The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akawattana2561, 2023-05-15 04:38:42

a

แบบสํารวจทิศทางและแนวโนม การพัฒนาการศึกษาของกศน.อําเภอปากพนัง สํานักงานกศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช
1. ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. มีแผนการจัดการเรียนรู ตามหลักการพัฒนาสมอง ของวัยรุนและวัยทํางาน (BBL) ที่มีคุณภาพผานการ วิพากษและสรางความเขาใจรวมกันของครู กศน. ตําบล
2. มีแหลงศึกษาคนควาที่หลากหลาย 3.มีการจัดการเรียนการสอนทเี่นนผูเรียนเปนสําคัญ 4. มีการจัดการเรียนการสอนที่เนนความ แตกตาง ระหวางบุคคล
5. มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย สอดคลองกับผูเรียนและทําใหผูเรียนมีความสุข
๑. จัดกิจกรรม After Action Review: AAR หลังการจัดกิจกรรมเรียนรอู ยาง ตอเนื่อง เพื่อปรับปรุงและแกไขปญหาที่เกิด จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการ เรียนรู
๒. พัฒนาแหลงเรียนรูใหเปน smart learning ใหเปน ๑ ตําบล ๑ แหลงเรียนรู ๓. จัดทําหรือจัดหาสื่อใหสอดคลอง และ เหมาะสมกับชวงวัยของผูเรียน (ETV Channel) หมายเหตุ รวบรวมเนื้อหาที่ เกี่ยวของมาแขวนไวใน page ของกศน. อําเภอปากพนัง
๔. นําสื่อสําเร็จรูปจากศูนยรวมสื่อออนไลน เพื่อการศึกษา มาใชในการจัดการเรียนรใู ห มากขึ้น
1. ผูเรียนบางสวนไมมี Smart Phone และบางสวนไมรองรับบาง Application
2. ขาดวัสดุ อุปกรณ สําหรับจัด กิจกรรมการเรียนรู เชน เครื่องฉาย ภาพ โทรทัศน ฯลฯ
๓. การเทียบโอนไมครอบคลุมการ จัดการศึกษาตอเนื่องและการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย
๔. การทําวิจัยชั้นเรียนไม ครอบคลุมทุกรายวิชา ทุกระดับชั้น ๕. การประชาสัมพันธการจัด กิจกรรมไมหลากหลาย
๑. จัดหา จัดทําสื่อเพื่อรองรับผูเรียนที่ไมมี smart phone เชน แผนพับ ใบความรูหนา เดียว mind map สรุปเนื้อหา ฯลฯ
๒. ขอรับบริจาค ระดมทุนเพื่อจัดหาอุปกรณ สําหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู
๓. จัดทําหลักสูตรการทองถิ่นเพื่อรองรับการ เทียบโอนจากการจัดการศึกษาตอเนอื่ งและ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๔. จัดอบรมเพ่ือเพิ่มศักยภาพการทําวิจัยชั้น เรียน
๕. เผยแพรประชาสัมพันธทางสื่อออนไลน ยูทูป เว็บไซต MOI War Roomฯลฯ
1


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. ความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมี ความหลากหลายชองทาง ทําใหการติดตอสื่อสารงาน สะดวก รวดเร็วและทันเวลา
๑. สงเสริมใหนําเทคโนโลยีมาใชในการเรียน การสอนใหมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมประกวด “หนึ่งครู หนึ่งคลิปการเรียนรู”
๑. สัญญาณอินเตอรเน็ตไมเสถียร ในบางพื้นที่และสภาพอากาศไม เอื้ออํานวย
๒. บุคลากรขาดความชํานาญใน การใชเครื่องมือในการผลิตสื่อดาน เทคโนโลยี
๑. สงเสริมใหมีการสรางสื่อเทคโนโลยีอยาง งาย โดยการประกวดสื่อ มืออาชีพ
2


