ขอ้ บงั คบั
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
สหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลหวั เฉียว จากดั
แกไ้ ขรวบรวม พ.ศ.2565
(ฉบบั ที่ 2 – ฉบบั ท่ี 9)
ข้อบงั คบั
สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหัวเฉียว จากดั
พ.ศ. 2546
~~~~~~~~~~~~~~~~~~
หมวด 1
ช่ือ ประเภทและทตี่ ้ังสานักงาน
ข้อ 1 ช่ือ ประเภทและทต่ี ้งั สานักงาน
ช่ือภาษาไทย สหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลหวั เฉียว จากดั
ชื่อภาษาองั กฤษ “HUA CHIEW HOSPITAL SAVING AND
CREDITS COOPERATIVE LIMITED”
ชื่อย่อ “สอ.รฉ. หรือ HCSC”
ประเภท สหกรณ์ออมทรัพย์
ทตี่ ้งั สานักงาน เลขที่ 665 ถนนบารุงเมือง แขวงคลองมหานาค
เขตป้ อมปราบศตั รูพา่ ย กรุงเทพมหานคร 10100
สหกรณ์อาจยา้ ยที่ต้งั สานกั งานไดต้ ามที่คณะกรรมการดาเนินการพิจารณาเห็นสมควร โดย
แจง้ ใหน้ ายทะเบียนสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ทราบ และใหด้ าเนินการ
แกไ้ ขเพิม่ เติมขอ้ บงั คบั ในการประชุมใหญ่คร้ังต่อไปดว้ ย
หมวด 2
วตั ถุประสงค์
*ข้อ 2. วตั ถุประสงค์ สหกรณ์น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ส่งเสริมผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจ และ
สงั คมของบรรดาสมาชิกโดยวธิ ีช่วยตนเอง และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ตามหลกั สหกรณ์ดว้ ยการ
ร่วมกนั ดาเนินธุรกิจ ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) ส่งเสริมใหส้ มาชิกออมทรัพย์ โดยช่วยใหส้ ามารถสงวนส่วนแห่งรายไดข้ อง
ตนไวใ้ นทางอนั มน่ั คงและไดร้ ับประโยชน์ตามสมควร
*ขอ้ 2 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ.2555 (คร้ังท่ี1), (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ.2563 (คร้ังท่ี 2)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 2
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(2) ส่งเสริมการช่วยตนเอง และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในหมู่สมาชิก
(3) รับฝากเงินประเภทออมทรัพยห์ รือประเภทประจาจากสมาชิก หรือสหกรณ์อ่ืน
หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซ่ึงมีสมาชิกของสมาคมน้นั ไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงเป็นสมาชิกของสหกรณ์
ผรู้ ับฝากเงิน หรือนิติบุคคลซ่ึงบุคลากร หรือลูกจา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงของนิติบุคคลน้นั เป็นสมาชิกของ
สหกรณ์ผรู้ ับฝากเงิน
(4) จดั ใหม้ ีเงินกสู้ าหรับสมาชิกตามขอ้ กาหนดอนั สมควร
(5) จดั หาทุนเพอ่ื กิจการตามวตั ถุประสงค์
(6) ใหส้ หกรณ์อ่ืนกยู้ มื
(7) ซ้ือหุน้ ของธนาคาร ที่มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือทางการเงินแก่
สหกรณ์
(8) ซ้ือหุน้ ของชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อ่ืน
(9) ซ้ือหุน้ ของสถาบนั ที่ประกอบธุรกิจอนั ทาให้เกิดความสะดวก หรือส่งเสริม
ความเจริญแก่กิจการสหกรณ์
(10) ซ้ือหุน้ หลกั ทรัพยข์ องรัฐบาลหรือรัฐวสิ าหกิจ
(11) ดาเนินการใหก้ ยู้ มื เพ่อื การเคหะ
(12) ใหส้ วสั ดิการหรือการสงเคราะห์ตามสมควรแก่สมาชิกและครอบครัว
(13) ใหค้ วามช่วยเหลือทางวชิ าการแก่สมาชิก
(14) ดาเนินธุรกิจอื่นที่เก่ียวกบั การดาเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพยเ์ พือ่ ประโยชน์
ของสมาชิก
(15) ออกตว๋ั สัญญาใชเ้ งิน และตราสารการเงิน
(16) ซ้ือตว๋ั สัญญาใชเ้ งิน และตราสารการเงิน
(17) ร่วมมือกบั ทางราชการ สนั นิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์ และ
สหกรณ์อื่นเพือ่ ส่งเสริมและปรับปรุงกิจการของสหกรณ์
(18) กระทาการตา่ งๆ ตามท่ีอนุญาตไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยสหกรณ์ เพ่ือใหเ้ ป็ นไปตาม
วตั ถุประสงคท์ ่ีกล่าวขา้ งตน้ ท้งั น้ีรวมถึงการถือกรรมสิทธ์ิหรือทรัพยส์ ิน สิทธิครอบครอง ซ้ือ
แลกเปลี่ยน โอนหรือรับโอน เช่าหรือใหเ้ ช่า เช่าซ้ือหรือใหเ้ ช่าซ้ือ จานองหรือรับจานอง จานาหรือ
รับจานา ขายหรือจาหน่าย ซ่ึงทรัพยส์ ินตลอดจนดาเนินกิจการอื่นบรรดาที่เกี่ยวกบั หรือเน่ืองในการจดั
ใหส้ าเร็จตามวตั ถุประสงคด์ ว้ ย
(19) ดาเนินกิจการอยา่ งอื่นบรรดาที่เก่ียวกบั หรือเนื่องในการจดั ใหส้ าเร็จตาม
วตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 3
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
หมวด 3
ทนุ
*ข้อ 3. ทุน สหกรณ์อาจหาทุนเพื่อดาเนินงานตามวตั ถุประสงค์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ออกหุน้
(2) รับฝากเงินจากสมาชิกหรือสหกรณ์อ่ืนหรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ หรือ
นิติบุคคล
(3) กยู้ มื เงิน
(4) ออกตว๋ั สัญญาใชเ้ งิน
(5) ออกตราสารการเงิน
(6) สะสมทุนสารอง และทุนอ่ืนๆ
(7) รับเงินอุดหนุนหรือทรัพยส์ ินที่มีผยู้ กให้
ข้อ 4. การออกหุ้น สหกรณ์จะออกหุน้ ใหโ้ ดยไม่จากดั จานวน มีมูลคา่ หุน้ ละสิบบาท
*ข้อ 5. การถอื หุ้น สมาชิกทุกคนตอ้ งส่งเงินคา่ หุน้ เป็นรายเดือนต้งั แตเ่ ดือนแรกที่เขา้ เป็ น
สมาชิกตามอตั ราส่วนของจานวนเงินไดร้ ายเดือนของตน ตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
ตามที่คณะกรรมการดาเนินการกาหนด
เงินไดร้ ายเดือนตามความในวรรคแรก หมายถึง เงินเดือน และเงินเพิม่ ค่าครองชีพ หรือเงินท่ี
จ่ายควบกบั เงินเดือนหรือคา่ จา้ งประจา ซ่ึงสมาชิกไดร้ ับจากหน่วยงานตน้ สังกดั และหมายถึงเงินชดเชย
หรือเงินท่ีเรียกอยา่ งอ่ืนหรือผลประโยชน์อ่ืนใดท่ีสมาชิกไดร้ ับ
ถา้ สมาชิกประสงคจ์ ะถือหุน้ รายเดือนในอตั ราท่ีสูงกวา่ อตั ราที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของ
สหกรณ์ หรือจะขอซ้ือหุน้ เพิม่ ข้ึนอีกเม่ือใดก็ยอ่ มทาได้ โดยแสดงความจานงเป็นหนงั สือต่อ
คณะกรรมการดาเนินการ
สมาชิกจะโอนหุ้นซ่ึงตนถือใหผ้ อู้ ่ืนไมไ่ ด้ นอกจากที่กล่าวไวใ้ นขอ้ 38 และจะถอนคืนหุน้ ใน
ระหวา่ งท่ีตนเป็นสมาชิกอยกู่ ็ไม่ได้
อน่ึง สมาชิกคนหน่ึงๆ จะถือหุน้ ในสหกรณ์เกินกวา่ หน่ึงในหา้ ของจานวนหุน้ ที่ชาระแลว้
ท้งั หมดของสหกรณ์ไมไ่ ด้ และสมาชิกแต่ละคนจะถือหุน้ ไดไ้ ม่เกินหา้ แสนหุ้น
*ขอ้ 3 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ.2563
*ขอ้ 5 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2553
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 4
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
*ข้อ 6. การชาระค่าหุ้นรายเดือน การชาระเงินคา่ หุน้ รายเดือนน้นั ใหช้ าระโดยวธิ ีหกั จากเงิน
รายเดือนของสมาชิกในวนั จ่ายเงินไดร้ ายเดือนประจาเดือนน้นั ๆ ทุกเดือน
เมื่อสมาชิกมีคาขอเป็นหนงั สือและคณะกรรมการดาเนินการไดส้ อบสวนพจิ ารณาเห็นวา่
สมาชิกน้นั ตกอยใู่ นพฤติการณ์อนั ทาใหไ้ มส่ ามารถชาระเงินคา่ หุน้ รายเดือนไดโ้ ดยมิใช่เกิดข้ึนดว้ ย
เจตนาอนั ไมส่ ุจริตของตน คณะกรรมการดาเนินการจะอนุญาตใหส้ มาชิกน้นั มิตอ้ งชาระเงินค่าหุ้นราย
เดือนชว่ั ระยะเวลาตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควรกไ็ ด้
ในระหวา่ งที่สมาชิกภาพของสมาชิกยงั ไมส่ ิ้นสุดลง หา้ มมิใหเ้ จา้ หน้ีของสมาชิกใหส้ ิทธิ
เรียกร้องหรืออายดั ค่าหุน้ ของสมาชิกผนู้ ้นั และเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง สหกรณ์มีสิทธินา
เงินตามมูลคา่ หุ้นที่สมาชิกมีอยมู่ าหกั กลบลบหน้ีท่ีสมาชิผกู พนั ตอ้ งชาระหน้ีแก่สหกรณ์ไดแ้ ละให้
สหกรณ์มีฐานะเป็ นเจา้ หน้ีบุริมสิทธิพเิ ศษเหนือเงินคา่ หุน้ น้นั
เมื่อสมาชิกไดท้ าความยนิ ยอมเป็นหนงั สือไวก้ บั สหกรณ์ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาในหน่วยงานของ
รัฐ หรือนายจา้ งในสถานประกอบการ หรือหน่วยงานอื่นใดที่สมาชิกปฏิบตั ิหนา้ ที่อยหู่ กั เงินเดือน หรือ
คา่ จา้ ง หรือเงินอื่นใดท่ีถึงกาหนดจ่ายแก่สมาชิกน้นั เพ่ือชาระหน้ีหรือภาระผกู พนั อื่นที่มีตอ่ สหกรณ์
ใหแ้ ก่สหกรณ์ตามจานวนที่สหกรณ์แจง้ ไปจนกวา่ หน้ี หรือภาระผกู พนั น้นั จะระงบั สิ้นไป ใหห้ น่วยงาน
น้นั หกั เงินดงั กล่าวและส่งเงินท่ีหกั ไวน้ ้นั ใหแ้ ก่สหกรณ์โดยพลนั
การแสดงเจตนายนิ ยอมตามวรรคสี่ มิอาจจะถอนคืนได้ เวน้ แต่สหกรณ์ใหค้ วามยนิ ยอม
การหกั เงินตามวรรคส่ี ตอ้ งหกั ใหส้ หกรณ์เป็นลาดบั แรก ถดั จากหน้ีอาภาษีอากร และการหกั
เงินเขา้ กองทุนท่ีสมาชิกตอ้ งถูกหกั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ กฎหมายวา่
ดว้ ยกองทุนสารองเล้ียงชีพ กฎหมายวา่ ดว้ ยการคุม้ ครองแรงงาน และกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คม
*ข้อ 7. การงดส่งค่าหุ้นรายเดือน สมาชิกที่ไดส้ ่งเงินคา่ หุน้ เป็นจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงแสน
บาท หรือไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงร้อยแปดสิบเดือน ไม่มีหน้ีสิน และไมม่ ีภาระค้าประกนั กบั สหกรณ์ จะงดส่ง
เงินคา่ หุน้ รายเดือนหรือลดจานวนการถือหุน้ รายเดือนลงก็ได้ โดยแจง้ ความจานงเป็ นหนงั สือต่อคณะ
กรรมการดาเนินการ
*ขอ้ 6 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ.2555
*ขอ้ 7 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2553
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 5
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
หมวด 4
การดาเนินงาน
ข้อ 8. การแจ้งยอดจานวนหุ้น สหกรณ์จะแจง้ ยอดจานวนหุ้นท่ีสมาชิกถือใหส้ มาชิกแตล่ ะ
คนทราบทุกสิ้นปี ทางบญั ชี
*ข้อ 9. การลงลายมือช่ือแทนสหกรณ์ การลงลายมือช่ือเพ่อื ใหม้ ีผลผกู พนั สหกรณ์ เวน้ แต่จะ
กาหนดไวเ้ ป็ นพิเศษตามขอ้ บงั คบั น้ี ใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี
(1) หนงั สือกยู้ มื ซ่ึงสหกรณ์เป็ นผกู้ ยู้ มื ตลอดจนการเบิก หรือรับเงินกู้ การจานองซ่ึง
สหกรณ์เป็นผจู้ านอง การถอนเงินฝากของสหกรณ์ และในนิติกรรมอื่นๆ จะตอ้ งลงลายมือช่ือของ
ประธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ หรือเลขานุการ หรือกรรมการท่ีไดร้ ับมอบหมาย หรือ
ผจู้ ดั การ หรือผทู้ ่ีคณะกรรมการมอบหมาย รวมสองคน
(2) การรับฝากเงิน ใบรับเงินและเอกสารท้งั ปวง นอกจากท่ีกล่าวไวใ้ น (1) ขา้ งบน
น้ีจะตอ้ งลงลายมือช่ือของผจู้ ดั การ หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
อน่ึง ในหนงั สือกยู้ มื ซ่ึงสหกรณ์เป็ นผกู้ ยู้ มื ใบส่ังจา่ ยเงิน ใบรับเงิน ตว๋ั สัญญาใชเ้ งิน
และตราสารการเงินของสหกรณ์น้นั ตอ้ งประทบั ตราของสหกรณ์เป็นสาคญั ดว้ ย
วงเงินกู้ยมื หรือการคา้ ประกนั
ข้อ10. วงเงินก้ยู มื หรือคา้ ประกนั ท่ีประชุมใหญ่อาจกาหนดวงเงินกยู้ มื หรือการค้าประกนั
สาหรับปี หน่ึงๆ ไวต้ ามที่จาเป็น และสมควรแก่การดาเนินงานวงเงินซ่ึงกาหนดดงั วา่ น้ี ตอ้ งไดร้ ับความ
เห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์
ถา้ ที่ประชุมใหญ่ยงั มิไดก้ าหนด หรือนายทะเบียนสหกรณ์ยงั มิไดใ้ หค้ วามเห็นชอบวงเงินกยู้ มื
สาหรับปี ใด กใ็ หใ้ ชว้ งเงินกยู้ มื สาหรับปี ก่อนไปพลาง
ข้อ11. การกู้ยมื เงินหรือคา้ ประกนั สหกรณ์อาจกยู้ มื เงิน หรือออกตว๋ั สญั ญาใชเ้ งิน หรือ
ออกตราสารการเงิน หรือโดยวธิ ีอ่ืน สาหรับใชเ้ ป็นทุนดาเนินงานตามวตั ถุประสงคไ์ ด้ ตามท่ี
คณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควร ท้งั น้ี จะตอ้ งอยภู่ ายในวงเงินกยู้ มื หรือการค้าประกนั ประจาปี ตาม
ขอ้ 10
*ขอ้ 9 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2553
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 6
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
การรับฝากเงนิ
*ข้อ 12.การรับฝากเงิน การรับฝากเงิน สหกรณ์อาจรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์ หรือฝาก
ประจาจากสมาชิก หรือสหกรณ์อ่ืน หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซ่ึงมีสมาชิกของสมาคมไมน่ อ้ ยกวา่
ก่ึงหน่ึงเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผรู้ ับฝากเงิน หรือนิติบุคคล ซ่ึงมีบุคลากร หรือลูกจา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึง
หน่ึงของนิติบุคคลน้นั เป็นสมาชิกของสหกรณ์ผรู้ ับฝากเงิน ไดต้ ามระเบียบของสหกรณ์ที่ไดร้ ับความ
เห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์
ขอ้ กาหนดเก่ียวกบั การฝาก ดอกเบ้ีย การถอนเงินฝาก และขอ้ กาหนดอื่นๆ วา่ ดว้ ยเงินฝาก
ออมทรัพย์ หรือเงินฝากประจาน้นั ใหเ้ ป็ นไปตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์ ซ่ึงไดร้ ับความ
เห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์
การให้เงนิ กู้
ข้อ13. การให้เงินกู้ เงินกนู้ ้นั อาจใหไ้ ดแ้ ก่
(1) สมาชิกของสหกรณ์
(2) สหกรณ์อื่น
การใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชิกน้นั ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการมีอานาจพจิ ารณาวนิ ิจฉยั ใหเ้ งินกไู้ ด้
