The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำนำ สารบัญ แนะนำพระคัมภีร์ พระคัมภีร์คืออะไร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanok bannasan, 2022-05-24 23:05:10

คำนำ สารบัญ แนะนำพระคัมภีร์ พระคัมภีร์คืออะไร

คำนำ สารบัญ แนะนำพระคัมภีร์ พระคัมภีร์คืออะไร

ค�ำน�ำ

พระคัมภีร์เป็นหนังสือที่แพร่หลายที่สุดและมีผู้อ่าน
มากท่ีสุดในโลก บางคนอ่านเพราะสนใจใคร่รู้ บางคน
ก็ถือเป็นส่วนหน่ึงของการแสวงหาฝ่ายจิตวิญญาณ
ส่วนคนอ่ืนๆ ก็อ่านเพราะพระคัมภีร์เป็นมรดกอันล�้ำค่า
ทางวัฒนธรรม

คู่่�มือื เล่ม่ นี้�ออกแบบมาเพื่�อใช้ก้ ับั พระคัมั ภีรี ์ใ์ นลักั ษณะ
อ่่านคู่่�กัันไป มิิใช่่เป็็นเพีียงหนัังสืืออ้้างอิิงที่�บอกผู้้�อ่่าน
เกี่่�ยวกัับพระคััมภีีร์์เท่่านั้�น ความตั้�งใจของคู่่�มืือเล่่มนี้�
คืือการรวบรวมข้้อมููลที่ �เกี่ �ยวข้้องมาไว้้ในหน้้าเดีียวกััน
โดยที่่�ผู้้�อ่่านไม่่ต้้องไปค้้นคว้้าจากหนัังสืืออ้้างอิิงหลายๆ
เล่่ม ข้้อมููลดัังกล่่าวมีีทั้�งข้้อเขีียนและรููปภาพ ในส่่วนของ
ภาพถ่่าย แผนที่� และแผนภาพต่่างๆ ที่�ใส่่ไว้้ก็็ไม่่ใช่่เพื่�อ
ตกแต่่งหน้้ากระดาษ แต่่เพื่�อช่่วยให้้เข้้าใจเนื้�อหากระจ่่าง
ชััดยิ่�งขึ้�น คู่่�มืือเล่่มนี้�ใช้้กัับพระคััมภีีร์์ได้้ทุุกสำำ�นวนแปล

นอกจากจะเป็นหนังสือท่ีใช้คู่กับพระคัมภีร์แล้ว คู่มือ
เล่มนี้ยังมุ่งท่ีจะให้เป็นเพ่ือนคู่ใจผู้อ่านด้วย คือท้ังอ่านง่าย
และน่าอ่าน ในการท�ำหนังสือเล่มน้ี เราค�ำนึงเป็นพิเศษ
ถึงผู้ท่ียังใหม่ต่อพระคัมภีร์ ผู้อ่านจึงไม่จ�ำเป็นต้องมี
พื้นความรู้ใดๆ ผู้เช่ียวชาญทั้งหลายที่ช่วยกันเขียนคู่มือ
เล่มนี้พยายามอธิบายอย่างง่ายๆ แต่ก็ไม่ถึงกับรวบรัด
จนเกินไป พยายามใช้ศัพท์เฉพาะทางให้น้อยท่ีสุด และ
เมื่อจ�ำเป็นต้องใช้ก็จะมีค�ำอธิบายไว้ด้วย

เป้าหมายแรกของหนังสือคือช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ
เนื้อหาที่แท้ของพระคัมภีร์ ภาคท่ีเป็น “คู่มือพระคัมภีร์”
อนั ไดแ้ ก่ ภาค 2 ซงึ่ พดู ถงึ พนั ธสญั ญาเดมิ และภาค 3 ซงึ่
พูดถึงพันธสัญญาใหม่นั้น จะส�ำรวจพระธรรมแต่ละเล่ม
เรียงไปทีละตอน โดยสรุปเน้ือหาและมีค�ำอธิบายเพ่ิมเติม
เมื่อจ�ำเป็น นอกจากนี้ยังมีบทความส้ันๆ ท่ีเขียนโดย
ผู้เช่ียวชาญให้ผู้อ่านติดตามรายละเอียดของบางเรื่อง
ที่สนใจเป็นพิเศษได้

ขนั้ ตอ่ ไปคอื การตคี วามหมายสงิ่ ทอี่ า่ นและตระหนกั ถงึ
สง่ิ ทพ่ี ระคมั ภรี อ์ าจกำ� ลงั บอกแกเ่ ราในทกุ วนั นี้ นน่ั หมายถงึ
การรู้ว่าพระธรรมเล่มนั้นๆ เขียนเป็นบทกวีหรือร้อยแก้ว
เป็นเร่ืองเล่าหรือจดหมาย รวมถึงรู้เบื้องหลังทาง
ประวัติศาสตร์ของพระธรรมเล่มดังกล่าว แผนภูมิและ
บทความในภาค 1 ออกแบบมาเพอื่ ชว่ ยเราในการนี้ สว่ น
ภาค 4 ซึ่งเป็นดัชนีค้นค�ำนั้น ช่วยให้ค้นต�ำแหน่งของ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สถานท่ี และหัวข้อต่างๆ ได้สะดวก
รวดเร็ว รวมท้ังช่วยในการค้นหารูปภาพต่างๆ ด้วย

การเปิดพระคัมภีร์ข้ึนแล้วตั้งต้นอ่านจากปฐมกาลไป เช่นเดียวกับฉบับก่อนๆ คู่มือน้ีจะพูดถึงพระคัมภีร์
จนจบวิวรณ์มักไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดในการเร่ิมอ่านพระคัมภีร์ ตามการเรียงล�ำดับที่เป็นอยู่ โดยจัดเป็นหมวดหมู่ตาม
“การอ่านพระคัมภีร์” (ในภาค 1) จึงเสนอทางเลือก ประเภทวรรณกรรมที่แตกต่างกันไป ส่ิงที่เน้นคือเน้ือหา
จ�ำนวนหน่ึงซ่ึงจะช่วยคุณได้ คู่มือเล่มน้ีเหมาะในการ และความหมายของพระคัมภีร์ มิใช่มุ่งสนใจในเร่ือง
ใช้งานไม่ว่าคุณจะตัดสินใจเร่ิมตรงไหนก็ตาม เช่น เริ่ม หลักการเท่านั้น จุดไหนที่นักวิชาการเห็นไม่ตรงกัน เรา
ด้วยพระธรรมเล่มใดเล่มหนึ่ง หรือตัวละครตัวใดตัวหนึ่ง ก็พยายามบอกไปตามนั้นโดยไม่จ�ำเป็นต้องเข้าร่วมวง
ในพระคมั ภรี ์ หรอื เรม่ิ จากประเดน็ ใดโดยเฉพาะ หรอื จาก ถกเถียงด้วย
การศึกษาโบราณคดี วฒั นธรรม หรอื ประเภทวรรณกรรม
ของพระคัมภีร์ ส�ำหรับบางคน ความสนุกอยู่ท่ีการเลือก เราขอขอบคุณเหล่านักวิชาการเป็นอย่างย่ิงที่ได้
อา่ นเปน็ จดุ ๆ ไป แตบ่ างคนกช็ อบอา่ นไลไ่ ปเรอื่ ยๆ ตงั้ แตต่ น้ แบ่งปันผลจากความอุตสาหะของพวกเขาแก่ผู้อ่านใน
วงกว้าง โดยใช้งานอ้างอิงที่มีมาตรฐานในเชิงวิชาการ
คู่มือเล่มนี้ตีพิมพ์คร้ังแรกในปี 1973 ต่อมาในปี มากขึ้นเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญ เราขอขอบคุณทุกๆ คน
1983 มีการปรับปรุงต้นฉบับให้สอดคล้องกับพระคัมภีร์ ท่ีมีส่วนในหนังสือเล่มน้ีท้ังทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่า
ภาษาอังกฤษส�ำนวนแปลใหม่ฉบับส�ำคัญๆ ที่ออกมา จะเป็นการแบ่งปันความเข้าใจอันลึกซึ้งในค�ำสอนของ
ในช่วงหลายปีน้ัน ในปี 1999 เรามีโอกาสเขียนและ พระคัมภีร์ การยอมให้ใช้บทความของพวกเขาเองด้วย
ออกแบบคู่มือเล่มนี้ใหม่ท้ังหมด เพ่ือน�ำรูปใหม่ๆ เข้ามา ความเต็มใจ หรือเพียงแค่มีใจช่ืนชอบในการศึกษา
ช่วยให้เข้าใจภาพในอดีตชัดข้ึน รวมท้ังมีการใช้แผนที่ พระคัมภีร์ และเชื่อมั่นว่าพระคัมภีร์น้ันมีพลังอ�ำนาจ
และแผนภาพใหม่ทั้งหมดด้วย เรามีโอกาสได้พิจารณา และสามารถเปล่ียนแปลงชีวิตได้
ขอ้ มลู ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ในแวดวงวชิ าการพระคมั ภรี ์ และตรกึ ตรอง
เรื่องใหม่ๆ ที่ผู้อ่านสนใจในปัจจุบัน เราเชิญผู้เขียนใหม่ นอกจากนี้ เราขอขอบคุณผู้ท่ีได้ช่วยเหลือใน
หลายคนท้ังหญิงและชายมาแบ่งปันความรู้ความช�ำนาญ ด้านอื่นๆ อีกมากมาย บางท่านมีช่ือระบุไว้ในหน้า
ของพวกเขา เช่น กวีท่านหนึ่งเขียนเก่ียวกับสดุดี และ “กิตติกรรมประกาศ” แต่น่ีก็อาจไม่เป็นธรรมนักต่อ
นักประพันธ์ผู้มีพรสวรรค์ท่านหน่ึงที่ใช้ชีวิตอยู่ใน อีกหลายท่านที่ได้ช่วยเหลือเราอย่างกระตือรือร้น นับ
ตะวันออกกลางมาหลายปีเขียนบทความศึกษาเก่ียวกับ ตั้งแต่ผู้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง ไปจนถึงบรรดา
บรรดาสตรใี นพระคมั ภรี ์ เปน็ ตน้ เรารวบรวมประเดน็ ตา่ งๆ ผู้ที่ให้ความเอ้ือเฟื้อ ความช่วยเหลือ ข้อมูล และท่ีส�ำคัญ
ท่ีคนสนใจมาพูดถึงในน้ีด้วย เช่น ประเด็นเรื่องการดูแล กว่าสิ่งใดคือ ก�ำลังใจ
สิ่งท่ีพระเจ้าทรงสร้าง ประเด็นเก่ียวกับเร่ืองราวใน
พระคัมภีร์ (ซึ่งเป็นส่วนหลักในเน้ือหาพระคัมภีร์ทั้งหมด) ส�ำหรับฉันแล้ว ไม่มีหนังสือเล่มใดที่จะมีบทบาท
เร่ืองความยุติธรรม เรื่องบทบาทของผู้หญิง เร่ืองความ ส�ำคัญต่อชีวิตของเดวิดรวมทั้งชีวิตของฉันเองได้มาก
สัมพันธ์ระหว่างศาสนาต่างๆ เป็นต้น เทา่ กบั พระคมั ภรี ์ ฉนั หวงั วา่ คมู่ อื เลม่ นจี้ ะทำ� หนา้ ทข่ี องมนั
ต่อไปในการช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจพระคัมภีร์ ค้นพบ
ความหวังของเราท่ีอยากให้ฉบับปรับปรุงใหม่นี้ ขุมทรัพย์ในน้ัน และได้รับการท้าทาย
เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน “ในสหัสวรรษใหม่” ได้ปรากฏ แพท อเล็กซานเดอร์
เป็นจริงแล้ว เพราะคู่มือเล่มน้ีได้กระจายออกไปใน อ๊อกซฟอร์ด
วงกว้างกว่าเดิม

