ากลุ่มสาระฯ

ส่วนที่ 2

กำรวิเครำะห์สถำนภำพโรงเรียน




ผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม

1. สภำพแวดล้อมภำยนอก (STEP)

1.1 ด้ำนสังคมและวัฒนธรรม พบว่า ประชากรในชุมชนเห็นความส าคัญในการอนุรักษ์ยึดมั่นใน

ขนมธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น มีความสัมพันธ์อันดีตอกัน ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ประชากรใน



ชุมชนส่วนใหญ่จบการศึกษาภาคบังคบ มีความรู้อ่านออกเขียนได้ สามารถให้ค าปรึกษาแนะน าแก่บตรหลานไดและ

เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

1.2 ด้ำนเทคโนโลยี องค์กรและโรงเรียนมีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง สงผลให้โรงเรียน
สามารถน ามาใช้ในการบริหารและการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชากรในชุมชนมีความรู้ทางด้าน
ี่


เทคโนโลยีททันสมัยเป็นผลดต่อการศึกษาของบุตรหลานและยังส่งเสริมให้บตรหลานศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วย
ตนเองโดยอาศัยเทคโนโลยี
1.3 ด้ำนเศรษฐกิจ พบว่าเศรษฐกิจของชุมชนไม่ดีเท่าที่ควร อาชีพหลักของชุมชน คือ
การการเกษตร ท างาน และในช่วง 2-3 ปีที่ผานมาราคาพืชผลทางการเกษตรไม่ดีเท่าที่ควร ส่งผลกระทบต่อการ

สนับสนุนการศึกษาแก่บุตรหลานและความร่วมมือกับทางโรงเรียน และผู้ปกครองส่วนใหญ่ส่งเสริมให้บุตรหลานหา

รายได้ระหว่างเรียนเพื่อแบ่งเบาภาระค่าใชจ่ายของครอบครัว
1.4 ด้ำนกำรเมืองและกำรปกครอง พบว่า นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาอย่างหลากหลาย มีระบบ และได้มาตรฐานเพื่อสนองความต้องการของนักเรียนและ
ชุมชน นอกจากนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อโรงเรียนและพัฒนา

ชุมชน


2. สภำพแวดล้อมภำยใน (2S4M)

2.1 ด้ำนโครงสร้ำงนโยบำย พบว่าโรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารงาน การกระจายอ านาจ และ

มอบหมายงานให้บุคลากรตามงานที่ชดเจน ท าให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน มีระบบการสื่อสารทั้งภายใน

และภายนอกองค์กรที่รวดเร็ว บุคลากรมีส่วนร่วมในการก าหนดทิศทางเป้าหมายของโรงเรียน โรงเรียนมีแนวปฏิบัตท ี่

ชัดเจนสอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.2 ด้ำนกำรบริกำรกำรจดกำรเรียนกำรสอน พบว่านักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีและมีศักยภาพในการแข่งขันดีขึ้น นักเรียนที่เรียนจบการศึกษาภาคบังคบ

มีการศึกษาต่อร้อยละ 95 และนักเรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการศึกษาต่อร้อยละ 90 นักเรียนส่วนใหญ่มี



คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ส่งผลต่อพฤติกรรมของนักเรียนด้านการเรียนและความประพฤต โรงเรียนไดให้บริการแก่
กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง โรงเรียนได้บริการแก่นักเรียนเพื่อให้มีความรู้เกิดทักษะขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรที่เน้น

ผู้เรียนเป็นส าคัญส่งผลให้นักเรียนดี เก่ง มีสข โรงเรียนจัดหลักสูตรสอดคล้องกับความต้องการของทองถิ่นโรงเรียนจัด

กิจกรรมส่งเสริมอัจฉริยภาพของนักเรียนและส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างสม่ าเสมอ โรงเรียนให้


ความส าคัญและส่งเสริมความสามารถพิเศษดานหุ่นยนต์ ลูกเสือ ศิลปะดนตรี มารยาทไทย กีฬา และกิจกรรมอื่นๆ
ี่
โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทเอื้อต่อการเรียนรู้ นักเรียนมีความปลอดภัยมีสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตที่ด ี

2.3 ด้ำนบุคลำกร พบว่าครูมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง โดยการศึกษาต่อ การ

ฝึกอบรม การศึกษาดูงาน ศึกษาเอกสารอย่างสม่ าเสมอ น าความรู้ที่ได้มาใชในการจัดการเรียนการสอน ครูมี




ความสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่นได บุคลากรมีความสามัคคในหมู่คณะ ทาให้การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จ
และมีประสิทธิภาพ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู ครูมีขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน
2.4 ด้ำนงบประมำณ พบว่าโรงเรียนมีระบบการใช้เงินถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ
สามารถตรวจสอบได้ครูและกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเบิกจ่ายเงินของโรงเรียน มีระบบการ


บริหารงานเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ การด าเนินการเบิกจ่ายงบประมาณตรงตามวัตถประสงค์ แผนงาน
และโครงการที่ก าหนดไว้ โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนการใช ้
จ่ายเงินงบประมาณเกิดประโยชน์สูงสุด

2.5 ด้ำนสื่ออุปกรณ์ พบว่าครูคิดค้นออกแบบและผลตสื่อนวัตกรรมใช้ในการประกอบการเรียน

การสอนอาคารสถานที่แหล่งเรียนรู้และสิ่งอ านวยความสะดวกเพียงพอ
2.6 ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร พบว่าโรงเรียนจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมและกระจายอ านาจ

สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโรงเรียนมีการท าแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และโครงการโดยครูทุกคนมี
ส่วนร่วมในการปฏิบัติงานมีการบริหารจัดการเป็นระบบ คล่องตัว ลดขั้นตอน สะดวกรวดเร็ว มีการปฏิบัติตาม


แผนพัฒนาคุณภาพแผนกลยุทธ์และประเด็นตัวชี้วัดความสาเร็จ มีการประมาณการ ก ากับ นิเทศ ตดตาม ประเมินผล

และน าข้อมูลผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจและพัฒนางาน มีการส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรอย่าง
ต่อเนื่อง มีการจัดให้ผปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
ู้
ผู้บริหารมีภาวะผู้น ามีความสามารถในการบริหารจัดการเป็นที่ยอมรับของสังคม
3. โอกำสในกำรพัฒนำ

3.1 โอกาสทั่วไปกฎหมาย ระเบียบ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการ

ี่
บริหารงานทั่วไป ก าหนดบทบาทหน้าที่ทชัดเจน ท าให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
3.2 โอกาสเฉพาะ โรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีโอกาสได้รับการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงมีศูนย์

การบริการการศึกษาของสถาบันทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาคือมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาเขตหนองคาย เพื่อ

ติดต่อประสานงานในการพัฒนาวิชาการ นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานและองค์กรให้การสนับสนุนด้านงบประมาณเช่น

องค์การบริหารส่วนต าบลหินโงม องค์กรบริหารสวนจังหวัดหนองคาย
4. จุดเด่น
จากการวิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนา พบว่าโรงเรียนหินโงมพิทยาคมเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีจดเด่น

ในด้านคุณภาพของผู้เรียนในระดับดีของต าบลหินโงม จังหวัดหนองคาย ผู้ปกครองและชุมชนให้ความไว้วางใจส่งบุตร

หลานเข้ามาเรียน ครูผสอนเป็นครูที่อยู่ในชุมชนและมีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้มานาน การบริหารจัดการใน
ู้
โรงเรียนโดยเฉพาะในด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีมาตรการดูแลนักเรียนที่ชัดเจนมีเครือข่ายผู้ปกครองท ี่


เข้มแข็งช่วยดู แลด้านพฤติกรรมนักเรียนและพัฒนาความเป็นเลศทางวิชาการด้านหุ่นยนต กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ด้านลกเสือ กีฬา กรีฑา ดนตรี และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นใน


การพัฒนาวิชาชีพนักเรียนได้รับการพัฒนารอบด้านด้วยกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่องมีแหล่งการ


เรียนรู้ภูมิปัญญารวมทั้งศิลปะและวัฒนธรรมอันดงามที่สามารถน ามาใชในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย


5. จุดด้อย



ผลการวิเคราะห์พบว่านักเรียนมีผลการประเมินคณภาพระดับชาตในบางรายวิชาต่ ากว่าจุดตดขั้นต่ าใน
บางชั้นบางรายวิชา ขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา สื่อและเทคโนโลยีมีไม่ทั่วถึง ซึ่งสามารถวิเคราะห์
เป็นปัญหา 7 ด้านดังนี้

1. การบริการจัดการโรงเรียน พบว่า

โรงเรียนยังไม่มีรูปแบบการบริหารจัดการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ โรงเรียนขาดความพร้อม
ในการรองรับการกระจายอ านาจในการบริหารจัดการศึกษา