ตามขอ้ บงั คบั น้ีและตามระเบียบของสหกรณ์
ขอ้ กาหนดตา่ งๆ เกี่ยวกบั หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาวินิจฉยั ใหเ้ งินกู้ หลกั ประกนั สาหรับเงินกู้
ลาดบั แห่งการใหก้ ู้ เงินงวดชาระหน้ีสาหรับเงินกู้ และขอ้ กาหนดอื่นๆ วา่ ดว้ ยการใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชิกน้นั
ใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
การใหเ้ งินกแู้ ก่สหกรณ์อื่นน้นั คณะกรรมการดาเนินการจะพจิ ารณาใหก้ ไู้ ดต้ ่อเมื่อสหกรณ์
มีเงินทุนเหลือจากการใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชิกแลว้ ท้งั น้ีตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์
สมาชิก หรือสหกรณ์อื่นซ่ึงประสงคจ์ ะขอกเู้ งินจากสหกรณ์น้ี ตอ้ งเสนอคาขอกตู้ ามแบบท่ี
สหกรณ์ท่ีกาหนด
ข้อ14. ความมุ่งหมายแห่งเงินกู้ เงินกซู้ ่ึงใหแ้ ก่สมาชิกไม่วา่ ประเภทใดๆ จะใหไ้ ดแ้ ต่
เฉพาะเพ่ือการอนั จาเป็น หรือมีประโยชน์ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควร
ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการสอดส่อง และกวดขนั การใชเ้ งินกขู้ องสมาชิกใหต้ รงตามความ
มุ่งหมายท่ีใหเ้ งินกนู้ ้นั
*ขอ้ 12 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ.2563
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 7
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ข้อ15. ประเภทแห่งเงนิ กู้ สหกรณ์อาจใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชิกไดต้ ามประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) เงินก้เู พอ่ื เหตุฉุกเฉิน ในกรณีที่สมาชิกมีเหตุฉุกเฉิน หรือเหตุอนั จาเป็ นรีบด่วน
และมีความประสงคข์ อกเู้ งิน คณะกรรมการดาเนินการอาจใหเ้ งินกเู้ พ่ือเหตุน้นั ไดต้ ามระเบียบของ
สหกรณ์
(2) เงนิ กู้สามัญ ในกรณีที่สมาชิกมีความประสงคข์ อกเู้ งินสาหรับใชจ้ ่ายเพ่อื การ
อนั จาเป็ น หรือมีประโยชน์ต่างๆ คณะกรรมการดาเนินการอาจพิจารณาใหเ้ งินกสู้ ามญั แก่สมาชิกน้นั ได้
ตามระเบียบของสหกรณ์
(3) เงนิ ก้พู เิ ศษ เม่ือสหกรณ์มีฐานะการเงินกา้ วหนา้ พอที่จะช่วยเหลือใหเ้ งินกเู้ พ่ือ
ส่งเสริมฐานะความมน่ั คง หรือเพือ่ การเคหะ หรือก่อประโยชนง์ อกเงยแก่สมาชิกได้ คณะกรรมการ
ดาเนินการอาจใหเ้ งินกพู้ ิเศษแก่สมาชิกน้นั ไดต้ ามที่เห็นสมควร โดยผขู้ อกตู้ อ้ งระบุความมุ่งหมายแต่ละ
อยา่ งของเงินกปู้ ระเภทน้ีตลอดจนเง่ือนไขและวธิ ีการ และตอ้ งมีหลกั ประกนั ตามที่กาหนดไวใ้ น
ระเบียบของสหกรณ์
ข้อ16. ดอกเบยี้ เงินกู้ ใหส้ หกรณ์เรียกดอกเบ้ียเงินกทู้ ุกประเภทท่ีใหแ้ ก่สมาชิกในอตั รา
ตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
*ข้อ 17.การควบคุมหลกั ประกนั และการเรียกคืนเงินกู้ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการตรวจ
ตราควบคุมให้เงินกทู้ ุกรายมีหลกั ประกนั ตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์ และเมื่อ
คณะกรรมการดาเนินการเห็นวา่ หลกั ประกนั สาหรับเงินกรู้ ายใดบกพร่องผกู้ จู้ ะตอ้ งจดั การแกไ้ ขใหค้ ืนดี
ภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการดาเนินการกาหนด
ในกรณีอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดดงั ต่อไปน้ีใหถ้ ือวา่ เงินกไู้ ม่วา่ ประเภทใดๆ เป็นอนั ถึงกาหนดส่งคืน
โดยสิ้นเชิงพร้อมท้งั ดอกเบ้ียในทนั ที โดยมิตอ้ งคานึงถึงกาหนดเวลาที่ใหไ้ ว้ และใหค้ ณะกรรมการ
ดาเนินการจดั การเรียกคืนโดยมิชกั ชา้
(1) เมื่อสมาชิกผกู้ อู้ อกจากสหกรณ์ไม่วา่ เพราะเหตุใดๆ
(2) เม่ือปรากฏตอ่ คณะกรรมการดาเนินการวา่ ผกู้ นู้ าเงินกไู้ ปใชผ้ ดิ ความมุง่ หมายท่ี
ใหเ้ งินกนู้ ้นั
(3) เมื่อคณะกรรมการดาเนินการเห็นวา่ หลกั ประกนั สาหรับเงินกรู้ ายใดเกิด
บกพร่อง และผกู้ มู้ ิไดจ้ ดั การแกไ้ ขใหค้ ืนดีภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการดาเนินการกาหนด
*ขอ้ 17 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2553
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 8
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(4) เม่ือคา้ งส่งเงินงวดชาระหน้ีไมว่ า่ ตน้ เงิน หรือดอกเบ้ียติดต่อกนั เป็นเวลาถึง
สองเดือน หรือผดิ นดั การส่งเงินงวดชาระหน้ีดงั วา่ น้นั ถึงสามคราวสาหรับเงินกรู้ ายหน่ึงๆ เวน้ แต่
สมาชิกท่ีไดร้ ับการผอ่ นผนั จากคณะกรรมการดาเนินการตามระเบียบวา่ ดว้ ยการใหเ้ งินกแู้ ละดอกเบ้ีย
เงินกู้
ในกรณีท่ีผคู้ ้าประกนั จะตอ้ งรับผดิ ชาระหน้ีแทนผกู้ ตู้ ามท่ีกล่าวในวรรคก่อน และไมส่ ามารถ
ชาระหน้ีน้นั โดยสิ้นเชิงได้ เม่ือผคู้ ้าประกนั ร้องขอ คณะกรรมการดาเนินการอาจผอ่ นผนั ใหผ้ คู้ ้า
ประกนั ชาระเป็ นงวดรายเดือนจนครบจานวนตามท่ีผกู้ ไู้ ดก้ เู้ งินจากสหกรณ์กไ็ ด้
ข้อ18. ความผกู พนั ของผ้กู ู้และผู้คา้ ประกนั ผกู้ หู้ รือผคู้ ้าประกนั ตอ้ งรับผกู พนั วา่ ถา้ ตน
ประสงคจ์ ะขอโอน หรือยา้ ย หรือลาออกจากหน่วยงาน หรืองานประจาตามขอ้ 31 (3) จะตอ้ งแจง้ เป็ น
หนงั สือใหส้ หกรณ์ทราบ และจดั การชาระหน้ีสินซ่ึงตนมีอยตู่ อ่ สหกรณ์ใหเ้ สร็จสิ้นเสียก่อน (เวน้ แต่
กรณีท่ียงั คงเป็นสมาชิกอยตู่ ามขอ้ 43)
การฝากหรือลงทนุ เงินของสหกรณ์
ข้อ19. การฝากหรือลงทุนเงินของสหกรณ์ เงินของสหกรณ์น้นั สหกรณ์อาจฝาก หรือลงทุน
ไดต้ ามท่ีกาหนดไวใ้ นวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์ภายใตก้ ฎหมายวา่ ดว้ ยสหกรณ์ โดยใหค้ านึงถึงความ
มน่ั คงและประโยชน์สูงสุดที่สหกรณ์หรือสมาชิกจะไดร้ ับ
การเงนิ และการบญั ชีของสหกรณ์
ข้อ20. การบญั ชีของสหกรณ์ ใหส้ หกรณ์จดั ทาบญั ชีตามหลกั การบญั ชีท่ีรับรองทวั่ ไปวนั สิ้น
ปี ทางบญั ชีของสหกรณ์ใหส้ ิ้นสุด ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม ของทุกปี
เมื่อสิ้นปี ทางบญั ชีทุกปี ใหส้ หกรณ์จดั ทางบรวมท้งั บญั ชีกาไรขาดทุน ตามแบบที่นาย
ทะเบียนสหกรณ์กาหนด
*ข้อ 21.การเสนองบการเงนิ ประจาปี ต่อทปี่ ระชุมใหญ่ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการเสนอ
งบการเงินประจาปี ซ่ึงผสู้ อบบญั ชีไดต้ รวจสอบแลว้ เสนอต่อที่ประชุมใหญ่เพื่อพิจารณาอนุมตั ิภายใน
หน่ึงร้อยหา้ สิบวนั นบั แต่วนั สิ้นปี ทางบญั ชี
การเสนองบการเงินประจาปี ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการเสนอรายงานประจาปี แสดงผลการ
ดาเนินงานของสหกรณ์ต่อท่ีประชุมใหญ่ดว้ ย
ใหส้ หกรณ์ส่งสาเนางบการเงินประจาปี ท่ีเสนอต่อที่ประชุมใหญ่น้นั ไปยงั สมาชิกทุกคน และ
เปิ ดเผยไว้ ณ สานกั งานสหกรณ์ก่อนวนั ประชุมใหญ่ไม่นอ้ ยกวา่ เจด็ วนั
*ขอ้ 21 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 9
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ใหส้ หกรณ์ส่งสาเนารายงานประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์กบั งบการเงิน
ประจาปี ไปยงั นายทะเบียนสหกรณ์ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ที่มีการประชุมใหญ่
อน่ึง ใหเ้ กบ็ รักษารายงานประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์กบั งบการเงินประจาปี
ไวท้ ่ีสานกั งานสหกรณ์เพ่ือใหส้ มาชิกขอตรวจดูได้
กาไรสุทธปิ ระจาปี
*ข้อ 22. การจัดสรรกาไรสุทธิประจาปี เมื่อสิ้นปี ทางบญั ชีและไดป้ ิ ดบญั ชีตามมาตรฐานการ
บญั ชีท่ีรับรองโดยทวั่ ไปปรากฏวา่ สหกรณ์มีกาไรสุทธิใหจ้ ดั สรรเป็นทุนสารองไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละสิบ
ของกาไรสุทธิ และเป็นค่าบารุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยร้อยละหน่ึงของกาไรสุทธิ แต่ตอ้ ง
ไม่เกินอตั ราท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
กาไรสุทธิประจาปี ท่ีเหลือจากการจดั สรรตามความในวรรคก่อนน้นั ที่ประชุมใหญ่อาจจดั สรร
ไดด้ งั ต่อไปน้ี
(1) เป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ชาระแลว้ ใหแ้ ก่สมาชิกแตล่ ะคน ในอตั ราไม่เกินท่ี
กาหนดในกฎกระทรวง โดยคิดใหต้ ามส่วนแห่งระยะเวลา อน่ึง ถา้ สหกรณ์ถอนทุนรักษาระดบั อตั รา
เงินปันผลตาม (4) ออกจ่ายเป็นเงินปันผลสาหรับปี ใดดว้ ยจานวนเงินปันผลท้งั สิ้นท่ีจ่ายสาหรับปี น้นั ก็
ตอ้ งไมเ่ กินอตั ราดงั กล่าวมาแลว้
(2) เป็นเงินเฉลี่ยคืนใหแ้ ก่สมาชิกตามส่วนจานวนรวมแห่งดอกเบ้ียเงินกู้ ซ่ึงสมาชิก
น้นั ๆ ไดส้ ่งแก่สหกรณ์ในระหวา่ งปี แตส่ มาชิกท่ีสมาชิกท่ีผดิ นดั การส่งเงินงวดชาระหน้ีไม่วา่ ตน้ เงิน
หรือดอกเบ้ียในปี ใด มิไดร้ ับเงินเฉล่ียคืนสาหรับปี น้นั ยกเวน้ สมาชิกท่ีไดร้ ับการผอ่ นผนั จาก
คณะกรรมการดาเนินการตามระเบียบวา่ ดว้ ยการใหเ้ งินกแู้ ละดอกเบ้ียเงินกู้
(3) เป็นเงินโบนสั แก่กรรมการและพนกั งานของสหกรณ์ไม่เกินร้อยละสิบของ
กาไรสุทธิ
(4) เป็นทุนรักษาระดบั อตั ราเงินปันผลไม่เกินร้อยละสองแห่งทุนเรือนหุน้ ของ
สหกรณ์ตามท่ีมีอยใู่ นวนั สิ้นปี น้นั ทุนรักษาระดบั อตั ราเงินปันผลน้ีจะถอนไดโ้ ดยมติแห่งท่ีประชุมใหญ่
เพือ่ จ่ายเป็ นเงินปันผลตามหุ้นตาม (1)
(5) เป็นทุนสาธารณประโยชนไ์ ม่เกินร้อยละสิบของกาไร ทุนสาธารณประโยชนน์ ้ี
ใหส้ หกรณ์สะสมไวส้ าหรับใชจ้ ่ายเพื่อการศึกษาโดยทวั่ ไป หรือเพอื่ การศึกษาอบรมทางสหกรณ์ หรือ
สาธารณประโยชน์ หรือการกุศลตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
*ขอ้ 22 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2553 (คร้ังท่ี1), (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ.2555 (คร้ังท่ี2), (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.2561 (คร้ังที่ 3)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 10
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(6) เป็นทุนส่งเสริมสวสั ดิการแก่สมาชิกไม่เกินร้อยละสิบของกาไรสุทธิ
(7) เป็นทุนเพ่ือจดั ต้งั สานกั งานหรือกองทุนตา่ งๆ เพ่ือเป็ นสวสั ดิการและเสริมสร้าง
ความมนั่ คงใหแ้ ก่สหกรณ์ไม่เกินร้อยละสิบของกาไรสุทธิ
(8) กาไรสุทธิส่วนที่เหลือ (ถา้ มี) ใหส้ มทบเป็นทุนสารองท้งั สิ้น
ทุนสารอง
ข้อ23. ทม่ี าแห่งทุนสารอง นอกจากจดั สรรจากกาไรสุทธิตามขอ้ 22 แลว้ บรรดาเงิน
อุดหนุน หรือทรัพยส์ ินที่มีผยู้ กใหแ้ ก่สหกรณ์ ถา้ ผยู้ กใหม้ ิไดร้ ะบุวา่ ใหใ้ ชเ้ พ่ือการใดโดยเฉพาะก็ให้
สมทบเป็นทุนสารองท้งั สิ้น
อน่ึง จานวนเงินซ่ึงสหกรณ์พงึ จา่ ยแก่บุคคลใดก็ตาม ถา้ ไม่มีการเรียกร้องจนพน้ กาหนดอายุ
ความก็ใหส้ มทบจานวนเงินน้นั เป็นทุนสารอง
กาไรสุทธิประจาปี ของสหกรณ์ซ่ึงคณะกรรมการดาเนินการเสนอแนะใหท้ ่ีประชุมใหญ่
จดั สรรตามขอ้ 22 หากท่ีประชุมใหญพ่ ิจารณาแลว้ เห็นวา่ รายการใดไม่สมควรจดั สรรหรือตดั จานวนให้
นอ้ ยลงกด็ ี ยอดเงินจานวนดงั กล่าวใหส้ มทบเป็นทุนสารอง หรือทุนสาธารณประโยชน์ หรือ
เงินกองทุนบาเหน็จสมาชิก
ข้อ24. สภาพแห่งทุนสารอง ทุนสารองยอ่ มเป็นของสหกรณ์โดยส่วนรวม สมาชิกจะ
แบง่ ปันกนั ไมไ่ ด้ หรือจะเรียกร้องแมส้ ่วนใดส่วนหน่ึงก็ไม่ได้
ทุนสารองน้ีจะถอนไดก้ แ็ ตเ่ พื่อชดเชยการขาดทุนอนั หากบงั เกิดข้ึนเทา่ น้นั
ทะเบยี น บญั ชี และเอกสารอนื่ ๆ
ข้อ 25. ทะเบียน และบัญชี ใหส้ หกรณ์มีทะเบียนสมาชิก ทะเบียนหุน้ และทะเบียนอ่ืนๆ
ตลอดจนสมุดรายงานการประชุม และบญั ชีตามแบบท่ีนายทะเบียนสหกรณ์กาหนด และตามท่ี
คณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควรใหม้ ีข้ึน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนสมาชิก หรือทะเบียนหุน้ ใหส้ หกรณ์แจง้ การ
เปล่ียนแปลงตอ่ นายทะเบียนสหกรณ์ภายในสามสิบวนั นบั ต้งั แต่วนั สิ้นปี ทางบญั ชีสหกรณ์
สมาชิกอาจขอตรวจดูเอกสารดงั กล่าวในวรรคก่อนได้ ณ สานกั งานของสหกรณ์ในระหวา่ ง
เวลาทางาน แต่จะดูบญั ชี หรือทะเบียนเก่ียวกบั เงินคา่ หุ้น เงินฝาก หรือเงินกขู้ องสมาชิกรายอ่ืนไม่ได้
นอกจากจะไดร้ ับความยนิ ยอมเป็นหนงั สือของสมาชิกน้นั และไดร้ ับอนุญาตจากผจู้ ดั การก่อน
ข้อ 26. กฎหมาย และข้อบังคับ ใหส้ หกรณ์จดั ใหม้ ีพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์และกฎกระทรวง
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ซ่ึงคงใชอ้ ยกู่ บั ขอ้ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ์น้ี ไว้ ณ
สานกั งานของสหกรณ์ สมาชิกและผสู้ นใจอาจขอตรวจดูได้ โดยไมต่ อ้ งเสียคา่ ธรรมเนียม
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 11
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
การตรวจสอบบัญชีและการกากบั ดูแลสหกรณ์
ข้อ 27. การตรวจสอบบญั ชี บญั ชีของสหกรณ์น้นั ตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบอยา่ งนอ้ ยปี
ละคร้ัง โดยผสู้ อบบญั ชีซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์แตง่ ต้งั
*ข้อ 28. การกากบั ดูแลสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์ รองนายทะเบียนสหกรณ์ ผตู้ รวจการ
สหกรณ์ ผสู้ อบบญั ชี หรือพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมาย มีอานาจออกคาสัง่ เป็ น
