The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการปฏิบัติงาน (ปฐมวัย)
โดย อรชร ปะวันโน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรชร ปะวันโน, 2021-05-29 09:44:08

รายงานการปฏิบัติงาน (ปฐมวัย)

รายงานการปฏิบัติงาน (ปฐมวัย)
โดย อรชร ปะวันโน

1

2

คาํ นาํ
ในปัจจบุ นั ในการพฒั นาเด็กและเยาวชน ครูจําเปน็ ตอ้ งมีวธิ ีการพฒั นาการเรยี นและมีทักษะ
ความสามารถในการดำรงชีวติ เพือ่ เป็นการเตรยี มความพร้อมให้ผู้เรียนไดใ้ ชช้ ีวติ อยู่ร่วมกันในสงั คมท่ีมีการ
เปล่ยี นแปลงตลอดเวลาได้อย่างมีความสขุ ในการเรียนรู้ท่เี ป็นทกั ษะชวี ิตเป็นสง่ิ สําคญั มากทท่ี าํ ใหเ้ กิดคุณภาพ
ทางการศึกษาคือเป็นเทคนคิ วิธีการท่พี ัฒนาการใช้ชีวติ ในการดํารงชวี ติ โดยใชเ้ ทคนคิ และกระบวนการเรียนรู้
เพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ ม
รายงานการปฏบิ ัตงิ านเพื่อคัดเลือกครตู ้นแบบการจดั การเรียนรบู้ ูรณาการทักษะชวี ติ ประจาํ ปี ๒๕๖๔
จัดทําขึน้ เพอื่ รายงานผลการปฏบิ ัติงานในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทกั ษะชีวติ ในระดับชัน้ ปฐมวัย เพอ่ื ให้
ผเู้ รยี นเกิดทักษะชีวิตและการเกดิ เรียนร้คู รบ ๔ องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ติ

นางอรชร ปะวนั โน
ครูโรงเรยี นเมอื งวาปีปทมุ

3

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า

คาํ นํา ก

สารบัญ ข

บทนาํ ๔

ด้านที่ ๑ คณุ ลักษณะ ๕

ต้านท่ี ๒ การจดั การเรียนรู้บรู ณาการทักษะชวี ิต ๑๐

ด้านที่ ๓ ผลท่เี กดิ ขึน้ กบั นกั เรียน ๑๔

ภาคผนวก ๑๖

ภาคผนวกที่ ๒ ประวัติผ้ขู อเข้ารับการคัดเลือกครูต้นแบบการจัดการการเรียนร้บู ูรณาการทักษะชวี ิต ๑๗

ภาคผนวกท่ี ๒ การปฏิบตั ิงานและการเปน็ แบบอย่างแก่ศิษย์ ๒๔

ภาคผนวกท่ี ๓ กิจกรรมการเรียนการสอนทักษะชีวิต ๒๙

ภาคผนวกที่ ๔ ผลงานท่ภี าคภูมใิ จ ๓๙

ภาคผนวกที่ ๕ เกยี รติบตั ร ๔๕

4

รายงานการปฏิบัตงิ าน

การคัดเลือกครตู น้ แบบการจดั การเรียนรู้บูรณาการทักษะชวี ติ ประจาํ ปี ๒๕๖๔

บทนํา

สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานมนี โยบายให้สถานศกึ ษาในสังกดั มรี ะบบการดูแล
ชว่ ยเหลอื นักเรยี นทเ่ี ข้มแข็ง เพ่อื ให้นักเรียนได้รบั การดูแล ชว่ ยเหลอื พทิ กั ษ์ ปกปอ้ ง และคุ้มครองในทุกมติ ิ
อยา่ งครบถ้วน เหมาะสม ทว่ั ถงึ และทนั เหตุการณ์ โดยคาดหวังใหน้ ักเรยี นไดร้ ับความรู้และประสบการณท์ ้ัง
ดา้ นวิชาการและวชิ าชีวติ สามารถประกอบอาชีพและดํารงชีวติ อย่ใู นสังคมได้อยา่ งมีความสขุ และปลอดภัย ซึ่ง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานไดส้ นบั สนนุ และสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือ
นักเรียน โดยมสี ํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา นิเทศ กํากบั ติดตาม และเร่งรัดให้เกิดการขับเคลอ่ื นเร่ืองดงั กลา่ ว
อยา่ งเข้มแข็งตอ่ เน่ืองและย่งั ยืน สาํ หรบั ด้านวิชาชีวิต หรือ “ทักษะชีวิต” เป็นความสามารถของบุคคลที่จะ
จดั การกบั ปัญหาต่างๆ รอบตัวในสภาพสังคมปัจจบุ ันและเตรียมความพร้อมสําหรบั การปรบั ตวั ในอนาคตใน
กรณที ี่อาจจะประสบเหตุการณไ์ ม่พงึ ประสงคใ์ นชีวติ จึงถือได้ว่าเป็นกลไกสาํ คญั ในการเสริมสร้างภมู คิ ุ้มกนั ภยั
ทางสงั คมใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชนไดเ้ ปน็ อย่างดยี ่งิ ซ่งึ สาํ นักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดก้ าํ หนดทกั ษะ
ชวี ติ ไว้ ๔ องคป์ ระกอบ คือ การตระหนกั รแู้ ละเห็นคุณค่าในตนเองและผ้อู น่ื การวิเคราะหต์ ดั สนิ ใจและการ
แกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ การจดั การอารมณ์และความเครียด และการสรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดีกบั ผูอ้ นื่ เพื่อใช้ใน
การบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอนและเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ ใหก้ บั ผเู้ รียน สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้นื ฐานได้ชีแ้ จงเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเร่อื งดังกล่าวมาอย่างต่อเนอื่ ง พรอ้ มทง้ั เผยแพรเ่ อกสารที่
เกี่ยวข้องไปให้สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศนําไปใช้ในการขับเคลอ่ื นการเสริมสร้าง
ทักษะชีวิตใหแ้ กน่ ักเรยี น

ดงั น้นั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นการเรยี นรู้หลายทางหรอื บูรณาการความรตู้ า่ งๆดว้ ยวธิ ีที่
หลากหลาย ผเู้ รียนสามารถโต้ตอบกบั ผ้สู อน สอ่ื สารสงิ่ ท่ีเรยี นรไู้ ด้ ซง่ึ ในการจัดการเรียนการสอนของดฉิ ันได้
บรู ณาการทักษะชวี ติ ท้งั ๔ องคป์ ระกอบ เพื่อการเสรมิ สร้างทกั ษะชีวติ นักเรียนสกู่ ารปฏบิ ัติใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรม
ต่อเนือ่ งและยั่งยนื

5

การจัดการเรียนรู้บรู ณาการทักษะชีวติ ประจาํ ปี ๒๕๖๔
ด้านท่ี ๑ คณุ ลกั ษณะ

ตวั ชี้วัดที่ ๑ พฤตกิ รรมประจําตัว

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะทอ้ นการปฏิบัติงาน แหล่งอ้างองิ
๑ .ยมิ้ แย้มแจ่มใส
ดฉิ ันคดิ ว่าครูต้อง ย้ิมแย้มแจ่มใส แม้จะมีเรือ่ งทกุ ขไ์ ม่ สมั ภาษณ์
๒. กิรยิ าวาจาสภุ าพ
สบายใจเมื่อออกจากบา้ นเพ่ือมาสอนเด็ก ดฉิ ันจะหยุด นกั เรียน เพื่อน
๓. แตง่ กายเหมาะสมกับ
กาลเทศะ ปัญหานั้นไว้ ยิ้มแย้มแจม่ ใส ให้กับทุกคนที่พบเจอ รอยยม้ิ ครู และ
๔. มีเมตตา กรุณา และ
ยุติธรรม เปน็ การเสรมิ สร้างสัมพนั ธภาพทด่ี ีในองค์กรโดยเฉพาะ ผบู้ รหิ าร