โรงเรียนสร้างการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามบทบาทหน้าที่ไม่ได้อย่าง

เต็มที่เครือข่ายการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนยังไม่เข้มแข็ง
2. ด้านคือเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการบริหารจัดการ พบว่า

2.1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีส าหรับการเรียนรู้ของผู้เรียนยังไม่เพียงพอและหลากหลาย

ู้

2.2 ครูบางส่วนยังไม่สามารถน าเทคโนโลยีที่มีไปใช้จดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผเรียนได ้
2.3 การติดต่อประสานงานระหว่างเครือข่ายในโรงเรียนและส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 21 ยังไม่สะดวกเท่าที่ควร
3. ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน พบว่า

3.1 อาคารเรียน อาคารฝึกงาน เต่าช ารุด ระบบไฟฟ้าไม่สมบูรณ์เพียงพอ
3.2 ห้องน้ านักเรียน ครู ขาดสุขลักษณะ

3.3 โรงอาหารคับแคบไม่เพียงพอ

3.4 แหล่งเรียนรู้มีน้อยและไม่เพียงพอ
3.5 สถานที่พักผ่อนนักเรียนมีน้อย

3.6 ห้องปฏิบัติการพิเศษ เช่น ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องแนะแนว ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่เหมาะสมไม่สะดวกในการให้บริการนักเรียน
4. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่า

4.1 ครูส่วนใหญ่ยังมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การวิจัย

ชั้นเรียนไม่มากพอ และการประเมินตามสภาพจริงยังไม่บรรลุตามเจตนารมณของหลักสูตร

4.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษายังไม่ได้รับสวัสดิการ ประโยชน์เกื้อกูลทั่วถึงและเป็นธรรม

5. ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า
5.1 การพัฒนาเป็นหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษายังไม่ตอบสนองความต้องการของ

ท้องถิ่นยังไม่บรรลุเป้าหมายร้อยละ 80 ของทุกกลมสาระการเรียนรู้
ุ่

5.2 ระบบบริการจัดการหลักสตรของสถานศึกษาไม่มีประสิทธิภาพ
5.3 เครือข่ายการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษายังไม่เข้มแข็ง

5.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษายังมีจานวนน้อย จากการประเมินคุณภาพการศึกษา

ระดับชาต ิ

5.5 ครูบางส่วนยังไม่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนไปเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
ส าคัญ


5.6 ครูบางส่วนไม่สามารถทาการวิจัยและน าผลการวิจัยมาใช้เพื่อพัฒนาการสอนได ้
5.7 โรงเรียนยังมีรูปแบบและกระบวนการใช้แหลงเรียนรู้ไม่ชัดเจน และต่อเนื่องรวมทั้งการมีส่วน

ร่วมของผู้เกี่ยวข้องยังมีน้อย

5.8 ครูยังไม่สามารถประเมินผลผเรียนตามสภาพจริงได ้
ู้
6. ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า

6.1 การมีส่วนร่วมในการรณรงค์ติดตามเด็กออกกลางคันยังขาดแนวทางที่ชัดเจน

ี่
6.2 วินัย คุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน ไม่เป็นไปตามทคาดหวัง กระแสเทคโนโลยีและการ
ปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วทางสังคม ท าให้นักเรียนหลงแบบอย่างที่ไม่เหมาะสมจากสื่อ ส่งผลถึงวิกฤตทางศีลธรรม

6.3 นักเรียนใฝ่หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้น้อย

7. ด้านระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พบว่า

7.1 โรงเรียนหินโงมพิทยาคมมีระบบการประกันคณภาพภายใน แตจากการตรวจสอบติดตามและ

ประเมินผล พบว่า ยังไม่ได้รับการประเมินระดับดีมากทุกมาตรฐาน

7.2 โรงเรียนหินโงมพิทยาคมยังไม่สามารถจัดเครือข่ายเพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในท ี่
เข้มแข็งได ้

จากสถานภาพ และปัญหาดังกล่าวจ าเป็นต้องได้รับการแก้ไข โดยก าหนดกลยุทธ์ในการพัฒนา
การศึกษาภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ โรงเรียนหินโงม

พิทยาคม ได้ก าหนดทิศทางการพัฒนา โดยก าหนดเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์โดยที่คณะท างาน
ู้
ได้ด าเนินการจัดท าเป็นร่างกลยุทธ์น าเสนอให้ผเชยวชาญตรวจสอบ คุณภาพของกลยุทธ์ และน าปรับปรุง แก้ไข ตาม

ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบติ และจัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจร่วมกันกับสถานศึกษาและ

ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความพร้อมในการน าไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ส่วนที่ 3

ทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำ


วิสัยทัศน์ (VISION)


โรงเรียนหินโงมพิทยาคม มุ่งให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ก้าว
ทันเทคโนโลยี ครูดีมีคณภาพด้วยศาสตร์พระราชา


พันธกิจ (MISSION)
1. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

2. ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และด าเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชา

3. ส่งเสริมและ า า กา า กา ก
4. ส่งเสริมและ า ก า าก า กา ก า า ตามมาตรฐานวิชาชีพ ด้วย

ศาสตร์พระราชา


เป้ำประสงค์ (GOAL)

1. ผเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ู้
2. ผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และด าเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชา
3. ในกา า า
ี่
4. ททันสมัย ในกา า กา องค์กร กา กา เรียนรู้

5. าก า า า า าต ตามมาตรฐานวิชาชีพ

กลยุทธโรงเรียน


1. า า ตามมาตรฐานการศึกษา
2. พัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และด าเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชา

3. า า กา า กา ก
4. า ก า าก า กา ก า


ยุทธศำสตร์และแนวทำงขับเคลื่อนกลยุทธ ์

ี่
ยุทธศำสตร์ท 1 า า ตามมาตรฐานการศึกษา

จุดเน้น/แนวขับเคลื่อนกลยุทธ(กลยุทธระดบแผนงำน)


1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรที่สถานศึกษาก าหนด
2. ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนไดรับการจัดการศกษาโดยเน้นทักษะอาชีพและภาษาเพื่อการสื่อสาร


3. ส่งเสริมและพัฒนาครู นักเรียน ตามทักษะการคิดแบบ ACTIVE LEARNING
4. เสริมสร้างประสิทธิภาพความรู้ผู้เรียนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

5. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพอย่างมีประสิทธิภาพ

ี่
ยุทธศำสตร์ท 2 พัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และด าเนินชีวิต
ตามศาสตร์พระราชา

จุดเน้น/แนวขับเคลื่อนกลยุทธ (กลยุทธ์ระดับแผนงำน)
1. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม

2. ส่งเสริมผเรียนให้มีสุขภาพกาย สุขภาพใจทสมบูรณ ์
ู้
ี่
ู้
3. ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผเรียนมีคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ ตามศาสตร์พระราชา


ี่
ยุทธศำสตร์ท 3 า า กา า กา ก


จุดเน้น/แนวขับเคลื่อนกลยุทธ(กลยุทธระดบแผนงำน)

1. สถานศึกษาจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับทกภาคส่วน

2. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร


ี่
ยุทธศำสตร์ท 4 า ก า าก า กา ก า

จุดเน้น/แนวขับเคลื่อนกลยุทธ (กลยุทธ์ระดับแผนงำน)
1. ส่งเสริมครูพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

2. ส่งเสริมครูมุ่งสู่ความเป็นครูมืออาชีพ

3. สร้างขวัญก าลังใจและแรงจูงใจให้ครูเอาใจใส รักการบริการผู้เรียนและชุมชน

ส่วนที่ 4

กลยุทธ์กำรจัดกำรศึกษำ


กลยุทธ์ระดับองค์กร


1. า า ตามมาตรฐานการศึกษา
2. พัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และด าเนินชีวิตตามศาสตร์พระราชา

3. า า กา า กา ก
4. า ก า าก า กา ก า



กลยุทธ์แผนงำน


1. ำ ำ ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ

1.1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรที่สถานศึกษาก าหนด

1.2 ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับการจัดการศึกษาโดยเน้นทักษะอาชีพและภาษาเพื่อการสื่อสาร
1.3 ส่งเสริมและพัฒนาครู นักเรียน ตามทักษะการคิดแบบ ACTIVE LEARNING

1.4 เสริมสร้างประสิทธิภาพความรู้ผู้เรียนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.5 ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพอย่างมีประสิทธิภาพ


2. พัฒนำผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จรยธรรม มีสุขภำพแข็งแรง และด ำเนินชีวิตตำมศำสตร ์
พระรำชำ
2.1 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม

ี่
2.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีสุขภาพกาย สุขภาพใจทสมบูรณ ์
2.3 ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ ตามศาสตร์พระราชา

3. ำ ำ กำ ำ กำ ก

3.1 สถานศึกษาจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน
3.2 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร

4. ำ ก ำ ำก ำ กำ ก ำ

4.1 ส่งเสริมครูพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2 ส่งเสริมครูมุ่งสู่ความเป็นครูมืออาชีพ

4.3 สร้างขวัญก าลังใจและแรงจูงใจให้ครูเอาใจใส่ รักการบริการผู้เรียนและชุมชน

ก 62-2566

ก 1 า า ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
1.1 พัฒนาคุณภาพ 1. ำ ำ

ผู้เรียนให้มีผล ตามมาตรฐานการศึกษา
สัมฤทธิ์ทางการ 1. โครงการพัฒนาระบบ 1.ร้อยละรายงานผลการ 80 85 90 95 98

เรียนตามหลัก ประกันคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติงานของตนเอง
สูตรที่สถาน ภายในและมาตรฐาน (SAR) ของผู้บริหารและ

ศึกษาก าหนด การศึกษาของโรงเรียน ครูทั้งหมด
1.2 ส่งเสริมและ หินโงมพิทยาคม 2. ร้อยละมี ID_PLAN 90 92 94 95 99

พัฒนาให้ผู้เรียน ของผู้บริหารและครู

ได้รับการจด ทั้งหมด

การศึกษาโดย 2. โครงการพัฒนาและ 1. ร้อยละสร้างและใช ้ 65 75 80 85 95

เน้นทักษะอาชีพ ส่งเสริมประสิทธิภาพงาน แบบวัด-ประเมินผลการ

และภาษาเพื่อ ทะเบียน-วัดผลโรงเรียน เรียนรู้ของนักเรียนได ้

การสื่อสาร หินโงมพิทยาคมปีการ ตามจดประสงค์และ
รง


1.3 ส่งเสริมและ ศึกษา 2563 ใช้วิธีการที่หลากหลาย
พัฒนาครู ตามธรรมชาติวิชา
นักเรียน ตาม 2. ร้อยละผลสัมฤทธิ์ 50 60 70 80 90

ทักษะการคิด ทางการเรียนแต่ละกลุ่ม
แบบ ACTIVE สาระเป็นไปตามเกณฑ์

LEARNING 3.ร้อยละผลการประเมิน 80 85 87 90 95

1.4 เสริมสร้าง คุณลักษณะอันพึง
ประสิทธิภาพ ประสงค์และการประ

ความรู้ผู้เรียน เมินการอ่าน คิด
ด้วยภูมิปัญญา วิเคราะห์ และเขียน

ท้องถิ่น 4.ร้อยละการศึกษาของ 100 100 100 100 100

นักเรียนทุกคนอย่าง
ถูกต้องสมบูรณ์

5.การพัฒนาผู้เรียนและ 80 85 90 95 98

การประเมินจุดเน้นของ
สพฐ.เป็นตามเปาหมาย


เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
3.โครงการพัฒนาการศึกษา 1.ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ 60 70 75 80 85

เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ทั้ง 4 กลุ่ม

ทางการเรียน ประจ าปี สาระ ของนักเรียน
ี่
การศึกษา 2563 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท
3 และ ทั้ง 5 กลุ่มสาระ
ของระดับชั้นมัธยมศึกษา


ปีที่ 6สูงกว่าคาเป้าหมาย
ที่สถานศึกษาก าหนด

และร้อยละผลการ

ทดสอบระดับชาติขั้น
พื้นฐาน (O-NET) พิ่มขึ้น

จากปีที่ผ่านมา

ี่
4.โครงการส่งเสริมและสร้าง 1. ร้อยละทครูมีสื่อ 70 75 80 85 90

สื่อนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมที่ใชสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้อย่าง

น้อย 1 รายการ
5.โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 1.ร้อยละผู้เรียนมีผลสัม 80 83 85 87 89

ทางการเรียนกลุ่มสาระ ฤทธิ์ทางการเรียนใน
การเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทยสูงขึ้น

2.ร้อยละผู้เรียนอ่านคล่อง 80 83 85 87 89

เขียนคล่อง อ่านออก
เขียนได ้

3.ร้อยละผู้เรียนมีความ 80 83 85 87 89
สามารถด้านการรู้เรื่อง

การอ่าน(PISA)

6.โครงการพัฒนาการเรียน 1.ร้อยละนักเรียนมี 45 50 55 60 65
การสอนกลุ่มสาระการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เรียนรู้วิทยาศาสตร์และ ระดับชาติ

เทคโนโลยี 2.ร้อยละนักเรียนเข้าร่วม 85 90 93 95 98
กิจกรรมส่งเสริมและ

ตอบสนองความสามารถ

ทางวิชาการ ความคิด
สร้างสรรค ความสามารถ

พิเศษ และความถนัดของ

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
นักเรียนให้เต็มตาม

ศักยภาพ

3.ร้อยละนักเรียนเป็นผู้ใฝ ่ 75 80 85 90 95
เรียนรู้ รู้จักค้นคว้าหา

ความรู้ ด้วยทักษะและ
วิธีการของตนเอง จาก

แหล่งเรียนรู้
รอบๆตัวทั้งภายในและ

ภายนอกโรงเรียนมากขึ้น

7.โครงการพัฒนาคุณภาพ 1.ร้อยละนักเรียนเข้าร่วม 85 90 93 97 100
การเรียนการสอนวิชาสังคม ทุกระดับชั้น

ศึกษา ศาสนาและ 2.ร้อยละครูและบุคลากร 85 90 93 95 100

วัฒนธรรม
8.โครงการยกระดับ 1.ร้อยละนักเรียนให้มี 65 70 75 80 85

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม ความรู้ ความสามารถเต็ม

สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามศักยภาพและมีทักษะ
ที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21

9.โครงการพัฒนากลุ่มสาระ 1.ร้อยละนักเรียนมีระดับ 75 80 85 90 95
การเรียนรู้สุขศึกษาและพล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ศึกษา เฉลี่ยตามเกณฑ์

2.ร้อยละนักเรียนมีสุขนิสย 75 80 85 90 95


ในการดูแลสขภาพ และ
ออกก าลังกายสม่ าเสมอมี
น้ าหนักส่วนสูงและมี

สมรรถภาพตามเกณฑ์

10.โครงการการแข่งขันกีฬา 1.ร้อยละการแข่งขันกีฬา 85 90 93 95 98
ภายในและกีฬา-กรีฑา ส าหรับนักเรียนของ

นักเรียน สพม.21 ประจ าปี โรงเรียนหินโงมพิทยาคม

2563 เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรม
และเล่นกีฬาเพื่อเป็นการ

ออกก าลังกายอย่างทั่วถึง

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
11.โครงการการทดสอบ 1.ร้อยละนักเรียนและ 85 90 95 97 98

สมรรถภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนมีสุข

ประจ าปี 2563 นิสัยในการดูแลรักษา
สุขภาพและออกก าลังกาย

อย่างสม่ าเสมอ
2.ร้อยละผู้เรียนมีน้ าหนัก 85 90 93 95 98

ส่วนสูง และมีสมรรถภาพ
ทางกายตามเกณฑ์

มาตรฐาน

3.ร้อยละมีการส่งเสริม 80 85 90 93 98
สุขภาพอนามัยและความ

ปลอดภัยของผู้เรียน

12.โครงการพัฒนาการเรียน 1.ร้อยละนักเรียนโรงเรียน 85 90 92 95 97

การสอนกลุ่มสาระ ศลปะ หินโงมพิทยาคม มีทักษะ
ดนตรี นาฏศิลป์ ความรู้ ความสามารถและ

นันทนาการ และความเป็น มีความคิดสร้างสรรค์ใน
เลิศ การสร้างผลงานทางศิลปะ

ดนตรีและนาฏศิลป์
13.โครงการพัฒนาการเรียน 1.ร้อยละนักเรียนมีวัสด- ุ 78 80 82 85 90

การสอนกลุ่มสาระงานงาน อุปกรณ์ในการเรียนใช้ใน

อาชีพ การฝึกปฏิบัติงานเพียงพอ
14.โครงการพัฒนาการเรียน 1.ร้อยละในการพัฒนา 75 80 82 85 87

การสอนภาษาซีหุ่นยนต ์ ปรับปรุงและจัดซื้อวัสด- ุ
อัตโนมัติ (วิชาวิทยาการ อุปกรณ์และสื่อการสอน

ค านวณ) (ระบบสมองกลเพื่อใช้ใน

การเขียนภาษาซี) ในห้อง
ปฏิบัติการหุ่นยนต์ภาษาซี

หุ่นยนต์อัตโนมัติ ให้

รองรับการเรียนการอน
15.โครงการพัฒนาชุมนุม 1.ร้อยละมีการพัฒนา 75 80 85 90 95

หุ่นยนต์บังคับมือและ หุ่นยนต์ควบคุมโปรแกรม

หุ่นยนต์อัตโนมัต ิ ในห้องปฏิบัติการหุ่นยนต ์
ให้รองรับการเรียนการ

สอน

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
16.โครงการพัฒนาการเรียน 1.ร้อยละนักเรียนพัฒนา 68 70 75 80 85