หนงั สือใหค้ ณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ คณะกรรมการอ่ืน ผตู้ รวจสอบกิจการ ผจู้ ดั การ
เจา้ หนา้ ที่ และสมาชิกของสหกรณ์ หรือเชิญบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สหกรณ์มาช้ีแจงขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั
กิจการของสหกรณ์ หรือใหส้ ่งเอกสารเกี่ยวกบั การดาเนินงาน หรือรายงานการประชุมได้ ท้งั อาจเขา้
ร่วมประชุมใหญ่ หรือประชุมคณะกรรมการดาเนินการ หรือประชุมคณะกรรมการอ่ืนๆ ตลอดจน
ตรวจสอบ สรรพสมุดบญั ชี ทะเบียน เอกสารและใบสาคญั ตา่ งๆ ของสหกรณ์ได้
ท้งั น้ี ใหผ้ ซู้ ่ึงเก่ียวขอ้ งตามความในวรรคแรก อานวยความสะดวกและช้ีแจงขอ้ ความในเร่ือง
เกี่ยวกบั กิจการของสหกรณ์ใหท้ ราบตามความประสงค์
ข้อ 29. การส่งรายการหรือรายงาน ใหส้ หกรณ์ส่งรายการ หรือรายงานเก่ียวกิจกิจการของ
สหกรณ์ต่อหน่วยงานที่กากบั ดูแลตามแบบ และระยะเวลาท่ีหน่วยงานน้นั กาหนด
หมวด 5
สมาชิก
ข้อ30. สมาชิก สมาชิกสหกรณ์น้ีคือ
(1) ผลู้ งชื่อขอจดทะเบียนสหกรณ์และผมู้ ีรายช่ืออยใู่ นบญั ชีรายช่ือซ่ึงจะเป็นสมาชิก
ของสหกรณ์
(2) ผไู้ ดร้ ับเลือกเขา้ เป็ นสมาชิกตามขอ้ บงั คบั
*ข้อ 31.คุณสมบตั ิของสมาชิก สมาชิกตอ้ งมีคุณสมบตั ิดงั น้ี
(1) เป็นผเู้ ห็นชอบในวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
(2) เป็นบุคคลธรรมดาที่บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทย
*ขอ้ 28 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
*ขอ้ 31 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2546 (คร้ังท่ี1), (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ.2563 (คร้ังท่ี2)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 12
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(3) เป็นพนกั งานประจา หรือกรรมการบริหาร หรือท่ีปรึกษาของโรงพยาบาล
หวั เฉียว หรือมหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ หรือสหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลหวั เฉียว จากดั
หรือสถานประกอบการพยาบาลอื่นใด ที่มีพ้ืนท่ีต้งั อยภู่ ายในโรงพยาบาลหวั เฉียว และมีสถานภาพการ
เป็นพนกั งานประจาของสถานประกอบการน้นั ๆ หรือมลู นิธิป่ อเตก็ ต๊ึง
(4) เป็นผมู้ ีความประพฤติและนิสยั ดีงาม
(5) มิไดเ้ ป็นสมาชิกในสหกรณ์ออมทรัพยอ์ ่ืนท่ีมีวตั ถุประสงคใ์ นการใหก้ ยู้ มื เงินอื่น
ข้อ32. การเข้าเป็ นสมาชิก ผสู้ มคั รเป็ นสมาชิกตามขอ้ บงั คบั รวมท้งั สมาชิกสหกรณ์
ออมทรัพยอ์ ื่น ซ่ึงประสงคจ์ ะขอเขา้ เป็ นสมาชิก ตามขอ้ 36 ตอ้ งยน่ื ใบสมคั รถึงสหกรณ์ตามแบบที่
กาหนดไว้
เม่ือคณะกรรมการดาเนินการไดส้ อบสวนพจิ ารณา ปรากฏวา่ ผสู้ มคั รมีคุณสมบตั ิถูกตอ้ งที่
กาหนดไวใ้ นขอ้ 31 ท้งั เห็นเป็นการสมควรแลว้ ก็ใหร้ ับเขา้ เป็นสมาชิกได้ แลว้ เสนอเรื่องการรับสมาชิก
เขา้ ใหมใ่ หท้ ี่ประชุมใหญ่คราวถดั ไปทราบ
ถา้ คณะกรรมการดาเนินการไมย่ อมรับผสู้ มคั รเขา้ เป็ นสมาชิกดว้ ยเหตุใดๆ เมื่อผสู้ มคั รร้อง
ขอกใ็ หค้ ณะกรรมการดาเนินการนาเรื่องเสนอที่ประชุมใหญ่เพ่ือวนิ ิจฉยั ช้ีขาด มติแห่งที่ประชุมใหญใ่ ห้
รับเขา้ เป็ นสมาชิกในกรณีดงั วา่ น้ี ตอ้ งมีคะแนนเสียงไมน่ อ้ ยกวา่ สองในสามแห่งจานวนสมาชิกที่มา
ประชุม
ข้อ33. ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผเู้ ขา้ เป็นสมาชิกจะตอ้ งชาระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ใหแ้ ก่
สหกรณ์ คนละ 50 บาท คา่ ธรรมเนียมแรกเขา้ น้ีใหถ้ ือเป็ นรายไดข้ องสหกรณ์จะเรียกคืนไมไ่ ด้
ข้อ34. การได้สิทธิในฐานะสมาชิก ผเู้ ขา้ เป็นสมาชิกตอ้ งลงลายมือชื่อของตนในทะเบียน
สมาชิกกบั ชาระคา่ ธรรมเนียมแรกเขา้ และค่าหุน้ ตามขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์ให้เสร็จภายในระยะเวลา
คณะกรรมการดาเนินการกาหนด เม่ือไดป้ ฏิบตั ิดงั น้ีแลว้ จึงจะถือวา่ ไดส้ ิทธิในฐานะสมาชิก
สิทธิของสมาชิก มดี ังนี้
(1) เขา้ ร่วมประชุมใหญ่ เพ่ือเสนอความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน
(2) เขา้ ชื่อเรียกประชุมใหญ่วสิ ามญั
(3) ไดร้ ับเลือกต้งั เป็นกรรมการดาเนินการ และผตู้ รวจสอบกิจการ
(4) ไดร้ ับบริการทางธุรกิจ และทางวชิ าการจากสหกรณ์
(5) สิทธิอ่ืนๆ ตามที่กาหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ์
หน้าท่ีของสมาชิก มีดงั นี้
(1) ปฏิบตั ิตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั และมติของสหกรณ์
(2) เขา้ ประชุมทุกคร้ังตามที่สหกรณ์นดั หมาย
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 13
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(3) ส่งเสริมสนบั สนุนกิจการของสหกรณ์ เพอื่ ใหเ้ ป็ นองคก์ รท่ีเขม็ แขง็
(4) สอดส่องดูแลกิจการสหกรณ์
(5) ร่วมมือกบั คณะกรรมการดาเนินการ เพ่ือพฒั นาสหกรณ์ใหเ้ จริญรุ่งเรืองและมนั่ คง
ข้อ35. สมาชิกย้ายสังกดั สมาชิกท่ียา้ ย หรือโอนไปรับหนา้ ท่ีในสังกดั อ่ืน และประสงค์
จะสมคั รเขา้ เป็ นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพยซ์ ่ึงต้งั ข้ึนในสงั กดั น้นั หากสหกรณ์น้นั มีขอ้ บงั คบั ให้
รับเขา้ เป็ นสมาชิกได้ และคณะกรรมการดาเนินการไดม้ ีมติใหร้ ับเขา้ เป็นสมาชิกแลว้ ถา้ สมาชิกน้นั มี
ความประสงคจ์ ะใหโ้ อนเงินคา่ หุน้ เงินกทู้ ่ีตนมีอยใู่ นสหกรณ์น้ีไปยงั สหกรณ์ที่ตนไดไ้ ปเขา้ เป็นสมาชิก
ใหม่ สหกรณ์ก็จะจดั การโอนเงินค่าหุน้ เงินกู้ และเงินฝาก (ถา้ มี) ท่ีสมาชิกน้นั มีอยตู่ ่อสหกรณ์ให้
ตามวธิ ีการที่ไดก้ าหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
ข้อ36. การรับโอนสมาชิกสหกรณ์อนื่ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพยอ์ ่ืนซ่ึงยา้ ยหรือโอนมา
รับหนา้ ท่ีในหน่วยงานสงั กดั ตามขอ้ 31 (3) หากประสงคจ์ ะสมคั รเขา้ เป็ นสมาชิกกใ็ หย้ น่ื ใบสมคั รถึง
สหกรณ์ตามท่ีกาหนดไวใ้ น ขอ้ 32 และจะไดส้ ิทธิในฐานะสมาชิกตามขอ้ 34 ต้งั แต่วนั ท่ีไดล้ งลายมือ
ช่ือในทะเบียนสมาชิกกบั ไดช้ าระคา่ ธรรมเนียมแรกเขา้ และสหกรณ์ท่ีตนเป็ นสมาชิกอยเู่ ดิมน้นั ไดโ้ อน
เงินคา่ หุน้ ใหส้ หกรณ์น้ีแลว้
การรับโอนเงินค่าหุน้ และการปฏิบตั ิเก่ียวกบั หน้ีสินท่ีมีอยใู่ นสหกรณ์เดิมน้นั ใหเ้ ป็นไป
ตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
ข้อ37. การเปลยี่ นแปลงช่ือ สัญชาติ และทอี่ ยู่ สมาชิกคนใดมีการเปล่ียนแปลงในเรื่องช่ือ
นามสกุล สญั ชาติ และท่ีอยู่ ตอ้ งแจง้ ใหส้ หกรณ์ทราบภายในสิบหา้ วนั นบั แต่วนั ที่มีการเปล่ียนแปลง
การต้ังผู้รับโอนประโยชน์
ข้อ38. การต้งั ผู้รับโอนประโยชน์ สมาชิกอาจทาหนงั สือแต่งต้งั บุคคลหน่ึงหรือหลายคน
เพอ่ื ใหเ้ ป็ นผรู้ ับโอนประโยชน์ซ่ึงตนมีอยใู่ นสหกรณ์ ในเมื่อตนตอ้ งตายมอบใหส้ หกรณ์ถือไวก้ ไ็ ด้
หนงั สือต้งั ผรู้ ับโอนประโยชนด์ งั วา่ น้ีตอ้ งเป็นไปตามที่สหกรณ์กาหนดหรือทาตามลกั ษณะพินยั กรรม
ถา้ สมาชิกประสงคจ์ ะเพกิ ถอน หรือเปล่ียนแปลงการต้งั ผรู้ ับโอนประโยชน์ท่ีไดท้ าไวแ้ ลว้
ตอ้ งทาเป็ นหนงั สือตามลกั ษณะดงั กล่าวมอบใหส้ หกรณ์
เม่ือสมาชิกตาย สหกรณ์จะจ่ายค่าหุน้ เงินรับฝาก เงินปันผล เงินเฉล่ียคืน และดอกเบ้ียบรรดา
ที่สมาชิกน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์คืนใหแ้ ก่ผรู้ ับโอนประโยชน์ที่ไดต้ ้งั ไว้ หรือถา้ มิไดต้ ้งั ไว้ กค็ ืนใหแ้ ก่บุคคล
ท่ีไดน้ าหลกั ฐานมาแสดงใหเ้ ป็นที่พอใจคณะกรรมการดาเนินการวา่ เป็นทายาทผมู้ ีสิทธิไดร้ ับเงิน
จานวนดงั กล่าวน้นั ท้งั น้ี ตามขอ้ บงั คบั กาหนดในขอ้ 44 และขอ้ 45
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 14
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
การขาดจากสมาชิกภาพ
ข้อ39. การขาดจากสมาชิกภาพ สมาชิกยอ่ มขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุใดๆ ดงั น้ี
(1) ตาย
(2) ลาออกจากสหกรณ์
(3) วกิ ลจริต
(4) ตอ้ งคาพพิ ากษาใหล้ ม้ ละลาย
(5) ถูกออกจากหน่วยงานตามขอ้ 31 (3) โดยมีความผดิ
(6) ถูกใหอ้ อกจากสหกรณ์
ข้อ40. การลาออกจากสหกรณ์ สมาชิกผไู้ มม่ ีหน้ีสินอยตู่ ่อสหกรณ์ในฐานะผกู้ หู้ รือผคู้ ้า
ประกนั อาจลาออกจากสหกรณ์ได้ โดยแสดงความจานงเป็นหนงั สือตอ่ คณะกรรมการดาเนินการ และ
เมื่อคณะกรรมการดาเนินการไดส้ อบสวนพจิ ารณาเห็นวา่ เป็นการชอบดว้ ยขอ้ บงั คบั และอนุญาตแลว้
จึงถือวา่ ออกจากสหกรณ์ได้
คณะกรรมการดาเนินการอาจมอบหมายใหป้ ระธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ
หรือกรรมการดาเนินการ หรือผจู้ ดั การสอบสวนพจิ ารณา หากเห็นวา่ เป็ นการชอบดว้ ยขอ้ บงั คบั ก็ให้
ถือวา่ ออกจากสหกรณ์ตามความในวรรคก่อนได้ แลว้ ใหเ้ สนอคณะกรรมการดาเนินการทราบในการ
ประชุมคณะกรรมการดาเนินการคราวถดั ไป
ข้อ41. การให้ออกจากสหกรณ์ สมาชิกอาจถูกใหอ้ อกจากสหกรณ์เพราะเหตุอยา่ งหน่ึง
อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
(1) ไม่ลงลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก หรือไมช่ าระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ หรือไม่
ถือหุน้ คร้ังแรกตามขอ้ 34
(2) ขาดส่งเงินค่าหุน้ รายเดือนถึงสามงวดติดต่อกนั หรือขาดส่งรวมถึงหกงวด
ท้งั น้ีโดยมิไดร้ ับอนุญาตจากคณะกรรมการดาเนินการ
(3) นาเงินกไู้ ปใชผ้ ดิ ความมุง่ หมายที่ใหเ้ งินกนู้ ้นั
(4) ไมจ่ ดั การแกไ้ ขหลกั ประกนั สาหรับเงินกทู้ ี่เกิดบกพร่องใหค้ ืนดีภายใน
ระยะเวลาที่คณะกรรมการดาเนินการกาหนด
(5) คา้ งส่งเงินงวดชาระหน้ี ไม่วา่ ตน้ เงิน หรือดอกเบ้ียเป็นเวลาถึงสองเดือน
ติดต่อกนั หรือผดิ นดั การส่งเงินงวดชาระหน้ีดงั วา่ น้นั ถึงสามคราวสาหรับเงินกูร้ ายหน่ึงๆ
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 15
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(6) ไมใ่ หค้ วามอนั เป็นจริงเก่ียวกบั หน้ีสินของตนแก่สหกรณ์เมื่อสมคั รเขา้ เป็น
สมาชิก หรือเม่ือจะก่อความผกู พนั ในหน้ีสินตอ่ สหกรณ์ในฐานะผกู้ หู้ รือผคู้ ้าประกนั หรือเมื่อมีความ
ผกู พนั ในหน้ีสินต่อสหกรณ์อยแู่ ลว้
(7) จงใจฝ่ าฝืนขอ้ บงั คบั หรือระเบียบ หรือมติของสหกรณ์ หรือมีพฤติการณ์ใดๆ
อนั เป็ นเหตุใหเ้ ห็นวา่ ไม่ซื่อสัตยส์ ุจริต หรือแสดงตนเป็ นปฏิปักษต์ ่อสหกรณ์ไม่วา่ โดยประการใดๆ
เม่ือคณะกรรมการดาเนินการไดส้ อบสวนพิจารณา ปรากฏสมาชิกมีเหตุใดๆ ดงั กล่าวขา้ งตน้
น้ี และไดล้ งมติใหส้ มาชิกออกโดยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกวา่ สองในสามแห่งจานวนกรรมการดาเนินการ
ที่ประชุมแลว้ กเ็ ป็นอนั ถือวา่ สมาชิกน้นั ถูกใหอ้ อกจากสหกรณ์
สมาชิกที่ถูกใหอ้ อกจากสหกรณ์มีสิทธิยนื่ อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการดาเนินการภายในสามสิบ
วนั นบั แต่วนั ท่ีทราบการให้ออก และใหค้ ณะกรรมการดาเนินการนาเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ คาวนิ ิจฉยั
ของท่ีประชุมใหญ่ใหถ้ ือเป็ นท่ีสุด
ข้อ42. การขดี ชื่อสมาชิกออกจากทะเบียน ในกรณีท่ีสมาชิกออกจากสหกรณ์ไมว่ า่
เพราะเหตุใดๆ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการขีดชื่อออกจากทะเบียน
*ข้อ 43.สมาชิกทโ่ี อน หรือย้าย หรือออกจากงานประจาโดยไม่มคี วามผดิ สมาชิกท่ีโอน
หรือยา้ ยออกจากหน่วยงานตามขอ้ 31 (3) โดยไมม่ ีความผดิ เวน้ แต่ออกเพราะตาย หรือวกิ ลจริต หรือ
ตอ้ งคาพิพากษาใหล้ ม้ ละลาย ถา้ มิไดอ้ อกจากสหกรณ์ดว้ ย กใ็ หถ้ ือวา่ คงเป็นสมาชิกอยู่ โดยมิตอ้ งส่ง
เงินค่าหุน้ รายเดือนตอ่ ไปอีกกไ็ ด้ ท้งั น้ีจะตอ้ งเป็ นไปตามเง่ือนไขการงดส่งคา่ หุน้ ในขอ้ 7 สมาชิกเช่นวา่
น้นั อาจไดร้ ับเงินกจู้ ากสหกรณ์ไดต้ ามระเบียบวา่ ดว้ ยเงินกขู้ องสหกรณ์ที่ใชบ้ งั คบั อยใู่ นปัจจุบนั
ข้อ44. การจ่ายคนื จานวนเงินของสมาชิกทข่ี าดจากสมาชิกภาพ ในกรณีที่สมาชิกขาด
จากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 39 (1), (2), หรือ (3) น้นั สหกรณ์จะจ่ายค่าหุน้ เงินปันผล และเงิน
เฉลี่ยคืนคา้ งจ่ายบรรดาที่สมาชิกน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์คืนใหแ้ ก่ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับ โดยเฉพาะเงินคา่ หุน้ น้นั ผมู้ ี
สิทธิไดร้ ับจะเรียกใหส้ หกรณ์จา่ ยคืนทนั ทีโดยไมม่ ีเงินปันผล หรือเงินเฉล่ียคืนสาหรับปี ที่ออกน้นั หรือ
จะเรียกใหจ้ า่ ยคืนหลงั จากวนั สิ้นปี ท่ีออก โดยไดร้ ับเงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืนสาหรับปี ที่ออกน้นั ดว้ ย
ในเม่ือท่ีประชุมใหญ่ไดม้ ีมติใหจ้ ดั สรรกาไรสุทธิประจาปี น้นั แลว้ ก็ไดส้ ุดแตจ่ ะเลือก ส่วนเงินฝาก และ
ดอกเบ้ียน้นั สหกรณ์จะจ่ายคืนใหต้ ามขอ้ กาหนดวา่ ดว้ ยการรับฝากเงินในขอ้ บงั คบั น้ี และระเบียบของ
สหกรณ์
*ขอ้ 43 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2553
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 16
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ถา้ ในปี ใด จานวนค่าหุน้ ที่ถอนคืนเน่ืองจากสมาชิกขาดจากสมาชิกภาพจะเกินร้อยละสิบแห่ง