ผ้เู รยี นและผูป้ กครอง ผ้ปู กครองจะรูส้ ึกดีมากๆถ้าครมู ี

ลกั ษณะท่ีดี ยิ้มแย้มแจ่มใส

ดิฉนั คิดวา่ ครูต้องพูดวา่ สวัสดคี ะ/ขอบคณุ คะ/ขอโทษ

คะ/ไมเ่ ป็นไรคะ/ด้วยความยนิ ดคี ะ ประโยคเหลา่ นี้ครู

ต้องพดู บ่อยครง้ั และพูดดว้ ยความจริงใจเพราะแสดงให้

เหน็ ถึงคนท่ีมีกิริยาวาจาสภุ าพ

ดิฉนั คดิ ว่าการแต่งกายบง่ บอกถงึ ลักษณะท่ดี ีหลายอยา่ ง

และดฉิ นั ไดแ้ ตง่ กายถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงเรียน

และร้กู าลเทศะ

ดิฉนั มีความรักเมตตาต่อศษิ ย์และไม่ลาํ เอยี ง ตดั สนิ ด้วย

ความยตุ ิธรรม เน่ืองจากเด็กแต่ละคนมีพื้นฐานที่ต่างกัน

เดก็ บางคนอยู่ในครอบครวั ที่พอ่ แม่ดูแลดีมสี ภาพแวดล้อม

ท่ดี ีและเด็กหลายๆ คนมีปัญหาทางครอบครัว พ่อแม่แยก

ทางกันเด็กอาศัยอยู่กบั ญาติ ความรักท่ีครูมีให้ศิษยก์ ็เปน็

กาํ ลังใจใหก้ ับเดก็ เด็กจะสัมผัสไดถ้ งึ ความรัก ความเอาใจ

ใส่จากครูและถ้าครูรักและเอาใจใส่เด็กอย่างแท้จริงจะทำ

ใหก้ ารพัฒนาเด็กง่ายขน้ึ ปญั หาตา่ งๆจะลดลงคะ

6

๕. เป็นแบบอย่างท่ดี ีของ แบบอย่างมคี ่ามากกวา่ คําสอน นักเรยี นจะเติบโต มาเปน็
นักเรียน คนดี กจ็ ะต้องมีตน้ แบบท่ีดีดิฉันจึงปฏิบัติ เป็นแบบอย่างท่ี
ดใี ห้กับนกั เรียนมุ่งม่ันในการ พฒั นานักเรียนใหเ้ ป็นคนดี มี
ความรู้ อย่ใู นสงั คม ได้อยา่ งมีความสขุ สามารถปรบั ตัวได้
เป็นอยา่ งดี

ตัวชีว้ ัดที่ 2 พฤติกรรมทเี่ ป็นความสามารถด้านปญั ญา

ประเดน็ การพจิ ารณา รายงานการสะท้อนการปฏิบัติงาน แหล่งอ้างอิง
๑. มคี วามรูใ้ นเร่อื งทักษะ ทักษะชีวติ เปน็ ทกั ษะภายในของแตล่ ะบุคคลทจี่ ะชว่ ยให้ สัมภาษณน์ กั เรยี น
ชวี ิต บุคคลนนั้ ใช้ชวี ติ เผชญิ สถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดข้นึ ใน เพอ่ื นครู และ
ชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรยี มพรอ้ ม ผู้บริหาร
๒. ใฝ่รู้ และเท่าทนั ในการปรบั ตัวในชึวิต ในทุกเร่ืองไมว่ า่ จะเปน็ เรื่อง
เทคโนโลยี ครอบครวั การทำงาน การดแู ลสุขภาพ ความปลอดภยั สมั ภาษณน์ กั เรียน
สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพ่ือให้สามารถมี เพอ่ื นครู และ
ชวี ิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างมคี วามสุข หรอื อาจกล่าวไดว้ ่า ผ้บู รหิ าร
ทกั ษะชีวิต คือ ความสามารถในการแกป้ ญั หาที่ต้องเผชญิ
ในชีวติ ประจำวนั เพือ่ ให้สามารถดูแลตนเองและคนรอบ
ข้าง สังคมได้อย่างปลอดภัยดฉิ นั นำความสามารถในการ
ใชท้ ักษะชีวติ ที่บรรจุไวใ้ นสมรรถนะสาํ คัญของผูเ้ รียนตาม
กรอบหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย มาสกู่ ารปฏบิ ตั กิ ารจัด
ประสบการณเ์ รียนการสอนอย่างเปน็ รปู ธรรม และได้
กําหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ครอบคลมุ ๔ องคป์ ระกอบ
ดฉิ นั คิดว่าครูต้องมีความคดิ ท่ีกว้างไกลมีการใชส้ ่ือ
เทคโนโลยอี กี ทงั้ ครตู ้องคำนงึ ถงึ วัยของผูเ้ รยี นด้วยเด็ก
ปฐมวัยก็ควรมีสงิ่ ทีด่ ึงดูดความสนใจเพราะเดก็ มีช่วงการ
เรยี นรทู้ ่สี ้นั ส่ือต้องเคลื่อนไหวได้ สีสนใจ มกี ารใชส้ อื่ ได้
ถกู ต้อง ทกุ วนั นี้ปญั หาท่คี รเู จอคือผู้ปกครองไม่มีเวลาเอา
ใจใส่ลกู ปลอ่ ยให้ลูกเล่นแต่แทปเลต็ หรอื มอื ถือ ครตู อ้ ง
ปลกู ฝ่งั เรื่องนใ้ี ห้เป็นวาระสำคัญของห้องเรยี น

๓. มเี หตผุ ลเชิงบวกและ 7
สร้างสรรค์
ครูตอ้ งมีความสามารถสรา้ งห้องเรียนด้วย การปลูกฝงั ให้ สัมภาษณน์ ักเรยี น
ผู้เรยี นท่อี ยากจะเรียนรู้ และพฒั นาตนเองเพ่ือสร้างพลงั เพือ่ นครู และ
บวก สรา้ งทศั นคติที่ดใี ห้กับตัวผ้เู รยี น เช่น “หนูทำไมไ่ ด้ไม่ ผ้บู ริหาร
เปน็ ไร ลองหาวธิ ีใหม่” ชมอย่างเหมาะสม ไม่มาก
จนเกินไปใหร้ างวลั กับความสำเรจ็ ของผู้เรยี น“คณุ ครู
ภมู ิใจที่หนูมีความตั้งใจเรยี น”เดก็ ๆอยากไดย้ นิ คะ

๔. มีความสามารถในการ ดิฉนั คดิ วา่ กจิ กรรมทักษะชีวติ เปน็ กิจกรรมทคี่ รสู ามารถ สัมภาษณน์ กั เรียน
จัดกจิ กรรม เสรมิ สรา้ ง สร้างและออกแบบได้ การที่คนเรามีทักษะชวี ิตทดี่ ีจะต้อง เพอ่ื นครู และ
ทักษะชีวิต ไดร้ ับการปลูกฝ่ังและฝึกมาต้ังแตค่ นนน้ั ยังเป็นเด็กๆ ผูบ้ ริหาร
ทกั ษะชีวิตท่ใี หค้ นอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างดแี ละเปน็ สขุ
๕. มคี วามสามารถในการ สามารถปรบั ตวั เอง เผชิญปัญหาได้อย่างต่อเนื่องและจะ สัมภาษณน์ กั เรยี น
ประเมนิ ทักษะ ชวี ิตนกั เรยี น ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้เดก็ มีทักษะชวี ิต ดงั น้ันครู เพือ่ นครู และ
รายบุคคล ปฐมวยั ตอ้ งคำนึง เสมอว่าการเรยี นรขู้ องเด็กเล็กๆ เรยี นรู้ ผบู้ รหิ าร
จากการสัมผัสโดยทาง ตา หู จมกู ลนิ้ และกาย เป็นการ แบบประเมิน
เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรแู้ ละสะสมประสบการณส์ ำหรับ พฤติกรรม
เด็กเม่ือโตขนึ้
ดฉิ ันจะสังเกตและศึกษานักเรียนรายบคุ คล ใครถนัดวิชา
ไหน มคี วามสามารถพิเศษอะไร และดิฉนั จะสอนให้
นักเรยี นรจู้ ักนําความสามารถของตนเอง ออกมาใชเ้ พราะ
ทุกคนแตกต่างกัน ไมไ่ ด้เห็นความสาํ คัญเฉพาะเดก็ ที่
เรยี นเก่ง เพราะเด็กบางคนเรียนไมเ่ ก่งแตเ่ ขาถนดั เร่ืองอ่ืน
เราตอ้ งส่งเสริมความสามารถในจุดนัน้ ของเขาเลือก
รูปแบบการประเมินนกั เรียนใหต้ รงกับศักยภาพของ
นักเรียนแตล่ ะคน เปน็ การประเมินตามสถานการณ์จริง