เดวิด ผู้ใฝ่ฝันอยากจะเห็นคู่มือนี้และเป็นตัวต้ังตัวตี
ของโครงการมาต้ังแต่ต้น ได้เสียชีวิตลงในปี 2002 ฉัน
จึงรับหน้าท่ีต่อในการท�ำฉบับปรับปรุงน้ี ด้วยการปรับ
ขอบเขตเน้ือหาให้แคบลงแต่ให้ผู้อ่านได้เนื้อหาที่ทันสมัย
ครบถว้ นกวา่ เดมิ โดยไมม่ แี รงสนบั สนนุ อนั ประเมนิ คา่ มไิ ด้
ของเขาอีกแล้ว (ฉันใช้ค�ำว่า “เรา” ในส่วนท่ีจะเขียน
ต่อไป เพราะท้ังหมดที่กล่าวน้ันครอบคลุมทุกฉบับพิมพ์
ของคู่มือนี้)

สำรบัญ

1 2

แนะน�ำพัระคมั Àรี ์ พันั ธสญั ญำเดมิ

สารบัญฉบับเตçมอยู่หน้า 11 สารบัญฉบับเตçมอยู่หน้า 97
บทนíา
เรèิมต่้นกับพัระคัมÀีร์ 98

12 เบญจบรรณ์

บริบ·พัระคัมÀีร์ ปฐมกาลถึึงเฉลยธรรมบัญญัติ
108
24
»ระวัต่ิÈำสต่ร์ÍิสรำเÍล
เข้ำãจพัระคัมÀีร์
âย่ª้วิา¶Öงเอ้สิเธีอ้ร์
44 220

ส่งต่่Íเรè×Íงรำว กวีนิพันธ์และ»˜ญญำนิพันธ์

60 โยบถึึงเพลงซาโลมอน
344
พัระคัมÀีร์ãน·Øกวันนีé
ผู้เผยพัระวจนะ
78
อ้ิสิย่าห์¶Öงมาลัาคัี
408

7

34

พันั ธสัญญำãหม่ ดัªนคี น้ ค�ำ
หน้า 779
สารบัญฉบับเตçมอยู่หน้า 525 ร่วิมด้้วิย่ ราย่การบั·คัวิามพิเศษ
บทนíา เรีย่งต่ามลัำาด้ับัอ้ักษร หน้า 778
527

พัระกติ ่ต่คิ ณØ ์และกจิ กำรขÍงÍคั ร·ตู ่

มั·ธีิวิ¶Öงกิจการขอ้งอ้ัคัร·้ต่
538

จดหมำยและวิวรณ์์

âรม¶Öงวิิวิรณ์์
674

รายู่การค้นี้หา
แผนี้ท้�และแผนี้ภีาพ
ห์นังส่อเล�มตั�างๆ ในพรูะคัมภีรู์ 14
เชั่่�อมโยงพรูะคัมภีรู์
กับปรูะวิัตัิศัาสตัรู์โลก 26
ยุคสมัยพรูะคัมภีรู์ 28
เข้าใจ้พรูะคัมภีรู์ 50
เรู่�องรูาวิในพันธีสัญญาเดิม 100
อิสรูาเอลในยุคพันธีสัญญาเดิม 104
กษัตัรูิย์แห์�งอิสรูาเอลและยูดาห์์ 306
ผู้เผยพรูะวิจ้นะในแตั�ละสมัย 414
อิสรูาเอลในยุคพันธีสัญญาให์ม� 526
เรู่�องรูาวิในพันธีสัญญาให์ม� 536

ผู้เขียนและ The late E.M. Blaiklock, The Rev. A.E. Cundall, Frances Fuller, writer, Dr P. Deryn Guest,
ผู้มีส่วนร่วม sometime Emeritus former Principal, Bible editor and former Director Senior Lecturer in
Professor of Classics, College of Victoria, of Baptist Publications Biblical Hermeneutics,
David and Pat University of Auckland, Australia; author of various and Dar Manhal al-Hayat, Department of Theology
Alexander, editors of New Zealand: books and studies related Beirut; resident for many and Religion, University of
the original Handbook; n The Herod family, A to the Old Testament: years in the Middle East: Birmingham:
until 1994 respectively historian looks at the New n Unravelling the n Sarah, Hagar, Portrait n Understanding Judges
Publishing Director and Testament chronology of the kings of Ruth, Hannah, Portrait Michele Guinness, writer,
Editorial Director of Lion The Rev. Prof. Gerald Dr Katharine Dell, of Esther, Mary, Martha broadcaster and speaker
Publishing, Oxford: Bray, Research Professor Reader in Old Testament and Mary, Portrait of Mary – a Jewish Christian:
n All photographs of Divinity, Beeson Literature and Theology, Magdalene n Passover and the Last
(except those listed Divinity School, Samford University of Cambridge; Prof. David Gill, Supper
in Acknowledgments) University, USA: Fellow and Director of Professor of The late Dr Donald
especially taken by David n Interpreting the Bible Studies in Theology and Archaeological Heritage Guthrie, sometime Vice-
Alexander down the ages Religious Studies at St and Director of Heritage Principal, London Bible
n Outline-guide to the The Rev. Canon Prof. Catharine’s College; Futures, University of College:
Bible in Parts 2 and 3, Richard A. Burridge, specialist in Proverbs, Suffolk: n The Letters (revised
with notes and articles not Dean of King’s College Job and wisdom literature n The Roman province of by The Rev. Dr Stephen
otherwise attributed, by London and Professor generally: Judea, The city of Athens, Motyer)
Pat Alexander of Biblical Interpretation; n Understanding Job, Roman rule, Greek culture, Richard S. Hess, Earl S.
The Rev. Prof. Craig author of What are the Wisdom in Proverbs and The city of Rome, The city Kalland Professor of Old
Bartholomew, H. Evan Gospels?, Four Gospels, Job of Corinth Testament and Semitic
Runner Professor of One Jesus?, John in Dr Mark Elliott, Reader Dr John Goldingay, David Languages, Denver
Religion, Redeemer the People’s Bible in Church History, Allan Hubbard Professor Seminary, Colorado;
University College, Commentary series University of St Andrews: of Old Testament, Fuller specialist in the Bible and
Ancaster, Canada: and Imitating Jesus: An n with Dr Stephen Travis: Theological Seminary, the ancient Near East;
n The text and the Inclusive Approach to New An approved list – the Pasadena, California; author of Studies in the
message Testament Ethics Today: ‘canon’ of Scripture, author of the 17-volume Personal Names of
The Rev. David Barton, n Studying the Gospels Deuterocanonical books Old Testament for Everyone Genesis 1 – 11:
former Head of Advisory The Rev. Canon Dr Dr Grace I. series Do We Need the n Personal names in
Services, Diocese G. Mike Butterworth, Emmerson, formerly New Testament? Letting Genesis 1 – 11
of Oxford Schools former priest-in-charge of the Department of the Old Testament Speak Professor Sir Colin
Department; Warden, of Broughton Community Theology, University for Itself: Humphreys, Goldsmiths’
Sisters of the Love of Church and Director of Birmingham and of n Keys to understanding Professor of Materials
God, Fairacres, Oxford: of Interactive Christian the Open Theological (the Bible) Science, Cambridge
n Jacob, Joseph, David, Extension Studies; College, University Paula Gooder, freelance University:
Portrait of Jeremiah specialist in Old Testament of Gloucestershire, writer and Lecturer in n The star of Bethlehem,
Dr Richard Bauckham, history and Prophets: specializing in Hebrew Biblical Studies, Theologian The census
Senior Scholar, Ridley n The Prophets and Old Testament: in Residence for the Dr David Instone-Brewer,
Hall, Cambridge and The late George n Understanding Hosea Bible Society, visiting Senior Research Fellow
former Emeritus Professor Cansdale, sometime Mary J. Evans, former lecturer at King’s College in Rabbinics and the
of New Testament Superintendent, Zoological Vice-Principal, London London, and Honorary New Testament, Tyndale
Studies, University of St Society of London: School of Theology, and Canon Theologian at House, Cambridge:
Andrews: n The quail, Fishing in former Academic Dean Birmingham and Guildford n Jesus and money, Jesus
n A story through Lake Galilee at the Ethiopian Graduate Cathedrals; specialist and the cities, Jesus and
women’s eyes (Ruth), The Rev. Colin School of Theology, Addis studies: evidence for women
Women’s perspectives Chapman, Lead Faculty Ababa: belief in Jewish mysticism The Rev. Dr Philip
in the Gospels, for MENA Islam, and n Prophets and prophecy in the New Testament, Jenson, Lecturer in Old
Understanding Revelation former Lecturer in Islamic The Rev. David Field, feminist theology, biblical Testament & Biblical
Professor R.J. Berry, Studies, Near East School former Vice-Principal, Oak interpretation: Theology, Ridley Hall,
Emeritus Professor of of Theology, Beirut; writer Hill Theological College, n Understanding Cambridge:
Genetics at University on the Arab-Israeli conflict London: Colossians n A way of life – The
College, London: and Christian-Muslim n Jesus and the kingdom The Rev. Canon Dr Ten Commandments, Old
n A geneticist comments relations; author of Whose of God Michael Green, New Testament priesthood
(on the virgin birth) Promised Land? and The late Rev. Dr R.T. Testament scholar, author Dr Philip Johnston,
Dr John Bimson, former Whose Holy City?: (Dick) France, former and lecturer; former Senior Tutor in Old
Tutor in Old Testament, n The promised land, Principal of Wycliffe Hall, Chaplain for the Oxford Testament, Hughes Hall,
Trinity College, Bristol; ‘Holy War’ Oxford; New Testament Centre for Christian Cambridge:
author of The World of Rabbi Prof. Dan Cohn- scholar and writer: Apologetics and currently n The Psalms in their
the Old Testament and Sherbok, Professor n Jewish religion in Honorary Fellow at setting, Old Testament
(When) Did it Happen? Emeritus of Judaism, New Testament times, Wycliffe Hall, Oxford: views of the afterlife
New Contexts for Old University of Wales, Jesus and the Old n ‘Good News! ’– from the
Testament History: visiting Professor at St Testament, ‘God with first Christians, Spiritual gifts
n Bringing the past to life, Mary’s University College, us’ – the incarnation, The The late Rev. Geoffrey
Nomadic life, Settled life London, and Honorary Old Testament in the New W. Grogan, former
Professor at Aberystwyth Testament, The Jewish Principal, Bible Training
University: Dispersion Institute, Glasgow:
n The Hebrew Bible n The Holy Spirit in Acts