ทุนเรือนหุน้ ของสหกรณ์ตามท่ีมีอยใู่ นวนั ตน้ ปี น้นั คณะกรรมการดาเนินการมีอานาจใหร้ อการจ่ายคืน
ค่าหุน้ ของสมาชิกท่ีขาดจากสมาชิกภาพรายตอ่ ไปในปี น้นั ไวจ้ นถึงปี ทางบญั ชีใหม่ แตเ่ ฉพาะสมาชิกที่
ขาดจากสมาชิกภาพเนื่องจากตนไดโ้ อน หรือยา้ ย หรือออกจากงานประจาตามขอ้ 31 (3) โดยไมม่ ี
ความผดิ น้นั คณะกรรมการดาเนินการอาจผอ่ นผนั เป็ นพเิ ศษ
ในกรณีท่ีสมาชิกขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 39 (4) สหกรณ์จะจา่ ยคืนค่าหุน้
และเงินปันผลและดอกเบ้ียคา้ งจา่ ยบรรดาที่สมาชิกน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์ใหต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยลม้ ละลาย
ในกรณีท่ีสมาชิกขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 39 (5) หรือ (6) น้นั สหกรณ์จะจ่ายคา่
หุน้ เงินปันผล เงินเฉล่ียคืนกบั ดอกเบ้ียคา้ งจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์คืนใหภ้ ายในเวลาอนั
สมควร โดยไม่มีเงินปันผล หรือเงินเฉล่ียคืน ต้งั แต่ประจาปี ท่ีออกจากสหกรณ์ หรือหากสมาชิกขอให้
จา่ ยคา่ หุน้ ภายหลงั วนั สิ้นปี โดยขอรับเงินปันผลในปี น้นั ภายหลงั ท่ีประชุมใหญ่ไดพ้ ิจารณาจดั สรรกาไร
สุทธิประจาปี กไ็ ด้ ส่วนเงินรับฝาก และดอกเบ้ียน้นั สหกรณ์จะจ่ายใหต้ ามขอ้ กาหนดวา่ ดว้ ยเงินรับฝาก
ในขอ้ บงั คบั น้ี และในระเบียบของสหกรณ์
ข้อ45. การหักจานวนเงนิ ซ่ึงสมาชิกต้องรับผดิ ต่อสหกรณ์ ในการจา่ ยคืนจานวนเงิน
ดงั กล่าวในขอ้ 44 น้นั สหกรณ์มีอานาจหกั จานวนเงินซ่ึงสมาชิกตอ้ งรับผดิ ต่อสหกรณ์ออกก่อน
ความรับผดิ เพอื่ หนีส้ ินของสหกรณ์
ข้อ 46. ความรับผดิ ของสมาชิก สมาชิกตอ้ งรับผดิ เพ่ือหน้ีสินของสหกรณ์จากดั เพยี งไม่
เกินจานวนเงินคา่ หุน้ ท่ียงั ส่งใชไ้ ม่ครบมลู ค่าหุน้ ท่ีตนถือ
หมวด 5/1
สมาชิกสมทบ
*ข้อ 46/1. สมาชิกสมทบ สหกรณ์อาจรับสมาชิกสมทบไดต้ ามที่เห็นสมควร โดยตอ้ ง
สมคั รเขา้ เป็ นสมาชิกสมทบดว้ ยความสมคั รใจ และมีความประสงคจ์ ะใชบ้ ริการตา่ งๆ ของสหกรณ์เป็น
ประจา
*ข้อ 46/2. คุณสมบัตขิ องสมาชิกสมทบ ผสู้ มคั รสมาชิกสมทบตอ้ งมีคุณสมบตั ิดงั น้ี
(1) เป็นผเู้ ห็นชอบในวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
*ขอ้ 46/1 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2550
*ขอ้ 46/2 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2550 (คร้ังท่ี1), (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ.2558 (คร้ังท่ี2), (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ.2561 (คร้ังท่ี3),
(ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ.2563 (คร้ังที่4)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 17
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(2) เป็นบุคคลธรรมดาที่บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทย
(3) เป็นบุตร คูส่ มรส หรือ บิดา มารดา ของสมาชิก หรือ
(4) เป็นลูกจา้ ง-พนกั งานชวั่ คราว ของโรงพยาบาลหวั เฉียว หรือมหาวทิ ยาลยั
หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ หรือสหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลหวั เฉียว จากดั หรือสถานประกอบการ
พยาบาลอื่นใด ที่มีพ้นื ท่ีต้งั อยภู่ ายในโรงพยาบาลหวั เฉียว หรือมลู นิธิป่ อเตก็ ต๊ึง หรือบุคคลในองคก์ ร
หรือหน่วยงานที่ขาดคุณสมบตั ิจะสมคั รเขา้ เป็นสมาชิกตามขอ้ บงั คบั
(5) เป็นผมู้ ีความประพฤตินิสยั ดีงาม
(6) เป็นผทู้ ี่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ระเบียบ มติ และคาสั่งของสหกรณ์
(7) มิไดเ้ ป็นสมาชิกในสหกรณ์ออมทรัพยอ์ ่ืนที่มีวตั ถุประสงคใ์ นการใหก้ ยู้ มื เงิน
*ข้อ 46/3. การได้เข้าเป็ นสมาชิกสมทบ ผปู้ ระสงคส์ มคั รเป็นสมาชิกสมทบตอ้ งยนื่ ใบ
สมคั รถึงสหกรณ์ตามที่กาหนดไว้ โดยตอ้ งมีสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลหวั เฉียว จากดั ไม่
นอ้ ยกวา่ 2 คนรับรอง เม่ือคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ไดส้ อบสวนพจิ ารณาเห็นวา่ ผสู้ มคั รมี
คุณสมบตั ิถูกตอ้ งกใ็ หร้ ับเขา้ เป็นสมาชิกสมทบได้ และตอ้ งจดั ให้ผสู้ มคั รไดล้ งลายมือชื่อในทะเบียน
สมาชิกสมทบกบั ชาระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ และคา่ หุน้ อยา่ งนอ้ ย 1 หุน้
เมื่อสมาชิกสมทบไดป้ ฏิบตั ิตามวรรคก่อนแลว้ ยอ่ มไดส้ ิทธิในฐานะสมาชิกสมทบ
เมื่อสมาชิกสมทบที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกสมทบแลว้ สองคร้ัง จะสมคั รเขา้ เป็ นสมาชิก
สมทบอีกไมไ่ ด้
*ข้อ 46/4. ค่าธรรมเนียมแรกเข้าของสมาชิกสมทบ ผสู้ มคั รเขา้ เป็นสมาชิกสมทบตอ้ ง
ชาระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ในวนั ท่ียน่ื ใบสมคั รเป็นสมาชิกจานวน 50 บาท (หา้ สิบบาทถว้ น)
ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ น้ีใหถ้ ือวา่ เป็นรายไดส้ หกรณ์ จะเรียกคืนไม่ไดไ้ ม่วา่ ดว้ ยกรณีใดๆ
*ข้อ 46/5. การให้บริการสมาชิก สมาชิกสมทบจะไดร้ ับบริการจากสหกรณ์ ตามท่ี
คณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควร แตท่ ้งั น้ีตอ้ งไมเ่ กินสิทธิ และหนา้ ท่ีตามท่ีกาหนดไวใ้ นขอ้ 46/6
*ข้อ 46/6. สิทธิและหน้าทข่ี องสมาชิกสมทบ
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสมทบ มีดังนี้
(1) มีสิทธิฝากเงินกบั สหกรณ์ไดท้ ุกประเภทตามระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์
โรงพยาบาลหวั เฉียว จากดั
(2) มีสิทธิกเู้ งินทุกประเภทจากสหกรณ์ รวมกนั ไดไ้ มเ่ กินมลู ค่าทุนเรือนหุน้ และ
เงินฝากของสมาชิกสมทบน้นั
*ขอ้ 46/3 – *ขอ้ 46/6 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2550
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 18
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(3) มีสิทธิเขา้ ร่วมสงั เกตการณ์ในการประชุมใหญ่
(4) ไดร้ ับสวสั ดิการและเขา้ รับการศึกษาอบรมตามระเบียบท่ีจะกาหนดเฉพาะ
แก่สมาชิกสมทบ
สมาชิกสมทบไม่ได้รับสิทธิ ดังต่อไปนี้
(1) ออกเสียงในเรื่องใดๆ
(2) นบั ช่ือเขา้ เป็ นองคป์ ระชุมในการประชุมใหญ่
(3) เป็นกรรมการดาเนินการสหกรณ์
หน้าทีข่ องสมาชิกสมทบ
(1) ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั มติ และคาสัง่ สหกรณ์
(2) ส่งเสริมสนบั สนุนกิจการของสหกรณ์ เพอ่ื ใหส้ หกรณ์เป็ นองคก์ รที่เขม็ แขง็
(3) ร่วมมือกบั คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ พฒั นาสหกรณ์ใหเ้ จริญรุ่งเรือง
และมนั่ คง
การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสมทบ
*ข้อ 46/7. การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบยอ่ มขาดจากสมาชิก
ภาพเพราะเหตุใด ๆ ดงั ต่อไปน้ี
(1) ตาย
(2) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(3) ตอ้ งคาพิพากษาใหล้ ม้ ละลาย
(4) ลาออกจากสหกรณ์ และไดร้ ับอนุญาตแลว้
(5) ถูกใหอ้ อกจากสหกรณ์
(6) เม่ือสมาชิกสามญั ขาดจากสมาชิกภาพ ตามขอ้ บงั คบั ชองสหกรณ์ฯ ขอ้ 39
*ข้อ 46/8. การลาออกจากสหกรณ์ของสมาชิกสมทบ ตามขอ้ 46/7 (4) สมาชิกสมทบอาจขอ
ลาออกจากสหกรณ์ โดยแสดงความจานงเป็ นหนงั สือต่อคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ และเม่ือ
คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ไดส้ อบสวนพิจารณาเห็นวา่ เป็นการชอบดว้ ยขอ้ บงั คบั และอนุญาต
แลว้ จึงถือวา่ ออกจากสหกรณ์ได้
*ขอ้ 46/7 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2550 (คร้ังท่ี 1), (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ.2558 (คร้ังที่2)
*ขอ้ 46/8 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2550
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 19
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
*ข้อ 46/9. การให้ออกจากสหกรณ์ของสมาชิกสมทบ ตามขอ้ 46/7 (5) สมาชิกสมทบอาจถูก
ใหอ้ อกจากสหกรณ์เพราะเหตุใดๆ ดงั ต่อไปน้ี
(1) ไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ระเบียบ มติ และคาสงั่ ของสหกรณ์
(4) แสดงตนเป็ นปฏิปักษห์ รือทาใหเ้ ส่ือมเสียต่อสหกรณ์ไม่วา่ โดยประการใดๆ
*ข้อ 46/10. การเปลย่ี นแปลงช่ือ สัญชาติ และทอ่ี ยู่ของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบรายใดมี
การเปลี่ยนแปลงในเรื่องชื่อ ช่ือสกลุ สญั ชาติ และที่อยู่ ตอ้ งแจง้ ใหส้ หกรณ์ทราบภายในสิบหา้ วนั นบั
แต่วนั ที่มีการเปลี่ยนแปลง
*ข้อ 46/11. การต้ังผ้รู ับโอนประโยชน์ของสมาชิกสมทบ การต้งั ผรู้ ับโอนประโยชนข์ อง
สมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบจะทาเป็นหนงั สือต้งั บุคคลหน่ึงหรือหลายคน เพ่ือใหเ้ ป็นผรู้ ับโอน
ประโยชนซ์ ่ึงตนมีอยใู่ นสหกรณ์ในเมื่อตนตายน้นั มอบให้สหกรณ์ถือไว้ หนงั สือต้งั ผรู้ ับโอนประโยชน์
ดงั วา่ น้ีตอ้ งทาตามลกั ษณะพนิ ยั กรรม
ถา้ สมาชิกสมทบประสงคจ์ ะเพิกถอนหรือเปล่ียนแปลงผรู้ ับโอนประโยชนท์ ่ีไดท้ าไวแ้ ลว้
ตอ้ งทาเป็ นหนงั สือตามลกั ษณะดงั กล่าวในวรรคก่อนมอบใหส้ หกรณ์ถือไว้
เมื่อสมาชิกสมทบตาย ให้สหกรณ์แจง้ ใหผ้ รู้ ับโอนประโยชนต์ ามความในวรรคก่อนทราบ
และสหกรณ์ จะจา่ ยเงินค่าหุน้ เงินรับฝาก เงินปันผล เงินเฉล่ียคืน และเงินผลประโยชน์ หรือเงินอื่น
ใดบรรดาที่สมาชิกสมทบผตู้ ายมีอยใู่ นสหกรณ์ใหแ้ ก่ผรู้ ับโอนประโยชน์ที่ไดต้ ้งั ไว้ หรือถา้ มิไดต้ ้งั ไว้
ก็คืนใหแ้ ก่บุคคลที่ไดน้ าหลกั ฐานมาแสดงให้เป็นท่ีพอใจคณะกรรมการดาเนินการวา่ เป็ นทายาทของผมู้ ี
สิทธิไดร้ ับเงินจานวนดงั กล่าวน้นั ท้งั น้ี ตามขอ้ กาหนดในขอ้ 46/12 และขอ้ 46/13
ใหผ้ รู้ ับโอนประโยชน์ตามความในวรรคแรก ยน่ื คาขอรับเงินผลประโยชนต์ ่อสหกรณ์ภายใน
กาหนดหน่ึงปี นบั แต่วนั ที่สมาชิกสมทบตาย หรือไดร้ ับแจง้ จากสหกรณ์ โดยใหแ้ นบสาเนามรณะบตั รท่ี
ทางราชการออกใหแ้ สดงวา่ สมาชิกสมทบน้นั ๆ ไดถ้ ึงแกค่ วามตายไปประกอบการพิจารณาดว้ ย เมื่อ
คณะกรรมการดาเนินการไดพ้ จิ ารณาอนุมตั ิแลว้ สหกรณ์จะจ่ายเงินผลประโยชน์ดงั กล่าวภายในสี่สิบหา้
วนั ในกรณีผมู้ ีสิทธิรับเงินผลประโยชน์ไมย่ น่ื คาขอรับเงินผลประโยชน์ หรือผทู้ ี่มีช่ือเป็นผรู้ ับโอน
ประโยชน์ที่สมาชิกสมทบไดจ้ ดั ทาใหส้ หกรณ์ถือไวไ้ มม่ ีตวั อยกู่ ็ดี เม่ือพน้ กาหนดอายคุ วามฟ้ องคดีให้
สหกรณ์โอนจานวนเงินดงั กล่าวไปสมทบเป็นทุนสารองของสหกรณ์ท้งั สิ้น
*ขอ้ 46/9 – *ขอ้ 46/11 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2550
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 20
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
*ข้อ 46/12. การจ่ายคืนจานวนเงนิ ของสมาชิกสมทบท่ีขาดจากสมาชิกภาพ ในกรณีที่
สมาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 46/7 (1) (2) (4) น้นั สหกรณ์จะจา่ ยคืนค่าหุน้ ที่
สมาชิกสมทบมีอยใู่ นสหกรณ์ใหก้ ่อนคา่ หุ้นของสมาชิกสมทบซ่ึงออกเพราะเหตุอ่ืน พร้อมดว้ ยเงินปัน
ผลและเงินเฉลี่ยคืนคา้ งจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกสมทบน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์ฯ คืนให้แก่ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับ
โดยเฉพาะค่าหุน้ น้นั ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับจะเรียกใหส้ หกรณ์จา่ ยคืนทนั ทีโดยไม่มีเงินปันผลหรือเฉล่ียคืน
สาหรับปี ที่ออกน้นั หรือจะเรียกใหจ้ ่ายคืนหลงั จากวนั สิ้นปี ทางบญั ชีท่ีออก โดยไดร้ ับเงินปันผลและ
เงินเฉลี่ยคืนสาหรับปี ท่ีออกน้นั ดว้ ยในเม่ือท่ีประชุมใหญ่มีมติใหจ้ ดั สรรกาไรสุทธิประจาปี น้นั แลว้ กไ็ ด้
สุดแตจ่ ะเลือก ส่วนเงินรับฝากและดอกเบ้ียน้นั สหกรณ์จะจา่ ยคืนใหต้ ามระเบียบของสหกรณ์
ถา้ ในปี ใดจานวนคา่ หุน้ ท่ีถอนคืนเน่ืองจากสมาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพจะเกินร้อยละ
สิบแห่งทุนเรือนหุน้ ของสหกรณ์ตามท่ีมีอยใู่ นวนั ตน้ ปี น้นั คณะกรรมการดาเนินการมีอานาจใหร้ อการ
จา่ ยคืนคา่ หุน้ ของสมาชิกท่ีขาดจากสมาชิกภาพรายต่อไปในปี น้นั ไวจ้ นถึงปี ทางบญั ชีใหม่
ในกรณีท่ีสมาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 46/7 (3) สหกรณ์จะจา่ ยคา่ หุน้
เงินรับฝาก เงินปันผลและเงินเฉล่ียคืนกบั ดอกเบ้ียคา้ งจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกสมทบน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์คืน
ใหต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยลม้ ละลาย
ในกรณีท่ีสมาชิกสมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุตามขอ้ 46/7 (5) (6) น้นั สหกรณ์จะ
จ่ายคา่ หุน้ เงินปันผลและเงินเฉล่ียคืนกบั ดอกเบ้ียคา้ งจ่ายบรรดาท่ีสมาชิกสมทบน้นั มีอยใู่ นสหกรณ์คืน
ใหภ้ ายในเวลาอนั สมควรโดยไมม่ ีเงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืนต้งั แตป่ ี ที่ออกจากสหกรณ์ หรือหาก