ตัวช้วี ดั ท่ี ๓ พฤตกิ รรมทเ่ี ป็นความสามารถด้านอารมณ์

ประเด็นการพิจารณา รายงานการสะท้อนการปฏิบัติงาน แหล่งอ้างองิ

8

๑.ควบคมุ อารมณไ์ ด้ในทุก ครตู ้องมวี ิธกี ารจัดการกับอารมณ์ ครูสามารถท่จี ะถว่ งดุล สัมภาษณ์นักเรียน
สถานการณ์
อารมณ์ของตนเองได้ แม้กระท่งั ความวติ กกงั วล ความ เพอ่ื นครู และ
๒. มที ัศนะคติที่ดตี ่อการ
พัฒนาทักษะ ตนื่ เตน้ ความกลวั หรือความโกรธ และไม่แสดงออกถงึ ผบู้ รหิ าร
๓. มคี วามฉบั ไวตอ่ การ
เปลี่ยนแปลงของนกั เรียน อารมณเ์ หลา่ นั้นได้ดีข้ึน การจัดการกับอารมณ์มิได้ แบบประเมนิ
ท้ังด้านดแี ละความเสีย่ ง
๔. เปน็ แบบอย่างดา้ นการ หมายความถึงการระงบั หรือปฏิเสธ แต่เป็นการเขา้ ใจและ พฤติกรรม
ใชส้ ตใิ นการฟัง การพูด
และการสื่อสารเชงิ บวก ใชก้ ารเข้าใจนัน้ เพ่ือจะจดั การกบั สถานการณไ์ ด้

ดฉิ ันมีการชืน่ ชมและภาคภมู ใิ จในทกุ ๆ ความสาํ เรจ็ ของ สัมภาษณ์นกั เรยี น

นกั เรยี นเพราะน่นั หมายถงึ ความสำเรจ็ ของครูผู้สอนด้วย เพ่อื นครู และ

ดฉิ ันจะสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนเปน็ ประจํา ท้ังด้านดี ผบู้ รหิ าร

และด้านไมด่ ี เม่ือพบเจอปญั หาจะรบี ซักถาม และให้การ

ชว่ ยเหลอื ทนั ที

ดิฉนั มีความรักเมตตาตอ่ ศิษย์และไมล่ าํ เอยี ง ตดั สินด้วย
ความยตุ ิธรรม เน่อื งจากนกั เรียนแตล่ ะคนมพี ้ืนฐาน
ครอบครัวทต่ี ่างกนั นักเรยี นหลายๆ คนมปี ัญหาทาง
ครอบครวั พ่อแมแ่ ยกทางกัน ความรกั ท่ีครมู ใี ห้ศิษยก์ ็เป็น
เหมอื นยาชูกาํ ลังเสริมสร้างพลังกายพลังใจใหศ้ ิษย์อีกด้วย

ตวั ช้ีวัดที่ ๔ พฤตกิ รรมทเ่ี ป็นความสามารถในการดูแลนกั เรียน

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะทอ้ นการปฏิบัติงาน แหลง่ อ้างอิง

๑. มคี วามรใู้ นเร่ืองระบบ ดิฉันไดจ้ ัดระบบดูแลช่วยเหลอื เด็กดังนี้ สัมภาษณ์นักเรยี น

การดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ๑.จะทำการร้จู ักเด็กเป็นรายบุคคลเด็กแตล่ ะคนมพี ื้นฐาน เพื่อนครู และ

ความเปน็ มาของชวี ติ ท่ีไมเ่ หมือนกนั ผบู้ ริหาร

๒.ทำการคดั กรองเด็ก เป็นการพิจารณาข้อมลู ทีเ่ กยี่ วกบั

ตัวเด็ก เพื่อการจัดกล่มุ เดก็ ว่ามปี ญั หา เสี่ยง ปกติ

๓.หาวธิ ีการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาทด่ี ฉิ นั ไดพ้ บกบั เด็ก

การใหค้ ำปรึกษาเบื้องต้นกับผู้ปกครอง รวมท้งั การจดั

กิจกรรมต่างๆเพื่อป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาน้ันๆ

การพ ๔.ทำการพฒั นาส่งเสรมิ เด็กเปน็ การสนับสนุนเด็กทุกคน

การส่ ๕.การสง่ ตอ่ เม่ือพบปัญหา ดฉิ นั ส่งต่อรักษา ทั้งนี้ขึ้นอยูก่ บั

9

ลกั ษณะของเด็ก ปญั หาสว่ นใหญข่ องเดก็ ปฐมวยั ต้อง
ปรกึ ษาผ้ปู กครองและผปู้ กครองจะพาไปปรกึ ษา

๒. สามารถวางแผนพัฒนา ดฉิ ันจะปลูกฝ่งั เดก็ เกดิ ศรัทธาตอ่ ตนเอง เสรมิ สร้างให้เด็ก
ทกั ษะชวี ิต เสริมสรา้ งให้เด็กมวี นิ ยั มีความรับผิดชอบ ขอ้ ตกลงของ
ห้อง รวมถงึ มารยาทในการอยู่ร่วมกนั และปฏิบตั ิกจิ วัตร
๓. สามารถใหค้ ําปรกึ ษาใน ประจำวันดว้ ยตนเอง ชว่ ยเหลอื ตนเองไดต้ ามวยั
การดําเนินชีวิตแก่นักเรียน
ดิฉันได้รบั ความไวว้ างใจจากผปู้ กครองนกั เรยี น เน่ืองจาก
ความเปน็ มิตรทําให้ผู้ปกครองนักเรยี นกล้าท่จี ะพูดคยุ ขอ
คาํ ปรึกษา แล้วก็มาทางแก้ไขรว่ มกัน

๔. สามารถแก้ปญั หา นักเรยี นแต่ละคนมปี ัญหาที่แตกตา่ งกันไป ดฉิ ันรบั ฟัง
นักเรยี นรายบคุ คล ปญั หาของเดก็ จากผู้ปกครอง จากการสงั เกตและจะชว่ ย
เสนอแนวหาทางการแก้ปญั หาอยเู่ สมอ

๕. มีความสามารถในการ ดฉิ นั จะคอยสังเกต ตดิ ตามพฤตกิ รรมหรือผลสมั ฤทธิ์
ประเมินทักษะชวี ติ นกั เรียน ทางการเรยี นของนักเรียนเพ่อื วิเคราะห์จุดแข็งของ
รายบคุ คล นักเรียนแตล่ ะคน เพ่ือใหน้ ักเรียนนำศกั ยภาพ
ความสามารถ ความถนดั ท่มี อี ยู่ในตัวออกมาใช้

ตวั ชี้วดั ท่ี ๕ พฤติกรรมที่เปน็ ความสามารถดา้ นสังคมและสัมพนั ธภาพ

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะท้อนการปฏิบัติงาน แหลง่ อ้างอิง

๑. เป็นแบบอย่างท่ดี ีของครู ดิฉนั เปน็ ผทู้ ี่ยดึ มนั่ ในคณุ ธรรมจรยิ ธรรม เปน็ ผทู้ ี่มีความ สมั ภาษณน์ ักเรยี น

และเพื่อนรว่ มงานใน ซอื่ สัตย์สุจริตตอ่ ตนเองและผู้อนื่ มคี วามเอื้อเฟื้อเผ่ือแผต่ ่อ เพือ่ นครู และ

สถานศึกษา ผ้อู ่ืนเสมออกี ท้งั มีความเมตตากรุณาต่อผ้อู ื่นและดำรงชวี ิต ผบู้ รหิ าร