การสอนภาษาต่างประเทศ ทักษะการเรียนรู้ภาษา

อังกฤษ
2.ร้อยละมีสื่อการเรียนรู้ที่ 85 90 93 95 98

มีคุณภาพ และทันสมัย
3.ร้อยละนักเรียนรู้จักใช ้ 75 80 85 87 90

แหล่งเรียนรู้ที่มีในท้องถิ่น
4.ร้อยละนักเรียนมีทักษะ 75 80 82 85 88

ในการคิดวิเคราะห์ คิด

สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ

มีความคิดสร้างสรรค์ คด
ไตร่ตรอง

17.โครงการส่งเสริมการใช ้ 1.นักเรียนและชุมชน 65 70 72 75 80
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาอังกฤษใน

การสื่อสารได้ ร้อยละ 70

18.โครงการส่งเสริมและ 1.ร้อยละเพื่อสนับสนุน 8 10 15 20 25
พัฒนาเด็กด้อยโอกาส นักเรียนที่ขาดแคลนทุน

ทรัพย์ของนักเรียนทั้งหมด
19.โครงการพัฒนางานแนะ 1.ร้อยละมีความรู้สึกที่ด ี 75 85 87 90 95

แนวและศึกษาต่อ ต่ออาชีพสุจริตและหา

ความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตน
สนใจที่ดีงาม

2.ร้อยละมีทักษะในการ 80 85 87 90 95
จัดการและท างานให้

ส าเร็จ เพียรพยายาม ขยัน

อดทนตลอดจนท างาน
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี

ความสุข

20.โครงการพัฒนางาน 1.ร้อยละของนักเรียน 80 85 90 95 100
อนามัยโรงเรียน ได้รับการดูแลปฐม

พยาบาลเบื้องต้น

2.ร้อยละของการ 80 85 90 95 100
ช่วยเหลือ ดูแล สุขภาพ

ของนักเรียนที่มีปัญหา

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
เบี้องต้น

3.ร้อยละของนักเรียนมี 80 85 90 95 100

ความรู้เรื่องสุขนิสัยที่ดีและ

สามารถดูแลรักษาสขภาพ
ตนเองได ้
21.โครงการส่งเสริมพัฒนา 1.ร้อยละของนักเรียน 85 90 92 95 98

กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี โรงเรียนหินโงมพิทยาคมท ี่
นาฏศิลป์ นันทนาการ มีความสนใจและร่วม

กิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์
22.โครงการส่งเสริมพัฒนา 1.ร้อยละของนักเรียน 85 90 92 95 98

กิจกรรมดนตรีพื้นเมือง โรงเรียนหินโงมพิทยาคมท ี่

อีสาน (วงโปงลาง) มีความสนใจและร่วม
กิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์

23.โครงการประชาสัมพันธ์ 1.ร้อยละของโรงเรียน 75 80 85 90 95
โรงเรียน ได้รับความร่วมมือในการ

พัฒนาการศึกษาของ
โรงเรียนจากผู้ปกครอง

และชุมชน โดยผ่านทาง

สิ่งพิมพ์ หนังสือราชการ
เว็บไซต์ของโรงเรียนเป็น

อย่างด ี
2.ร้อยละของโรงเรียน 75 80 85 90 95

ผู้ปกครองและชุมชนมี

ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
และเกิดความเข้าใจในการ

บริหารจัดการของโรงเรียน

เป็นอย่างด ี
24.โครงการส่งเสริม 1.ร้อยละของนักเรียนมี 70 75 80 85 90

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค ์

โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ตามหลักสูตรของโรงเรียน

ก 2 พัฒนำผู้เรียนทุกคนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภำพแข็งแรง และด ำเนินชีวิตตำมศำสตร ์
พระรำชำ

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566

2.1 ส่งเสริมผู้เรียนให้ 2.พัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็น
มีคุณธรรม คนดี มีคุณธรรม จริยธรรม

จริยธรรม มีสุขภาพแข็งแรง และ
2.2 ส่งเสริมผู้เรียนให้ ด าเนินชีวิตตามศาสตร์

มีสุขภาพกาย พระราชา
สุขภาพใจท ี่ 1. โครงการเยี่ยมบ้าน 1.ร้อยละของผู้ปกครอง 80 85 90 95 100

สมบูรณ ์ นักเรียนและพัฒนาระบบ นักเรียน จ านวนประมาณ

2.3 ส่งเสริมและ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๒๘๓ คน ได้ร่วมมือกับ
ปลูกฝังให้ผู้เรียน ประจ าปีการศึกษา 2563 โรงเรียนในการส่งเสริม

มีคุณลักษณะอัน การเรียนของนักเรียน

พึ่งประสงค์ ตาม 2.โครงการกิจกรรมรณรงค ์ 1.ร้อยละของนักเรียน 75 80 85 90 95
ศาสตร์พระราชา วันงดสูบบุหรี่โลกและพัฒนา ไม่สูบบุหรี่ / ดื่มเหล้า

ระบบการป้องกันยาเสพติด

ในสถานศึกษา 2563
3.โครงการค่ายคุณธรรม 1.ร้อยละของคณะครู- 80 85 90 95 100

น้อมน าศาสตร์พระราชา ส ู้ นักเรียนโรงเรียนหินโงม
การพัฒนาที่ยั่งยืน ประจ าปี พิทยาคม

การศึกษา 2563

3.โครงการจัดกิจกรรมวัน 1.ร้อยละของครูและ 85 90 95 98 100
ส าคัญทางพุทธศาสนา ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม

พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
และระเบียบวินัยของ

นักเรียน ประจ าปีการศึกษา

2563

ก 3 ำ ำ กำ ำ กำ ก

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
3.1 สถานศึกษา 3. า า

จัดการบริหาร กา า กา ก
แบบมีส่วนร่วม 1. พัฒนาระบบนิเทศงาน 1. ร้อยละครูทุกคนได้รับ 80 85 90 95 100

กับทุกภาคส่วน วิชาการภายในโรงเรียน การนิเทศเกี่ยวกับงาน
3.2 พัฒนาระบบ หินโงมพิทยาคม วิชาการทุกด้านและน า

สารสนเทศเพื่อ ผลการนิเทศปรับปรุง
การบริหาร พัฒนางานของตนเอง

2.โครงการพัฒนางาน 1.ร้อยละเพื่อจัดท า 80 85 88 90 95

บริหารงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา

ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์

เป้าหมาย พันธกิจ
2.เพื่อสนับสนุน 80 85 90 95 100

คณะกรรมการสถานศึกษา

ขั้นพื้นฐานเข้ามามีส่วน
ร่วมในการบริหาร

3.โครงการพัฒนาระบบงาน 1.ร้อยละของการมี 75 80 85 90 95
สารสนเทศ เทคโนโลยี ระบบงานสารสนเทศ

การศึกษาและแผนปฏิบัต ิ เทคโนโลยีการศึกษาและ

การโรงเรียน แผนปฏิบัติการโรงเรียนท ี่
ถูกต้อง

4.โครงการพัฒนางาน 1.ร้อยบุคลากรในโรงเรียน 80 85 90 95 98
สาธารณูปโภค รวมทั้งครูและนักเรียน

จ านวน 307 คน

5.โครงการจ้างลูกจ้าง 1.ร้อยละของพนักงาน 75 80 85 90 95
ชั่วคราว บริการจ านวน 1 ต าแหน่ง

2.ร้อยละพนักงานขับ 75 80 85 90 95

รถยนต์จ านวน 1 ต าแหน่ง
6.โครงการปรับปรุงพัฒนา 1.ร้อยละของการจัดข้อมูล 85 95 97 98 99

กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน สารสนเทศของกลุ่ม

ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๓ บริหารกิจการนักเรียน
อย่างเป็นระบบครอบคลุม

และทันต่อการใช้งาน

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
เพิ่มขึ้น

2.ผู้รับริการและผู้เกี่ยวข้อง 80 85 90 95 100

พึงพอใจผลการหริหารงาน
ของกลุ่มบริหารกิจการ

นักเรียน ร้อยละ ๙๐
7.โครงการพัฒนาอาคาร 1.ร้อยละของวัสดุและ

สถานท ี่ อุปกรณในการบ ารุงรักษา 80 85 88 90 95

ปรับปรุงอาคารสถานท ี่

และภูมิทัศน์

2.ร้อยละของบุคลากรใน 80 90 93 95 98
โรงเรียนมีความพึงพอใจ

ในการใช้บริการ

8.โครงการพัฒนาธุรการ 1.ร้อยละของมีการจัด 85 90 93 95 98
กลุ่มบริหารทั่วไป องค์กร โครงสร้างและ