The late F.D. Kidner, Alan R. Millard, The Rev. Dr Ian Paul, The late Rt Rev. John B. The Rev. Canon David
sometime Warden of Professor Emeritus of Associate Minister, St Taylor, Old Testament Wheaton, former Canon
Tyndale House and Hebrew and Ancient Nic’s, Nottingham and scholar and former Bishop Emeritus of St Alban’s
Library for Biblical Semitic Languages, and Honorary Assistant of St Albans: Cathedral and former
Research, Cambridge: Honorary Senior Fellow Professor, University of n Introducing the Old Principal of Oak Hill
n Poetry and Wisdom (Ancient Near East), Nottingham: Testament, The Five Books, Theological College,
Dr K.A. Kitchen, Personal University of Liverpool; n Mary Magdalene – fact Israel’s History London, and Honorary
and Brunner Professor Fellow of the Society and fiction The Ven. Dr Joy Tetley, Chaplain to Her Majesty
Emeritus of Egyptology of Antiquaries and Meic Pearse, Professor former Archdeacon The Queen:
and Honorary Research international lecturer on of History, Houghton of Worcester; biblical n Jesus’ resurrection
Fellow, School of biblical archaeology: College, Houghton, USA: theologian, writer and The Rev. Prof. David
Archaeology, Classics and n The Old Testament and n Our world – their world teacher: Wilkinson, Principal
Egyptology, University of the ancient Near East, The Rev. Dr John n Understanding Hebrews of St John’s College
Liverpool: Creation stories, Flood Polkinghorne, Anglican Dr Stephen Travis, and Professor in the
n Egypt stories, Abraham, priest and former visiting lecturer and former Department of Theology
Dr Nobuyoshi Kiuchi, Where were Sodom and Professor of Mathematical Principal of St John’s and Religion, Durham
Associate Professor of Gomorrah?, Moses, Physics, University of College, Nottingham: University; theoretical
Old Testament, Tokyo Cities of the conquest, Cambridge; Fellow of the n Reading the Bible; astrophysicist and Fellow
Christian University: Canaanites and Philistines, Royal Society: with Dr Mark Elliott: of the Royal Astronomical
n Sacrifice The lost Ark, Solomon’s n A scientist looks at the An approved list – the Society; author of God,
Dr Todd E. Klutz, Temple and its successors, Bible ‘canon’ of Scripture, Time and Stephen
Senior Lecturer in New The scribe, The Assyrians, Claire Powell, Deuterocanonical books Hawking and Christian
Testament Studies, The Babylonians, The former Tutor in New Steve Turner, poet and Eschatology and the
University of Manchester: Persians Testament, lecturing in writer: Physical Universe:
n Magic in the Old The late Evelyn Miranda- New Testament Greek, n A poet looks at Psalms n God and the universe
Testament Feliciano, writer and Christology, Hermeneutics The Rev. Dr Peter Hugh G.M. Williamson,
J. Nelson Kraybill, sometime lecturer, and Gender at All Nations Walker, Professor of Emeritus Regius Professor
President, Associated Institute for Studies in Christian College, Ware, Biblical Studies, Trinity of Hebrew, University of
Mennonite Biblical Asian Church and Culture, Herts: School for Ministry, Oxford:
Seminary, Elkhart, Indiana; Manila, Philippines: n Women of faith, The Ambridge, USA; author n Understanding Isaiah
author of Apocalypse n Justice and the poor Bible through women’s eyes of Jesus and the Holy City Robert Willoughby,
and Allegiance: Worship, The late Rev. J.A. Professor Sir Ghillean and In the Steps of Jesus: Lecturer in New
Politics, and Devotion in Motyer, former Principal Prance, former Director, n Jerusalem in New Testament, London
the Book of Revelation: at Trinity College, Bristol Royal Botanic Gardens, Testament times School of Theology;
n Emperor worship and and former Lecturer in Old Kew, England: The Rev. Dr Steve specialist in the Gospels
Revelation Testament: n People as God’s Walton, Professorial and political theology:
Dr Melba Padilla n The names of God, caretakers Research Fellow in New n The peace of God, Love
Maggay, President of The significance of the Dr Vinoth Ramachandra, Testament, St Mary’s
Micah Global: Tabernacle, The Prophets Secretary for Dialogue University, Twickenham;
n Cultural perspectives – (with Dr Mike Butterworth) and Social Engagement specialist on Luke-Acts:
East and West The Rev. Dr Steve (Asia) for the International n What is the Bible?,
The late Dr I. Howard Motyer, Lecturer in Fellowship of Evangelical Spreading the word – the
Marshall, former New Testament and Students; author, most task of translation
Emeritus Professor of Hermeneutics, London recently, of Subverting Walter Wangerin Jr,
New Testament Exegesis, School of Theology: Global Myths: teacher on literature
University of Aberdeen, n The Letters, Paul n Jesus in a plural society and creative writing;
and former Chair of the Rt Rev. Dr Michael Dr Harold Rowdon, theologian and writer;
Tyndale Fellowship for Nazir-Ali, formerly Bishop former Lecturer and author of The Book of
Biblical and Theological of Rochester, currently Resident Tutor, London God: The Bible As A Novel:
Research: President of the Oxford Bible College (now London n The Bible as story
n The Gospels and Jesus Centre for Training, School of Theology): The Rt Rev. Dr Jo Bailey
Christ, The New Testament Research, Advocacy and n Roman soldiers in the Wells, Bishop of Dorking,
miracles Dialogue: New Testament, Pilate former Chaplain to the
The Rev. Professor n The Qur’an and the The Very Rev. J.A. Archbishop of Canterbury:
Andrew McGowan, Bible Simpson, former Dean of n Storykeepers – the
Minister, Inverness East The Rev. Prof. Stephen Canterbury: oral tradition, The scribes,
Church and UHI Professor Noll, former Vice- n The virgin birth Editors at work
of Theology: Chancellor, Uganda The Rev. Vera Sinton, Dr Gordon Wenham,
n The twelve disciples of Christian University, former Tutor in Ethics Emeritus Professor
Jesus Mukono, Uganda; author and Pastoral Theology, at the University of
of Angels of Light, Powers Wycliffe Hall, Oxford: Gloucestershire; Lecturer
of Darkness: n Sexual issues in the at Trinity College, Bristol:
n Angels in the Bible church at Corinth n Covenants and ancient
Near Eastern treaties



แนะนำ� พัระคัมÀีร์ 1

เริèมต่้นกับ บริบ· เข้ำãจพัระคัมÀีร์ ส่งต่่Íเรè×Íงรำว พัระคัมÀีร์
พัระคัมÀีร์ พัระคัมÀีร์ ãน·Øกวันนีé

14 ห์นังส่อเล�มตั�างๆ ใน 26 เชั่่�อมโยงพรูะคัมภีรู์กับ 46 กุญแจ้สู�ควิามเข้าใจ้ 62 ผู้ส่บทิอดเรู่�องรูาวิ – 80 มมุ มองทิางวิฒั ่นธีรูรูม
พรูะคัมภีรู์ ปรูะวิัตัิศัาสตัรู์โลก การูส่บทิอดด้วิยวิาจ้า – ตัะวิันออกและ
28 ยุคสมัยพรูะคัมภีรู์ 50 เข้าใจ้พรูะคัมภีรู์ 64 อาลักษณ์์ ตัะวิันตัก
18 พรูะคัมภีรู์ค่ออะไรู 30 ฟี้�นชั่ีวิิตัให์้อดีตั 52 พรูะคัมภีรู์ในฐานะเรู่�อง 66 บรูรูณ์าธีิการู 83 พรูะเยซัูในสังคม
22 การูอ�านพรูะคัมภีรู์ 36 แผ�นดินอิสรูาเอล รูาวิ 68 พรูะคัมภีรู์ฮีีบรูู พห์ุลักษณ์์

38 สัตัวิ์และนก 53 การูตัีควิามพรูะคัมภีรู์ 70 ห์นังส่อทิี�ผ�านการู 86 คัมภีรู์อัลกุรูอานและ
40 ตั้นไม้และพ่ชั่ ในยุคตั�างๆ รูับรูอง – “สารูบบ” พรูะครูิสตัธีรูรูมคัมภีรู์
42 ปฏิทิินของอิสรูาเอล 58 ตััวิบทิและสารู ของพรูะคัมภีรู์ 89 มองพรูะคัมภีรู์ผ�าน
74 เผยแพรู�พรูะวิจ้นะ – สายตัาสตัรูี
ภารูกิจ้การูแปล 92 พรูะคัมภีรู์ในมุมมอง
ของห์น่�งนัก
วิิทิยาศัาสตัรู์
95 โลกของพวิกเรูา –
โลกของพวิกเขา