ดว้ ยการพ่ึงตนเองมคี วามขยนั หม่นั เพียรมีความรบั ผิดชอบ เกยี รติบตั ร

ประหยดั และออมยึดหลักตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒. มผี ลงานเป็นท่ีประจักษ์ ดิฉัน มีความมุ่งมน่ั ท่จี ะพัฒนาเดก็ ให้มีทกั ษะ ที่ดเี ดน่ โดย

และไดร้ ับการยอมรบั จาก ดิฉันสามารถฝกึ ฝน สั่งสอนเด็กในกจิ กรรมการปัน้ ดิน

ผู้ปกครอง ชมุ ชน และสังคม น้ำมนั ระดับปฐมวัย จนได้รับรางวลั ชนะเลิศในระดบั ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนอื และชนะเลิศในการแขง่ ขันกิจกรรม

10

การปั้นดินนำ้ มันระดบั ปฐมวยั ในการแข่งขันงาน
ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ในคร้ังที่ ๖๔-๖๕

ดา้ นที่ ๒ การจัดการเรียนรู้บรู ณาการทักษะชีวิต

ตัวชวี้ ัดที่ ๑ การวางแผนการจดั การเรียนรู้บูรณาการทกั ษะชีวิต

ประเด็นการพิจารณา รายงานการสะทอ้ นการปฏบิ ัตงิ าน แหลง่ อ้างอิง

๑. มีความรู้ ความเข้าใจใน ดฉิ ันวเิ คราะห์และเชอื่ มโยงกิจกรรมการเรยี นรู้ สาระ แผนการจัด

กระบวนการการบรู ณาการ ปฐมวยั ท่ีสามารถนาํ มาบูรณาการกบั ทักษะชีวติ และ ประสบการณ์

ทกั ษะชีวติ กับเน้อื หาสาระท่ี สามารถนาํ ไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ โดยการจดั การเรยี นรู้ กำหนดการสอน

จดั การเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปดว้ ยฐานการเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญา วิเคราะหห์ ลักสตู ร

เศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีม่งุ เน้นให้นักเรียนมีความพอประมาณ

มเี หตผุ ล และมภี มู ิคุ้มกันเชอื่ มโยงในทกุ สาระการเรยี นรู้

และทุกหนว่ ยการเรียนรู้

๒. จดั ทําหนว่ ยการเรียนรู้ ดฉิ ันได้เช่อื มโยงทักษะชีวติ กับหน่วยการเรยี นรู้ตาม แผนการสอน
ครอบคลุมองค์ประกอบ กำหนดการสอน ดิฉนั ไดว้ ิเคราะห์หลักสตู ร แล้วร่าง ประสบการณ์
ทกั ษะชีวติ ได้อย่าง ออกมาเปน็ กำหนดการจัดประสบการณ์และจดั ทำแผน กำหนดการสอน
เหมาะสมกับระดับช้ันของ ประสบการณ์ โดยในกิจกรรมหลักทัง้ ๖ กิจกรรม ดิฉัน วิเคราะห์หลกั สตู ร
นกั เรยี น ได้บูรณาการทักษะชวี ิต โดยได้ยึดตามคุณลักษณะอันพึ่ง
ประสงค์ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

๓. กําหนดจุดประสงค/์ ดฉิ ันได้กำหนดจดุ ประสงค์/พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตและ แผนการสอน
พฤติกรรมทักษะชวี ิตได้ วธิ ีการสอนทกั ษะชวี ติ ให้กับเดก็ ดงั น้ี ประสบการณ์
อยา่ งเหมาะสมกับหน่วย ๑. ทกั ษะทางสังคม ท่มี ีความหมายมากกว่าการมเี พื่อน กำหนดการสอน
แต่รวมไปถึงการมีทักษะ เช่นการ รว่ มรสู้ ึก การควบคุม วเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
การเรียนรู้

11

๔. ออกแบบการจดั การ ตนเอง ความอดทน และความยืดหยุน่ สาํ หรับการสอน แผนการสอน
เรียนร้ทู บ่ี ูรณาการทกั ษะ เดก็ เช่น การสง่ เสริมและใหร้ างวลั ทม่ี ีความอดทน ใหเ้ ห็น ประสบการณ์
ชวี ติ โดยกําหนดขัน้ ตอนการ ความแตกต่างของการแสดงความรูส้ ึกท่เี หมาะสม และไม่ กำหนดการสอน
จดั การเรียนร้พู ฒั นาทกั ษะ เหมาะสม เชน่ แสดงความไม่พอใจได้แต่ทําร้ายคนอื่น วเิ คราะหห์ ลักสตู ร
ชีวิตไดอ้ ย่าง สอดคล้องกบั ไมไ่ ด้ ให้ร้จู ักการให้ความเคารพต่อกัน
วัตถปุ ระสงค์ทักษะชีวติ ๒. เรยี นร้เู ก่ียวกบั เงิน มีความคิดรวบยอดเกยี่ วกับเงินการ แผนการสอน
จัดสรรการใชเ้ งิน การประหยัด ใช้วถิ ีง่ายๆ ให้เด็กร้จู ัก ประสบการณ์
๕.ใช้ส่ือการสอนที่เหมาะสม รบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การเงิน และการใช้เงนิ การออมเงนิ กำหนดการสอน
กบั จดุ ประสงค์การพัฒนา ๓. เรยี นรคู้ วามรับผิดชอบ ใหเ้ ดก็ ได้ทาํ ความสะอาด วเิ คราะหห์ ลักสูตร
ทักษะชวี ิตตามแผนการ ส่ิงของของตนเอง และดูแล พ้ืนท่ีของตนเอง
จดั การเรียนรู้ ดฉิ ันได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ทักษะชีวติ ดงั นี้ แผนการสอน
๑.กจิ กรรมทผ่ี ู้เรียนมีส่วนร่วมคน้ พบความรูห้ รือสร้าง ประสบการณ์
๖.ใช้เครอ่ื งมือการวดั และ ความรูด้ ว้ ยตนเองซ่ึงจะทำให้ผเู้ รียนเกิดทักษะชีวิตในด้าน
ประเมนิ ผลได้ตรงตาม การคดิ เชน่ กจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ีให้โอกาสผู้เรยี น แสดง
ความคดิ เห็น
๒.กิจรรมที่ผ้เู รียนไดท้ ำกจิ กรรมรว่ มกนั ไดล้ งมือกระทำ
เช่น กิจกรรมทศั นศึกษา กิจกรรมค่าย กจิ กรรมวนั สำคญั
กจิ กรรมชมรม/ชมุ นุม กจิ กรรมโครงงาน/โครงการ
กิจกรรมอาสา เปน็ ต้น กจิ กรรมเหลา่ นเี้ ปน็ กิจกรรมท่จี ะ
ทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ การพัฒนาทักษะชีวิต
ดฉิ ันคดิ วา่ การเลือกส่ือการสอนเพ่ือใชใ้ นการเรียนการ
สอน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นร้มู ากที่สุด จำเปน็ จะต้องมี
จดุ ประสงค์ในการเลือกสอ่ื การสอนทเี่ หมาะสม ซ่ึง
หลกั การเลอื กส่ือการสอนมี ดังนี้
๑. สอ่ื ตอ้ งสัมพันธ์กบั เนื้อหาและจุดมุ่งหมายทจ่ี ะสอน
๒. เลือกสื่อทม่ี เี น้ือหาถูกต้อง ทนั สมัย นา่ สนใจ ช่วยให้
ผ้เู รียนเข้าใจเนื้อหาวิชานนั้ ได้ดี เปน็ ลำดบั ขั้นตอน
๓. เปน็ สือ่ ทีเ่ หมาะสมกบั วยั ระดบั ช้ัน ความรู้ และ
ประสบการณ์ของผู้เรียน
๔. ส่อื นน้ั ควรสะดวกในการใช้ มีวิธใี ชไ้ มซ่ ับซอ้ นยุ่งยาก
จนเกินไป