ระบบการบริหารงานที่มี

ความคล่องตัวสูงและ
ปรับเปลี่ยนได้เหมาะสม

ตามสถานการณ ์
2.ร้อยละของการมีการ 85 90 92 95 98

จัดการข้อมูลสารสนเทศ

อย่างเป็นระบบครอบคลุม
ต่อการใช้งาน

9.โครงการสุขาน่าใช้ด้วยมือ 1.ร้อยละของนักเรียนมี 80 85 88 90 95
เรา ความสามัคคี และรู้จักการ

ท างานเป็นกลุ่ม

2.ร้อยละของนักเรียนรู้จัก 80 85 88 90 95
เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อ

ประโยชน์ส่วนรวมและ

ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3.ร้อยละของนักเรียนเข้า 85 90 97 98 99

ร่วมกิจกรรมเพื่อท าให้

ห้องน้ าห้องส้วมถูกสุข
ลักษณะน่าใช้ด้วยมือเรา

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
10.โครงการแบ่งเขตพื้นท ี่ 1.ร้อยละของนักเรียนมี 80 85 87 90 95


ความสามัคคในหมู่เรียน
และรู้จักการท างานเป็น
กลุ่ม

2.ร้อยละของนักเรียนรู้จัก 80 85 88 90 95
เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อ

ประโยชน์ส่วนรวมและ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

3.ร้อยละของนักเรียนเข้า 85 90 93 95 98

ร่วมกิจกรรมเพื่อดูแล
รักษาความสะอาดเขต

ี่
พื้นทท าให้โรงเรียนมี
ทัศนียภาพที่สวยงามยิ่งขึ้น
11.โครงการประกวดเขต 1.ร้อยละของนักเรียนมี 80 85 90 93 95


พื้นท ี่ ความสามัคคในหมู่เรียน
และรู้จักการท างานเป็น
กลุ่ม

2.ร้อยละของนักเรียนรู้จัก 80 85 88 90 95
เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อ

ประโยชน์ส่วนรวมและ

ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3.ร้อยละของนักเรียนเข้า 85 90 93 95 98

ร่วมกิจกรรมเพื่อท าให้
โรงเรียนมีทัศนียภาพที่

สวยงามยิ่งขึ้น

12.โครงการท าความดีด้วย 1.ร้อยละของนักเรียนมี 80 85 87 90 95
หัวใจ ลดภัยสิ่งแวดล้อม ความสามัคคี และรู้จักการ

ุ่
ท างานเป็นกลม
2.ร้อยละของนักเรียนรู้จัก 85 88 90 95 98
เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อ

ประโยชน์ส่วนรวมและ

ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3.ร้อยละของนักเรียนเข้า 85 90 93 95 98

ร่วมกิจกรรมเพื่อลด

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
ปริมาณขยะ ขยะพลาสติก

ที่ปนเปื้อนโดยเฉพาะ

ถุงพลาสติก ถุงหูหิ้วซึ่งขยะ
เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อ

สุขภาพอนามัยของ
นักเรียน

13.โครงการ BIG 1.ร้อยละของ ครู นักเรียน 80 85 87 90 95
CLEANING DAY และบุคลากรทางการ

ศึกษาในโรงเรียนหินโงม

พิทยาคม มีระเบียบวินัย

และจิตสานึกที่ดีต่อการ
รักษาความสะอาด เกิด

การเรียนรู้ของการอยู่
ร่วมกันในสังคมอย่างมี

ความสุขและสร้าง

บรรยากาศที่ดีภายใน
โรงเรียน ซึ่งจะช่วยให้เกิด

การเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

14.โครงการพัฒนาโสตทัศน 1.ร้อยละของการมีวัสด ุ 80 85 88 90 95


ศึกษา อุปกรณ์ที่ใชในห้องโสต
ทัศนศึกษาทสมบูรณ ์
ี่
ทันสมัย สามารถให้บริการ
นักเรียน ครู ชุมชนและ

หน่วยงานต่างๆอย่างมี

คุณภาพ
15.โครงการสร้าง 1.ครูมีมนุษยสัมพันธที่ด ี 80 85 90 93 95

ความสัมพันธ์ระหว่าง กับผู้เรียน ผู้ปกครองและ

โรงเรียนกับชุมชน ชุมชน
2.บุคลากรในโรงเรียนเข้า 80 85 90 93 95

ร่วมกิจกรรมกับชุมชน

เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
3.นักเรียนศึกษาแหล่ง 80 85 87 90 95

เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

4.ชุมชนได้รับการฝึก
ทักษะด้านอาชีพแต่ละ

หมู่บ้าน
5.ชุมชนได้รับเอกสาร 80 85 88 90 95

ความรู้ด้านการเลือก
บริโภคอาหารอย่างถูกต้อง

16.โครงการพัฒนาห้องกลุ่ม 1.ร้อยละของวัสดุและ 85 90 93 95 97

บริหารวิชาการและห้อง อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ใช้ใน
ประกันคุณภาพภายใน ห้องกลุ่มบริหารวิชาการ

และห้องประกันคุณภาพ

ภายในครบ
ร้อยละ 90

ก 4. ำ ก ำ ำก ำ กำ ก ำ


เป้ำหมำย
แผนงำน โครงกำร ตัวชี้วด

2562 2563 2564 2565 2566
4.1 ส่งเสริมครู 3. าก า
พัฒนาตนเอง าก า กา ก า

อย่างต่อเนื่อง 1.โครงการพัฒนาบุคลากร 1.ร้อยละเพื่อเพิ่มพูน 70 75 80 85 95

4.2 ส่งเสริมครูมุ่ง ความรู้ ความสามารถ
สู่ความเป็นครู ทักษะประสบการณ์ใหม่ ๆ

มืออาชีพ ให้กับบุคลากร ,เพื่อให้

4.3 สร้างขวัญก าลัง. บุคลากรได้แลกเปลี่ยน
ใจและแรงจูงใจ เรียนรู้ประสบการณ์จาก


ให้ครูเอาใจใส หน่วยงานภายนอกและ
รักการบริการ เพื่อสร้างขวัญและก าลังใจ

ผู้เรียนและ ในการปฏิบัติงานให้กับ

ชุมชน บุคลากร จ านวน 24 คน

ส่วนที่ 5

กำรแปลงกลยุทธ์สู่ควำมส ำเร็จ


โรงเรียนหินโงมพิทยาคมได้ด าเนินการวิเคราะห์สภาพขององค์กรโดยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมใน

การด าเนินการ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ได้ทราบโอกาสและข้อจากัดของการพัฒนาที่มีอิทธิพล ปัจจัยภายนอก เพื่อ

น าไปสู่การก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา รวมทั้งได้ทราบจุดแข็งและจดอ่อนของการ
พัฒนาที่มีอิทธิพลมาจากปัจจัยภายใน เพื่อน าไปสู่การก าหนดกลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมต่อไป
ดังนั้น เพื่อให้การน ากลยุทธ์กลยุทธ์ศาสตร์สู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โรงเรียนหินโงม


พิทยาคม ก าหนดการน ากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบติ สรุปได้ดังนี้
1. โครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัด

2. ภาพแห่งความส าเร็จในอนาคต

3. การบริหารจัดการน ากลยุทธ์สู่การปฏิบัต ิ
4. แนวทางการก าหนดติดตาม ประเมิน และรายงานผล


แผนกลยุทธ์ในกำรพัฒนำคุณภำพโรงเรียนหินโงมพิทยำคม

โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ด าเนินงานภายใต้กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 จัดการศึกษา

ตามพื้นฐานของชุมชนและศักยภาพในการพัฒนาของโรงเรียน มีการวิเคราะห์ภาระงาน จัดโครงสร้าง แต่งตั้ง

คณะท างาน จัดระบบวางแผน จัดปฏทินปฏิบัติงาน ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ และได้น ากลยุทธ์

สู่การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจ าปี ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา และเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก

มีการนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และรวบรวมผลเพื่อปรับปรุง
พัฒนาและจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง



กำรบริหำรจัดกำรน ำกลยุทธ์สู่กำรปฏิบัต ิ
โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาเขต 21 ได้ก าหนดแนวทางการน ากล


ยุทธ์สู่การปฏิบัต ให้สอดคล้องกับวิสัยทศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ โดยมุ่งให้บคลากรสังกัดมีแนวทางในการจัด



กิจกรรมตามกลยุทธ์การบริหารและจัดการศึกษาของโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ซึ่งคาดหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการ
ปฏิบัติต่อผปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทกต าแหน่ง ทุกระดับ ทั้งฝ่ายบริหารการศึกษา ฝ่ายผู้ปฏบัติการ

ู้

สอน และฝ่ายสนับสนุนจัดการศึกษาทุกส่วนงาน จะได้น าแนวทางการด าเนิน ตามกลยุทธ์ไปด าเนินการเพื่อให้เกิดผล
สัมฤทธิ์ อันจะเกิดผลดต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนหินโงมพิทยาคมโดยภาพรวม