“พรูะวิจ้นะของพรูะองค์
เป็นตัะเกียงแก�เทิ้า
ของข้าพรูะองค์ และเป็น
ควิามสวิ�างแก�ทิาง
ของข้าพรูะองค์”
สดุดี 119:105



เริ่มตน้ กับพระคัมภรี ์

14 แนะนำ�พระคมั ภรี ์

หนังสือเล่มต่างๆ ในพระคัมภีร์

พัันธสัญญำเดิม (39 เล่ม)

เบญจบรรณ์

n ปฐมกาล
n อพยพ
n เลวิีนิตัิ
n กันดารูวิิถูี
n เฉลยธีรูรูมบัญญัตัิ
หนังสือในหมวดนี้ประกอบด้วยเรื่องราว
การสร้างโลก น้�าท่วมใหญ่ และบรรพบุรุษ
(กับบรรพสตรี!) แห่งช้นช้าติอิสราเอล
(ปฐมกาล) การเป็นทาสในอียิปต์และ
การอพยพ (อพยพ) และสี่สิบปีท่ีร่อนเร่
ใน “ถิ่นทุรกันดาร” ซีนาย (กันดารวิถี;
เฉลยธรรมบัญญัติ)

หนังสือเหล่าน้ียังบันทึกกฎหมายท่ี
พระเจา้ ประทานแกช่ ้นช้าตขิ องพระองคด์ ว้ ย
ซึ่งสรุปรวมอยู่ในพระบัญญัติสิบประการ
(อพยพ; เฉลยธรรมบัญญัติ) และบันทึก
รายละเอยี ดกฎเกณฑใ์ นการถวายเครอ่ื งบชู ้า
และการนมัสการ ซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่
พลบั พลา (เตน็ ทพ์ เิ ศษของพระเจา้ ) (อพยพ;
เลวีนิติ)

เทิพฮีอรูัส ผู้มีตัาดวิงนี�เป็นสัญลักษณ์ ์
เป็นห์น่�งในห์มู�เทิพของอียิปตั์ ดินแดน
ทิี�อิสรูาเอลตักเป็นทิาส

เริ่มต้นกับพระคัมภีร์ 15

»ระวัต่ิÈำสต่ร์ÍิสรำเÍล กวีนิพันธ์และ»˜ญญำนิพันธ์ ผู้เผยพัระวจนะ

n โยชัู่วิา n โยบ n อิสยาห์์ n “ผเู้ ผยพรูะวิจ้นะนอ้ ย”
n ผู้วิินิจ้ฉัย n สดุดี n เยเรูมีย์ 12 เลม� : โฮีเชั่ยา
n นางรููธี n สุภาษิตั n เพลงครูำ�าครูวิญ โยเอล อาโมส
n 1 และ 2 ซัามูเอล n ปัญญาจ้ารูย์ n เอเสเคียล โอบาดหี ์ ์ โยนาห์์
n 1 และ 2 พงศั์กษัตัรูิย์ n เพลงซัาโลมอน n ดาเนียล มคี าห์ ์ นาฮีมู
n 1 และ 2 พงศัาวิดารู ฮีาบากกุ เศัฟีนั ยาห์ ์
n เอสรูา เขาแกะผู้ ห์รู่อ shofar ใชั่้เป่ารูะดม ฮีกั กยั เศัคารูยิ าห์ ์
n เนห์ะมีย์ ชั่าวิอิสรูาเอลเข้าสู้ศั่ก มาลาคี
n เอสเธีอรู์

ผู้เผยพระวจนะทั้งหลายน�าถ้อยค�าของ
พระเจา้ มาแจง้ แกป่ ระช้ากรของพระองค์ มที ง้ั
หนังสือในหมวดนี้เริ่มตั้งแต่การเข้ายึดครอง หนังสือในหมวดน้ีประกอบด้วยกวีนิพนธ์ ค�าเตือนถึงการพิพากษา (เมื่อพวกเขา
ดินแดนที่พระเจ้าทรงสัญญาไว้แก่ประช้ากร สว่ นใหญใ่ นพระคมั ภรี ์ และ “ปญั ญานพิ นธ”์ หลงไปจากพระเจ้าและละเมิดพระบัญญัติ
ของพระองค์ (โยชู้วา) แล้วเล่าต่อไปถึง (โดยมากจะอยู่ในรูปของสุภาษิตสอนใจ ของพระองค์) และค�าหนุนใจด้วยความหวัง
เร่ืองราวของช้นช้าติอิสราเอล ทั้งเร่ืองของ ได้แก่ สุภาษิต และปัญญาจารย์) ซ่ึง และพระสัญญา (ในเวลาท่ีเป็น
เหล่าวีรบุรุษ และผู้ที่ท�าให้ช้นช้าติตกต่�า นิยมกันเป็นพิเศษในดินแดนตะวัน ทุกข์ส้ินหวัง) ผู้เผยพระวจนะ
โดยช้กั นา� ใหห้ ลงไปจากพระเจา้ ช้ว่ งเวลาที่ ออกใกล้โบราณราวๆ สมัยกษัตริย์ ส่วนใหญ่มีช้ีวิตอยู่ในศตวรรษที่
“ผู้วินิจฉัย” (กิเดโอน แซมสัน ฯลฯ) ซาโลมอน ส่วนโยบเป็นบทละคร 8 และ 7 ก่อน ค.ศ. คือในช้่วง
ปกครองนั้น ส้ินสุดลงท่ีซามูเอลผู้เจิมต้ัง ร้ อ ย ก ร อ ง ว่ า ด้ ว ย ก า ร ท น ทุ ก ข์ ที่ช้นช้าติอิสราเอลถูกคุมคาม
กษัตริย์ หลังจากรัช้สมัยของกษัตริย์ซาอูล สดุดีเป็นหนังสือเพลงนมัสการของ คร้ังแรกโดยอัสซีเรีย และต่อมา
ดาวิด และซาโลมอนผู้สร้างพระวิหารแด่ อิสราเอล และเพลงซาโลมอนเป็น โดยบาบิโลน อาโมสเป็นผู้เผย
พระเจา้ ในเยรซู าเลม็ แลว้ (1 และ 2 ซามเู อล; บทกวีรักร�าพันความในใจ พระวจนะทเี่ รยี กรอ้ งความยตุ ธิ รรม
1 พงศก์ ษตั รยิ )์ สบิ เผา่ ทางเหนอื กแ็ ยกตวั ไป เพื่อคนยากจน มีผู้เผยพระวจนะ
ตงั้ เปน็ อาณาจกั รอสิ ราเอล สว่ นเช้อ้ื สายของ ปรูะชั่ากรูของ เ พี ย ง ไ ม่ ก่ี ค น ที่ อ ยู่ ใ น ยุ ค ห ลั ง
ดาวิดยังคงปกครองในยูดาห์ เมื่อสะมาเรีย พรูะเจ้้ามักละทิิ�ง กลับจากการเป็นเช้ลย ค�าเผย
ถูกอัสซีเรียตีแตก อิสราเอลก็ถึงจุดจบ แต่ พรูะองค์ไปกรูาบ
เมื่อเยรูซาเล็มถูกท�าลายนั้น มีคนจ�านวน ไห์วิ้พรูะอ่�นๆ พระวจนะจ�านวนหน่ึง (ท่ีรู้จักกัน
หน่ึงรอดช้ีวิตและถูกกวาดไปเป็นเช้ลยใน นี�ค่อรููปพรูะบาอัล ดีที่สุดจะอยู่ในอิสยาห์) เล็งถึง
บาบโิ ลน ตอ่ มาเช้ลยไดก้ ลบั บา้ นเกดิ พวกเขา ของชั่าวิคานาอัน การเสดจ็ มาของ “พระเมสสยิ าห”์
รื้อฟื้นการเช้ื่อฟังพระบัญญัติของพระเจ้า
และสร้างพระวิหารกับก�าแพงเมืองข้ึนใหม่ ผทู้ พ่ี ระเจา้ จะทรงสง่ มาปลดปลอ่ ย
(เอสรา; เนหะมีย์) ประช้ากรของพระองค์ให้เป็นไท และท่าน
จะปกครองด้วยสันติภาพและความยุติธรรม

16 แนะน�ำ พระคัมภีร์ รููปปั�นเจ้้าแม�อารูเทิมิส พัันธสัญญำãหม่ (27 เล่ม)
(ไดอานา) แห์�งเอเฟีซััส
คัมÀีร์สำรบบ·ีèสÍง/ เม่องทิี�คำาสอน พัระกิต่ต่ิคØณ์และกิจกำรขÍงÍัคร·ูต่
Íธิกธรรม ของเปาโลก�อให์้เกิด
จ้ลาจ้ล
กำายานเป็นของ
ขวิัญอย�างห์น่�งทิี�
เห์ล�าโห์รูาจ้ารูย์นำา
ไปถูวิายพรูะกุมารู
เยซัู