ดิฉนั มีความคิดว่าวธิ กี ารวดั และประเมนิ ทักษะทด่ี คี ือการ
ประเมินผลจากส่ิงที่ผเู้ รียนได้ แสดงใหเ้ หน็ ถึงวา่ มีความรู้

12

จดุ ประสงค์พัฒนาทักษะ ทกั ษะและความสามารถ ตลอดจนมคี ุณลักษณะที่พึง กำหนดการสอน
ชวี ิตตามแผนการจดั การ ประสงค์ ตามทีผ่ ูส้ อนไดจ้ ดั กระบวนการเรียนร้ใู ห้ วิธีการ วเิ คราะหห์ ลักสูตร
เรียนรู้ ประเมินผลท่ีผูส้ อนสามารถเลือกใชใ้ นการประเมนิ ผล
ระหว่าง เรียน มดี ังน้ี

๑.การประเมินด้วยการส่ือสารส่วนบคุ คล
๒. การประเมนิ จากการปฏบิ ัติ
๓.การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
๔.การประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมงาน

ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๒ กระบวนการจดั การเรยี นร้บู ูรณาการทกั ษะชีวิต

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะทอ้ นการปฏิบัติงาน แหลง่ อา้ งองิ
๒. สร้างบรรยากาศเชิงบวก ดิฉันไม่เคยพูดบัน่ ทอนจิตใจของนักเรยี น ดิฉันคดิ วา่ ในการ สมั ภาษณน์ ักเรียน
โดยให้กําลงั ใจ พดู หรอื แสดงความชื่นชม คําพดู ของครูเปน็ ส่ิงสาํ คัญ เพือ่ นครู และ
ดฉิ นั จะพดู ยกย่องช่ืนชมและใหร้ างวัลเมอื่ นกั เรียนประสบ ผบู้ รหิ าร
๓. จัดกจิ กรรมให้นกั เรียน ความสําเร็จหรือทาํ ความดี เพราะคาํ พูดของครูเหมือนน้ำ
ได้คดิ ฝึกปฏบิ ตั ิ และ ทพิ ย์ชโลมจิตใจทําใหน้ ักเรยี นมีกาํ ลังใจสามารถพัฒนา สมั ภาษณน์ กั เรียน
สร้างสรรค์ผลงานร่วมกนั ตนเองได้ตอ่ ไป เพอื่ นครู และ
เป็นกลมุ่ ดฉิ นั คดิ วา่ การจัดกจิ กรรมสำหรับเดก็ ปฐมวยั เปน็ กจิ กรรม ผู้บรหิ าร
ทีบ่ ูรณาการผา่ นการเลน่ ให้เดก็ ลงมือทำกิจกรรมด้วย รูปภาพภาคผนวก
๓. การมีส่วนร่วมของ ตนเอง อาศัยประสบการณ์ตรงของตนเองใหพ้ ัฒนา
นักเรียนในการเรยี นรู้ โดย ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ลักษณะ สัมภาษณ์นกั เรียน
เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนมีสว่ น ของกิจกรรม จำนวนกิจกรรม หรือรูปแบบ กจิ กรรม แต่ เพื่อนครู และ
รว่ มคิด พดู และแสดงออก ละหนว่ ยงานอาจจัดไมเ่ หมือนกนั สามารถยดื หยุ่นตาม ผบู้ ริหาร
เน่ืองจาก ข้อหาทีเ่ ดก็ สนใจ แต่ทง้ั น้ีต้อง อยบู่ นหลกั การ รปู ภาพภาคผนวก
จัดประสบการณ์สำหรบั หรบั เดก็ ปฐมวัย และต้องให้
ครอบคลุมมาตรฐาน ๑๒ ขอ้ ตามที่ หลักสตู รกำหนด
หรอื จดั ในรูปของกจิ กรรมหลัก ๖ กิจกรรมหลกั

การเลือกและตัดสินใจในการมสี ว่ นรว่ มดิฉนั คดิ ว่า
๑. เด็กจะเป็นผรู้ เิ ร่ิมกจิ กรรมจากความสนใจและความ
ตัง้ ใจของตนเอง เด็กเปน็ ผเู้ ลือกวัสดุอุปกรณ์และตัดสินใจ
ว่าจะใช้วัสดอุ ุปกรณน์ ัน้ อย่างไร

13

อย่างอสิ ระ ๒. สื่อ หอ้ งเรยี นทเ่ี ดก็ เรียนรแู้ บบลงมอื กระทำจะมี

๔. ใช้เทคนิคการต้ังคาํ ถาม เคร่ืองมอื และวัสดอุ ุปกรณท์ ่ีหลากหลาย เพียงพอ และ
สนทนา ใหน้ ักเรียนคน้ หา
คาํ ตอบความรู้สกึ เชือ่ มโยง เหมาะสมกับระดับอายุของเด็ก เดก็ ต้องมีโอกาสและมี
และประยุกต์ใช้เมื่อเผชญิ
สถานการณ์ใน เวลาเพียงพอทีจ่ ะเลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์อย่างอสิ ระ
ชวี ติ ประจาํ วนั
๓. การใชป้ ระสาทสัมผสั ทั้ง ๕ การเรียนรู้ด้วยการลงมือ
๕. สร้างแรงจงู ใจให้
นกั เรยี นไดแ้ สดง กระทำเปน็ เรอื่ งทเ่ี ก่ียวข้องกบั ประสาทสัมผสั ทง้ั * การท่ี
ความสามารถ
ใหเ้ ดก็ ไดส้ ำรวจและจัดกระทำกับวตั ถโุ ดยตรง

ครูควรเอาใจใสใ่ นการฝึกถามคำถามเพื่อกระตุน้ การคดิ

ให้กับเดก็ รูจ้ ักในการคน้ หาคำตอบโดยนำประสบการณ์ สมั ภาษณ์นักเรยี น

เดิมและประสบการณ์ใหม่เป็นพน้ื ฐานในการคดิ คำถาม เพื่อนครู และ

ต้องเป็นคำถามปลายเปดิ ซ่ึงตอ้ งเป็นเร่ืองใกล้ตวั เด็ก ครู ผบู้ ริหาร

ควรจดั กิจกรรมหลากหลายเพื่อฝกึ ใหเ้ ด็กร้จู ักคิดจะช่วยให้

เดก็ มปี ระสบการณ์และเรียนรู้จากการปฏิบัติจรงิ และ

นำไปสกู่ ารได้คำตอบท่ีน่าพอใจ

ครูควรสร้างบรรยากาศทีเ่ ป็นกนั เองและท้าทาย ครูต้อง สัมภาษณน์ กั เรยี น

เปน็ กัลยาณมิตรพร้อมสร้างกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี น อยากรู้ เพือ่ นครู และ

อยากลอง ท้าทายหรอื ประลองฝมี ือ มีการแขง่ ขัน ผู้บรหิ าร

สนุกสนาน

ตวั ชีว้ ัดท่ี ๓ การใชส้ ่ือ นวตั กรรม

ประเด็นการพิจารณา รายงานการสะท้อนการปฏิบัติงาน แหลง่ อา้ งอิง
๑. จัดสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือ
ตอ่ การเรยี นรบู้ รู ณาการ สอื่ การสอนมีคุณค่าต่อระบบการเรยี นการสอนหรือ
ทกั ษะชีวิต
๒. ใช้สือ่ นวัตกรรม หรอื การศกึ ษาเปน็ อย่างย่งิ ทั้งคุณค่าทเี่ กิดขึน้ ต่อผูเ้ รยี น และ
เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกบั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผู้สอน ซ่งึ เป็นบุคคลทีม่ ีความสำคญั และมบี ทบาทมากใน

กระบวนการเรียนการสอน ประเดน็ สำคญั ของคุณค่าของ สมั ภาษณน์ กั เรยี น

สอ่ื การสอน คอื สอื่ การสอนช่วยอำนวยความสะดวกให้ เพื่อนครู และ

ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพเพราะฉะนั้น ผู้บรหิ าร

ครูจงึ ตอ้ งเตรยี มส่ือการสอนโดยจัดสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือ ห้องเรียน