1. ขั้นตอนกำรน ำกลยุทธ์สู่กำรปฏิบัต ิ


การที่จะบริหารจัดการให้กลยุทธ์การพัฒนาการศกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมมีผลในการปฏิบติจึง

จ าเป็นต้องน าเสนอแนวทางการด าเนินงานตามกลยุทธ์ อย่างเป็นขั้นตอน เป็นระบบ และได้รับการพิจารณาจาก
ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับผ่านการพิจารณารับรองจากทประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการการศึกษาขั้น
ี่
พื้นฐานเห็นชอบและน ามาเผยแพร่ให้บุคลากรในหน่วยงานได้พิจารณาน าแนวทางการด าเนินงานตามกลยุทธ์ การ


พัฒนาการศึกษาของโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ไปก าหนดแนวทางการปฏิบัติให้บรรลเจตนารมณ์การปฏิรูป

การศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งจ าแนกเปนขั้นตอนในแต่ละขั้นตอนได้ดังนี้
1.1 คณะกรรมการบริหารโรงเรียน

1.1.1 น าเสนอกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติต่อคณะกรรมการได้พิจารณา
รายละเอียดแนวทางการด าเนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อน าไปใช้ในการบริหารกลยุทธ์ ในส่วนทเกี่ยวข้องกับภาระกิจของ
ี่
โรงเรียน
1.1.2 แจ้งแนวทางการน ากลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมไปสู่การ

ปฏิบัติให้กลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการน าไปประกอบ การจัดท าแผนงานและ

โครงการประจ าปีในส่วนที่เกี่ยวข้อง
1.1.3 ตั้งและจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานตามกลยุทธ์การพัฒนา

การศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมแกกลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ในสังกัดให้เพียงพออย่างเหมาะสม

1.1.4 ประชุมคณะกรรมการประสานการด าเนินงาน กิจกรรมด าเนินการตามกลยุทธ์การ
พัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม เป็นระยะยาวอย่างต่อเนื่อง น าผลการด าเนินงานที่ปรากฏมาศึกษา

วิเคราะห์เพื่อก าหนดแนวทางการท างานในล าดับต่อไป

1.1.5 จัดท าข้อมูลสารสนเทศแนวทางการน ากลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน
หินโงมพิทยาคมไปสู่การปฏิบัต ิ

1.1.6 ประสานงานกลุ่มบริหาร กลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มโรงเรียนหินโงม
พิทยาคม ยางสอดคล้องกันทั้งระบบเพื่อลดความซ้ าซ้อนในภาระงานและให้มีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสูงสุด

1.1.7 โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ด าเนินการติดตามประเมินผลและสรุปการด าเนินงาน เพื่อ
น าเสนอผลการด าเนินงานตามกลยุทธ์ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา

1.1.8 จัดกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อเสริมและกระตุ้นให้เกิดกระแสการ

ปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
1.2 กลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้

1.2.1 น าแนวทางกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมไปวิเคราะห์ให้เป็น

แนวทางในการจัดการข้อมูล
1.2.2 สนับสนุนให้บุคลากรในสังกัดด าเนินงานตามแนวทางกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพและ

การจัดการศึกษา โรงเรียนหินโงมพิทยาคมไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ โดยระดมทรัพยากร จัดตั้งและจัดสรร

งบประมาณอย่างพอเพียงต่อการจัดกิจกรรมตามกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม
1.2.3 จัดประชุมก ากับ ติดตาม ให้ปรากฏผลการด าเนินงานตามกลยุทธ์การพัฒนา

การศึกษาอย่างมีประสิทธิผล
1.2.4 จัดท าข้อมูลสารสนเทศตามกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาไปสู่การปฏิบัต ิ

1.2.5 ด าเนินการติดตามประเมินผล และสรุปผลการด าเนินงานเพื่อเสนอผลต่อการ

ด าเนินงานตามกลยุทธ์
1.2.6 จัดกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดกระแสการ

ปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเนื่อง


แนวทำงกำรก ำหนด ตดตำม ประเมินผลและรำยงำนผล
1. หลักกำรประเมินผล


โรงเรียนได้ก าหนดกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม สานักงานเขตพื้นท ี่
การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 ประกอบด้วย
1. โรงเรียนและชุมชน ริเริ่มร่วมมือ

ี่
2. สื่อ สิ่งแวดล้อมอาคารสถานทช่วยน าเสริม
3. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรและครู

4. นักเรียนใฝ่เรียนรู้ด้วยกิจกรรม

5. น าหลักสูตรสถานศึกษาสู่การปฏิรูปการเรียนรู้
6. เคียงคู่การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน


7. มันเทยนตรวจสอบ
การด าเนินการดังกล่าวจะต้องมีการก ากับ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล ทั้งนี้เพื่อให้การพัฒนา
คุณภาพการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์และ

เป้าหมายของกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ปรับปรุงการปฏิบัติงาน รายงาน


หน่วยงานบังคับบัญชา และรายงานตอสาธารณชน ทั้งนี้อาศัยหลักการให้ทุกฝ่ายในสังคมมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการ
จัดการศึกษาการกระจายอ านาจการศึกษาตามแนวทางที่ก าหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.

2542 นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งการประเมินภายนอกของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา และตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 การก ากับ ติดตามประเมินผลและการ

รายงานผลการด าเนินการตามกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประกอบด้วย การประเมิน
ตนเองและก ากับ ติดตาม และประเมินผลจากหน่วยงานต้นสังกัด รวมทั้งการรายงานผลต่อสาธารณชน

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อให้โรงเรียนหินโงมพิทยาคม ได้รู้ศักยภาพและผลสัมฤทธิ์ในการด าเนินงานและการบริหาร
จัดการ


2.2 เพื่อน าผลการปฏิบติมาใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน
2.3 น าผลการประเมินรายงานต่อสาธารณชน

2.4 เพื่อน าผลการประเมินรายงานต่อหน่วยงานตนสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. กระบวนกำรก ำกับ ตดตำม ประเมินผลและรำยงำนผล
การก ากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล เป็นขั้นตอนส าคัญที่ถือเป็นเงื่อนไขของความส าเร็จของ

การน ากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัต โรงเรียนต้องท าการประเมินตนเองและรายงานผลในขอบข่ายของแนวทางการก ากับ
ี่
ติดตาม ประเมินและรายงานผล ทสอดคล้องเชื่อมโยงร้อยรัดกันทั้งระบบ ดังนี้
3.1 ระดับโรงเรียน


3.1.1 วางแผน ก าหนดกิจกรรม จัดทาเครื่องมือ ปฏิทินในการก ากับติดตามประเมินและ
รายงานผล ตามกลยุทธ์การบริหารและการจัดการศึกษา
3.1.2 ก ากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล การด าเนินงานของบุคลากรที่ได้รับ

มอบหมาย ก ากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการด าเนินงานโรงเรียนหินโงมพิทยาคม
3.1.3 สรุปผลการด าเนินงานทุกสิ้นปี เพื่อน าไปวางแผนปรับปรุงต่อสาธารณชนและหน่วยงาน

ต้นสังกัด
3.2 ระดับกลุ่มงำน กลุ่มสำระกำรเรียนร ู้

3.2.1 น าเครื่องมือประมวลผลการด าเนินงานตามแนวทางกลยุทธ์การพัฒนาการศึกษา

โรงเรียนหินโงมพิทยาคม
3.2.2 สรุปผลการด าเนินงานทุกสิ้นปีเพื่อน าผลไปใช้วางแผนปรับปรุงพัฒนารายงานต่อ

ผู้บริหารโรงเรียนหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย
4. วิธีกำรประเมินและสร้ำงเครื่องมือ

วิธีการสร้างเครื่องมือเพื่อการประเมินผลงานตามแนวทางการด าเนินนโยบาย และกลยุทธ์การ


พัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคมตามหลกการที่ก าหนดไว้ในกลยุทธ์ดังนี้
4.1 การประเมินผลตามตัวชี้วัด (Key Performance Indicatore:KPLs) ซึ่งระบุไว้ตามกลยุทธ์แล้ว

โดยสร้างเครื่องมือให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่สามารถระบุปริมาณและคุณภาพของงานได้ชัดเจนในทกระดับทุกครึ่งปี


โดยโรงเรียนหินโงมพิทยาคมจัดทาต้นแบบประเมินกลุ่มงานและหน่วยงานก ากับรูปแบบตามสภาพแท้จริงได ้
4.2 การประเมินรายปี ระยะครึ่งแผน และระยะสิ้นสุดแผน ซึ่งมีขอบข่ายการประเมินที่ครอบคลุม

ทั้งระบบ โรงเรียนหินโงมพิทยาคมส านักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 21 ใช้รูปแบบประเมิน c i p p m o d e

l ซึ่งขอบข่ายการประเมินที่ครอบคลุมทั้งระบบคอ

4.2.1 การประเมินด้านสภาพแวดล้อม(Context)