n โทิบิตั n คำาอธีิษฐาน ชั่ิ�นส�วินอันเก�าแก�ทิี�สุด n มัทิธีิวิ
n ยูดิธี ของอาซัารูิยาห์์/บทิเพลง ทิี�ยังเห์ล่ออยู�ของห์นังส่อ n มารูะโก
n บทิเพิ�มเตัิมของ ของชั่าวิยิวิสามคน n ลูกา
ห์นังส่อเอสเธีอรู์ n นางสุสันนา พรูะกิตัตัิคุณ์ยอห์์น n ยอห์์น
n ปรูีชั่าญาณ์ n เทิพเจ้้าเบล ตัั�งแตั� ค.ศั. 125-150 n กิจ้การูของอัครูทิูตั
n บุตัรูสิรูา และมังกรู หนังสือพระกิตติคุณส่ีเล่มบันทึกเร่ืองราว
n บารูุค n 1, 2, 3 และ 4 แควิ้นยูเดียอยู�ใตั้ ช้ีวิตของพระเยซู โดยเน้นช้่วงสามปีที่
n 1 และ 2 มัคคาบี การูปกครูองของทิห์ารู พระองค์ทรงเดินทางสั่งสอนและรักษาโรค
เอสดรูาส n คำาอธีิษฐาน โรูมันในยุคพันธีสัญญา รวมถึงสัปดาห์สุดท้ายที่พระองค์ทรงถูกตรึง
n จ้ดห์มาย ของมนัสเสห์์ ให์ม� กางเขน การเป็นข้ึนจากตายของพระองค์
ของเยเรูมีย์ เป็นเคร่ืองยืนยันค�ากล่าวของพระองค์ท่ีว่า
ปอนทิิอัสปีลาตั ทรงเป็นพระเมสสิยาห์ตามพระสัญญา
เอกสารเพ่ิมเติมเหล่านี้ซึ่งส่วนใหญ่มีอยู่ เจ้้าเม่องชั่าวิโรูมันผู้ออก หรือ “พระบุตรของพระเจ้า” ท้ังหมด
ในพระคมั ภรี ข์ องนกิ ายโรมนั คาทอลกิ แต่ เห์รูียญนี� เป็นผู้อนุมัตัิ
จะไม่มีในฉบับของนิกายโปรเตสแตนต์ ให์้ตัรู่งพรูะเยซัู เป็นเหตุการณ์ท่ีสาวกผู้ใกล้ช้ิดที่สุด
น้ัน มาจากพระคัมภีร์ฉบับภาษากรีก ทิี�กางเขน ได้เป็นประจักษ์พยาน ผู้เขียน
(เซปทัวจินต์) ท่ีแปลมาจากพระคัมภีร์ สำาเนาพรูะคัมภีรู์ฉบับซัีนาย แ ต่ ล ะ ค น ต่ า ง ก็ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย
ฮบี รู หนงั สอื มคั คาบเี ลา่ เรอื่ งการตอ่ สเู้ พอ่ื ตัั�งแตั�ครูิสตั์ศัตัวิรูรูษทิี� 4 ซั่�งมี ของตนโดยเฉพาะในการบอกเล่า
เอกราช้ของช้าวยิวในยุค “ระหว่างสอง พันธีสัญญาให์ม�ทิั�งเล�ม เรื่องราว
พันธสัญญา” อ่านเพิ่มเติมใน “คัมภีร์ กิจการของอัครทูตเป็นหนังสือ
สารบบทสี่ อง” หนา้ 515
ท่ีเขียนต่อจากพระกิตติคุณลูกา เล่าถึง
ปากกา นำ�าห์ม่ก และ การที่คริสเตียนยุคแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กล�องใส�ปากกาในสมัย เปโตรและเปาโลผู้กลับใจ ได้เผยแพร่
“ข่าวประเสริฐ” ของพระเยซูในโลกของ
พันธีสัญญาให์ม� คนยิวและคนต่างช้าติ จนกระทั่งไกลถึง
กรุงโรมเอง

เริ่มตน้ กบั พระคมั ภีร์ 17

จดหมายและวิิวรณ์์

n โรม n 1 และ 2 ทิิโมธีี
n 1 และ 2 n ทิิตััส
โคริินธ์์ n ฟีีเลโมน
n กาลาเทีีย n ฮีีบรูู
n เอเฟซััส n ยากอบ
n ฟีีลิิปปีี n 1 และ 2 เปโตร
n โคโลสีี n 1, 2 และ 3
n 1 และ 2 ยอห์์น
เธสะโลนิิกา n ยููดา
n วิิวรณ์์

จดหมายสิบสามฉบับแรก ซึ่งเขียนไปถึง
“คริิสตจัักรใหม่่” ที่�เพิ่�งก่่อตั้�งนั้�น เป็็นการ
พููดถึึงสถานการณ์์เฉพาะบางอย่่าง ตอบ
คำำ�ถามที่�คริิสเตีียนยกขึ้�นมา และตอบความ
จำำ�เป็็นของบรรดาผู้้�นำำ� ทั้�งหมดเขีียนภายใต้้
ชื่�อของเปาโล “อัคั รทูตู มายังั พวกคนต่า่ งชาติ”ิ
ซึ่ � ง ก า ร ก ลัั บ ใ จ อัั น น่่ า อัั ศ จ ร ร ย์์ ข อ ง เ ข า ไ ด้้
บัันทึึกไว้้ในหนัังสืือกิิจการของอััครทููต

หนงั สอื ฮบี รู (ซงึ่ คลา้ ยคำ� เทศนามากกวา่
จะเปน็ จดหมาย) เปน็ เลม่ ทไ่ี มท่ ราบชอื่ ผเู้ ขยี น

ฉบัับอื่�นๆ ซึ่�งเป็็นจดหมาย “ทั่�วไป” นั้�น
เป็็นคำำ�กล่่าวแก่่คริิสเตีียนในวงกว้้าง

ส่่วนวิิวรณ์์ แม้้เป็็นจดหมายเวีียน
แต่ก่ ็เ็ ป็น็ ตัวั อย่า่ งข้อ้ เขียี นแบบ “วิวิ รณธรรม”
(apocalyptic) เพียี งเล่ม่ เดียี วในพันั ธสัญั ญาใหม่่
วิวิ รณ์น์ั้�นเขียี นไปถึงึ คริสิ เตียี นที่่�ถูกู ข่ม่ เหง ยืนื ยันั
ให้พ้ วกเขามั่�นใจว่า่ พระประสงค์ข์ องพระเจ้า้ นั้�น
กำำ�ลังั ดำำ�เนินิ ไปและจะสำำ�เร็จ็ สมบูรู ณ์์ จนกระทั่�ง
ประวััติิศาสตร์์ปิิดฉากลงเมื่ �อความชั่ �วร้้ายถููก
ทำำ�ลายในท้า้ ยที่่�สุดุ และประชากรของพระเจ้า้
จะได้อ้ ยู่่�กับั พระองค์ต์ ลอดไปใน “ฟ้า้ สวรรค์ใ์ หม่่
และแผ่น่ ดินิ โลกใหม่”่

18 แนะน�ำ พระคมั ภีร์

พระคัมภีร์คืออะไร

สตีฟ วอลตัน

หลายๆ คนไม่รู้เลยว่าพระคัมภีร์เป็น เรื่องราวยิ่งใหญ่ 1. การทรงสร้าง
หนังสืออะไร พ ร ะ เ จ้้ า ทร ง ส ร้้ า ง จัั ก รว า ล ขึ้ � น จ า ก ค ว า ม
พระคัมภีร์เป็นหนังสือเล่าเร่ืองที่ยอดเยี่ยม ว่ างเปล่่าโดยการตรััสเท่่านั้�น ปฐมกาล 1
ในพระคัมภีร์มีอะไรบ้าง เต็มไปด้วยเร่ืองน่าตื่นเต้นท่ีเล่าอย่างสนุก บัันทึึกถึึงหกครั้�งเมื่่�อพระเจ้้าตรััส และ
พระคัมภีร์เป็นหนังสือเกี่ยวกับอะไร แตพ่ ระคมั ภรี เ์ ปน็ ยง่ิ กวา่ หนงั สอื รวมเรอ่ื งเลา่ ต่่อท้้ายว่า “ก็็เป็็นดัังนั้�น”
การดู “ภาพรวม” ว่าพระคัมภีร์เป็น กล่าวคือ มีเร่ืองราวย่ิงใหญ่เพียงเร่ืองเดียว
หนังสือเก่ียวกับอะไรนั้นมีประโยชน์ เพื่อ ซึ่งเร่ืองย่อยๆ ท้ังหมดในเล่มเล่าถึง พระเจ้้าพอพระทััยในจัักรวาลที่ �พระองค์์
เราจะได้ไม่หลงอยู่แต่ในรายละเอียด ทรงสร้้างจนตรััสชมว่า “ดีียิ่�งนััก” (ปฐก. 1:31)
สองวิธีในการมองพระคัมภีร์ท่ีจะช่วย ศูนย์กลางของเรื่องราวย่ิงใหญ่นั้นคือ พระองค์์ทรงวางมนุุษย์์ไว้้ในโลกของพระองค์์
ได้เป็นพิเศษ คือ พระเจ้าและส่ิงท่ีพระองค์ทรงกระท�ำกับโลก เพื่่�อดููแลและทำำ�ให้้โลกบรรลุุศัักยภาพสููงสุุดของ
n มองพระคัมภีร์ให้เป็นเรื่องราว และมนุษยชาติ มััน โดยให้้มนุุษย์์มีีหน้้าที่�รัับผิิดชอบสััตว์์ นก
n และฟังพระคัมภีร์ให้เป็นค�ำพยาน ต้้นไม้้ และพืืชทั้้�งปวง
พ ร ะ คัั ม ภีี ร์์ เ ริ่ � ม ที่ � พ ร ะ เ จ้้ า ท ร ง ส ร้้ า ง
ฟ้้าและแผ่่นดิิน แล้้วเล่่าเรื่�องสิ่�งต่่างๆ 2. “การล้มลงในบาป”
ที่ � พ ร ะ อ ง ค์์ ท ร ง ทำำ�กัั บ ม นุุ ษ ย ช า ติิ เ รื่ � อ ย ม า
จนถึึงวัันหนึ่ �งข้้างหน้้าเมื่ �อพระองค์์จะทรง
ให้้ประวััติิศาสตร์์ถึึงจุุดสิ้�นสุุด เมื่�อนั้�นจะไม่่มีี
สงคราม โรคภััยไข้้เจ็็บ ความตายและความ
เจ็บ็ ปวดอีกี ต่อ่ ไป เรื่�องราวยิ่�งใหญ่น่ี้�ประกอบ
ด้้วยส่่วนสำำ�คััญหกส่่วน

พระเจ้า้ ทรงให้ม้ นุษุ ย์ค์ู่แ� รกมีเี สรีภี าพที่จ� ะสำำ�รวจ
ทั่�วสวนที่�พระองค์์ทรงให้้พวกเขาอยู่�นั้�น แต่่ห้้าม
กินิ ผลของต้น้ ไม้ต้ ้น้ หนึ่ง่� โดยเฉพาะ (ปฐก. 2:15-
17) เมื่่�อถููกรุุกเร้้าโดยงููพููดได้้ (รููปธรรมของ
ความชั่่�วร้้าย) พวกเขาก็็เลืือกที่�จะไม่่ทำำ�ตาม
พระประสงค์ข์ องพระเจ้า้ (ปฐก. 3:1-7) และผล
ก็็คืือพระเจ้้าทรงไล่่พวกเขาออกไปจากสวนนั้ �น
(ปฐก. 3:22-24)