สมาชิกสมทบขอใหจ้ ่ายคา่ หุน้ ภายหลงั วนั สิ้นปี โดยขอรับเงินปันผลและเงินเฉล่ียคืนในปี น้นั ภายหลงั
ท่ีที่ประชุมใหญ่ไดพ้ จิ ารณาจดั สรรกาไรสุทธิประจาปี ก็ได้ ส่วนเงินรับฝากและดอกเบ้ียน้นั สหกรณ์จะ
จ่ายใหต้ ามระเบียบของสหกรณ์
*ข้อ 46/13. การหกั จานวนเงินซึ่งสมาชิกสมทบต้องรับผดิ ต่อสหกรณ์ ในการจ่ายคืนจานวน
เงินของสมาชิกสมทบตามขอ้ 46/12 น้นั สหกรณ์มีอานาจหกั จานวนเงินซ่ึงสมาชิกสมทบตอ้ ง
รับผดิ ชอบต่อสหกรณ์ออกก่อน
*ข้อ 46/14. การถอนชื่อสมาชิกสมทบออกจากทะเบียนสมาชิก ในกรณีที่สมาชิกสมทบ
ออกสหกรณ์ไม่วา่ เพราะเหตุใด ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการถอนช่ือสมาชิกออกจากทะเบียนสมาชิก
สมทบ
*ขอ้ 46/12 – *ขอ้ 46/14 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2550
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 21
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
หมวด 6
การประชุมใหญ่
ข้อ47. การประชุมใหญ่สามัญ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการนดั สมาชิกมาประชุมกนั เป็น
การประชุมใหญส่ ามญั ประจาปี อยา่ งนอ้ ยปี ละหน่ึงคร้ัง ภายในหน่ึงร้อยหา้ สิบวนั นบั แต่วนั สิ้นปี ทาง
บญั ชีของสหกรณ์
ข้อ48. การประชุมใหญ่วสิ ามัญ คณะกรรมการดาเนินการจะเรียกประชุมใหญ่วสิ ามญั
เมื่อใดกไ็ ด้ แต่ถา้ นายทะเบียนสหกรณ์แจง้ ใหเ้ รียกประชุมใหญ่วสิ ามญั หรือในกรณีท่ีสหกรณ์เกิดการ
ขาดทุนเกินก่ึงของจานวนทุนเรือนหุน้ ที่ชาระแลว้ ตอ้ งเรียกประชุมใหญ่วสิ ามญั โดยมิชกั ชา้ แตไ่ ม่เกิน
สามสิบวนั นบั แตว่ นั ที่สหกรณ์ทราบ
สมาชิกซ่ึงมีจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงในหา้ ของจานวนสมาชิกท้งั หมดหรือไม่นอ้ ยกวา่ 100 คน
ลงลายมือช่ือทาหนงั สือขอร้องเพ่อื การใดการหน่ึงต่อคณะกรรมการดาเนินการใหเ้ รียกประชุมใหญ่
วสิ ามญั เมื่อใดกไ็ ด้ และให้คณะกรรมการดาเนินการเรียกประชุมใหญว่ สิ ามญั ภายในสามสิบวนั นบั แต่
วนั ที่รับคาร้องขอ
ถา้ คณะกรรมการดาเนินการไม่เรียกประชุมใหญ่วสิ ามญั ภายในกาหนดระยะเวลาดงั กล่าว
ขา้ งตน้ ใหน้ ายทะเบียนสหกรณ์หรือพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมายมีอานาจ
เรียกประชุมใหญ่วสิ ามญั ได้ ภายใน 30 วนั เป็นอยา่ งชา้
ข้อ49. การแจ้งกาหนดการประชุมใหญ่ เม่ือมีการประชุมใหญท่ ุกคราว ใหส้ หกรณ์มีหนงั สือ
เจง้ วนั เวลา สถานท่ี และเร่ืองที่จะประชุมใหบ้ รรดาสมาชิกทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ เจด็ วนั แตถ่ า้ การ
ประชุมน้นั เป็ นการด่วน อาจแจง้ ล่วงหนา้ ไดต้ ามสมควร ท้งั น้ีใหป้ ระธานกรรมการ หรือรองประธาน
กรรมการ หรือเลขานุการ เป็นผลู้ งนามในหนงั สือน้นั และตอ้ งแจง้ ให้เจา้ หนา้ ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์
และกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ทราบล่วงหนา้ ในโอกาสเดียวกนั กบั ที่แจง้ สมาชิกทราบดว้ ย
ข้อ50. องค์ประชุมในการประชุมใหญ่ การประชุมใหญ่ของสหกรณ์ตอ้ งมีสมาชิกมา
ประชุมไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงของสมาชิกท้งั หมด หรือไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงร้อยคน จึงจะเป็นองคป์ ระชุม
ในประชุมใหญ่คราวใด มีสมาชิกมาประชุมไมค่ รบองคป์ ระชุมใหน้ ดั ประชุมใหญ่อีกคร้ังหน่ึง
ภายในสิบสี่วนั นบั แตว่ นั ที่นดั ประชุมคร้ังแรก ในการประชุมคร้ังหลงั น้ี ถา้ มิใช่การประชุมใหญ่สามญั
ที่สมาชิกร้องขอใหเ้ รียกประชุมแลว้ เมื่อมีสมาชิกมาประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงในสิบของจานวนสมาชิก
หรือไม่นอ้ ยกวา่ สามสิบคนก็ใหถ้ ือเป็นองคป์ ระชุม แตถ่ า้ เป็นการประชุมใหญ่วสิ ามญั ที่สมาชิกร้อง
ขอใหเ้ รียกประชุม เมื่อมีสมาชิกมาประชุมมีจานวนไม่ถึงท่ีจะเป็นองคป์ ระชุมตามที่กล่าวในวรรคสอง
ขอ้ 48 ก็ใหง้ ดประชุม
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 22
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ในการประชุมใหญ่ สมาชิกจะมอบอานาจใหผ้ อู้ ื่นมาประชุมแทนตนไม่ได้
*ข้อ 51.อานาจหน้าที่ของทีป่ ระชุมใหญ่ ที่ประชุมใหญม่ ีอานาจหนา้ ท่ีพจิ ารณาวนิ ิจฉยั
ปัญหาทุกอยา่ งที่เกิดข้ึนเก่ียวกบั การกิจการของสหกรณ์ ซ่ึงรวมท้งั ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) รับทราบเร่ืองรับสมาชิกเขา้ ใหม่ สมาชิกออกจากสหกรณ์ วนิ ิจฉยั ขอ้ อุทธรณ์
ของผสู้ มคั รซ่ึงมิไดร้ ับเลือกเขา้ เป็นสมาชิก และสมาชิกทีถ่ ูกใหอ้ อกจากสหกรณ์
(2) พิจารณาเลือกต้งั และถอดถอนกรรมการดาเนินการ และผตู้ รวจสอบกิจการของ
สหกรณ์
(3) พิจารณาอนุมตั ิงบการเงินประจาปี และจดั สรรกาไรสุทธิประจาปี ของสหกรณ์
(4) รับทราบรายงานประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์ของ
คณะกรรมการดาเนินการ และรายงานของผตู้ รวจสอบกิจการของสหกรณ์
(5) พิจารณากาหนดบาเหน็จ คา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานของกรรมการดาเนินการ
หรือกรรมการอ่ืนๆ และผตู้ รวจสอบกิจการ
(6) พจิ ารณากาหนดวงเงินซ่ึงสหกรณ์อาจกยู้ มื หรือค้าประกนั
(7) พจิ ารณาอนุมตั ิแผนงาน และงบประมาณการรายจา่ ยประจาปี ของสหกรณ์
(8) พจิ ารณาแกไ้ ขขอ้ บงั คบั
(9) รับทราบเร่ืองการดาเนินงานของสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย และหรือ
ชุมนุมสหกรณ์ที่สหกรณ์น้ีเป็ นสมาชิกอยู่
(10) พิเคราะห์และปฏิบตั ิตามขอ้ บนั ทึกของนายทะเบียนสหกรณ์ หรือรองนาย
ทะเบียนสหกรณ์ หรือผตู้ รวจการสหกรณ์ หรือผสู้ อบบญั ชีสหกรณ์ ซ่ึงนายทะเบียนสหกรณ์แต่งต้งั
(11) กาหนดรูปการซ่ึงสหกรณ์คิดจะทาเป็นเครื่องเก้ือหนุนบรรดาสมาชิกตาม
วตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
*ขอ้ 51 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 23
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
หมวด 7
คณะกรรมการดาเนินการ
*ข้อ 52.คณะกรรมการดาเนินการ ใหท้ ่ีประชุมใหญ่เลือกต้งั สมาชิกเป็นประธานกรรมการ
คนหน่ึง และกรรมการอื่นอีกสิบคน ใหก้ รรมการดาเนินการเลือกต้งั กนั เองข้ึนดารงตาแหน่งรอง
ประธานกรรมการคนหน่ึง หรือหลายคน เลขานุการคนหน่ึง และเหรัญญิกคนหน่ึง นอกน้นั เป็น
กรรมการ และปิ ดประกาศใหท้ ราบโดยทว่ั กนั ณ สานกั งานสหกรณ์
คณะกรรมการดาเนินการตอ้ งมีกรรมการอยา่ งนอ้ ยหน่ึงคน เป็ นผมู้ ีคุณวุฒิดา้ นการเงิน การ
บญั ชี การบริหารจดั การ เศรษฐศาสตร์ หรือผา่ นการฝึกอบรมตามหลกั สูตรในดา้ นดงั กล่าว หรือดา้ นอ่ืน
ตามท่ีคณะกรรมการพฒั นาการสหกรณ์แห่งชาติกาหนด
ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์เป็นผดู้ าเนินการ และเป็นผแู้ ทนสหกรณ์ในกิจการอนั
เกี่ยวกบั บุคคลภายนอกเพ่อื การน้ี คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์จะมอบหมายให้กรรมการคนหน่ึง
หรือหลายคน หรือผจู้ ดั การทาการแทนได้
ห้ามไม่ให้บุคคลซึ่งมลี กั ษณะดงั ต่อไปนีเ้ ป็ นหรือทาหน้าทก่ี รรมการ
(1) เคยไดร้ ับโทษจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุก เวน้ แต่เป็นโทษสาหรับ
ความผดิ ท่ีไดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
(2) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือใหอ้ อกราชการ องคก์ าร หน่วยงานของรัฐ หรือ
เอกชนฐานทุจริตต่อหนา้ ที่
(3) เคยถูกใหพ้ น้ จากตาแหน่งกรรมการหรือมีคาวนิ ิจฉยั เป็นที่สุดใหพ้ น้ จาก
ตาแหน่งกรรมการ ตามมาตรา 22 (4)
(4) เคยถูกที่ประชุมใหญม่ ีมติให้ถอดถอนออกจากตาแหน่งกรรมการเพราะเหตุ
ทุจริตต่อหนา้ ท่ี
(5) เคยถูกนายทะเบียนสหกรณ์สงั่ ใหพ้ น้ จากตาแหน่งกรรมการหรือผจู้ ดั การ
อนั เนื่องมาจากฝ่ าฝืนไม่ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวง
(6) เป็นกรรมการหรือผจู้ ดั การในสหกรณ์ ที่เคยถูกนายทะเบียนสหกรณ์ส่งั ใหเ้ ลิก
ตามมาตรา 89/3 แห่งพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542
(7) เป็นบุคคลท่ีมีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด
*ขอ้ 52 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ.2555(คร้ังที่ 1), (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565(คร้ังที่ 2)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 24
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(8) สมาชิกซ่ึงผดิ นดั การชาระเงินงวดชาระหน้ี ไม่วา่ ตน้ เงินหรือดอกเบ้ียใน
ระยะเวลาสองปี ทางบญั ชีนบั แตป่ ี ท่ีผดิ นดั ถึงปี ที่เลือกต้งั กรรมการดาเนินการ เวน้ แตก่ ารผดิ นดั น้นั มิได้
เกิดข้ึนจากการกระทาของตนเอง
(9) ผซู้ ่ึงเป็นเจา้ หนา้ ท่ีและลูกจา้ งประจาในสหกรณ์น้ี
ข้อ53. อานาจหน้าทขี่ องกรรมการดาเนินการแต่ละตาแหน่ง
(ก) ประธานกรรมการดาเนินการ มีอานาจหน้าทดี่ งั นี้
(1) เป็นประธานในท่ีประชุมใหญ่ และที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ และ
ควบคุมการประชุมดงั กล่าวใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
(2) ควบคุมดูแลการดาเนินงานทว่ั ไปของสหกรณ์ให้เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อยและ
อยใู่ นวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
(3) ลงลายมือชื่อในเอกสารตา่ งๆ ในนามสหกรณ์ตามที่กาหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั น้ี
(4) ดาเนินการอ่ืนๆ ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการมอบหมายใหภ้ ายใตข้ อ้ บงั คบั
ระเบียบ มติ และคาส่ังของสหกรณ์
(ข) รองประธานกรรมการ มอี านาจหน้าทดี่ งั นี้
(1) ปฏิบตั ิการในอานาจหนา้ ที่ของประธานกรรมการดาเนินการแทนประธาน
กรรมการดาเนินการ เมื่อประธานกรรมการไมอ่ ยู่ หรือไมอ่ าจปฏิบตั ิหนา้ ที่ได้ หรือเมื่อตาแหน่ง
ประธานกรรมการดาเนินการวา่ งลง
(2) ปฏิบตั ิการตามที่ประธานกรรมการดาเนินการมอบให้
(3) ดาเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการดาเนินการมอบหมายใหภ้ ายใตข้ อ้ บงั คบั
ระเบียบ มติ และคาส่ังของสหกรณ์
(ค) เลขานุการ มอี านาจหน้าทดี่ งั นี้
(1) จดั ทารายงานการประชุมใหญ่และรายงานการประชุมคณะกรรมการดาเนินการ
ทุกคร้ัง
(2) ดูแลเอกสาร และรายงานการประชุมของสหกรณ์ใหเ้ รียบร้อยอยเู่ สมอ
(3) แจง้ นดั ประชุมไปยงั บรรดาสมาชิก หรือกรรมการดาเนินการแลว้ แต่กรณี
(4) ดาเนินการอื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการมอบหมายใหภ้ ายใตข้ อ้ บงั คบั
ระเบียบ มติ และคาสัง่ ของสหกรณ์
(ง) เหรัญญกิ มีอานาจหน้าทดี่ ังนี้
(1) ควบคุม ดูแล ตรวจสอบการรับจ่ายและเกบ็ รักษาเงินและทรัพยส์ ินของสหกรณ์
ใหเ้ ป็นไปโดยถูกตอ้ งเรียบร้อย
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 25
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(2) ดาเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการดาเนินการมอบหมายภายใตข้ อ้ บงั คบั
ระเบียบ มติ และคาส่งั ของสหกรณ์
ข้อ54. กาหนดเวลาอย่ใู นตาแหน่ง ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการอยใู่ นตาแหน่งคราวละ
สองปี นบั แตว่ นั เลือกต้งั และในวนั ประชุมใหญ่สามญั ประจาปี คราวต่อไป ใหก้ รรมการจานวนหน่ึงใน
สองของจานวนกรรมการดาเนินการท้งั หมดออกจากตาแหน่งโดยวธิ ีจบั สลาก และใหถ้ ือวา่ เป็นการพน้
จากตาแหน่งตามวาระ และใหท้ ี่ประชุมใหญ่เลือกต้งั กรรมการดาเนินการเขา้ ดารงตาแหน่งใหค้ รบตาม
จานวนกรรมการดาเนินการที่กาหนดในแต่ละปี สาหรับในปี ต่อไปใหก้ รรมการดาเนินการท่ีอยใู่ น
ตาแหน่งนานท่ีสุดออกจากตาแหน่ง
กรณี กรรมการดาเนินการตอ้ งออกจากตาแหน่งท้งั คณะ กรรมการดาเนินการท่ีไดร้ ับเลือก
ใหม่ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งไดเ้ ช่นเดียวกบั กรรมการดาเนินการชุดแรก โดยนาความในวรรคแรกมาบงั คบั ใช้
โดยอนุโลม
เมื่อครบกาหนดแลว้ หากยงั ไมม่ ีการเลือกต้งั คณะกรรมการดาเนินการชุดใหม่ กใ็ ห้
คณะกรรมการดาเนินการชุดเดิมรักษาการในตาแหน่งต่อไปจนกวา่ จะมีการเลือกต้งั คณะกรรมการ
ดาเนินการชุดใหม่ แต่ตอ้ งไม่เกิน 150 วนั นบั แตว่ นั สิ้นปี ทางบญั ชีสหกรณ์ กรรมการดาเนินการซ่ึงพน้
จากตาแหน่งตามวาระ (รวมท้งั การออกโดยวธิ ีจบั สลาก) อาจไดร้ ับเลือกต้งั ซ้าได้ แต่จะอยใู่ นตาแหน่ง
ไดไ้ ม่เกินสองวาระติดตอ่ กนั โดยตอ้ งพกั หน่ึงปี ทางบญั ชีจึงจะมีสิทธิรับเลือกต้งั ใหม่
ข้อ55. การพ้นจากตาแหน่ง กรรมการดาเนินการตอ้ งพน้ จากตาแหน่ง เพราะเหตุอยา่ งหน่ึง
อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ลาออก โดยแสดงความจานงเป็นหนงั สือต่อคณะกรรมการดาเนินการ
(3) ขาดจากสมาชิกภาพ
(4) เขา้ รับตาแหน่งหนา้ ที่ประจาในสหกรณ์น้ี
(5) ตกเป็นผผู้ ดิ นดั การส่งเงินงวดชาระหน้ีไม่วา่ เงินตน้ หรือดอกเบ้ีย
(6) ท่ีประชุมใหญล่ งมติถอดถอนท้งั คณะ หรือรายตวั
(7) นายทะเบียนสหกรณ์ส่งั ใหอ้ อกท้งั คณะ หรือรายตวั
ข้อ 56. ตาแหน่งว่างก่อนถงึ คราวออกตามวาระ ถา้ ตาแหน่งกรรมการดาเนินการวา่ งลงก่อน