4.2.1.1 การจัดบรรยากาศในโรงเรียนให้เอื้อต่อการด าเนินการตามกลยุทธ์การ
พัฒนาการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21

4.2.1.2 การประสานงานให้เกิดความร่วมมือของบุคลากร หน่วยงานในการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์การบริหารและการจัดการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม

4.2.2 การประเมินด้านปัจจัย (Intput)

4.2.2.1 ความพร้อมของบุคลากรในการด าเนินงาน
4.2.2.2 ความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือที่ใช ้

4.2.2.3 ความพร้อมด้านงบประมาณ

4.2.2.4 ความพร้อมในการบริหารจัดการ
4.2.3 การประเมินด้านกระบวนการ(Process)

4.2.3.1 ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการด าเนินการ

4.2.3.2 การวางแผนการด าเนินงาน
4.2.3.3 การปฏิบัติตามแผน

4.2.3.4 การก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน
4.2.3.5 การน าผลการปฏิบัติงานมาพัฒนาปรับปรุงงานให้ดีขึ้น

4.2.3.6 การด าเนินงานผลและเผยแพร่ผลงาน


4.2.4 การประเมินด้วยผลผลต(Product) ใช้ตัวชี้วัด KPls แนวทาง

5. กำรก ำหนดผลผลิตในแต่ละกลยุทธ์
1. ปฏิทินการด าเนินการ ก ากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล

กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ หน่วยงาน

1. สร้างเครื่องมือ กุมภาพันธ์ 2565 - กลุ่มงาน/แผนงาน
2. ส่งเครื่องมือไปยังกลุ่มงานและ พฤษภาคม 2565 - กลุ่มงาน/แผนงาน

กลุ่มสาระการเรียนรู้

3. ประเมินตัวเอง กุมภาพันธ์ 2566 - กลุ่มงาน/แผนงาน
- เก็บข้อมูล

- วิเคราะห์สรุปข้อมูล
- รายงานผลต่อโรงเรียน


4. การก ากับ ตดตาม ทุกสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา - กลุ่มงาน/แผนงาน
- เก็บข้อมูลจากรายงานของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ กลุ่มงานที่ได้รับ

มอบหมาย

- วิเคราะห์ สรุปข้อมูล
- รายงานผล

5. ประเมินและรายงานผลต่อ ทุกสิ้นปีการศึกษา - กลุ่มงาน/แผนงาน

สาธารณชน



6. วิธีกำรรำยงำน

การรายงานผล การก ากับ ตดตาม ประเมินผลด าเนินงานตามแนวทางการน ากลยุทธ์มาพัฒนา

คุณภาพการศึกษาโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ไปสู่การปฏิบัติ มีการรายงานผลต่อผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1. การรายงานผลต่อโรงเรียนทุกสิ้นภาคเรียน

2. การรายงานผลต่อสาธารณชนทุกสิ้นปีการศึกษา
ในการรายงานต่อโรงเรียนได้ยึดตามแบบรายงานผลที่โรงเรียนก าหนด โดยเน้นที่การระบุปริมาณ

และคุณภาพของ(M.O.U) ตัวชี้วัดและผลการด าเนินงานอื่นๆ ตามสภาพจริง ส่วนรายงานผลต่อสาธารณชนนั้นเป็น

แบบรายงานของแต่ละกลุ่มงานตามความเหมาะสม เพื่อให้ง่ายต่อสื่อสารท าความเข้าใจ หรืออาจมีรายงานสั้นๆ ใน
ประเด็นที่น่าสนใจผานสื่อต่างๆ เช่น แผ่นพับวารสารของหน่วยงาน จดหมายข่าว หอกระจายข่าว ป้ายนิทรรศการ

บทความ ข่าวสารในสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ทั้งในระดับท้องถิ่นและส่วนกลาง วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต


ตลอดระยะเวลาที่ดาเนินการ แล้วรวบรวมสรุปรายงานในช่วงสิ้นปีการศึกษาอีกครั้งหนึ่ง ก็สามารถด าเนินงานได้ตาม
ความเหมาะสม

ภำคผนวก

วิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยนอก (โอกำสและอุปสรรค)
1.ด้านสังคมและวัฒนธรรม S

ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด โอกาส อุปสรรค น้ าหนัก
1 ประชากรในชุมชน จบการศึกษาภาคบังคับ มีความรู้อ่านออกเขียนได้ สามารถให้ค าปรึกษาแนะน า √
แก่บุตรหลานได้
2 ชุมชนเห็นความส าคัญในการอนุรักษ์ยึดมั่นในขนมธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น มี √
ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3 ประชากรในวัยที่จะต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานลดลง √
4 โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเกษตรกรรมประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้าง √
5 ประชากรมีความต้องการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม √
6 ผู้ปกครองมีความคาดหวังกับโรงเรียนสูง √
7 ประชากรในชุมชนได้รับผลกระทบจากการพนันและสารเสพติด ท าให้นักเรียนเกิดพฤติกรรม √
เลียนแบบ
8 ปัญหาการหย่าร้างและสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัว ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า √

2. ด้ำนเทคโนโลย T
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด โอกาส อุปสรรค น้ าหนัก
1 ชุมชนมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นผลดีต่อการศึกษาของบุตรหลาน √

2 ประชากรบางส่วนขาดวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลย ส่งผลให้มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม √
3 สื่อสังคมออนไลน์ที่ประชากรในชุมชนเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมของ √
นักเรียนในทางที่ไม่เหมาะสม
4 ผู้ปกครองส่งเสริมให้บุตรหลานศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยเทคโนโลย ี √
3. ด้ำนเศรษฐกิจ E
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด โอกาส อุปสรรค น้ าหนัก
1 ผู้ปกครองบางส่วนมีอาชีพไม่มั่นคง รายได้ไม่แน่นอน ส่งผลต่อการเรียนของบุตรหลาน √
2 ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและอาชีพของประชากรในชุมชนส่งผลกระทบต่อการสนับสนุนการศึกษาแก่บุตร √
หลานและความร่วมมือกับโรงเรียน
3 ผู้ปกครองส่งเสริมให้บุตรหลานหารายได้ระหว่างเรียนเพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัว √
4. ด้ำนกำรเมืองและกฎหมำย P
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด โอกาส อุปสรรค น้ าหนัก

1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษา √
2 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่งผลให้นโยบายการปฏิบัติงานไม่ต่อเนื่อง √

3 นโยบายการปรับอตราก าลังของรัฐ ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาในโรงเรียน √
4 บทบาทของนักการเมืองในท้องถิ่นมีส่วนในการพัฒนาชุมชนและโรงเรียน √
5 นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาในโรงเรียน √
6 ประชากรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจกฎหมายทางการศึกษาส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการศึกษาของ √
โรงเรียน

วิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยใน (จุดแข็งและจุดอ่อน)
1 โครงสร้างและนโยบายของโรงเรียน S1
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก

1 มีโครงสร้างการบริหารงาน การกระจายอ านาจ และมอบหมายงานให้บุคลากรตามงานที่ชัดเจน √
ท าให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน

2 ภาระงานของโรงเรยนมีมากแต่จ านวนบุคลากรมีจ านวนจ ากัด ท าให้บุคลากรปฏิบัติงานซ้ าซ้อน √
3 การด าเนินงานตามนโยบายซึ่งมีมาก ท าให้เกิดผลเสียต่อการเรียนการสอน √
4 มีระบบการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่รวดเร็ว √
5 บุคลากรมีส่วนร่วมในการก าหนดทิศทางเป้าหมายของโรงเรียน √

6 โรงเรียนมีแนวปฏิบัตที่ชัดเจนสอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน √
7 ระเบียบวิธีปฏิบัติและกฎเกณฑ์ของโรงเรียนขาดขั้นตอนของการปฏิบัติที่ชัดเจน √
2. ด้ำนบริกำรและผลผลิต S2
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชีวัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก


ู้
1 นักเรียนได้เรยนรด้วยวิธการที่หลากหลายส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีและมีศักยภาพในการ √
แข่งขันดีขึ้น
2 นักเรียนที่เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ มีการศึกษาต่อร้อยละ 95 และนักเรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน √

มีการศึกษาต่อรอยละ 90
3 นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ส่งผลต่อพฤติกรรมของนักเรียนด้านการเรียนและความ √
ประพฤต ิ

4 นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรยน ในด้านพฤติกรรมและด้านการเรยน √


5 โรงเรียนไดให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง √
6 โรงเรียนได้บรการแก่นักเรียนเพื่อให้มีความรู้เกิดทักษะขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรที่เน้นผู้เรยนเป็นส าคัญส่งผล √


ให้นักเรียนดี เก่ง มีสุข
7 โรงเรียนจัดหลักสูตรสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น √
8 โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมอัจฉริยภาพของนักเรยนและส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอย่างสม่ าเสมอ √