เรื่�องราวนี้้� (ซึ่่�งมัักเรีียกว่ า “การล้้มลงใน
บาป” ของมนุุษยชาติิ) เป็็นเรื่�องสำำ�คััญที่�ช่่วย
ให้้เข้้าใจพระคััมภีีร์์โดยส่่วนใหญ่่ เพราะอธิิบาย
ถึึงการที่่�มนุุษยชาติิได้้ขาดจากความสััมพัันธ์์
กัับพระเจ้้า และสรรพสิ่�งที่�พระเจ้้าทรงสร้้างก็็
พลอยได้้รัับผลกระทบจากความสััมพัันธ์์ที่ �ขาด
ลงนี้ �ด้้วย

เร่มิ ตน้ กบั พระคัมภรี ์ 19

3. อิสราเอล พวกเขาออกจากอีียิิปต์์ นัับแต่่นั้้�นจึึงได้้มี ี 4. พระเยซู
“พระบััญญััติิสิิบประการ” อัันเป็็นบทสรุุปหััวใจ
ของธรรมบััญญััติิ
“เราคืือยาห์์เวห์์พระเจ้้าของเจ้้า ผู้้�ได้้นำำ�
เจ้้าออกจากแผ่่นดิินอีียิิปต์์ คืือจากแดนทาส”
(อพย. 20:2)
จากนั้�นพระบััญญััติิก็็กล่่าวต่่อไปว่ า
ประชากรของพระเจ้้าต้้องใช้้ชีีวิิตอย่่างไร
(อพย. 20:3-17)
แ ต่่ ป ร ะ ช า ช น ไ ม่่ อ า จ ใ ช้้ ชีี วิิ ตต า ม แ บ บ ที่ �
พระเจ้้าทรงประสงค์์ ดัังนั้�นส่่วนสำ�ำ คััญอีีกส่่วน
ต่่อมาเป็็นยุุคสมััยของอิิสราเอล พระเจ้้า ของธรรมบัญั ญัตั ิจิ ึึงเป็น็ ระบบการถวายบูชู า บรรดาผู้�เผยพระวจนะไม่่เพีียงสััญญาว่ า
ทรงเลืือกชายคนหนึ่่�งรวมถึึงเชื้�อสายของเขา เมื่่�อประชาชนไม่่อาจรัักษาธรรมบััญญััติิ จะมีีการฟื้�้นฟููดิินแดน แต่่ยัังพููดถึึงสิ่�งดี ี
ให้้เป็็นหนทางลบล้้างความเสีียหายอัันเกิิด พระเจ้้าก็็ประทานวิิธีีที่�จะ “กลบ” ความ อื่�่นๆ ที่่�พระเจ้้าจะทรงทำ�ำ เพื่�่อประชากรของ
จากการที่่�มนุุษย์์กบฏต่่อพระเจ้้า ชาย ผิิดพลาดของพวกเขาและฟื้้�นฟููความสััมพัันธ์์ พระองค์์ด้้วย ซึ่�่งรวมถึึงการมีีเสรีีภาพที่�จะ
คนนั้�นชื่่�อ อัับราม (อัับราฮััม) ผู้้�อาศััยอยู่�ใน ที่�แตกสลายกัับพระองค์์ นั่่�นคืือ ให้้ฆ่่าสััตว์ ์ นมััสการและใช้้ชีีวิิตในฐานะประชากรของ
เมืืองเออร์์ ตััวหนึ่่�งแทนที่�บุุคคลผู้�ละเมิิดธรรมบััญญััติ ิ พระเจ้้า และมีีโอกาสที่�จะอยู่�จนแก่่เฒ่่าโดย
พระเจ้้าทรงสััญญากัับอัับราฮััมสามเรื่�อง คนที่�ทำำ�ผิิดจะวางมืือบนหััวสััตว์์เพื่่�อแสดงว่ า ปราศจากความกลััว ทั้้�งหมดนั้�นเป็็นเรื่�องยาก
คืือ สััตว์์นั้�นถููกฆ่่าเพื่่�อเขา แล้้วพระเจ้้าก็็จะทรง เมื่�่อประชาชนยัังพบว่ าตนเป็็นนัักโทษอยู่�ใน
n จะมีีตระกููลหนึ่่�งเกิิดจากเขา มองข้้ามการละเมิิดธรรมบััญญััติินั้ �น แผ่่นดินิ ของตัวั เองและถูกู ชาวต่่างชาติผิู้�มีอำ�ำ นาจ
n จะมีีแผ่่นดิินหนึ่่�งซึ่่�งพระเจ้้าประทานแก่่ การทำำ�เช่่นนี้�มีีราคาสููง เพราะสััตว์์เป็็น ทางการเมืืองกดขี่� ในศตวรรษที่� 1 พวกเขา
เชื้ �อสายของเขา เกณฑ์์สำำ�คััญที่�ใช้้วััดความมั่�งคั่�งในสัังคมชนบท มองตััวเองว่ายัังเป็็นเชลย ยัังถููกพระเจ้้าลงโทษ
n แ ล ะ โ ด ย ผ่่ า น ตร ะ กูู ล ข อ ง อัั บ ร า ฮัั ม โบราณ ในยุุคต่่อมา การถวายบููชาทำำ�กัันใน แม้้พวกเขาจะได้้กลัับมาอยู่�ในแผ่่นดิินของตน
พระเจ้้าจะทรงกระทำำ�การดีีแก่่มนุุษย์์ พระวิหิ ารที่่เ� ยรูซู าเล็ม็ อันั เป็น็ เมืืองหลวงของชาติิ แล้้วก็็ตาม พวกเขาถููกปกครองโดยชาวโรมััน
ทั้�งปวง (ปฐก. 12:1-3) ชีีวิิตของอิิสราเอลดำำ�เนิินต่่อไปผ่่าน และไม่่มีเี สรีภี าพที่จ� ะใช้ช้ ีวี ิติ อย่่างที่ป� ระชากรของ
พระเจ้้าพึึงทำ�ำ แต่่เรื่�องราวสำ�ำ คััญที่�ชี้�ว่าพวกเขา
ความตั้�งพระทััยของพระเจ้้าคืือ ทั้้�งโลกจะ ช่่วงเวลาขึ้�นๆ ลงๆ มากกว่าหนึ่่�งพัันปีี
“ได้้รัับพร” ผ่่านชนชาติิอิิสราเอล (ตระกููล ชาติิแบ่่งออกเป็็นสองอาณาจัักรหลััง เป็็นชนชาติิของพระเจ้้าก็็คืือเรื่�องที่�พระเจ้้าทรง
ของอัับราฮััม) กษััตริิย์์ซาโลมอนสิ้�นพระชนม์์ อาณาจัักร ช่่วยกู้�พวกเขา พระองค์์ทรงทำ�ำ เช่่นนั้�นในคราว
เมื่่�อทรงเลืือกชนชาติินี้�แล้้ว พระเจ้้าก็็ทรง ทางเหนืือ (อิิสราเอล) พ่่ายแพ้้แก่่อััสซีีเรีีย อพยพและในการนำ�ำ พวกเขากลัับจากบาบิิโลน
ปกป้้องดููแลพวกเขา ในศตวรรษที่� 8 ก่่อน ค.ศ. เพราะพวกเขา พวกเขาจึึงเชื่อ�่ ว่าพระเจ้า้ จะทรงทำ�ำ เช่่นนั้น� อีกี
พวกเขากลายเป็็นทาสในอีียิิปต์์ แต่่ ประนีปี ระนอมเรื่อ� งความเชื่อ่� และความวางใจใน แล้้วผู้้�ที่่�ก้้าวเข้้ามาในฉากนี้�ก็็คืือพระเยซูู
พระเจ้้าทรงปลดปล่่อยพวกเขาผ่่านโมเสส พระเจ้้า โดยรัับเอาความเชื่่�ออื่่�นๆ เข้้ามาผสม พระอาจารย์์ชาวยิิวและผู้�รักษาโรคซึ่่�งตรััสถึึง
โดยนำ�ำ พวกเขาออกจากอีียิิปต์์ ผ่่านการร่่อนเร่ ประชาชนของอาณาจัักรใต้้ (ยููดาห์์) ถููก “อาณาจัักร” ของพระเจ้้า เพื่่�อยืืนยัันว่าพระเจ้้า
สี่�สิิบปีีในถิ่�นทุุรกัันดารแห่่งคาบสมุุทรซีีนาย กวาดไปเป็็นเชลยที่�บาบิิโลนในราว 150 ปีีต่่อมา ยัังทรงควบคุุมทุุกสิ่�งอยู่� แม้้ในขณะที่�ประชากร
และเข้้าสู่�ดิินแดนที่�อัับราฮััมเคยอาศััยมาก่่อน เพราะเหตุุผลทำำ�นองเดีียวกััน ของพระองค์์ยัังทนทุุกข์์และถููกกดขี่ �ก็็ตาม
พวกเขา แต่่พระเจ้้าไม่่ได้้ทรงทิ้�งประชากรของ เป็็นเวลาสามปีีที่�พระเยซููทรงสั่�งสอน
พระราชกิิจที่่�ยิ่�งใหญ่่นี้้� ซึ่�่งเรีียกว่ าการ พระองค์์ไว้้เท่่านี้� พระองค์์ทรงฟื้�้นฟููประชาชน รัักษาโรค และปลดปล่่อยผู้�คนให้้เป็็นอิิสระจาก
อพยพ ได้้กลายเป็็นช่่วงเวลาที่�ชนชาติิ ยููดาห์์อย่่างอััศจรรย์์ให้้กลัับสู่�ดิินแดนของตน อำำ�นาจที่่�กดขี่�พวกเขา โดยประกาศว่่าพวกเขา
อิิสราเอลก่่อเกิิดเป็็นรููปเป็็นร่ าง และกระทั่�ง ในอีีกราวครึ่�งศตวรรษต่่อมา บรรดาผู้�เผย จะเห็็นฤทธิ์์�อำำ�นาจของพระเจ้้าได้้จากสิ่�งที่ �
ในภายหลัังเมื่�่อมองย้้อนไป พวกเขาก็็เห็็น พระวจนะผู้�กล่่าวถ้อ้ ยคำ�ำ จากพระเจ้า้ ถึึงประชาชน พระเยซููทรงทำำ�และตรััส (ลก. 11:16-20)
ว่ าเป็็นเวลาที่�พระเจ้้าทรงช่่วยเขาให้้รอดและ ต่่างตีคี วามการกลับั บ้า้ นเกิดิ นี้ว�่าเป็น็ “การอพยพ พระเยซููใส่่พระทััยคนจนและคนที่�สัังคม
รัับเขาไว้้เป็็นของพระองค์์ จวบจนทุุกวัันนี้ � ครั้ง� ใหม่่” เหมืือนการหนีจี ากอียี ิปิ ต์ใ์ นสมัยั โมเสส ไม่่ยอมรัับ พระองค์์ทรงช่่วยแม้้กระทั่�งคน
ชาวยิิวยัังฉลองการอพยพในเทศกาลปััสกา (ดูู อสย. 40:3-5; 43:1-7 เป็็นต้้น) ผู้้�เผย ต่่างด้้าวที่่�ใครๆ รัังเกีียจเมื่�่อเขามาหาพระองค์ ์
ทุกุ ปีี พระวจนะยัังประกาศด้้วยว่ าจะมีีผู้�ปลดปล่่อย (เช่่น มธ. 8:5-13) พระเยซููทรงมองพระองค์์
ขณะอยู่�ในถิ่�นทุุรกัันดาร พระเจ้้าได้้ทรง ผู้้�หนึ่ง�่ ซึ่ง�่ พระเจ้า้ จะทรงส่่งมาปลดปล่่อยประชากร เองเป็็นผู้�เสนอการฟื้้�นฟููให้้แก่่ชนชาติินี้�
ทำำ�อีีกสิ่�งหนึ่่�งด้้วยเพื่่�อให้้เป็็นศููนย์์กลางชีีวิิต ของพระองค์ใ์ ห้เ้ ป็น็ อิสิ ระ เป็น็ คนที่ช� าวยิวิ เรียี กว่า ด้้วยการนำำ�ข่่าวดีีเรื่�องความรัักที่�เปี่�ยมด้้วย
ของชนชาติินี้� นั่่�นคืือ พระองค์์ประทาน “พระเมสสิิยาห์์” ชาวยิิวแต่่ละกลุ่�มมีีความเชื่�่อ การอภััยของพระเจ้้ามาให้้ พระองค์์ตรััสถึึง
ธรรมบััญญััติิแก่่พวกเขา ชนชาติินี้�เป็็น เรื่อ� งพระเมสสิยิ าห์ต์ ่่างๆ กันั ไป แต่่ทุกุ กลุ่ม� ต่่าง พระวิิหารในทางที่�บ่่งชี้�ว่ ามัันจะถููกทำำ�ลาย
ของพระเจ้้าเพราะพระองค์์ทรงพระกรุุณานำำ� ก็็เฝ้้ารอให้้ท่่านนำ�ำ การปกครองอัันยุุติิธรรมของ และถููกแทนที่�ในบางแง่ โดยตััวพระองค์์เอง
พระเจ้า้ มา