๓. การใชส้ ่อื นวตั กรรม ต่อการเรยี นรู้ 14
พฒั นาการเรียนรู้ และ
ทักษะชวี ติ ได้อยา่ ง รายงานการใชส้ อื่
เหมาะสมกบั วยั สมุดบนั ทกึ ส่ือ

ตัวชวี้ ดั ท่ี ๔ การวัดและประเมินพฤติกรรมทักษะชีวติ นักเรยี น

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะท้อนการปฏบิ ัติงาน แหลง่ อา้ งองิ
สมุดบันทึก
๑. วดั และประเมินผลได้ การวัดและประเมนิ ผลเปน็ กระบวนการทผ่ี ู้สอนวดั ผลดูวา่ เดก็ มี พัฒนาการ
แบบสงั เกตุ
สอดคล้องกบั พฤติกรรม พฒั นาการเพียงใดหลงั จากท่ีครจู ดั กิจกรรมและประสบการณ์ พฤติกรรม

ทกั ษะชวี ิตทกี่ าํ หนดใน ต่างๆการประเมนิ ผลทด่ี ตี ้องติดตามดูกระบวนการเรยี นมากกวา่
จดุ ประสงคข์ องแผนการ การทีต่ ดั สินวา่ เดก็ ทำไดห้ รอื ไม่ ครูต้องเนน้ กระบวนการและ
การพัฒนาความกา้ วหน้าของเดก็ ดงั น้นั ดฉิ นั จึงวดั และ
จัดการเรียนรู้
๒. มีการวิเคราะหผ์ ลการ ประเมนิ ผลทีส่ อดคล้องกบั จดุ ประสงค์ นำผลการประเมินมา
วิเคราะหผ์ ้เู รยี นและนำมาวางแผนพรอ้ มกบั ปรับปรงุ ให้
ประเมนิ การจดั การเรียนรู้ สอดคล้องกับทกั ษะชีวิต
ในภาพรวมและรายบุคคล

๓. นาํ ขอ้ มูลผลการ

ประเมินไปใช้ในการวาง

แผนการจัดการเรียนรู้

๔. ปรบั ปรุงการจดั การ

เรียนรใู้ ห้ สอดคลอ้ งกบั

การพฒั นาทักษะชีวิต

อยา่ งต่อเนือ่ ง

ดา้ นท่ี ๓ ผลทเ่ี กดิ กับนักเรยี น

ตวั ช้วี ดั ท่ี ๑ ข้อมูลสารสนเทศความก้าวหน้าของการพัฒนาและพฤตกิ รรมท่ีแสดงถึงการมที ักษะ ชีวิต

15

ของนักเรยี น

ประเด็นการพจิ ารณา รายงานการสะทอ้ นการปฏบิ ัตงิ าน แหล่งอ้างอิง
๑. มีร่องรอย หลักฐาน แบบสรปุ พฤติกรรมทักษะชวี ติ ผเู้ รยี นจากการสังเกตขณะ สมุดรายงาน
ขอ้ มูลสารสนเทศ ปฏิบัติกิจกรรมท่ีกาํ หนดเฉพาะเจาะจงทุกตวั ชวี้ ัดนักเรยี น ประจำตวั
ความกา้ วหน้าของการ ระดบั ชนั้ ปฐมวัย แลว้ มีการรายงานต่อผปู้ กครอง เพื่อจะ
พัฒนาทักษะชีวิต ได้ทราบพัฒนาการของเดก็ นักเรยี น
๒. จาํ นวนนักเรียนที่มผี ล ผลการประเมนิ ตามคุณลกั ษณะขอนักเรยี นในอยูร่ ะดับดี
การประเมินพฤติกรรมอยู่ คิดเป็น ๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ขน้ึ ไป นักเรยี นมคี วามสามารถตาม สมุดรายงาน
ในระดับดี หลกั สตู ร ประจำตัว
นักเรยี น

ตัวชว้ี ัดท่ี ๒ รางวัลหรือผลงานนักเรียนและครทู ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การสอนทกั ษะชวี ติ

ประเด็นการพิจารณา รายงานการสะท้อนการปฏบิ ัตงิ าน แหลง่ อ้างองิ
๑. รางวัลหรอื ผลงาน
นกั เรียนทแี่ สดงถึงการ จากการท่ีครูได้จดั ประสบการณโ์ ดยบรู ณาการทักษะตา่ งๆ
เรยี นรู้ทักษะชีวติ
ใหก้ บั เด็ก เด็กๆไดร้ บั ประสบการณ์ มีพฒั นาการท่ดี ขี ึ้นทุก เกยี รตบิ ตั ร

ด้านโดยได้รับรางวัลกิจกรรมการปนั้ ดนิ นำ้ มนั ระดบั

ปฐมวยั ชนะเลศิ ในระดับชาติ ในการแขง่ ขนั งาน

ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครงั้ ที่ ๖๔ –๖๕ ซ่ึงไดส้ ร้างความ

ภาคภมู ใิ จใหก้ บั ผู้ปกครอง คณะครู และผ้บู ริหารเป็นอย่าง

มาก สง่ ผลให้โรงเรียนได้รางวัลพระราชทาน ระดับก่อน

ประถม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐

16

๒ รางวัลหรือผลงานครูที่ จากการที่ดิฉนั ได้มุ่งมน่ั สอนนักเรยี นได้จดั ประสบการณ์ เกยี รติบตั ร
เก่ยี วข้องกบั ทักษะชีวิตหรือ ให้กบั เด็กและมีความตัง้ ใจจรงิ สง่ ผลให้ดฉิ นั ไดร้ ับรางวลั
เทียบเคียง หลายรางวัลดงั น้ี
๑.รางวัลครูผสู้ อนนักเรียน ได้รับรางวัล ไดร้ ับรางวัล
เกียรติบตั รระดับเหรยี ญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการปั้น
ดินนำ้ มนั ระดบั ชั้น ปฐมวยั ในงานศลิ ปหัตถกรรม
นกั เรยี นระดับชาติท่ี ๖๔ และ ครงั้ ท่ี ๖๕
๒.ไดร้ บั รางวัลครูดใี นดวงใจระดับชาติ สาขาปฐมวัย
๓.ไดร้ ับรางวัลครูสอนดี สาขาปฐมวัย ของสำนักงาน
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๒
ประจำปี ๒๕๖๑

ภาคผนวก

17

ภาคผนวกท่ี ๑ ประวัติผู้ขอเข้ารับการคดั เลือกครตู ้นแบบการจดั การเรียนร้บู รู ณาการทกั ษะชีวติ

ข้อมูลผู้ขอรบั การประเมนิ

ชือ่ นางอรชร นามสกุล ปะวนั โน

เลขทบี่ ัตรประจำตัวประชาชน ๓-๕๗๑๑-๐๐๔๙๘-๓๘-๙

สถานศึกษา โรงเรียนเมืองวาปปี ทุม สงั กัด สพป.มหาสารคาม เขต ๒

ตำบล หนองแสง อำเภอ วาปปี ทมุ จังหวดั มหาสารคาม

โทรศพั ท์ ๐๙-๒๗๔๖-๓๙๓๖ e-mail Orachorn.a๔๔๑๒๐@g.mail.com

ขอ้ มูลสว่ นบุคคล

เกดิ เม่ือวนั ที่ ๓๐ เดอื น กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๒

ปจั จุบนั อายุ ๕๒ ปี ศาสนา พทุ ธ

ทอี่ ยทู่ ่ตี ิดตอ่ ไดส้ ะดวกเลขที่ ๑๐๕ ตำบล งวั บา

อำเภอ วาปปี ทุม จังหวดั มหาสารคาม รหสั ไปรษณีย์ ๔๔๑๒๐

โทรศพั ท์ - โทรศพั ท์เคล่อื นท่ี ๐๙-๒๗๔๖-๓๙๓๖

e-mail Orachorn.a๔๔๑๒๐@g.mail.com

ตำแหน่งหน้าที่ในปจั จบุ ัน ชำนาญการพิเศษ

ใบอนญุ าตผู้ประกอบวชิ าชพี ครูเลขที่ ๖๒๔๐๑๐๑๒๐๘๙๒๙๗ ออก ณ.วนั ท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๖๒