ถึงคราวออกตามวาระ (เวน้ แต่เพราะเหตุตามขอ้ 55 (7) ) ใหก้ รรมการดาเนินการท่ียงั ดารงตาแหน่งอยู่
ประชุมดาเนินการต่อไปจนกวา่ จะมีการประชุมใหญ่ ซ่ึงจะไดม้ ีการเลือกต้งั กรรมการดาเนินการใน
ตาแหน่งที่วา่ ง แต่ถา้ ในเวลาใดจานวนกรรมการดาเนินการลดลงจนเหลือนอ้ ยกวา่ องคป์ ระชุม
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 26
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
กรรมการดาเนินการที่ดารงตาแหน่งอยจู่ ะประชุมดาเนินการใดๆ ไม่ได้ นอกจากตอ้ งนดั เรียกใหม้ ีการ
ประชุมใหญว่ สิ ามญั ข้ึนโดยเร็ว
ในกรณีท่ีตาแหน่งกรรมการดาเนินการวา่ งลงก่อนถึงคราวออกตามวาระตามความในวรรค
ก่อนน้นั เป็นตาแหน่งประธานกรรมการ ใหร้ องประธานกรรมการทาหนา้ ที่แทนชวั่ คราวสาหรับ
ตาแหน่งอื่น คณะกรรมการดาเนินการอาจพจิ ารณาเลือกต้งั กรรมการดาเนินการอื่นทาหนา้ ท่ีแทน
ชวั่ คราวจนกวา่ จะมีการเลือกต้งั ใหม่
กรรมการดาเนินการซ่ึงที่ประชุมใหญ่เลือกต้งั ข้ึนแทนในตาแหน่งท่ีวา่ ง ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งได้
เพยี งเท่ากาหนดเวลาท่ีผซู้ ่ึงตนแทนน้นั ชอบท่ีจะอยไู่ ด้
ข้อ57. การประชุมและองค์ประชุม ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการประชุมกนั ตามคราวที่มี
กิจธุระ แตจ่ ะตอ้ งมีการประชุมกนั เดือนละคร้ังเป็ นอยา่ งนอ้ ย
ใหป้ ระธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ หรือเลขานุการ นดั เรียกประชุม
คณะกรรมการดาเนินการได้ ในกรณีที่เป็ นการประชุมเก่ียวกบั การเปลี่ยนแปลง แกไ้ ขระเบียบ
ขอ้ บงั คบั และเร่ืองที่สาคญั อื่นๆ ของสหกรณ์ให้แจง้ เจา้ หนา้ ท่ีของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจ
บญั ชีสหกรณ์ทราบดว้ ยทุกคราว
ในการประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ตอ้ งมีกรรมการดาเนินการมาประชุมไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึง
หน่ึงของจานวนกรรมการดาเนินการท้งั หมดจึงจะเป็นองคป์ ระชุม
*ข้อ 58.อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนินการ คณะกรรมการดาเนินการมีอานาจ
หนา้ ที่ดาเนินการท้งั ปวงของสหกรณ์ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั และมติของที่ประชุมใหญ่กบั ท้งั ในทาง
อนั จะทาใหเ้ กิดความเจริญแก่สหกรณ์ทุกประการ ซ่ึงรวมท้งั ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) ดาเนินการในเรื่องการรับสมาชิกและสมาชิกออกจากสหกรณ์ ตลอดจนดูแลให้
สมาชิกปฏิบตั ิการต่างๆ ตามขอ้ บงั คบั ระเบียบ และมติของสหกรณ์
(2) พจิ ารณาดาเนินการเกี่ยวกบั การรับฝากเงิน การกยู้ มื เงิน การใหเ้ งินกู้ และการ
ฝากหรือลงทุนเงินของสหกรณ์
(3) กาหนดและดาเนินการเกี่ยวกบั การประชุมใหญ่ และเสนองบการเงินประจาปี
กบั รายงานประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์ต่อท่ีประชุมใหญ่
(4) เสนอการจดั สรรกาไรสุทธิประจาปี ต่อท่ีประชุมใหญ่
(5) พิจารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี
*ขอ้ 58 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 27
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(6) พิจารณากาหนดคา่ เบ้ียเล้ียง คา่ พาหนะ ค่าเช่าท่ีพกั และคา่ เบ้ียประชุมของ
กรรมการดาเนินการ คณะกรรมการอื่นๆ ท่ีปรึกษาและที่ปรึกษากิตติมศกั ด์ิ
(7) พิจารณาดาเนินการแตง่ ต้งั หรือจา้ ง และกาหนดค่าตอบแทนแก่ผจู้ ดั การ
ตลอดจนควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของผจู้ ดั การใหเ้ ป็นการถูกตอ้ ง
(8) พจิ ารณาดาเนินการแต่งต้งั หรือจา้ ง และกาหนดคา่ ตอบแทนแก่ผตู้ รวจสอบ
กิจการ
(9) กาหนดระเบียบตา่ งๆ ของสหกรณ์
(10) จดั ใหม้ ีและดูแลใหเ้ รียบร้อยซ่ึงบรรดาทะเบียน สมุดบญั ชีเอกสารต่างๆ และ
บรรดาอุปกรณ์ดาเนินงานของสหกรณ์
(11) พจิ ารณาใหส้ หกรณ์สมคั รเขา้ เป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์
(12) พจิ ารณาดาเนินการแต่งต้งั คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการอนุกรรมการ หรือ
คณะทางาน เพือ่ ประโยชน์ในการดาเนินกิจการของสหกรณ์ ท้งั น้ีใหร้ วมถึงการถอดถอนกรรมการ
อนุกรรมการ หรือคณะทางานดงั กล่าวออกจากตาแหน่งดว้ ย
(13) พเิ คราะห์และปฏิบตั ิตามขอ้ บนั ทึกของนายทะเบียนสหกรณ์ หรือรองนาย
ทะเบียนสหกรณ์ หรือผตู้ รวจการสหกรณ์ หรือผสู้ อบบญั ชี หรือพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ซ่ึงนายทะเบียน
สหกรณ์มอบหมาย
(14) พจิ ารณาใหค้ วามเท่ียงธรรมแก่บรรดาสมาชิก เจา้ หนา้ ที่และลูกจา้ งของ
สหกรณ์ตลอดจนสอดส่องดูแลโดยทวั่ ไป เพ่ือใหก้ ิจการของสหกรณ์ดาเนินไปดว้ ยดี
(15) พจิ ารณารายงานของคณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการอื่นๆ หรือผู้
ตรวจสอบกิจการ หรือความเห็นของผจู้ ดั การ หรือสมาชิกเก่ียวกบั กิจการของสหกรณ์
(16) เชิญสมาชิกหรือบุคคลภายนอกท่ีเห็นสมควรเป็ นที่ปรึกษาของคณะกรรมการ
ดาเนินการ ตลอดจนกาหนดค่าตอบแทนใหต้ ามที่เห็นสมควร
(17) ฟ้ อง ต่อสู้ หรือดาเนินคดีเกี่ยวกบั กิจการของสหกรณ์ หรือประนีประนอม
ยอมความหรือมอบขอ้ พิพาทใหอ้ นุญาโตตุลาการพจิ ารณาช้ีขาด
(18) เสนอแผนงานและเป้ าหมายในการดาเนินงาน รวมท้งั ประมาณการรายจ่าย
ประจาปี ต่อท่ีประชุมใหญ่
(19) ทาการต่างๆ เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ิน ดงั ระบุไวใ้ นวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 28
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(20) พจิ ารณาแตง่ ต้งั กรรมการดาเนินการเป็ นผแู้ ทนสหกรณ์เพ่อื เขา้ ประชุมใหญ่
และออกเสียงในการประชุมใหญข่ องสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย และหรือชุมนุมสหกรณ์ ท่ี
สหกรณ์น้ีเป็ นสมาชิกอยู่ ท้งั น้ีตามขอ้ บงั คบั ของสนั นิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย หรือชุมนุมสหกรณ์
กาหนดไว้
(21) พจิ ารณามอบหมายอานาจหนา้ ท่ีในการดาเนินงานใหแ้ ก่ประธานกรรมการ
ดาเนินการ รองประธานกรรมการดาเนินการ เลขานุการ เหรัญญิก หรือผจู้ ดั การ หรือบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง
ไดต้ ามความเหมาะสม
ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการดาเนินการ
ข้อ59. ความรับผดิ ของคณะกรรมการดาเนินการ ถา้ กรรมการดาเนินการปฏิบตั ิ หรือละเวน้
การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี หรือกระทาการโดยประมาทเลินเล่อเป็นเหตุใหส้ หกรณ์ไดร้ ับความเสียหาย
คณะกรรมการดาเนินการตอ้ งรับผดิ ชอบชดใชค้ ่าเสียหายใหก้ บั สหกรณ์
คณะกรรมการอานวยการ
*ข้อ 60. คณะกรรมการอานวยการ ใหป้ ระธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เลขานุการ
และเหรัญญิกของคณะกรรมการดาเนินการเป็นกรรมการอานวยการ อาจใหค้ ณะกรรมการดาเนินการ
ต้งั กรรมการอื่นเป็ นกรรมการร่วมอีกตามสมควร แตเ่ มื่อรวมกบั กรรมการโดยตาแหน่งแลว้ ตอ้ งมี
จานวนไม่เกินเจ็ดคน
ใหป้ ระธานกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการดาเนินการเป็นประธานและเลขานุการ
คณะกรรมการอานวยการตามลาดบั
คณะกรรมการอานวยการ ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งไดเ้ ท่ากบั กาหนดเวลาของคณะกรรมการ
ดาเนินการซ่ึงต้งั คณะกรรมการอานวยการน้นั
ใหค้ ณะกรรมการอานวยการ ประชุมกนั ตามคราวท่ีมีกิจธุระ แต่จะตอ้ งมีการประชุมกนั เดือน
ละคร้ังเป็นอยา่ งนอ้ ย และใหป้ ระธานกรรมการอานวยการหรือเลขานุการนดั เรียกประชุมได้
ในการประชุมคณะกรรมการอานวยการ ตอ้ งมีกรรมการอานวยการมาประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึง
หน่ึงของจานวนกรรมการอานวยการท้งั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชุมได้
ขอ้ วนิ ิจฉยั ท้งั ปวงของคณะกรรมการอานวยการ ใหเ้ สนอคณะกรรมการดาเนินการในการ
ประชุมคราวถดั ไปทราบ
*ขอ้ 60 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 29
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
*ข้อ 61.อานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการอานวยการ ใหค้ ณะกรรมการอานวยการเป็นผู้
ดาเนินกิจการแทนคณะกรรมการดาเนินการตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย และตามขอ้ บงั คบั ระเบียบ มติ และ
คาสง่ั ของสหกรณ์ ซ่ึงรวมท้งั ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) พิจารณาวางแผนการลงทุน โดยคานึงถึงผลตอบแทนความเสี่ยง และรวมท้งั มี
อานาจตดั สินใจในการลงทุนไดภ้ ายใตก้ รอบแนวทางท่ีคณะกรรมการมอบหมาย
(2) ควบคุมในเร่ืองการรับเงิน การจา่ ยเงิน การสะสมเงิน การฝาก หรือการเกบ็
รักษาเงินใหเ้ ป็ นไปตามขอ้ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ์
(3) ควบคุมการจดั ทาบญั ชี และทะเบียนต่างๆ ของสหกรณ์ใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ นและ
เป็นปัจจุบนั อยเู่ สมอ
(4) ควบคุมดูแล เก็บรักษาเอกสารหลกั ฐานตา่ งๆ ตลอดจนทรัพยส์ ินของสหกรณ์
ใหอ้ ยใู่ นสภาพอนั ดีและปลอดภยั และพร้อมที่จะใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งตรวจสอบไดท้ นั ที
(5) เสนอแนะคณะกรรมการดาเนินการในการปรับปรุง หรือแกไ้ ขการบริหารงาน
ของสหกรณ์
(6) ควบคุมดูแลการจดั ทางบการเงินประจาปี รวมท้งั บญั ชีกาไรขาดทุน และรายงาน
ประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์เสนอคณะกรรมการดาเนินการพจิ ารณาเสนอต่อที่ประชุม
ใหญ่
(7) พจิ ารณาการจดั สรรกาไรสุทธิประจาปี ของสหกรณ์เสนอตอ่ คณะกรรมการ
ดาเนินการพจิ ารณาเสนอใหท้ ่ีประชุมใหญ่อนุมตั ิ
(8) จดั ทาแผนและงบประมาณประจาปี ของสหกรณ์เสนอต่อคณะกรรมการ
ดาเนินการพิจารณาและเสนอท่ีประชุมใหญ่อนุมตั ิ
(9) ทานิติกรรมต่างๆ เก่ียวกบั การดาเนินงานของสหกรณ์ตามที่คณะกรรมการ
ดาเนินการมอบหมาย
คณะกรรมการเงินกู้
ข้อ 62. คณะกรรมการเงินกู้ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินแต่งต้งั กรรมการดาเนินการของสหกรณ์
จานวนไม่เกินหา้ คนเป็นกรรมการเงินกู้ โดยใหม้ ีตาแหน่งประธานกรรมการคนหน่ึง และเลขานุการ
คนหน่ึงนอกน้นั เป็นกรรมการ
*ขอ้ 61 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 30
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
คณะกรรมการเงินกใู้ หอ้ ยใู่ นตาแหน่งไดเ้ ทา่ กบั กาหนดเวลาของคณะกรรมการดาเนินการ ซ่ึง
ต้งั คณะกรรมการเงินกนู้ ้นั
ใหค้ ณะกรรมการเงินกปู้ ระชุมกนั ตามคราวท่ีมีกิจธุระ แต่จะตอ้ งมีการประชุมกนั เดือนละคร้ัง
เป็นอยา่ งนอ้ ย และใหป้ ระธานกรรมการเงินกู้ หรือเลขานุการนดั เรียกประชุมได้
ในการประชุมคณะกรรมการเงินกู้ ตอ้ งมีกรรมการเงินกเู้ ขา้ ประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงของ
จานวนกรรมการเงินกทู้ ้งั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชุม
ขอ้ วนิ ิจฉยั ท้งั ปวงของคณะกรรมการเงินกู้ ใหน้ าเสนอคณะกรรมการดาเนินการทราบในการ
ประชุมคราวถดั ไป
ข้อ63. อานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการเงินกู้ ใหค้ ณะกรรมการเงินกมู้ ีอานาจหนา้ ที่
เก่ียวกบั การอนุมตั ิเงินกูแ้ ก่สมาชิกตามขอ้ บงั คบั ระเบียบ มติ และคาสัง่ ของสหกรณ์ รวมท้งั ขอ้ ต่อไปน้ี
(1) ตรวจสอบการใชเ้ งินกขู้ องสมาชิกใหเ้ ป็นไปตามความมุ่งหมายท่ีใหเ้ งินกนู้ ้นั
(2) ตรวจสอบการควบคุมใหเ้ งินกมู้ ีหลกั ประกนั ตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบของ
สหกรณ์ และเมื่อเห็นวา่ หลกั ประกนั สาหรับเงินกรู้ ายใดเกิดบกพร่องกต็ อ้ งกาหนดใหผ้ กู้ จู้ ดั การแกไ้ ขให้
คืนดี
(3) ดูแลการชาระหน้ีของสมาชิกผกู้ ใู้ หเ้ ป็นไปตามกาหนดในสญั ญา
(4) สอบสวนเบ้ืองตน้ ใหไ้ ดข้ อ้ เทจ็ จริงในกรณีสมาชิกผกู้ ขู้ อผอ่ นเวลาการส่ง
เงินงวดชาระหน้ีเงินกู้ หรือผิดนดั การส่งเงินงวดชาระหน้ี เพื่อเสนอความเห็นใหค้ ณะกรรมการ
ดาเนินการพิจารณาผอ่ นผนั หรือเรียกคืนเงินกู้ หรือสอบสวนลงโทษใหส้ มาชิกออกจากสหกรณ์
คณะกรรมการศึกษา
ข้อ64. คณะกรรมการศึกษา ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการต้งั คณะกรรมการดาเนินการ
จานวนไมเ่ กินหา้ คนเป็นกรรมการศึกษา โดยมีตาแหน่งเป็ นประธานกรรมการคนหน่ึง และเลขานุการ
คนหน่ึง นอกน้นั เป็นกรรมการ
คณะกรรมการศึกษา ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งไดเ้ ท่าที่กาหนดเวลาของคณะกรรมการดาเนินการซ่ึง
ต้งั กรรมการศึกษาน้นั
ใหค้ ณะกรรมการศึกษา ประชุมกนั ตามคราวท่ีมีกิจธุระ แตต่ อ้ งมีการประชุมกนั เดือนละคร้ัง
เป็นอยา่ งนอ้ ย และใหป้ ระธานกรรมการศึกษา หรือเลขานุการนดั เรียกประชุมได้
ในการประชุมกรรมการศึกษา ตอ้ งมีกรรมการมาประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึงจานวนของจานวน
ของกรรมการศึกษาท้งั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชุม
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 31
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ใหค้ ณะกรรมการศึกษา รายงานผลการปฏิบตั ิงานใหค้ ณะกรรมการดาเนินการทราบในการ