20 แนะนำ�พระคัมภีร์

5. ผู้ติดตามพระเยซู

(ยน. 2:18-22; มก. 13:1-2) ในการอ้้าง นั้ � น ต้้ อ ง ม า ก่่ อ น ค ว า ม ต้้ อ ง ก า ร ข อ ง เ ร า เ อ ง
เช่่นนี้� พระเยซููก็็กำำ�ลัังสำำ�แดงพระองค์์เองว่ า ยิ่�งกว่ านั้�น พวกเขาต้้องพร้้อมที่�จะทนทุุกข์์
ทรงมีีความสััมพัันธ์์กัับพระเจ้้าในแบบที่ �ไม่่มีี เ พื่่� อ ค ว า ม เ ชื่่� อ ใ น พ ร ะ เ ย ซูู ห ล า ย ค น ถูู ก
ใครเหมืือน กีีดกัันทางสัังคม อีีกหลายคนตายเพราะ
สำ�ำ หรัับผู้�นำ�ชาวยิิวแล้้ว คำ�ำ อ้้างนี้�ถืือเป็็นการ ยืืนกรานจะติิดตามพระเยซูู
ลบหลู่่�พระเจ้้า เป็็นฟางเส้้นสุุดท้้ายสำ�ำ หรัับคน
ที่ � อุุ ทิิ ศชีี วิิ ต ใ ห้้ แ ก่่ พ ร ะ วิิ ห า ร ห ล า ย ค น ยัั ง ไ ด้้
ร่่วมมืือกัับผู้้�นำำ�ชาวโรมัันด้้วย และไม่่ต้้องการ
ให้้เสถีียรภาพนั้ �นถููกพระเยซููสั่ �นคลอน
ทั้�งหมดนั้�นนำ�ำ ไปสู่�การวางแผนปลงพระชนม์์ หลัังพระเยซููทรงเป็็นขึ้�นจากตาย พระองค์์ 6. วาระสุดท้าย
ทรงมอบหน้้าที่ �ให้้ผู้้�ติิดตามพระองค์์ไปบอก คริิสเตีียนยุุคแรกรัับมืือกัับการทนทุุกข์์นี้ �อย่่างไร
พระเยซูู (ยน. 11:47-53) ที่่�น่่าอััศจรรย์์ใจ ค น อื่่� น ๆ ถึึ ง เ รื่� อ ง ข อ ง พ ร ะ อ ง ค์์ ก่่ อ น ที่ � พวกเขาเข้้าใจสิ่่�งที่ �พระเจ้้าทรงกำำ�ลัังกระทำำ�ว่่า
คืือ พระเยซููไม่่ได้้ทรงต่่อต้้านการนี้้� ดููเหมืือน พระองค์์จะทรงละจากพวกเขากลัับไปหา อย่่างไรในขณะที่ �พระเยซููทรงจากโลกนี้ �ไปแล้้ว
พระองค์์ทรงทราบดีีว่ าอะไรกำำ�ลัังจะเกิิดขึ้�น พระเจ้้าพระบิิดา พระองค์์ทรงสััญญาว่ า
และตรััสถึึงเรื่�องดัังกล่่าวอย่่างเป็็นนััยๆ (มก. พวกเขาจะได้้รัับฤทธิ์์�เดชเพื่่�อทำำ�ภารกิิจอััน พระธรรมเล่่มสุุดท้้ายของพระคััมภีีร์ ์
12:1-12) ยิ่่�งกว่ านั้�น พระเยซููทรงเห็็นการ ยิ่�งใหญ่่นี้้� เป็็นฤทธิ์์�เดชผู้้�ทรงเป็็นบุุคคล ซึ่่�ง คืือวิิวรณ์์ ได้้ให้้ภาพของการที่่�พระเจ้้าทรง
สิ้ � น พ ร ะ ช น ม์์ ที่ � ใ ก ล้้ เ ข้้ า ม า เ ป็็ น ก า ร บ รรลุุ พระองค์์ทรงเรีียกว่ าพระวิิญญาณบริิสุุทธิ์์� ค ว บ คุุ ม ค ว า ม เ ป็็ น ไ ป ข อ ง ป ร ะ วัั ติิ ศ า ส ตร์์
เป้้าหมายของ “บรรดาเครื่�องบููชา” คืือการ ซึ่่�งจะยกชููจิิตใจของคริิสเตีียนที่ �ถููกข่่มเหงให้้
ให้้อภััยและให้้ชีีวิิตใหม่่แก่่ประชาชน ไม่่นานหลัังจากนั้�น ในเทศกาลเพ็็นเท- จดจ่่อที่ �พระเจ้้าผู้ �ยิ่ �งใหญ่่ที่่�พวกเขารัับใช้้อยู่ �
ค อ ส ต์์ ข อ ง ช า วยิิ ว ผู้้�ติิ ด ต า ม พ ร ะ เ ย ซูู ก ลุ่ � ม ยิ่�งกว่ านั้�น คริิสเตีียนยุุคแรกเฝ้้ารอวัันที่ �
ในคืืนที่พ� ระองค์ท์ รงถูกู จับั และสอบสวนนั้น� เล็็กๆ ก็็ตกอยู่ �ท่่ามกลางเสีียงพายุุแรงกล้้า พระเยซููจะเสด็็จกลัับมาสู่ �โลกนี้ �เพื่่�อทำำ�ให้้งาน
พระองค์์ได้้ทรงใช้้เวลากัับพระสหายในการ และได้้รัับความสามารถในการพููดภาษาใหม่่ๆ ที่�พระองค์์ทรงเริ่�มไว้้ในชีีวิิต การสิ้้�นพระชนม์์
ฉลองมื้อ� ปัสั กาเพื่่อ� รำ��ลึึกถึึงการอพยพจากอียี ิปิ ต์ ์ เพื่่�อดึึงดููดฝููงชนกลุ่ �มใหญ่่ให้้ฟัังพวกเขาพููดเรื่�อง และการคืืนพระชนม์ข์ องพระองค์ส์ ำำ�เร็จ็ สมบูรู ณ์์
พระเยซููทรงให้้ความหมายใหม่่แก่่อาหารมื้้�อนั้ �น พระเยซู ู นี่่เ� ป็น็ ฤทธิ์์เ� ดชที่่ช� ่่วยให้พ้ วกเขาสามารถ ในที่ �สุุด
ทรงตีีความขนมปัังกัับเหล้้าองุ่�นในมื้�อนั้�นว่ า เผยแพร่ เรื่�องราวนี้้�ออกไป!
เป็็นสัญั ลัักษณ์์แทนพระวรกายกัับพระโลหิิตของ ในวัันนั้�น คริิสเตีียนเฝ้้ารอให้้จัักรวาล
พระองค์์ที่�จะทรงสละในการสิ้้�นพระชนม์์ (ลก. พ ว ก เ ข า ทำำ� ก า รนี้้� อ ย่่ า ง รว ด เ ร็็ ว ทั้ �งหมดถููกสร้้างใหม่่และฟื้้�นฟููสู่ �สภาพดั้ �งเดิิม
22:14-20) ในประเทศต่่างๆ รอบทะเลเมดิิเตอร์์เรเนีียน ที่�พระเจ้้าตั้�งพระทััยในการเนรมิิตสร้้าง (วว.
พ ว ก เ ข า พูู ด เ รื่� อ ง พ ร ะ เ ย ซูู ผู้้�ทร ง พ ร ะ ช น ม์์ 21:1-8)
ไม่่นานหลัังจากนั้ �นพระเยซููก็็ทรงถููกจัับ ผู้�สมควรรัับการนมััสการร่่วมกัับพระเจ้้า
สอบสวน และตััดสิินให้้ประหารชีีวิิตโดยผู้้�นำำ� พระบิิดา และผู้�ประทานการให้้อภััยและชีีวิิต วัั น นั้ � น จ ะ เ ป็็ น วัั น ที่ � ค ว า ม ชั่�่ วร้้ า ย แ ล ะ
ชาวยิิวก่่อน และต่่อมาก็็โดยพวกโรมััน (เพราะ ใหม่่แก่่คนที่�ติิดตามพระองค์์ คริิสเตีียน สิ่�งผิิดทั้�งหลายถููกขจััดสิ้�นจากโลกด้้วย เป็็น
ในสมััยนั้ �นชาวยิิวดำำ�เนิินการประหารเองไม่่ได้้) กลุ่�มเล็็กๆ เริ่�มรวมตััวกััน โดยเริ่�มจากหมู่่� วัั น ที่ � ค น ซึ่่� ง ป ฏิิ เ ส ธ พ ร ะ เ จ้้ า จ ะ ถูู ก พิิ พ า ก ษ า
พระองค์์ทรงถููกประหารด้้วยการตรึึงไว้้บน ชาวยิิวก่่อน แต่่ภายหลัังก็็รวมไปถึึงคนที่� และคนที่ �วางใจในพระเยซููจะได้้เห็็นพระเจ้้า
ไม้้กางเขน ความมืืดปกคลุุมแผ่่นดิินขณะ ไม่่ใช่่ยิิวด้้วย พระสััญญาต่่ออัับราฮััมที่�ว่ า หน้้าต่่อหน้้า
พระองค์์ทรงถููกตรึึงบนนั้�น แล้้วพระเยซููก็็ มนุุษย์์ทั้ �งปวงจะได้้รัับพรผ่่านเชื้ �อสายของเขา
สิ้ �นพระชนม์์ เริ่�มเป็็นจริิงแล้้ว! คนเหล่่านี้�พบปะกััน
ตามบ้้าน โดยมัักจะเป็็นบ้้านของสมาชิิก
ภายในสามวััน บรรดาผู้้�ติิดตามพระองค์์ ที่ �ร่ำ��รวยกว่ าคนอื่่�นในกลุ่ �ม
ต่่างก็็อััศจรรย์์ใจและปีีติิยิินดีีที่ �เห็็นพระองค์์
คืืนพระชนม์์อีีกครั้�ง ความตายไม่่อาจมีีชััย แล้้วกลุ่�มคริิสเตีียนยุุคแรกๆ เหล่่านี้�ก็็
เหนืือพระองค์์ พระองค์์ทรงเป็็นพระเยซูู ประสบปัญั หาของตน! จดหมายของบรรดาผู้้�นำ�
คนเดิิมที่�พวกเขาเคยรู้�จักมาตลอดสามปีี แต่่ก็็ คริิสเตีียนยุุคแรกๆ แสดงให้้เห็็นถึึงปััญหาที่�
ทรงมีีชีีวิิตชีีวากว่ าเดิิมด้้วย พระองค์์ทรงเป็็น พวกเขาเผชิญิ นั่่น� คืือการพยายามปรับั ตัวั เข้า้ สู่ว� ิถิ ีี
พระเมสสิิยาห์์จริิงๆ! ชีีวิิตใหม่่ซึ่�ง่ หมายความว่าเครื่�องกีีดกั้�นผู้�คนแบบ