ประวตั กิ ารศึกษา

วุฒิการศึกษา วิชาเอก/โท/สาขา ปีทีส่ ำเรจ็ สถาบันการศึกษา
การศึกษา

มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาษา – คณติ ๒๕๕๑ ร.ร เวียง ป่าเป้าวิทยาคม
๒๕๓๕ วิทยาลัยครอู ตุ รติตถ์
อนปุ ริญญา ภาษาอังกฤษธุรกิจ ๒๕๓๙ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช

ปริญญาตรี ปฐมวยั ศกึ ษา

ความรคู้ วามสามารถพิเศษ
- สามารถฟัง พดู อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษไดเ้ ปน็ อย่างดี
- สามารถใชค้ อมพิวเตอร์ได้เปน็ อยา่ งดี

18

- มคี วามสามารถด้านศิลปะในงานปน้ั โดยฝกึ นกั เรยี นชัน้ อนบุ าล ๒ จนได้รบั รางวลั ชนะเลศิ

กจิ กรรมการปนั้ ดนิ น้ำมัน ระดับปฐมวัย ในงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนระดบั ชาติ ๒ ปีซ้อนโดย

ชนะเลศิ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ปี พศ. ๒๕๕๘ ซึง่ จัดโดย สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั

พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ประวตั ิการทำงาน (เฉพาะตำแหนง่ ทีส่ ำคัญ)

วัน-เดือน-ปี ตำแหน่ง สอนชน้ั /ระดับ สถานทีท่ ำงาน
ปฐมวัย โรงเรยี นเกษตรอสี าน
๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ ครผู ชู้ ่วย สามคั คี สพป.สุรนิ ทร์
เขต ๓

๒๙ สงิ หาคม ๒๕๕๓ ครู คศ.๑ ปฐมวยั โรงเรียนเกษตรอีสาน
๒๙ สงิ หาคม ๒๕๕๗ ครู คศ.๒ ปฐมวัย สามคั คี สพป.สุรินทร์
เขต ๓
โรงเรยี นเมอื งวาปีปทุม
สพป.มหาสารคาม
เขต ๒

๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ครู คศ.๓ ปฐมวัย โรงเรยี นเมืองวาปีปทุม
สพป.มหาสารคาม
เขต ๒

ประวัตกิ ารสอนของครูผู้สอน
เรมิ่ สอนครัง้ แรกเม่ือวนั ท่ี ๒๙ เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

ในระดับช้นั ปฐมวัย สถานศึกษา โรงเรยี น เกษตรอสี านสามัคคี ตำบล โคกตะเคยี น
อำเภอ กาบเชงิ จงั หวัด สรุ ินทรส์ ังกัด สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์
เขต ๓ กระทรวงศึกษาธิการ
ปจั จุบันสอนระดับช้นั ปฐมวัย สถานศกึ ษา โรงเรยี นเมืองวาปีปทุมตำบล หนองแสง
อำเภอ วาปปี ทมุ จังหวดั มหาสารคามรหสั ไปรษณยี ์ ๔๔๑๒๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๗๙๘๖๕๕
โทรสาร ๐๔๓-๗๙๘๖๕๕
ทำการสอนรวมเป็นเวลา ๑๓ ปี

19

การพัฒนาวิชาชีพในรอบ 5 ปี (ประสบการณ์ การฝึกอบรม การเปน็ สมาชิกองค์กรวิชาชพี การมี

สว่ นร่วมดา้ นวิชาชพี )

วัน เดอื น ปี เร่ือง สถานท่ี หนว่ ยงานที่จดั

๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ อบรมการพฒั นาการเฝา้ ระวังและ สพป. สพป.มหาสารคาม
สง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั มหาสารคาม เขต ๒
๒๖-๒๗ กรกฎาคม
๒๕๕๙ อบรมการใช้ภาษาอังกฤษในการ เขต ๒ สพป. มหาสารคาม
ส่ือสาร โรงแรมบา้ นคณุ เขต ๒
๑๒ – ๑๖ มกราคม
๒๕๖๐ การอบรมเชิงปฏิบัติผรู้ บั รางวัล ตา สำนกั งานคณะกรรมการ
๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ “ครดู ใี นดวงใจ” ครง้ั ท่ี ๑๔ อ.วารนิ ชำราบ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
๙ – ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จ.อุบลราชธานี
๒๕๖๐ โรงแรมริเวอร์ไซด์ บรษิ ัทโตโยตา้ สาขา
๒๓ – ๒๕ สิงหาคม ร่วมโครงการวาดภาพระบายสี กรงุ เทพมหานคร วาปีปทุม
๒๕๖๐ โตโยตา้ รถยนตใ์ นฝัน
๑๗ – ๒๐ ตุลาคม บรษิ ัทโตโยตา้ สพป.มหาสารคาม เขต
๒๕๖๐ การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารจัดกจิ กรรม สาขาวาปีปทุม ๒
บูรณาการสะเต็มศึกษา
๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ในระดับปฐมวัย สพป. สำนกั งานคณะกรรมการ
มหาสารคาม เขต การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
การอบรมเทคนดิ การจัดประสบการณ์
เรยี นรู้เพ่อื พัฒนาเด็กปฐมวยั ใน ๒ มหาวิทยาลัยราชภฎั
ศตวรรษท่ี ๒๑ มหาวิทยาลยั ราช มหาสารคาม
ภัฎมหาสารคาม
การพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ศนู ยภ์ ูมภิ าคว่าดว้ ยสะ
ทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหม้ ีและ มหาวทิ ยาลยั ราช เตม็ ศึกษา เอเซยี
เลื่อนเป็นวทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ภฎั มหาสารคาม ตะวนั ออกเฉียงไต้

พเิ ศษ ศูนย์การศึกษา
ผ้ดู ำเนินการคดั กรองคนพิการทาง พิเศษ ประจำ
ศึกษา จงั หวดั
มหาสารคาม

๒๓ มกราคม ๒๕๖๔ สะเต็มศึกษาพร้อมพฒั นาการคิด อบรมออนไลน์ บริษทั อักษรเจรญิ ทันศ์

20

เชิงคำนวณ อบรมออนไลน์ บริษัท อักษรเจรญิ ทันศ์
อบรมออนไลน์
๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ เกณฑ์วิทยฐานะกับการเชื่อมโยง บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทนั ศ์
สมรรถนะครูและผู้เรียน อบรมออนไลน์
สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพ
๑๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ การออกแบบและการเขยี น วิชาการ (พว)
แผนการการจดั การเรียนรเู้ พ่ือ สถาบันพัฒนาคุณภาพ
ยกระดับคุณภาพผเู้ รยี น วชิ าการ (พว)
สถาบนั พฒั นาคุณภาพ
๓ ตุลาคม ๒๕๖๓ Challenging Reading วชิ าการ (พว)
สถาบันพฒั นาคณุ ภาพ
๔ ตลุ าคม ๒๕๖๓ Coding Session ๓ อบรมออนไลน์ วชิ าการ (พว)
สถาบันพฒั นาคุณภาพ
๑๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓ STEM Session ๑ อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
๑๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ Games and Activities อบรมออนไลน์ วชิ าการ (พว)
๑๗ ตลุ าคม ๒๕๖๓ Session ๑ อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคุณภาพ
วิชาการ (พว)
Challenging Grammar สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพ
วิชาการ (พว)
๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๓ STEM Session ๒ อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
วิชาการ (พว)
๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ Developing Phonics Systems อบรมออนไลน์ สถาบันพัฒนาคณุ ภาพ
and Skills

๑๙ พฤศจกิ ายน Introduction to Active อบรมออนไลน์
๒๕๖๓ Leaning

๑๙ พฤศจิกายน Phonics Activities อบรมออนไลน์
๒๕๖๓

๒๓ มกราคม ๒๕๖๔ Essential Skills in English อบรมออนไลน์

21

วนั เดือน ปี เร่อื ง สถานท่ี หน่วยงานท่ีจดั

๓๐ มกราคม ๒๕๖๔ Building Grammar Skills อบรมออนไลน์ สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว)
And Vocabulary
สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
๓๐ มกราคม ๒๕๖๔ Challenging to Teach & อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
Science
สถาบันพัฒนาคณุ ภาพ
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ Reading for Comprehension อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)

๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ Online Classroom อบรมออนไลน์ สถาบนั พัฒนาคุณภาพ
วชิ าการ (พว)

๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ Learning Developmen อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
Activities for Kindergarten วิชาการ (พว)

๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ Exploring Listening and อบรมออนไลน์ สถาบันพฒั นาคณุ ภาพ
Speaking วชิ าการ (พว)

๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ Methodology and Activities อบรมออนไลน์ สถาบนั พัฒนาคุณภาพ
for Thai High School วชิ าการ (พว)

๑๗ ตลุ าคม ๒๕๖๓ Challenging Grammar อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคุณภาพ

๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๓ STEM Session ๒ อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)

๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ Developing Phonics Systems อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
and Skills วิชาการ (พว)

๑๙ พฤศจิกายน Introduction to Active อบรมออนไลน์ สถาบนั พัฒนาคุณภาพ
๒๕๖๓ Leaning วชิ าการ (พว)

สถาบนั พฒั นาคุณภาพ
วิชาการ (พว)

22

วัน เดือน ปี เรอ่ื ง สถานที่ หน่วยงานท่ีจดั
Phonics Activities อบรมออนไลน์
๑๙ พฤศจิกายน อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคุณภาพ
๒๕๖๓ Essential Skills in English อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)

๒๓ มกราคม ๒๕๖๔ อบรมออนไลน์ สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพ
วิชาการ (พว)
๓๐ มกราคม ๒๕๖๔ Building Grammar Skills
๓๐ มกราคม ๒๕๖๔ สถาบันพฒั นาคณุ ภาพ
And Vocabulary วิชาการ (พว)

Challenging to Teach & สถาบันพฒั นาคุณภาพ
Science วชิ าการ (พว)

๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ Reading for Comprehension อบรมออนไลน์ สถาบันพฒั นาคณุ ภาพ
วิชาการ (พว)
๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ Online Classroom อบรมออนไลน์
สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพ
๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ Learning Developmen อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
Activities for Kindergarten
สถาบนั พัฒนาคุณภาพ
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ Exploring Listening and อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
Speaking
สถาบนั พัฒนาคุณภาพ
๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ Methodology and Activities อบรมออนไลน์ วชิ าการ (พว)
for Thai High School
สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพ
๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๓ Technology in the English อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
Classioom
สถาบันพัฒนาคุณภาพ
๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๓ Phonics Colors Shapes and อบรมออนไลน์ วิชาการ (พว)
Numbers
สถาบันพฒั นาคุณภาพ
วชิ าการ (พว)

23

ผลงานตาม ท่สี ามารถยดึ ถือเป็นแบบอยา่ ง
ช่อื ผลงาน การพฒั นากลา้ มเน้ือเล็ก สมาธิ ความคดิ สร้างสรรคด์ ้วยการป้นั ดนิ นำ้ มันสคู่ วาม
เป็นเลศิ ทางวิชาการ
นำผลงานมายดึ ถือเปน็ แบบอยา่ งได้อย่างไร สง่ ผลสมั ฤทธิ์ต่อการเรยี นของนักเรยี นได้อยา่ งไร
จากผลงานเรอ่ื ง การพัฒนากลา้ มเน้อื เลก็ สมาธิ ความคิดสรา้ งสรรค์ด้วยการป้ันดนิ นำ้ มันสคู่ วามเป็นเลศิ ทาง
วิชาการทำใหน้ ักเรยี นช้นั อนุบาล 2/3 เกิดการเรยี นร้ไู ดด้ ขี ้ึน มีทักษะในการปฏิบตั ิงาน มีความอดทน มี
ความเขม้ แขง็ ทัง้ กายใจเกิดความภาคภมู ใิ จ มสี มาธิในการเรียนรู้ มีทกั ษะการเขียนท่ีดีขึ้น พัฒนาความคิด
สรา้ งสรรค์และสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานการป้ันดินน้ำมนั จนไดร้ ับรางวัลเกียรติบตั รระดับเหรียญทอง
ชนะเลิศ กจิ กรรมการปนั้ ดินน้ำมัน ระดับชนั้ ปฐมวยั ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรยี นระดับชาติที่ ๖๔
ประจำปี ๒๕๕๘ และคร้งั ท่ี ๖๕ ประจำปี ๒๕๕๘ ซ่งึ ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศระดบั ชาติเปน็ ท่ี ๒ ทำให้
โรงเรยี นมีชือ่ เสียงได้รับคำยกยอ่ งจากชมุ ชน ผู้ปกครองและไดส้ ร้างเครือขา่ ยกิจกรรมการปั้นดนิ นำ้ มนั ไปสู่
เพื่อนรว่ มงานโดยจัดกิจกรรมในหอ้ งเรยี นทุกห้อง

24

ภาคผนวกท่ี ๒ การปฏบิ ัตงิ านและการเปน็ แบบอย่างแก่ศิษย์

เขา้ ร่วมกจิ กรรมของโรงเรยี นและชุมชน

25

ออกเยย่ี มบา้ นนักเรยี น

26

นำนักเรียนเขา้ กิจกรรมวันสำคัญ

27

กจิ กรรมวนั สำคญั

28

กจิ กรรมวนั กีฬาต้านยาเสพติด
กจิ กรรมวนั ขนึ้ ปีใหม่

29

ภาคผนวกที่ ๓ กิจกรรมการเรยี นการสอนทพ่ี ัฒนาทักษะชีวิต

กิจกรรมวนั วิทยาศาสตร์

30

การจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์

31

การดแู ลนกั เรียน ในการรบั ประทานอาหาร การออมเงนิ

32

ครรู ่วมแสดงความยินดี ทนี่ ักเรยี นจบการศกึ ษา

33

ครพู านักเรียนนำเสนอผลงาน โรงเรียนพระราชทาน

34

จัดกิจกรรม โดยใหผ้ ูเ้ รียนได้ลงมอื ปฏบิ ัติจริง

35

จดั กิจกรรมโดยยดึ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

36

จัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในกิจกรรม

37

ภาคผนวกที่ ๓ ผลงานท่ีภาคภูมิใจ

ไดร้ ับรางวัลเกยี รตบิ ัตรระดับเหรยี ญทอง ชนะเลิศ

กจิ กรรมการป้นั ดนิ นำ้ มัน ระดบั ชนั้ ปฐมวยั ในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนระดับชาติท่ี ๖๔ ท่เี มืองธานี
กรุงเทพมหานคร

38

ได้รบั รางวลั เกียรติบัตรระดบั เหรยี ญทอง ชนะเลิศ
กิจกรรมการปนั้ ดินน้ำมัน ระดับช้ันปฐมวัย ในงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติท่ี ๖๕

ที่ โรงเรยี นสตรีวิทยาฯ กรุงเทพมหานคร

39

ได้รบั รางวลั เกียรตบิ ตั รระดับเหรยี ญทอง ชนะเลิศ
กจิ กรรมการป้นั ดินน้ำมัน ระดับชนั้ ปฐมวัย ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดบั ชาติท่ี ๖๖

ท่ี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รงั สิต กรงุ เทพมหานคร

40

โรงเรียนเมอื งวาปปี ทุมร่วมแสดงความยินดี

41

ผลงานนักเรยี น ทไี่ ดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ ในระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี ๖๕-๖๖

42

รางวลั แห่งความภาคภูมิใจ รางวลั ครูดใี นดวงใจ ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี ๑๔

รางที่ภาคภมู ิใจ มากท่ีสดุ ข อ งความเป็น รางวัแ

43

รางวัลแหง่ ความภาคภูมใิ จ รางวลั ครูดีในดวงใจ ระดบั ชาติ คร้ังที่ ๑๔

44

ภาคผนวกท่ี ๓ เกียรติบตั ร

45

46

47


Click to View FlipBook Version