ประชุมคราวถดั ไป
ข้อ65. อานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการศึกษา ใหค้ ณะกรรมการศึกษามีอานาจและหนา้ ที่
ดาเนินกิจการตาม ขอ้ บงั คบั ตลอดจนระเบียบของสหกรณ์ในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ ง ตลอดจนมติ และคาสง่ั
ของคณะกรรมการดาเนินการ ซ่ึงรวมท้งั ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) ใหก้ ารศึกษาอบรมสมาชิก และผทู้ ี่สนใจใหท้ ราบถึงเจตนารมณ์ หลกั วธิ ีการ
และการบริหารงานของสหกรณ์
(2) ประชาสัมพนั ธ์ใหส้ มาชิก และบุคคลภายนอกไดท้ ราบถึงผลงานของสหกรณ์ที่
ไดด้ าเนินงานไป
(3) ดาเนินการในการหาผสู้ มคั รเขา้ เป็นสมาชิก
(4) ใหก้ ารศึกษาอบรมแก่สมาชิกถึงวธิ ีการออมทรัพย์ และการใชจ้ า่ ยเงินอยา่ ง
รอบคอบ ตลอดจนวชิ าการต่างๆ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ
(5) ศึกษาและติดตามข่าวความเคลื่อนไหวดา้ นการดาเนินงานของสหกรณ์อื่น ท้งั
ในและนอกประเทศ เพ่ือนาตวั อยา่ งท่ีดีมาเสนอคณะกรรมการดาเนินการพจิ ารณานามาบริการแก่
สมาชิก
ประธานในทป่ี ระชุม
ข้อ66. ประธานในทป่ี ระชุม ในการประชุมใหญ่ หรือการประชุมคณะกรรมการดาเนินการ
ใหป้ ระธานกรรมการดาเนินการเป็นประธานในที่ประชุม ถา้ ประธานกรรมการดาเนินการไม่อยใู่ นที่
ประชุม กใ็ หร้ องประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม และถา้ รองประธานกรรมการไม่อยใู่ นที่
ประชุมดว้ ย ใหท้ ่ีประชุมเลือกกรรมการดาเนินการคนหน่ึงข้ึนเป็นประธานในท่ีประชุมเฉพาะการ
ประชุมคราวน้นั
ในการประชุมคณะกรรมการอ่ืนๆ ใหป้ ระธานของคณะกรรมการน้นั ๆ เป็ นประธานในที่
ประชุม ถา้ ประธานกรรมการไมอ่ ยใู่ นท่ีประชุม ก็ใหท้ ี่ประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเป็นประธานในที่
ประชุมเฉพาะการประชุมคราวน้นั
การออกเสียงและการวนิ ิจฉัยปัญหาในทป่ี ระชุม
ข้อ67. การออกเสียง สมาชิกหรือกรรมการดาเนินการ หรือกรรมการอื่นๆ ออกเสียงในท่ี
ประชุมใหญ่ หรือที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ หรือที่ประชุมคณะกรรมการอื่นๆ สุดแต่กรณีได้
เพียงคนละหน่ึงเสียง จะมอบใหผ้ อู้ ่ืนมาประชุมและออกเสียงแทนตนไมไ่ ด้
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 32
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ถา้ ปัญหาซ่ึงท่ีประชุมวนิ ิจฉยั น้นั ผใู้ ดมีส่วนไดเ้ สียเป็นพิเศษเฉพาะตวั ผนู้ ้นั จะออกเสียงใน
เร่ืองน้นั ไม่ได้ และประธานในที่ประชุมอาจให้ออกจากท่ีประชุมเป็นการชวั่ คราวในขณะพิจารณา
วนิ ิจฉยั เร่ืองน้นั ก็ได้
ข้อ68. การวนิ ิจฉัยปัญหา เวน้ แตจ่ ะไดก้ าหนดไวเ้ ป็นพิเศษในขอ้ บงั คบั น้ี การวนิ ิจฉยั
ปัญหาต่างๆ ในท่ีประชุมใหญ่ หรือที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ หรือที่ประชุมคณะกรรมการ
อื่นๆ ใหถ้ ือคะแนนเสียงขา้ งมาก ถา้ คะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในท่ีประชุมออกเสียงเพมิ่ ข้ึนอีก
เสียงหน่ึงเป็นเสียงช้ีขาด เวน้ แต่ในกรณีตอ่ ไปน้ีใหถ้ ือเสียงสองในสามของจานวนสมาชิกท่ีมาประชุม
(1) การแกไ้ ขเพม่ิ เติมขอ้ บงั คบั
(2) การเลิกสหกรณ์
รายงานการประชุม
ข้อ69. รายงานการประชุม ในการประชุมใหญ่ หรือการประชุมคณะกรรมการดาเนินการ
หรือการประชุมคณะกรรมการอื่นๆ น้นั ตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ ขา้ ประชุมลงลายมือช่ือ พร้อมท้งั บนั ทึกเร่ืองที่
พจิ ารณาวินิจฉยั ท้งั สิ้นไวใ้ นรายงานการประชุม และใหป้ ระธานในท่ีประชุมกบั กรรมการดาเนินการ
หรือกรรมการอื่นๆ แลว้ แต่กรณี อีกคนหน่ึงที่เขา้ ประชุมน้นั ๆ ลงลายมือชื่อเป็นสาคญั
หมวด 8
ผู้จดั การและเจ้าหน้าทอ่ี น่ื ของสหกรณ์
*ข้อ 70.การจ้าง การแต่งต้ัง และการพ้นจากตาแหน่งผ้จู ัดการ คณะกรรมการดาเนินการ
พิจารณาคดั เลือกบุคคลท่ีมีความซ่ือสัตยส์ ุจริต มีความรู้ความสามารถ และความเหมาะสมเพ่อื แต่งต้งั
เป็นผจู้ ดั การตอ้ งทาหนงั สือสญั ญาจา้ งไวเ้ ป็นหลกั ฐานและใหค้ ณะกรรมการดาเนินการเรียกใหม้ ี
หลกั ประกนั อนั สมควร
ในการแตง่ ต้งั หรือจา้ งผจู้ ดั การ ตอ้ งใหผ้ จู้ ดั การรับทราบ และรับรองที่จะปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดงั
กาหนดไวใ้ น ขอ้ 71 เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการมีอานาจกาหนดระเบียบของสหกรณ์เกี่ยวกบั การคดั เลือก หรือ
สอบคดั เลือก การแตง่ ต้งั หรือจา้ ง การกาหนดอตั ราเงินเดือน การใหส้ วสั ดิการ และการออกจาก
ตาแหน่งของผจู้ ดั การสหกรณ์
*ขอ้ 70 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 33
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ผู้จัดการของสหกรณ์พ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออกโดยทาเป็ นหนงั สือ
(3) ขาดคุณสมบตั ิตามระเบียบของสหกรณ์
(4) เกษียณอายตุ ามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์
(5) ถูกเลิกจา้ ง
ใหน้ าความตามขอ้ บงั คบั ขอ้ 52 วรรค 3 มาบงั คบั ใชก้ บั บุคคลท่ีจะเป็นหรือทาหนา้ ที่ผจู้ ดั การ
โดยอนุโลม
*ข้อ 71. อานาจหน้าที่ และความรับผดิ ชอบของผู้จัดการ ผจู้ ดั การมีอานาจหนา้ ที่จดั การ
ทว่ั ไป และรับผดิ ชอบเก่ียวกบั บรรดากิจการประจาของสหกรณ์ ปฏิบตั ิตามนโยบายของคณะกรรมการ
ดาเนินการ ตลอดจนตรวจตราควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ี เพือ่ ใหง้ านสหกรณ์ดาเนินตาม
เป้ าหมาย บงั เกิดผลดี และเป็ นคุณประโยชน์แก่สมาชิก รวมท้งั ในขอ้ ต่อไปน้ี
(1) ตรวจสอบการสมคั รเขา้ เป็ นสมาชิกใหเ้ ป็นการถูกตอ้ ง ตลอดจนเป็นธุระจดั ให้
ผเู้ ขา้ เป็นสมาชิกลงลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก และชาระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ กบั เงินคา่ หุน้ ตาม
ขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์
(2) ควบคุมใหม้ ีการเก็บเงินคา่ หุน้ รายเดือน แจง้ ยอดจานวนหุน้ จ่ายคืนคา่ หุน้ และ
ชกั ชวนการถือหุน้ ในสหกรณ์
(3) รับฝากเงิน จ่ายคืนเงินฝาก และชกั จงู ในการฝากเงินในสหกรณ์
(4) เป็นธุระในการตรวจสอบคาขอกู้ จา่ ยเงินกู้ จดั ทาเอกสารเก่ียวกบั เงินกู้ และ
ดาเนินการอื่นๆ เก่ียวกบั เร่ืองการใหเ้ งินกใู้ ห้เป็นไปตามแบบ และระเบียบของสหกรณ์ที่กาหนดไว้
(5) จดั ทารายละเอียดเงินคา่ หุน้ และเงินใหแ้ ก่สมาชิกคงเหลือเป็ นรายบุคคลทุก
ระยะหน่ึงปี พร้อมกบั แจง้ ใหส้ มาชิกทราบเป็นรายบุคคลเฉพาะของสมาชิกน้นั
(6) กาหนดหนา้ ท่ีและวธิ ีปฏิบตั ิงานของบรรดาเจา้ หนา้ ที่และลูกจา้ งของสหกรณ์
ตลอดจนเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาและรับผดิ ชอบดูแลการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ที่และลูกจา้ งเหล่าน้นั ให้
เป็นไปโดยถูกตอ้ งเรียบร้อย
*ขอ้ 71 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 34
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(7) เป็นธุระกวดขนั เร่ืองการออกใบรับ เรียกใบรับ หรือมีใบสาคญั โดยครบถว้ น
รับผดิ ชอบในการรับจ่ายเงินท้งั ปวงของสหกรณ์ให้เป็นการถูกตอ้ ง รวบรวมใบสาคญั และเอกสารตา่ งๆ
เกี่ยวกบั การเงินไวโ้ ดยครบถว้ นและเกบ็ รักษาเงินของสหกรณ์ใหเ้ ป็นไปตามที่คณะกรรมการดาเนินการ
กาหนด
(8) รับผดิ ชอบและดูแลในการจดั ทาบญั ชี และทะเบียนตา่ งๆ ของสหกรณ์ใหถ้ ูกตอ้ ง
ครบถว้ นและเป็นปัจจุบนั อยเู่ สมอ
(9) ติดต่อประสานงานกบั เลขานุการในการนดั เรียกประชุมใหญ่ ประชุม
คณะกรรมการดาเนินการ และประชุมคณะกรรมการอื่นๆ
(10) รับผดิ ชอบจดั ทางบการเงินประจาปี รวมท้งั บญั ชีกาไรขาดทุน และรายงาน
ประจาปี แสดงผลการดาเนินงานของสหกรณ์เสนอคณะกรรมการดาเนินการพิจารณาเสนอต่อที่ประชุม
ใหญ่
(11) จดั ทาแผนงานและงบประมาณประจาปี เสนอต่อคณะกรรมการดาเนินการ
พจิ ารณา
(12) เขา้ ร่วมประชุมช้ีแจงในการประชุมใหญ่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ
และประชุมคณะกรรมการอื่นๆ เวน้ แต่กรณีซ่ึงท่ีประชุมน้นั ๆ มิใหเ้ ขา้ ร่วมประชุม
(13) ปฏิบตั ิการเกี่ยวกบั การโตต้ อบหนงั สือของสหกรณ์
(14) รักษาดวงตราของสหกรณ์ และรับผดิ ชอบตรวจตราทรัพยส์ ินตา่ งๆ ของ
สหกรณ์ใหอ้ ยใู่ นสภาพอนั ดีและปลอดภยั
(15) เสนอรายงานกิจการประจาเดือนต่อคณะกรรมการดาเนินการ
(16) เสนอรายการหรือรายงานของสหกรณ์ต่อทางราชการตามแบบและระยะเวลาท่ี
ทางราชการกาหนด
(17) ปฏิบตั ิงานอ่ืนๆ ท่ีคณะกรรมการดาเนินการ หรือคณะกรรมการอ่ืนๆ ของ
สหกรณ์มอบหมาย หรือตามท่ีควรกระทาเพ่ือใหก้ ิจการในหนา้ ที่ลุล่วงไปดว้ ยดี
*ข้อ 72. การแต่งต้ังผู้รักษาการแทนผู้จัดการ ถา้ ตาแหน่งผจู้ ดั การวา่ งลง และยงั ไมไ่ ดแ้ ตง่ ต้งั
ใหผ้ ใู้ ดดารงตาแหน่งแทน หรือเม่ือผจู้ ดั การไม่อยู่ หรือไมอ่ าจปฏิบตั ิหนา้ ท่ีไดเ้ ป็นคร้ังคราว ใหร้ อง
ผจู้ ดั การ หรือผชู้ ่วยผจู้ ดั การ หรือเจา้ หนา้ ท่ีอ่ืนของสหกรณ์ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการกาหนดไว้
เป็นผรู้ ักษาการแทน
*ขอ้ 72 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 35
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
*ข้อ 73. การเปลยี่ นผู้จัดการ ในกรณีที่มีการเปล่ียนผจู้ ดั การ ใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของคณะกรรมการ
ดาเนินการตอ้ งจดั ใหม้ ีการตรวจสอบหลกั ฐานทางบญั ชี และการเงิน กบั บรรดาทรัพยส์ ินและหน้ีสิน
ของสหกรณ์ ตลอดจนจดั ทางบการเงินประจาปี ของสหกรณ์ เพ่ือทราบฐานะอนั แทจ้ ริงก่อนที่จะส่งมอบ
งาน
*ข้อ 74. เจ้าหน้าท่ี นอกจากตาแหน่งผจู้ ดั การแลว้ สหกรณ์อาจจดั จา้ งและแตง่ ต้งั เจา้ หนา้ ที่
อื่นตามความจาเป็ นเพื่อปฏิบตั ิงานในสหกรณ์ ท้งั น้ี ตามระเบียบวา่ ดว้ ยเจา้ หนา้ ที่และลูกจา้ งที่
คณะกรรมการดาเนินการกาหนด
ทปี่ รึกษา
ข้อ 75. ทป่ี รึกษาและทปี่ รึกษากติ ติมศักด์ิ คณะกรรมการดาเนินการอาจเชิญสมาชิก หรือ
บุคคลภายนอก ซ่ึงทรงคุณวฒุ ิมีและความสามารถ และเหมาะสมเป็นที่ปรึกษาและหรือที่ปรึกษา
กิตติมศกั ด์ิเพื่อใหค้ วามเห็นแนะนาในการดาเนินงานทว่ั ไปของสหกรณ์ ท้งั น้ี ใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบท่ี
สหกรณ์กาหนด
ผู้ตรวจสอบกจิ การ
*ข้อ 76. ผ้ตู รวจสอบกจิ การ ใหท้ ่ีประชุมใหญ่เลือกต้งั สมาชิกหรือบุคคลภายนอก ซ่ึงเป็น
บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล และเป็นผทู้ ่ีมีคุณวฒุ ิความรู้ความสามารถในดา้ นการเงิน การบญั ชี การ
บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์การสหกรณ์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั สหกรณ์ และมีคุณสมบตั ิเป็นผผู้ า่ น
การอบรมการตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ หรือหน่วยงานอื่นท่ีไดร้ ับการรับรอง
หลกั สูตรจากกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์รวมท้งั ไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์
เป็นผตู้ รวจสอบกิจการของสหกรณ์ จานวน 1 คน หรือคณะผตู้ รวจสอบกิจการ จานวน 3 คนต่อคณะ
หรือหน่ึงนิติบุคคล
กรณีเลือกคณะผตู้ รวจสอบกิจการ ใหม้ ีประธานหน่ึงคน มีหนา้ ที่ควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานให้
บรรลุวตั ถุประสงคใ์ นการตรวจสอบกิจการ และใหป้ ระกาศชื่อประธานคณะผตู้ รวจสอบกิจการใหท้ ่ี
ประชุมใหญท่ ราบดว้ ย
ผ้ตู รวจสอบกจิ การต้องไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้
(1) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(2) เป็นบุคคลลม้ ละลาย หรือเคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทุจริต
*ขอ้ 73 - *ขอ้ 74, *ขอ้ 76 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 36
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(3) เคยไดร้ ับโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดใหจ้ าคุก เวน้ แต่เป็นโทษสาหรับ
ความผดิ ท่ีไดก้ ระทาโดยประมาท หรือความผดิ ลหุโทษ
(4) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากทางราชการ องคก์ าร หรือหน่วยงานของ
รัฐ หรือเอกชนฐานทุจริตต่อหนา้ ท่ี
(5) เคยถูกใหอ้ อกจากทางราชการเป็นสมาชิกสหกรณ์น้นั หรือสหกรณ์อ่ืน
(6) เคยถูกใหพ้ น้ จากตาแหน่งกรรมการ หรือขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกิจการ
หรือมีคาวนิ ิจฉยั เป็นที่สุดให้พน้ จากตาแหน่งกรรมการ หรือขาดจากการเป็ นผตู้ รวจสอบกิจการของ
สหกรณ์น้นั หรือสหกรณ์อ่ืน
(7) เคยถูกที่ประชุมใหญ่มีมติใหถ้ อดถอนจากตาแหน่งกรรมการ หรือผตู้ รวจสอบ
กิจการ เพราะเหตุทุจริตต่อหนา้ ที่ของสหกรณ์น้นั หรือสหกรณ์อื่น
(8) เป็นผจู้ ดั การ หรือเจา้ หนา้ ท่ีของสหกรณ์น้นั หรือสหกรณ์อื่น หรือเคยถูกใหอ้ อก
จากตาแหน่งผจู้ ดั การ หรือเจา้ หนา้ ท่ีของสหกรณ์น้นั หรือสหกรณ์อ่ืนฐานทุจริตต่อหนา้ ที่
(9) เป็นคู่สมรส บุตร บิดามารดา ของกรรมการ หรือผจู้ ดั การ หรือเจา้ หนา้ ที่
ของสหกรณ์น้นั
(10) เป็นกรรมการของสหกรณ์น้นั เวน้ แต่ไดพ้ น้ จากตาแหน่งกรรมการมาแลว้ ไม่