เก่่าๆ ได้ท้ ลายลงแล้ว้ ทั้้ง� เครื่อ� งกีดี กั้น� ในเรื่อ� งเพศ
ความเป็น็ ทาส และเผ่่าพันั ธุ์� (กท. 3:28)
พวกเขาต้้องเรีียนรู้�ว่ าการเป็็นผู้้�ติิดตาม
พระเยซููนั้ � นเราจะใช้้ชีี วิิ ตตามใจชอบไม่่ ได้้
การห่่วงใยผู้ �อื่�นโดยเฉพาะคริิสเตีียนคนอื่่�นๆ

เริม่ ตน้ กับพระคัมภรี ์ 21

พระคัมภีร์ในฐานะค�ำพยาน

พระคััมภีีร์์ไม่่เพีียงเล่่าเรื่ �องราวนี้ �ในลัักษณะ
แยกเป็็นเรื่�องๆ อย่่างที่่�นัักประวััติิศาสตร์์ทำำ�
แต่่ยัังเขีียนเชิิญชวนคนที่ �ได้้ยิินข่่าวสารนี้ �
ให้้ต้้อนรัับพระเยซููด้้วย พระคััมภีีร์์เป็็น
คำำ�พยานถึึงสิ่ �งที่ �พระเจ้้าได้้ทรงกระทำำ�ใน
ประวััติิศาสตร์์และสิ่ �งที่ �พระเจ้้าจะทรงทำำ�
ต่่อไป พระคััมภีีร์์เขีียนขึ้�นเพื่�อชัักชวนผู้้�อ่่าน
ให้้มาเป็็นผู้้�ติิดตามพระเยซูู และช่่วยให้้
พวกเขาเข้าใจว่าจะติดตามพระองค์ร่วมไป
กับคนอ่ืนๆ อย่างไร การอ่านพระคัมภีร์ก็
เหมือนการได้บัตรเชิญไปงานเล้ียง ซึ่งรอให้
เราตอบรับ!

กลุ่ �มศึึกษาพระคััมภีีร์์ในเอเชีียตะวัันออกนี้ �เป็็นตััวแทน
ของคนนัับล้้านตลอดทุุกยุุคทุุกสมััยซึ่่�งได้้ยิินเรื่�องราว
ในพระคััมภีีร์์และตอบรัับเป็็นผู้้�ติิดตามพระเยซูู

พระคััมภีีร์์ฉบัับต่่างๆ พระคััมภีีร์์มีีวิิธีีอ้้างอิิงอย่่างไร

มีีการแปลพระคััมภีีร์์เป็็นหลายๆ ภาษา พระคััมภีีร์์แต่่ละฉบัับเหล่่านี้�ผลิิต พระคััมภีีร์์แต่่ละตอนสามารถอ้้างอิิงถึึง
ตลอดช่่วงเวลาราวสองพัันปีีที่�ผ่่านมานัับ มาโดยมีีเหตุุผลหรืือกลุ่�มผู้�อ่ านที่�เฉพาะ โดยใช้้ระบบที่�เริ่�มในคริิสต์์ศตวรรษที่� 13
ตั้ �งแต่่ความเชื่่�อคริิสเตีียนเริ่ �มต้้นขึ้ �น เจาะจง ดููหััวข้้อ “พระคััมภีีร์์ภาษาอัังกฤษ” n พระธรรมแต่่ละเล่่มในพระคััมภีีร์์จะ
ในภาษาอัังกฤษมีีการแปลเป็็นหลาย หน้้า 77
สำำ�นวน โดยเฉพาะในศตวรรษที่� 20 ทุกุ วันั นี้� สำำ�หรัับพระคััมภีีร์์ฉบัับภาษาไทย มีี มีีชื่่�อเรีียก นี่่�เป็็นสิ่ �งแรกที่ �ใช้้ในการ
คนที่อ� ่่านภาษาอังั กฤษมีพี ระคัมั ภีรี ์ห์ ลายฉบับั ฉบัับแปลหลายสำำ�นวน เช่่น อ้้างอิิง
ให้้เลืือกใช้้ n ฉบัับมาตรฐาน 2011 (THSV11) n พระธรรมแต่่ละเล่่มแบ่่งออกเป็็น
บางคนชอบสำำ�นวนแปลเก่่า (ที่�ขึ้�นชื่่�อ n ฉบัับ 1971 (TH1971) “บท” (แต่่ละบทมักั จะยาวราวครึ่ง� หน้า้
ที่ส� ุดุ คืือฉบับั Authorized หรืือ King James n ฉบัับอมตธรรมร่่วมสมััย (TNCV) ถึึงหนึ่่�งหน้้า) บทเป็็นสิ่�งถััดมาที่�ใช้้ใน
Version [KJV]) แต่่หลายคนรู้�สึกว่าอ่่านยาก n ฉบัับ KJV (Thai KJV) การอ้้างอิิง
เพราะฉบัับเหล่่านั้�นใช้้ภาษาอัังกฤษใน n ฉบัับแปลใหม่่ (NTV) n แต่่ละบทแบ่่งออกเป็น็ “ข้อ้ ” โดยมีเี ลข
รููปแบบที่ �ปััจจุุบัันไม่่ใช้้กัันแล้้ว n ฉบัับอ่่านเข้้าใจง่่าย ข้้อกำำ�กัับ (แต่่ละข้้อมัักยาวหนึ่่�งหรืือ
การลองดููสัักสองหรืือสามฉบัับเป็็นเรื่�องดีี ภาคคำำ�สััญญาใหม่่ (THA-ERV) สองประโยค)
คุุณอาจจะอยากลองอ่่านฉบัับสมััยใหม่่ ดัังนั้ �น ระบบอ้้างอิิงของพระคััมภีีร์์
เหล่่านี้�ดูู เช่่น โดยทั่�วไปจะบอกชื่่�อพระธรรม บท และข้้อ
n New Revised Standard Version ตััวอย่่างเช่่น
(NRSV) โรม 3:21-26
n Today’s New International Version ปฐมกาล 12:1-3
(TNIV) ทั้ �งหมดนั้ �นช่่วยให้้หาง่ ายขึ้ �น
n Good News Bible (GNB) ให้้ใช้้ระบบอ้้างอิิงนำำ�ทางคุุณในการ
n Revised English Bible (REB) อ่่านพระคััมภีีร์์ แต่่อย่่าให้้บทกัับข้้อเป็็น
ตััวกำำ�หนดเนื้�อความที่�คุุณจะอ่่าน เพราะ
บทกัับข้้อไม่่ได้้มีีอยู่ �แต่่แรกในพระคััมภีีร์์
กรีีกและฮีีบรูู และบางครั้�งก็็มีีการแบ่่งบท
เกิิดขึ้ �นกลางเรื่�องราวสำำ�คััญๆ หรืือระหว่่าง
คำำ�โต้้แย้้ง ซึ่่�งทำำ�ให้้เนื้ �อความสะดุุด


Click to View FlipBook Version