9 โรงเรียนให้ความส าคัญและส่งเสริมความสามารถพิเศษด้านหุ่นยนต์ ลูกเสือ ศิลปะดนตร มารยาทไทย กีฬา √

และกิจกรรมอื่นๆ
ู้
10 โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เออต่อการเรยนร นักเรียนมีความปลอดภัยมีสุขภาพกาย √

ื้
และสุขภาพจิตที่ด ี
3. ด้ำนปัจจัยที่เกี่ยวกับปริมำณและคุณภำพบุคลำกร M1
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก

1 ครูมีความกระตือรอร้นในการพัฒนาตนเอง โดยการศึกษาต่อ การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน ศึกษาเอกสาร √

อย่างสม่ าเสมอ น าความรู้ที่ได้มาใช้ในการจัดการเรยนการสอน
2 ครูมีความสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่นได ้ √
3 บุคลากรมีความสามัคคีในหมู่คณะ ท าให้การปฏิบัติงานประสบความส าเร็จและมีประสิทธิภาพ √
4 ครูน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรยนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลาย ตามความถนัด √

และความสนใจ
5 ครูบางคนขาดทักษะขั้นสูงการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียน √
เรียนรู้ไม่เต็มศักยภาพ
6 ครูและบุคลากรไม่เพียงพอ ท าให้การมอบหมายงานพิเศษไม่ตรงกับความถนัด จึงท าให้ประสิทธิภาพการ √
ปฏิบัติลดลง
7 ครมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผู้เรยนเป็นส าคัญ มีคุณธรรมจริยธรรม และ √



จรรยาบรรณวิชาชีพคร ู

ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก
8 บุคลากรบางส่วนปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายไม่เต็มตามศักยภาพ √
9 ครมีขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน √

4. ด้ำนประสิทธิภำพทำงกำรเงิน M2
ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก
1 โรงเรียนมีระบบการใช้เงินถูกต้องตามระเบียบของทางราชการสามารถตรวจสอบได ้ √
2 ครูและกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเบิกจ่ายเงินของโรงเรียน √
3 ครูบางส่วนไม่ด าเนินงานการตามขั้นตอน จึงท าให้การจัดท าเอกสาร หลักฐาน ไม่เป็นปัจจุบัน √
4 มีระบบการบริหารงานเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ √
5 การด าเนินการเบิกจ่ายงบประมาณตรงตามวัตถุประสงค์ แผนงาน และโครงการที่ก าหนดไว้ √

6 โรงเรียนไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน √
7 การใช้จ่ายเงินงบประมาณเกิดประโยชน์สูงสุด √

5. ด้ำนปัจจัยที่เกี่ยวกับกระบวนกำรปฏิบัติงำน M3
ผลการวิเคราะห์

ข้อที่ ประเด็นตวชีวัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก


ื้
1 สื่อวัสด อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ นวัตกรรมและเทคโนโลยที่ทันสมัยที่เออต่อการเรียนไม่เพียงพอ √
2 ครูคิดค้นออกแบบและผลิตสื่อนวัตกรรมใช้ในการประกอบการเรียนการสอน √
3 ครูน าวัสดุในท้องถิ่นมาใช้ประกอบการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง √
4 วัสดุครุภัณฑ์ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ และบางส่วนช ารุดเสื่อมสภาพไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิด √
ประโยชน์สูงสุดได ้
5 อาคารสถานที่แหล่งเรียนรู้และสิ่งอ านวยความสะดวกเพียงพอ √

6. ด้ำนกำรกำรบริกำรจดกำร M4

ผลการวิเคราะห์
ข้อที่ ประเด็นตัวชี้วัด จุดแข็ง จุดอ่อน น้ าหนัก

1 โรงเรียนจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมและกระจายอ านาจสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ √
2 โรงเรียนมีการท าแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และโครงการโดยครทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน √

3 การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบปัจจุบัน ท าให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน √
ื่
4 โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนอง √
5 มีการบริหารจัดการเป็นระบบ คล่องตัว ลดขั้นตอน สะดวกรวดเร็ว √
6 มีการปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพแผนกลยุทธ์และประเด็นตัวชี้วัดความส าเร็จ √
7 มีการประมาณการ ก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และน าข้อมูลผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจและ √
พัฒนางาน
8 มีการส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรอย่างต่อเนื่อง √
9 มีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน √
10 มีการจัดให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรยน √

11 ผู้บริหารมีภาวะผู้น ามีความสามารถในการบริหารจัดการเป็นที่ยอมรับของสังคม √

ค าสั่งโรงเรียนหินโงมพิทยาคม
ที่ 028/2563

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนกลยุทธ์โรงเรียนหินโงมพิทยาคม


เพื่อให้การด าเนินการจัดท าแผนกลยุทธ์โรงเรียน ประจ าปีการศึกษา 2563 สอดคล้องกับวิสัยทศน์ พันธกิจ
เป้าประสงค์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและส านักงานการศึกษามัธยมศึกษา เขต 21และเป็นไป

ตามขั้นตอน ขบวนการอย่างเป็นระบบ อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 จึงแต่งตั้งบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ดังนี้

1. คณะกรรมกำรอ ำนวยกำร มีหน้าที่ ให้ค าปรึกษาและอ านวยความสะดวกในการด าเนินงานตลอดจน

ชี้แจงแนวในการด าเนินการจัดท าแผนกลยุทธ์ ประจ าปีการศึกษา 2562-2566 ประกอบด้วย
1.1 นายนิมิตร กวีกรณ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ

1.2 นายฉัตรชัย พัฒนวงศ์ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

1.3 นายธนวัฒน์ โพธิดา ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
1.2 นางชนิดา เงินขาว ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

1.5 นางธารารัตน์ ดีหนัก ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
1.6 นายอนุชา บุญแสนแผน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ

ี่
2. คณะกรรมกำรจัดท ำโครงกำร มีหน้าท จัดท าโครงการโดยการวิเคราะห์ตามสภาพปัญหา ความต้องการ
ของโรงเรียน ตามแผนกลยุทธ์ ตรวจสอบความถูกต้องรูปแบบโครงการของโรงเรียน ความสอดคล้องกลยุทธ์
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายของโรงเรียน ตามขอบข่าย ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วย

2.1 ด้ำนบริหำรงำนวิชำกำร ประกอบด้วย
2.1.1 นายธนวัฒน์ โพธิดา ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ

2.1.2 นางประณี สาพินิจ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.1.3 นายนิวัฒน์ ด้วงเคน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
2.1.4 นายวินัย นาจันอ่อน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.1.5 นางสาวธันยรัตน์ พันธ์พ านัก ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ

2.2 ด้ำนบริหำรงำนบุคคลและงบประมำณ ประกอบด้วย
2.2.1 นางชนิดา เงินขาว ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ

2.2.2 นางสาวนิภาพร บุตระมะ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.2.3 นางสาวพิไลพร สาริมาตย์ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
2.2.4 นางสาวเมญารัตน์ ควรค า ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.2.5 นางสาวอาริษา กุดสถิต ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
2.2.6 นายอนุชา บุญแสนแผน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ

2.3 ด้ำนบริหำรกิจกำรนักเรียน ประกอบด้วย
2.3.1 นายฉัตรชัย พัฒนวงศ์ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ


ิ์
2.3.2 นายศริศักด สิทธิไชย ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
2.3.3 นายอรรฆพร ทองจีน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.3.4 นายนพกร อุตสาห์ด ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ
2.4 ด้ำนบริหำรงำนทั่วไป ประกอบด้วย
2.4.1 นาธารารัตน์ ดีหนัก ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ

2.4.2 นางประภา สุทธิสาร ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

2.4.3 นายศิริศักด สิทธิไชย ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
ิ์
2.4.4 นางฐานะมาศ รัตน์รองใต ้ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ


2.4.5 นายพิชัย จตวิญญาณ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ
2.4.6 นายพิษณุ โคตรศิลา ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ
3. คณะกรรมกำรรวบรวมและจัดพิมพ์ มีหน้าที่ รวบรวมเอกสารต่าง ๆ ตรวจสอบข้อมูล เรียบเรียง

จัดพิมพ์ เข้าเล่ม ประกอบด้วย

3.1 นางชนิดา เงินขาว ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม ประธานกรรมการ
3.2 นายธนาคาร สุพันธะ ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการ

3.3 นายอนุชา บุญแสนแผน ครูโรงเรียนหินโงมพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ
ขอให้บุคลากรที่มีชื่อตามค าสั่งนี้ ปฏิบัตหน้าที่อย่างเต็มความรู้ ความสามารถทันตามก าหนดเวลา เพื่อ


บังเกิดผลดต่อทางราชการต่อไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่ บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2563







(นายนิมิตร กวีกรณ์)

ผู้อ านวยการโรงเรียนหินโงมพิทยาคม


Click to View FlipBook Version