นอ้ ยกวา่ สองปี บญั ชีสหกรณ์
(11) เป็นผสู้ อบบญั ชี หรือผชู้ ่วยผสู้ อบบญั ชี หรือบุคคลที่อยใู่ นสังกดั นิติบุคคลที่รับ
งานสอบบญั ชีของสหกรณ์ในปี บญั ชีน้นั
(12) เป็นผอู้ ยรู่ ะหวา่ งการถูกสง่ั พกั หรือเพกิ ถอนใบอนุญาตเป็นผสู้ อบบญั ชีรับอนุญาต
(13) เป็นผอู้ ยรู่ ะหวา่ งการถูกส่ังพกั หรือขีดชื่อออกจากนายทะเบียนรายช่ือผสู้ อบบญั ชี
รับอนุญาต หรือบุคคลอ่ืนของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
ข้นั ตอนและวธิ ีการเลอื กต้ังผู้ตรวจสอบกจิ การ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการประกาศข้นั ตอน
และวธิ ีการเลือกต้งั เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรใหส้ มาชิกทราบก่อนวนั ประชุมใหญ่ และใหป้ ระกาศ
รับสมคั รบุคคลเขา้ รับการเลือกต้งั เป็นผตู้ รวจสอบกิจการก่อนวนั ประชุมใหญ่ และพิจารณาคดั เลือก
ผตู้ รวจสอบกิจการท่ีมีคุณสมบตั ิ และไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กาหนด
เพือ่ นาเสนอชื่อผทู้ ่ีผา่ นการคดั เลือกเสนอใหท้ ี่ประชุมใหญ่เลือกต้งั ตามประกาศ โดยผสู้ มคั รเขา้ รับการ
เลือกต้งั เป็ นผตู้ รวจสอบกิจการตอ้ งแสดงตนต่อที่ประชุมใหญด่ ว้ ย และใหผ้ ทู้ ี่ไดร้ ับเลือกต้งั คะแนน
สูงสุดเป็นผตู้ รวจสอบกิจการ หากมีคะแนนเท่ากนั ใหป้ ระธานออกเสียงเพิม่ อีกหน่ึงเสียงเป็นเสียงช้ีขาด
ท้งั น้ี ใหผ้ ทู้ ่ีไดร้ ับเลือกต้งั ลาดบั คะแนนรองลงมาเป็ นผตู้ รวจสอบกิจการสารอง จานวน 1 คน
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 37
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
กรณีมีผตู้ รวจสอบกิจการคนใดขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกิจการตามขอ้ 77/1 (2) (3) (4)
หรือ (5) ใหผ้ ตู้ รวจสอบกิจการสารองเขา้ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ไดท้ นั ทีเทา่ ระยะเวลาที่เหลืออยขู่ องผซู้ ่ึงตนแทน
หรือจนกวา่ จะมีการเลือกต้งั ผตู้ รวจสอบกิจการใหม่
*ข้อ 77. การดารงตาแหน่งผ้ตู รวจสอบกจิ การ ผตู้ รวจสอบกิจการอยใู่ นตาแหน่งไดม้ ี
กาหนดเวลาสองปี บญั ชีสหกรณ์ เม่ือครบกาหนดเวลาแลว้ ยงั ไม่มีการเลือกต้งั ผตู้ รวจสอบกิจการคนใหม่ ก็
ใหผ้ ตู้ รวจสอบกิจการคนเดิมปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอยตู่ ่อไปจนกวา่ ที่ประชุมใหญม่ ีมติเลือกต้งั ผตู้ รวจสอบกิจการ
คนใหม่
ผตู้ รวจสอบกิจการที่พน้ จากตาแหน่งตามวาระอาจจะไดร้ ับเลือกต้งั จากท่ีประชุมใหญ่อีกไดแ้ ต่
ตอ้ งไม่เกินสองวาระติดตอ่ กนั
กรณีผตู้ รวจสอบกิจการขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกิจการก่อนครบวาระ ใหก้ าหนดระเบียบ
วาระการประชุมใหญ่เพือ่ เลือกต้งั ผตู้ รวจสอบกิจการคนใหม่ ในคราวประชุมใหญ่คร้ังแรกหลงั จากผู้
ตรวจสอบกิจการคนน้นั ขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกิจการ และใหน้ บั วาระการดารงตาแหน่งของผแู้ ทน
ตอ่ เนื่องจากผทู้ ่ีตนมาดารงตาแหน่ง
*ข้อ 77/1. การขาดจากการเป็ นผ้ตู รวจสอบกจิ การ ผตู้ รวจสอบกิจการตอ้ งขาดจากการเป็นผู้
ตรวจสอบกิจการเพราะเหตุอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) พน้ จากตาแหน่งตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยแสดงเหตุผลเป็นหนงั สือยนื่ ตอ่ ประธานคณะกรรมการดาเนินการ
และใหม้ ีผลวนั ท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์มีมติรับทราบ
(4) ท่ีประชุมใหญ่ของสหกรณ์ลงมติถอดถอนผตู้ รวจสอบกิจการซ่ึงเป็นบุคคล
ธรรมดา หรือนิติบุคคล ออกจากตาแหน่งท้งั คณะ หรือรายบุคคล
(5) อธิบดีกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์วนิ ิจฉยั วา่ ขาดคุณสมบตั ิ หรือมีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม
ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กาหนด
*ข้อ 78. อานาจหน้าทขี่ องผู้ตรวจสอบกจิ การ ผตู้ รวจสอบกิจการมีอานาจหนา้ ท่ีตรวจสอบการ
ดาเนินงานท้งั ปวงของสหกรณ์ ท้งั ดา้ นการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การเงิน การบญั ชี และดา้ นปฏิบตั ิการในการ
ดาเนินธุรกิจตามที่กาหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์ รวมท้งั การประเมินผลการควบคุมภายใน การรักษา
ความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศของสหกรณ์ และการตรวจสอบในเร่ืองต่างๆ ดงั น้ี
*ขอ้ 77, *ขอ้ 77/1, *ขอ้ 78 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 38
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(1) ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการบนั ทึกบญั ชีเพ่ือใหเ้ ป็ นไปตามแบบและรายการที่นาย
ทะเบียนสหกรณ์กาหนด
(2) ประเมินความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการดาเนินการของ
คณะกรรมการดาเนินการเพ่ือใหข้ อ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานของ
คณะกรรมการดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ์
(3) สอบทานระบบการปฏิบตั ิงานของสหกรณ์ เพื่อใหเ้ ป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบนาย
ทะเบียนสหกรณ์ ขอ้ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ์ รวมท้งั คาสงั่ นายทะเบียนสหกรณ์ สานกั งานสหกรณ์
จงั หวดั สานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์ กาหนดใหต้ อ้ งปฏิบตั ิ
(4) ตรวจสอบและสอบทานระบบการควบคุม ดูแลรักษาทรัพยส์ ินของสหกรณ์ วเิ คราะห์
และประเมินความมีประสิทธิภาพการใชท้ รัพยส์ ินของสหกรณ์ เพื่อใหก้ ารใชท้ รัพยส์ ินเป็นไปอยา่ ง
เหมาะสมและคุม้ คา่
(5) ตรวจสอบ และติดตามการดาเนินงานของสหกรณ์ ในการพิจารณาแกไ้ ขขอ้ สังเกต
หรือขอ้ บกพร่องเกี่ยวกบั การดาเนินงานท่ีไดร้ ับแจง้ จากสานกั งานสหกรณ์จงั หวดั สานกั งานตรวจบญั ชี
สหกรณ์ หรือผสู้ อบบญั ชี
*ข้อ 78/1. การรายงานผลการตรวจสอบ ให้ผตู้ รวจสอบกิจการมีหน้าที่รายงานผลการ
ตรวจสอบเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรประจาเดือนและประจาปี เพ่ือสรุปผลการตรวจสอบ รวมท้งั
ขอ้ สังเกตขอ้ เสนอแนะท่ีเป็ นประโยชน์ และเขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการเพ่ือแจง้ ผลการ
ตรวจสอบประจาเดือนท่ีผา่ นมา เขา้ ร่วมประชุมใหญ่เพ่ือรายงานผลการตรวจสอบประจาปี เสนอต่อ
ที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ดว้ ย
กรณีพบวา่ มีเหตุการณ์ท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ หรือสมาชิก หรือสหกรณ์มี
การปฏิบตั ิไม่เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ประกาศ หรือคาแนะนาของทางราชการ รวมท้งั
ขอ้ บงั คบั ระเบียบ มติท่ีประชุม หรือคาส่ังของสหกรณ์ท่ีอาจจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิก
หรือสหกรณ์อย่างร้ายแรง ให้แจง้ ผลการตรวจสอบกิจการต่อคณะกรรมการดาเนินการทนั ที
เพื่อดาเนินการแกไ้ ข และให้จดั ส่งสาเนารายงานดงั กล่าวต่อสานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์ และ
สานกั งานสหกรณ์จงั หวดั โดยเร็ว
ให้ผตู้ รวจสอบกิจการติดตามผลการดาเนินการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องขอ้ สังเกตและให้รายงาน
ผลการติดตามการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องขอ้ สังเกตของสหกรณ์ไวใ้ นรายงานผลการตรวจสอบกิจการ
ดว้ ย
*ขอ้ 78/1 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ.2565
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 39
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
ความรับผดิ ของผ้ตู รวจสอบกจิ การ กรณีผตู้ รวจสอบกิจการปฏิบตั ิ หรือละเวน้ การปฏิบตั ิตาม
อานาจหนา้ ที่ หรือประพฤติผิดจริยธรรมในการปฏิบตั ิงานจนเป็ นเหตุใหส้ หกรณ์ไดร้ ับความเสียหาย
ผตู้ รวจสอบกิจการตอ้ งรับผดิ ชอบชดใชค้ า่ เสียหายใหแ้ ก่สหกรณ์ หรือหากตรวจพบขอ้ บกพร่องของ
สหกรณ์ตอ้ งแจง้ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการทราบโดยเร็ว และผตู้ รวจสอบกิจการตอ้ งรับผดิ ชอบชดใช้
คา่ เสียหายอนั จะเกิดแก่สหกรณ์ดว้ ยเหตุไมแ่ จง้ น้นั
การพิจารณาความรับผดิ ของผตู้ รวจสอบกิจการใหเ้ ป็นไปตามมติของท่ีประชุมใหญ่
สหกรณ์มีหน้าทตี่ ่อผู้ตรวจสอบกจิ การ ดงั น้ี
(1) อานวยความสะดวก ให้ความร่วมมือแก่ผตู้ รวจสอบกิจการ ในการใหค้ าช้ีแจงตอบ
ขอ้ ชกั ถามต่างๆ พร้อมท้งั จดั เตรียมขอ้ มูล เอกสารหลกั ฐานประกอบการบนั ทึกบญั ชีของสหกรณ์เพื่อ
ประโยชน์ในการตรวจสอบกิจการ
(2) กาหนดระเบียบวาระการประชุม ให้ผตู้ รวจสอบกิจการรายงานผลการตรวจสอบ
กิจการประจาเดือนและจดั ทาหนงั สือเชิญใหผ้ ตู้ รวจสอบกิจการเขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินการสหกรณ์ทุกคร้ัง
(3) พจิ ารณาปฏิบตั ิตามขอ้ สงั เกต และขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจสอบกิจการ เพ่ือใหก้ าร
ดาเนินกิจการของสหกรณ์เป็ นไปโดยถูกตอ้ งตามกฎหมาย ระเบียบ และขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์
หมวด 9
ข้อเบด็ เสร็จ
ระเบยี บของสหกรณ์
*ข้อ 79. ระเบียบของสหกรณ์ ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการมีอานาจหนา้ ที่กาหนดระเบียบ
ต่างๆ เพอ่ื ดาเนินการใหเ้ ป็ นไปตามวตั ถุประสงค์
(1) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับเงินฝากจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น
(2) ระเบียบวา่ ดว้ ยการใหส้ หกรณ์อ่ืนกยู้ มื เงิน
(3) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับฝากเงินจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
(4) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับฝากเงินจากนิติบุคคล
(5) ระเบียบวา่ ดว้ ยการส่งเงินค่าหุน้ ของสมาชิก
(6) ระเบียบวา่ ดว้ ยการให้เงินกแู้ ละดอกเบ้ียเงินกู้
(7) ระเบียบวา่ ดว้ ยการโอนสมาชิกระหวา่ งสหกรณ์
*ขอ้ 79 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ.2563(คร้ังท่ี 1), (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2565(คร้ังที่ 2)
ขอ้~บงั คบั สหกรณ์ หนา้ 40
ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์
******************************************************************
(8) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับจา่ ยและเก็บรักษาเงิน
(9) ระเบียบวา่ ดว้ ยเจา้ หนา้ ที่และลูกจา้ ง
(10)ระเบียบวา่ ดว้ ยการใชท้ ุนเพอ่ื สาธารณประโยชน์
(11)ระเบียบวา่ ดว้ ยเงินฝากสวสั ดิการช่วยเหลือครอบครัวสมาชิก
(12)ระเบียบวา่ ดว้ ยเงินกองทุนสวสั ดิการเพ่อื ความมนั่ คง
(13)ระเบียบวา่ ดว้ ยเงินกองทุนบาเหน็จสมาชิก
(14)ระเบียบวา่ ดว้ ยที่ปรึกษาและท่ีปรึกษากิตติมศกั ด์ิ
(15)ระเบียบวา่ ดว้ ยการตรวจสอบและแกไ้ ขปัญหาหรือขอ้ ร้องเรียนของสมาชิก
(16)ระเบียบอ่ืนๆ ที่คณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควรกาหนดไวใ้ หม้ ี เพ่ือสะดวก
และเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของสหกรณ์ เฉพาะระเบียบใน (1) (2) (3) และ (4) ตอ้ งไดร้ ับความ
เห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ก่อนจึงจะบงั คบั ได้ ส่วนระเบียบอื่นเมื่อคณะกรรมการดาเนินการ
กาหนดใชแ้ ลว้ ใหส้ ่งสาเนาใหน้ ายทะเบียนสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์
ทราบ
ข้อ 80. การดาเนินคดีเก่ียวกบั ความเสียหาย ในกรณีที่ทรัพยส์ ินของสหกรณ์ถูกยกั ยอก หรือ
เสียหายโดยประการใดๆ ก็ดี หรือในกรณีท่ีสหกรณ์เรียกคืนเงินกแู้ ตไ่ ม่ไดร้ ับชาระตามเรียกก็ดี
คณะกรรมการดาเนินการตอ้ งร้องทุกข์ หรือฟ้ องคดีภายในกาหนดอายคุ วาม ในกรณีเช่นน้ี สหกรณ์จะ
ระงบั การดาเนินคดีได้ ก็แต่โดยมีเหตุผลพิเศษซ่ึงไดร้ ับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่
ข้อ 81. การตคี วามในข้อบังคับ ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกบั การตีความในขอ้ บงั คบั ขอ้ ใด ใหส้ หกรณ์
เสนอปัญหาน้นั ตอ่ นายทะเบียนสหกรณ์เพ่ือขอคาแนะนา และใหส้ หกรณ์ถือปฏิบตั ิตามคาแนะนาของ
นายทะเบียน
ข้อ 82. การแก้ไขเพมิ่ เติม หรือเปลยี่ นใช้ข้อบังคับ สหกรณ์อาจแกไ้ ขเพมิ่ เติม หรือเปลี่ยนใช้
ขอ้ บงั คบั ไดโ้ ดยมติแห่งที่ประชุมใหญ่ ซ่ึงมีคะแนนเสียงไมน่ อ้ ยกวา่ สองในสามแห่งจานวนสมาชิกที่มา
ประชุม และใหส้ หกรณ์เสนอขอจดทะเบียนการแกไ้ ขเพ่ิมเติม หรือเปล่ียนใชข้ อ้ บงั คบั น้นั ต่อนายทะเบียน
สหกรณ์ ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ที่ท่ีประชุมใหญล่ งมติ เมื่อนายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียนแลว้
การแกไ้ ขเพ่มิ เติม หรือเปล่ียนใชข้ อ้ บงั คบั น้นั จึงเป็นอนั สมบูรณ์
การเสนอใหท้ ่ีประชุมใหญพ่ ิจารณาแกไ้ ข เพ่ิมเติม หรือเปลี่ยนใชข้ อ้ บงั คบั จะกระทาไดก้ ็
ตอ่ เม่ือไดแ้ จง้ ขอ้ ความท่ีเสนอใหพ้ ิจารณาน้นั โดยเตม็ สานวนไปใหส้ มาชิกทราบล่วงหนา้ พร้อมกบั
หนงั สือแจง้ นดั ประชุม