2. ดานผูเรียน
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. กิจกรรม กศน.สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายในเชิงรุก บริการไดครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย
2. กิจกรรม กศน.สามารถใหบริการในรูปแบบที่หลากหลาย ท้ังการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัย อยางทั่วถึงทุกกลุมเปาหมาย
3. มีการหมุนเวียนสื่อไปยังตําบล เพื่อใหผูเรียนและ ประชาชนไดศึกษาคนควาตามความสนใจและความตองการ 4. การติดตั้งและใหบริการสัญญาณ Internet ครอบคลุม ทุก กศน.ตําบล ทําใหกลุมเปาหมายสามารถเขาถึงขอมูลได งาย
5. มีการนําสื่อ Digital มาใชในการจัดกระบวนการเรียนรู และการสืบคนขอมูล เพื่อเพิ่มชองทางในการขายสินคา ออนไลน
๑. แสวงหารวมมือกับเครือขายใหมใน การบริการกลุมเปาหมายอยางตอเนื่อง ๒. สํารวจความตองการดานสื่อ เพื่อ จัดหาสื่อใหส อดคลองกับความตองการ ของผูรับบริการ อยากอานตองไดอาน ๓. จัดทําสื่ออิเล็กทรอนิกส (QR Code) เพื่อเพิ่มจุดรับบริการในแหลง ชุมชนใหครอบคลุมทุกพื้นที่
๔. สงเสริม สนับสนุนใหผ ูเรียน ผูรับบริการ พึ่งตนเองได มีรายได ระหวางเรียน โดยใชสื่อ Digital เปน เครื่องมือ
1. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํา ในบางรายวิชา
๒. ผูเรียนสวนหนึ่งไมกลา แสดงออก
๓. ผูเรียนบางสวนขาดการคิด วิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ ๔. การรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพไม เขมแข็ง
๑. จัดทําธนาคารความรู knowledge bank โดยผูเรียนศึกษาสื่อรายวิชา (ETV Channel) บันทึกความรูที่ไดจากการรับชม เพื่อสะสม เปนกิจกรรมกพช.
๒. จัดโครงการ “เยาวชนนักกิจกรรม”
๓. จัดประกวดโครงงาน โดยเนนใหผูเรียนมี ทักษะในการคิดวิเคราะห คิดอยางมี วิจารณญาณ การนําเสนอโครงงานเนนทั้ง ปริมาณและคุณภาพ โดยคัดเลือกจากระดับ ตําบล เพื่อเปนหนึ่งตําบล หนึ่งโครงงานเดน ๔. สนับสนุนใหมีการรวมกลุมพัฒนาคุณภาพ สินคาใหมีตราผลิตภัณฑในแตละตําบล และ ใชสื่อ Digital เพิ่มชองทางการจําหนาย
3


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๑. การจัดการศึกษาครอบคลุม หลากหลาย โดนใจผูเรียน
๑. เพิ่มชองทางดานการศึกษาที่ หลากหลาย เชน ศึกษาจากแหลง เรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญ ชุมชน สื่อสําเร็จรูปจากศูนยรวมสื่อ ออนไลนเพื่อการศึกษา มาใชในการ จัดการเรียนรู
๑. สภาพปญหาเศรษฐกิจปจจุบัน ผูเรียนเลือกชองทางในการ ประกอบอาชีพกอนการเรียนรู และ ไมเลือกที่จะศึกษาตอในระดับท่ี สูงขึ้น เพื่อการอยูรอดในการ ดํารงชีวิต
๑. สนับสนุนการจัดการเรียนรูและการวัดผล ประเมินผลใหสอดคลองกับลักษณะการ ประกอบอาชีพของผูเรียน
4


3. ดานครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๑. ครูและบุคลากร มีความกระตือรือรน และ เอาใจใส ใฝรูใฝเรียน มีการพัฒนาตนเองอยาง ตอเนื่อง๒. ครูและบุคลากรปฏิบัติตนอยาง เหมาะสม มีความเสียสละ ขยันและอดทน ทําให งานมีประสิทธิภาพ ผูรับบริการเกิดความพึง พอใจ
๓. ครูและบุคลากร มีทักษะกระบวนการทาง เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใชในการปฏิบัติงาน อยางมีประสิทธิภาพ
๔. ครูและบุคลากร มีมนุษยสัมพันธที่ดี สามารถ ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม และมีทักษะใน การประสานงานรวมกับภาคีเครือขายอยางมี ประสิทธิภาพ
5. ครูและบุคลากรมีความสามารถเปนวิทยากร กระบวนการใหกับองคกรและภาคีเครือขาย
๑. สงเสริมใหครูสามารถจัดการเรียนรูเชิงรุก และ เปนผูสรางสรรคนวัตกรรมใหกับผูเรียน
๒. สงเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรใหมีการ พัฒนาตนเองทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง มี จรรยาบรรณและจิตวิญญาณความเปนครู
๓. จัดอบรมใหความรูดาน ICT แกครูและ บุคลากรใหกาวทันเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาปรับใช ในการประชุมอบรม การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรูดวยตนเองผานทางสื่อออนไลน ๔. มีกิจกรรมสรางความสัมพันธ การรวมมือ รวม คิด รวมทํา รวมวางแผน รวมปฏิบัติและรวม ประเมินผลการจัดกระบวนการกับภาคีเครือขาย อยางมีเทคนิค และวิธีที่หลากหลายอยางตอเนื่อง ๕. สรางวิทยากรกระบวนการ หรือนักจัดการ เรียนรู โดยการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง
1. ครูและบุคลากรบางสวน ขาด ทักษะในการใชเทคโนโลยีดานICT
๒. ครูและบุคลากรบางสวนขาดทักษะ ในการพูดและการแสดงออกตอ สาธารณะชน
๓. วิทยากรภูมปิ ญญาขาดทักษะใน การถายความรูใหแกผูเรียน
๑. จัดอบรมใหความรทู างเทคโนโลยีดานICT ๒. สรางโอกาสใหครูและบุคลากร ไดแสดงออก ตอสาธารณะชนมากขึ้น
๓. จัดอบรมใหความรูดานเทคนิค กระบวนการ เรียนรูใหกับวิทยากรภูมิปญญาทองถิ่น
5


จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๖. มีการสนับสนุนภูมิปญญาทองถิ่นมาเปน วิทยากรในการจัดกระบวนการเรียนรู
๗. ครูและบุคลากรมีขวัญและกําลังใจในการ ปฏิบัตงิ าน
๖. จัดอบรมใหความรูเพิ่มเติมดานเทคนิค กระบวนการเรียนรูใหกับวิทยากรภูมิปญญา ทองถิ่น
๗. การสรางขวัญกําลังใจและสรางแรงจูงใจ ใหกับครูและบุคลากรโดยการยกยองเชิดชู เกียรติ พรอมทั้งเผยแพรสูสาธารณะชน
6


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๑. มีภูมิปญญาและแหลงเรียนรูครอบคลุมทุก พื้นที่สามารถนํามาใชในการจัดกิจกรรมที่ หลากหลายและทําใหผูรับบริการไดศึกษาเรียนรู ไดอยางกวางขวาง
1. สงเสริมใหม ีการพัฒนาภูมิปญญาและแหลง เรียนรู
๑. ผูนําสวนนอยไมเห็นความสําคัญ และไมสนับสนุนการจัด
กจิ กรรมกศน.เทาที่ควร
๑. สรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีตอ ภาคีเครือขาย
7


4. โครงสรางพื้นฐาน
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๑. สถานศึกษามีการกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย ภารกิจ และการบริหารงาน โดยใชการมสี วนรวม ของบุคลากรทุกฝาย
๒. สถานศึกษามีการสื่อสารภายในองคกรที่มี ความถูกตองชัดเจน ทําใหไดรับความรวมมือจาก บุคลากร สงผลใหก ารปฏิบัติงานเปนระบบ
๓. เนนการทํางานเปนหมูคณะ ทุกคนมีสวนรวม รับผิดชอบ
๔. มีการใชระบบ ICT และขอมูลทางอินเตอรเน็ต เพื่อการจัดการเรียนรูและการกระจายขาวสาร
๑. จัดทําฐานขอมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ใหครอบคลุมทุกดาน
2. สงเสริมใหมีกิจกรรมที่สรางความสามัคคี ภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง
1. อาคารสถานที่ของสถานศึกษา และกศน.ตําบลสวนใหญไมเปน เอกเทศ ขาดความคลองตัวในการ จัดการ
2. สถานศึกษาไมสามารถจัดหา ครุภัณฑและอุปกรณเพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษาได
3. กศน.ตําบลขาดงบประมาณใน การติดตั้งไฟฟาและประปา ฯลฯ
๑. จัดสรรงบประมาณดานอาคารสถานที่ ดานอุปกรณและครุภัณฑและคาสาธารณูปโภค พื้นฐาน เพื่อใหสถานศึกษาเกิดความคลองตัวใน การจัดการศึกษาใหกับผูรับบริการไดอยางมี ประสิทธิภาพ
8


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
๑. การปฏิบัติงานสอดคลองกับนโยบายของ จังหวัดและตนสังกัด นโยบายการกระจาย อํานาจทําใหสถานศึกษา เกิดความคลองตัวใน การทํางานมากขึ้น
๒. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารสามารถนํามาใชประโยชนทั้งในการ บริหารจัดการ การใหบริการและการพัฒนา การศึกษาใหมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
๑. สงเสริมใหมีการจัดหาสื่อเทคโนโลยีใหมี ความเหมาะสมกับระบบสารสนเทศของ สถานศึกษา
๒. สงเสริมใหมีการจัดพัฒนาความรู ความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัลอยาง ตอเนื่องเพื่อใหกาวทันกับความเปลี่ยนแปลง
๑. นโยบายและแนวทางการ ปฏิบัติงานมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ทําใหการดําเนินงานขาดความ ตอเนื่อง ๒.แนวโนมของประชากรที่จะตอง ไดรับการศึกษา มีจํานวนลดนอยลง เนื่องจากอัตราการเกิดของเด็กลดลง
1. ใหขอมูลหรือจัดทําคูมือหรือแนวทางการ ปฏิบัติงาน เพื่อสรางความชัดเจนแก ผูปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง
2. สงเสริมการจัดการศึกษาใหเหมาะสมตาม ชวงวัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดาน ประชากร
9


5. ระบบเครือขายและการมีสวนรวม
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. ไดรับความรวมมือจากภาคีเครือขาย องคกรทองถิ่น ประชาชนและชุมชน ในการจัดกิจกรรมในการดําเนินงาน การศึกษาการเรียนรูตลอดชีวิตเปนอยางดี
2. ภาคีเครือขายใหความรวมมือและการสนับสนุนชุมชน จัดกิจกรรมที่สนองตอบความตองการของชุมชนแตละ ตําบลในพื้นที่อําเภอปากพนัง
3. วิทยากรภายนอกมีประสบการณในการจัด กระบวนการเรียนรู หลักสูตร และ จัดตั้งกลุมแลกเปลี่ยน เรียนรูและสานสัมพันธอันดีกับชุมชน
๔. ไดรับงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู
1. สงเสริมใหมีการทําขอตกลงรวมกัน เพื่อใหการจัดกิจกรรมเกิดประโยชนสูงสุด กับกลุมเปาหมาย
2. สงเสริมใหมีการสรางเครือขายในการ ดําเนินงานในชุมชนในลักษณะ “สรางคน สรางทีม สรางงาน”
3. สงเสริมใหมกี ารประชาสัมพันธใหภาคี เครือขายเขาใจบทบาทการทํางาน และการ มีสวนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมนิเทศ ติดตามผลดําเนินงานของกศน.อยาง ตอเนื่อง
1. ภาคีเครือขายบางสวนไม เขาใจระบบการดําเนินงาน การศึกษางานตอเนื่องของ กศน.
1. สนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธแ ละสราง ความเขาใจใหกับภาคีเครอื ขายในการ ดําเนินงานของ กศน. ตามนโยบายและ แผนปฏิบัติงาน
10


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. สังคมและชุมชนเปดโอกาสใหสถานศึกษาเขาไปมีสวน รวมในการจัดกิจกรรม
2. มีภูมิปญญาและแหลงเรียนรูครอบคลุมทุกพื้นที่ สามารถนํามาใชในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและทําให ผูรับบริการไดศึกษาเรียนรูไดอยางกวางขวาง
3. พ.ร.บ การศึกษาเปดโอกาสใหทองถ่ิน มีสวนรวมใน การจัดการศึกษามากขึ้น สงผลใหเกิดการระดมความคิด ในการพัฒนาการศึกษา
1. สงเสริมใหการจัดกิจกรรมตามแผนและ ประชาสัมพันธใหภาคีเครือขายเขามามีรวม รวมมากขึ้น
2. สงเสริมใหมีการนําภูมิปญญาและแหลง เรียนรูมาใชในการจัดกิจกรรมใหมากขึ้น
11


6.ระบบบริหารจัดการ
จุดแข็ง (Strength)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
จุดออน (Weak)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. มีการประสานงานที่ดีระหวางหนวยงาน ภาครัฐ เอกชนและเครือขายในพื้นที่ทําใหการทํางานประสบ ความสําเร็จตามวัตถุประสงค
2. การบริหารจัดการแบบมีสวนรวมในรูปแบบของ คณะกรรมการ
3. มีการขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติโดยใชแผนงาน/ โครงการและกระบวนการมีสวนรวมของบุคลากร
4. มีแผนงาน/โครงการในการบริหารงานตามกลุมงาน อยางชัดเจน
5. มีการนํา platform ตางๆ มาใชในการบริหารจัดการ ทําใหการปฏิบัติงานและการสื่อสารภายในองคกรรวดเร็ว ขึ้น
6. มีการบริหารงบประมาณในการจัดกิจกรรม สามารถ เบิกจายไดตรงตามระยะเวลาที่กําหนดในแตละไตรมาส อยางชัดเจน และเกิดประโยชนสูงสุดตอกลุมเปาหมาย
7. การบริหารงบประมาณมีความถูกตองตามระเบียบ โปรงใส ตรวจสอบได
1. สงเสริมใหมีการสนับสนุนดานขวัญกําลังใจแกภาคี เครือขายที่มีผลงานโดดเดน
2. สงเสริม สนับสนุน ใหคณะกรรมการที่มีผลงาน ดีเดนไดเขารวมประกวด
3. สงเสริมใหบุคลากรไดรวม แลกเปลี่ยน เรียนรู ผล การปฏิบตั ิติงาน ตามแผนงาน โครงการ เปนรายไตร มาส
4. สงเสริมใหกลุมงาน มีการคัดเลือกผลการปฏิบตั ิติ งานที่ดีเดน/ตัวอยางที่ดี และแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน 5. เปดโอกาสใหบุคลากรไดรวมกันแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นในการคัดเลือกและติดตามผลการใชแพลท ฟอรมมาใชในการบริหารจัดการ
6. สรางทีมงานที่มีใหมีความชัดเจน และ แข็งแกรง มากขึ้น
7. การบริหารจัดการสามารถทํางานทดแทนกันไดเพื่อ เกิดความรวดเร็ว
8. จัดทําคูมือแนวทางการปฏิบตั ิหนาทใี่ นแตละงาน ของ กศน. อําเภอ
1. เครื่องคอมพิวเตอรมี สมรรถนะที่จํากดั ลาสมัย 2. ขาดบุคลากรมาทดแทน ในตําแหนงที่ลาออกจาก ราชการ
3. ขาดแคลนวัสดุ ครุภัณฑ ใน ระดับอําเภอและตําบล ทเี่ อื้อตอการจัดกิจกรรม เรียนรู
1. เพิ่มสมรรถนะ เครื่องคอมพิวเตอร ใหตอบโจทย ตอการใชงาน
2. จัดบุคลากรที่มีอยู มาปฏิบตั ิติงาน แทน ระหวาง รอการจัดสรรตําแหนง ที่วาง
3. ขอรับการสนับสนุนวัสดุครุภัณฑ จากภาคี เครือขาย และ จาก หนวยงานอื่น ๆ
12


โอกาส (Opportunities)
แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
อุปสรรค (Threats)
กลยุทธ/แนวทางการพัฒนา (Strategy/Development Guideline)
1. สถานศึกษาไดรับการพัฒนายกระดับสมรรถนะในการ ปฏิบัตงิ านใหมีประสิทธิภาพจากหนวยงานตนสังกัดอยาง ตอเนื่อง
2. สถานศึกษาสนับสนุนบุคลากรใหสามารถเลือกใช เทคโนโลยีที่ทันสมัย ที่เกิดขึ้นหลากหลาย ใหเกิด ประสิทธิภาพของการทํางานมากขึ้น
1. สรางแรงจูงใจใหบุคลากร ไดรับการ พัฒนายกระดับสมรรถนะในการปฏิบัตงิ าน 2. เปดโอกาสใหบุคคลากรมีการแลกเปลี่ยน เรียนรูดานการเลือกใชเทคโนโลยภี ายใน องคกร
1. ทัศนคติของ กลุมเปาหมาย มีความ เปลี่ยนแปลงไป ทําใหมี พฤติกรรมการยอมรับคนอื่น นอยลง
2. แนวทางในการปฏิบัติงาน ในระดับจังหวัดมีการ เปลี่ยนแปลง ซับซอนสงผลให การดําเนินงาน เกิดความ ลาชา
1. เปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับปญหาในการปฏิบัติทั้งในสวนของงาน สนับสนุนและการปฏิบัติงานในพื้นที่เพื่อ แกปญหารวมกัน
2. เปดชองทางการสื่อสารเกี่ยวกับแนวทางใน การปฏิบัติงานระหวางเจาหนาที่ระดับอําเภอ และระดับจังหวัดใหมากขึ้น
13


Click to View FlipBook Version